The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฏจักรน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phattaratho, 2022-03-07 23:51:04

hydrological cycle

วัฏจักรน้ำ

Keywords: น้ำ

HLCOYYGCDILRCEOAL

By Phatttarapong Prathumme



คำนำ

E-Book "hydrological cycle "เรื่อง
วัฏจักรอุ ทกวิทยา
5ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่ อสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่

ซึ่งมีเนื่ องหาเกี่ยวกับ การระเหย หยาดน้ำฟ้า น้ำท่า การซึมผ่าน

E-Bookผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้

เรียน ที่กำลังศึกษาเรื่อง วัฏจักรอุ ทกวิทยา และช่วยให้ผู้เรียนน้ำความรู้

ไปต่อยอดได้ หากผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

จัดทำโดย
ภัทรพงศ์ ประทุมเม



สารบัญ

วัฏจักรอุ ทกวิทยา

01 การระเหย
02 หยาดน้ำฟ้า
03 น้ำท่า
04 การซึมผ่าน

แบบฝึกหัด
เฉลย
บรรณานุกรม
ประวัติผู้จัดทำ



1

วัฏจักรอุทกวิทยา (HYDROLOGICAL CYCLE)

หมายถึง วัฏจักรการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำระหว่างของเหลว ของแข็ง

4และก๊าซ ตามสภาพแวดล้อมที่น้ำอาศัยอยู่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจำแนกได้ รูป

แบบ

วัฏจักรอุทกวิทยา (HYDROLOGICAL CYCLE)

2

1) การระเหย
( E V A P O R A T I O N )ก า ร ร ะ เ ห ย
คื อ ก า ร เ ป ลี่ ย น ส ถ า น ะ ข อ ง น้ำ บ น พื้ น ผิ ว

( T R A N S P I R A T I O N )โ ล ก ไ ป สู่ บ ร ร ย า ก า ศ ทั้ง ใ น รู ป ข อ ง ไ อ น้ำ ที่ ร ะ เ ห ย จ า ก แ ห ล่ ง น้ำ โ ด ย ต ร ง แ ล ะ
ก า ร ค า ย น้ำ ข อ ง พื ช โ ด ย ใ น ส่ ว น ข อ ง ก า ร ร ะ เ ห ย

โ ด ย ต ร ง น้ำ จ ะ ส า ม า ร ถ ร ะ เ ห ย ไ ด้ ก็ ต่ อ เ มื่ อ ค ว า ม ชื้ น ใ น บ ร ร ย า ก า ศ มี ค่ า น้ อ ย

ก ว่ า พื้ น ผิ ว น้ำ ที่ จ ะ ร ะ เ ห ย ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ร ะ เ ห ย ข อ ง น้ำ ใ ห้ ก ล า ย เ ป็ น ไ อ ใ ช้
1พ ลั ง ง า น ม า ก พ อ ส ม ค ว ร เ ช่ น ก า ร ล ะ เ ห ย น้ำ ก รัม ต้ อ ง ใ ช้ พ ลั ง ง า น ค ว า ม
6 0 0ร้อ น ป ร ะ ม า ณ
แ ค ล อ รี่ ซึ่ ง ยิ่ ง มี พ ลั ง ง า น ม า ก เ ท่ า ใ ด อั ต ร า ก า ร ร ะ เ ห ย

ข อ ง ไ อ ก็ จ ะ ม า ก ขึ้ น เ ท่ า นั้น น อ ก จ า ก นี้ ล ม ที่ พั ด ใ น พื้ น ที่ ก็ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย เ ร่ง

อั ต ร า ก า ร ร ะ เ ห ย ข อ ง น้ำ ไ ด้ ด้ ว ย เ ช่ น กั น โ ด ย ห า ก พื้ น ที่ มี ล ม แ ร ง จ ะ ช่ ว ย พั ด ใ ห้

ไ อ น้ำ ที่ เ พิ่ ง ร ะ เ ห ย ย้ า ย อ อ ก ไ ป ที่ อื่ น เ อื้ อ ต่ อ น้ำ ที่ พื้ น ผิ ว ที่ จ ะ ร ะ เ ห ย เ ข้ า ม า

แ ท น ที่ ไ ด้ ม า ก ขึ้ น ใ น ร ะ ดั บ โ ล ก ก า ร ร ะ เ ห ย ข อ ง น้ำ ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น

ม ห า ส มุ ท ร โ ซ น กึ่ ง เ ข ต ร้อ น ซึ่ ง พื้ น ที่ เ ห ล่ า นี้ ก า ร แ ผ่ รัง สี จ า ก ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ใ น

ป ริม า ณ สู ง ก ว่ า พื้ น ที่ ล ะ ติ จู ด ก ล า ง ห รือ แ ถ บ ขั้ว โ ล ก

มGแผกEOรนาทGีค่โRมลAกแPแลHสะYด(,ขงU)กNกาIรรVกกEรฎRะาจSคาITมยYตพัวO.เศFชิ.งO2พRื5้ นE0ทGี2่ขO-2อNง5)อ4ัต0ร(าคก.ศาร. เ1กิ9ด5ห9ย-า1ด9น้9ำ7ฟ้)าต(่ทีอ่มกาา:รDรEะเPหAยRโดTMยเEฉNลี่TยใOนFเดือน(ก)

3

( T R A N S P I R A T I O N )ก า ร ค า ย น้ำ ข อ ง พื ช เ ป็ น ก า ร ร ะ เ ห ย ห รือ แ พ ร่ข อ ง
3น้ำ อ อ ก ไ ป จ า ก พื ช แ บ่ ง ไ ด้ ป ร ะ เ ภ ท คื อ ก า ร ค า ย น้ำ ท า ง ป า ก ใ บ ท า ง ผิ ว ใ บ
(LENTICEL)และการคายน้ำทางเลนทิ เซล
โ ด ย ก า ร ค า ย น้ำ จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้

เ กิ ด แ ร ง ดึ ง น้ำ จ า ก ส่ ว น ล่ า ง ข อ ง ลำ ต้ น ขึ้ น ไ ป สู่ ส่ ว น ที่ อ ยู่ สู ง ก ว่ า ช่ ว ย ล ด

อุ ณ ห ภู มิ ที่ ใ บ ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ก า ร ค า ย น้ำ น อ ก จ า ก ปั จ จั ย ภ า ย ใ น เ รื่ อ ง

ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง พื ช แ ต่ ล ะ ช นิ ด เ อ ง อั ต ร า ก า ร ค า ย น้ำ ข อ ง พื ช ยั ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ

1 )ปั จ จั ย ภ า ย น อ ก ห รือ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ ว ย ไ ด้ แ ก่ แ ส ง ส ว่ า ง ม า ก จ ะ ทำ ใ ห้ ป า ก
2 )ใ บ เ ปิ ด ก ว้ า ง ม า ก ขึ้ น อุ ณ ห ภู มิ สู ง พื ช มี อั ต ร า ก า ร ค า ย น้ำ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น
3 )ทำ ใ ห้ พื ช ค า ย น้ำ ใ น ช่ ว ง ก ล า ง วั น ม า ก ก ว่ า ก ล า ง คื น ถ้ า อ า ก า ศ ภ า ย น อ ก มี

ค ว า ม ชื้ น สู ง อั ต ร า ก า ร ค า ย น้ำ ก็ จ ะ ต่ำ ใ น ท า ง ต ร ง กั น ข้ า ม ถ้ า อ า ก า ศ

4 )ภ า ย น อ ก มี ค ว า ม ชื้ น ต่ำ ก า ร ค า ย น้ำ ก็ จ ะ เ กิ ด ม า ก ขึ้ น ล ม ช่ ว ย พั ด พ า ไ อ น้ำ
5 )ที่ ร ะ เ ห ย อ อ ก จ า ก ใ บ ก า ร ค า ย น้ำ ใ ห ม่ ก็ จ ะ ทำ ไ ด้ ดี แ ล ะ ง่ า ย ขึ้ น แ ล ะ ค ว า ม

ก ด ดั น ข อ ง บ ร ร ย า ก า ศ ต่ำ อ า ก า ศ จ ะ เ บ า บ า ง ล ง ไ อ น้ำ ใ น ใ บ แ พ ร่อ อ ก ม า ไ ด้

ง่ า ย เ ป็ น ต้ น

การคายน้ำของพืช

4

หิมะตก ในแถบยุโรป ในช่วงฤดูหนาว

2) หยาดน้ำฟ้า 5

(PRECIPITATION)หยาดน้ำฟ้า คือ การที่ไอน้ำในชั้นบรรยากาศ
(CONDENSATION)ควบแน่น
และตกลงมาในรูปแบบต่างๆ ซึ่งในทาง
6อุตุนิยมวิทยา จำแนกหยาดน้ำฟ้าออกเป็น รูปแบบ ได้แก่
(DRIZZLE) 0.5ฝนละออง
คือ หยดน้ำขนาดเล็กกว่า มิลลิเมตร ส่วนใหญ่เกิด

จากเมฆสเตรตัส
(RAIN) 0.5-5ฝน
คือ หยดน้ำขนาด มิลลิเมตร มักมาจาก เมฆนิมโบสเต
(CONDENSATIONรตัสและคิวมูโลนิมบัส ควบแน่นโดยมี แกนควบแน่น
NUCLEI) ช่วยไอน้ำเกาะเป็นหยดน้ำ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้
(FREEZING RAIN)ฝนน้ำแข็ง คือ น้ำฝนที่ตกลงมาแล้วกลับมาแข็งตัว

(SLEET)อีกครั้งอย่างทันทีเพราะอากาศที่พื้ นผิวเย็นมาก
เกล็ดน้ำฝน คือ น้ำฝนที่ตกลงผ่านก้อนเมฆเย็นหรืออากาศเย็น

จัดแล้วแข็งตัวเป็นเกล็ดน้ำแข็ง

( ) ( )ซ้าย ฝนน้ำแข็ง ขวา เกล็ดน้ำฝน

(snow) 1-20หิมะ
คือ ผลึกน้ำแข็งขนาดประมาณ มิลลิเมตร ซึ่งเกิดจากไอน้ำ

จาก น้ำเย็นยิ่งยวด ระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งและตกลงมาในเขตที่มีอากาศ

หนาวเย็น เช่น ในเขตละติจูดสูง หรือบนเทือกเขาสูง
(hail) 5ลูกเห็บ
คือ เป็นก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่กว่า เซนติเมตร เกิดลมกรรโชก

พัดให้ผลึกน้ำแข็งปะทะกับน้ำเย็นยิ่งยวด กลายเป็นก้อนน้ำแข็งห่อหุ้มกันเป็น

ชั้นๆ จนมีขนาดใหญ่ และตกลงมา

ลูกเห็บ เปรียบเทียบกับ บลูเบอร์รี่

6

3) น้ำท่ า(RUNOFF ) คือ น้ำ ผิว ดิน (SURFACE WATER ) ที่ไ หลอยู่ตา มธารน้ำ
น้ำท่า
โดยธรรมชาติของน้ำจะไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำเสมอ หรือโดยส่วนใหญ่จะไหลจาก
-เทือกเขาสูงลงสู่แหล่งน้ำต่างๆ และมหาสมุทร ความเร็วของน้ำ ในแต่ละที่ไหลเร็ว
3ช้าต่างกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของธารน้ำ ประเด็นหลักๆ คือความชันของ
(GRADIENT)ธารน้ำ ธารน้ำชันสูงบริเวณ ต้นน้ำ ชันลดลงทาง ปลายน้ำ ดัง
(CHANNEL SIZE)นั้นน้ำจะไหลเร็วบริเวณต้นน้ำมากกว่าปลายน้ำ
ขนาดร่องน้ำ ปกติต้นน้ำจะมีร่องน้ำแคบกว่าบริเวณ
ปลายน้ำ อันเนื่ องมาจากธรรมชาติของการกัดกร่อนของน้ำในแต่ละพื้ นที่ จึงทำให้
น้ำบริเวณต้นน้ำ น้ำจะไหลเร็วกว่าปลายน้ำ
ต้นน้ำจะมีตะกอนขนาดใหญ่
(STREAM ROUGHNESS)ความหยาบธารน้ำ
ตกทับถมอยู่มาก เนื่ องจากหินเพิ่งผุพังลงมา ท้องน้ำแถบต้นน้ำจึงหยาบมากกว่า
ปลายน้ำน้ำบริเวณปลายน้ำจึงไหลได้เร็วและราบเรียบกว่าบริเวณต้นน้ำ

หน้าตัดข้างตามธารน้ำแสดงขนาดร่องน้ำในบริเวณต่างๆ ตามธารน้ำ

7

(STRAIGHT STREAM)ธารน้ำตรง เป็นธารน้ำที่เกิดบริเวณหุบเขา
บริเวณต้นน้ำ กระบวนการกรัดกร่อนในบริเวณต้นน้ำจะเป็น การกัดกร่อนใน
(DOWNCUTTING)แนวดิ่ง เป็นหลัก และไหลข้อนข้างตรงเป็น หุบเหวลึก
(CANYON) (BRAIDED STREAM)ธารน้ำประสานสาย
เกิดเมื่ อธารน้ำตรงไหล
ออกมาจากร่องเขาสู่พื้ นที่ราบ ความเร็วน้ำลดลงอย่างรวดเร็ว เกิดเป็นธาร
น้ำแตกแขนงไหลลงตามความลาดเอียงของพื้ นที่คล้ายกับผมเปีย
(MEANDERING STREAM)ธารน้ำโค้งตวัด เ กิ ด ขึ้ น บ ริเ ว ณ ป ล า ย น้ำ
พัฒนาต่อมาจากธารน้ำประสานสาย มีการกัดกร่อนในแนวราบ มากกว่า
กัดกร่อนแนวดิ่ง การไหลแบบโค้งตวัด ความเร็วของน้ำสูงที่สุดจะอยู่ที่โค้ง
นอกของธารน้ำและส่วนโค้งในจะมีความเร็วต่ำที่สุด เหมือนกับการขับรถบน
ถนนโค้ง

( )บน ธารน้ำประสานสายช่วงต้นทาง เกิดบริเวณเนินตะกอนรูปพัดที่ธารน้ำเพิ่งไหล
( )ออกมาจากร่องเขา ภูมิลักษณ์ ล่าง ภาพมุมสูงธารน้ำประสานสายที่ต่อมาจากร่อง
( )เขาและเนินตะกอนรูปพัด ขวา ธารน้ำประสานสายระยะใกล้
( ) ( ) ( )ซ้าย ธารน้ำโค้งตวัด บน ตลิ่งชัน ซ้าย เนินทรายริมตลิ่ง

8

4) การซึมผ่าน
(INFILTRATION)การซึมผ่าน เป็นการซึมของน้ำผิวดินบางส่วน ผ่านชั้น
(GROUNDWATER)ดินและหินต่างๆ ลงไปเป็น น้ำใต้ดิน จากคุณสมบัติ ความ
(POROSITY) (PERMIABILITY)พรุน และ ความสามารถในการซึมผ่าน ของชั้น
2ดินหรือชั้นหินในแต่ละพื้ นที่ นักธรณีวิทยาจำแนกชั้นหินตามศักยภาพในการเป็น

ชั้นน้ำบาดาลออกเป็น ชนิด คือ

ส่วนต่างๆ ของชั้นน้ำใต้ดิน

(AQUITARD)ชั้นหินต้านน้ำ คือ ชั้นหินที่มีความสามารถในการซึมผ่านได้ต่ำ
(AQUIFER)หรือไม่สามารถซึมผ่านได้เลย เช่น ชั้นหินดินดานหรือหินแปรเนื้ อแน่น
ชั้นหินอุ้มน้ำ คือ ชั้นหินที่น้ำสามารถซึมผ่านได้อย่างอิสระ เช่น
ชั้นหินทรายที่มีการคัดขนาดดี ชั้นกรวด โดยชั้นหินอุ้มน้ำยังสามารถแบ่งย่อยได้
2อีกออกเป็น ชนิด ตามคุณสมบัติการมีแรงดันในชั้นน้ำ
- (UNCONFINED AQUIFER)ชั้นหินอุ้มน้ำไม่มีขอบเขต คือ ชั้นหินอุ้มน้ำที่
ไม่มีชั้นหินต้านน้ำปิดทับอยู่ด้านบน ระดับน้ำใต้ดินในชั้นหินชนิดนี้ขึ้นอยู่กับระดับน้ำ
ใต้ดินในบริเวณนั้น บางครั้งมีชั้นหินต้านน้ำวางตัวรองรับชั้นหินอุ้มน้ำบนเขาสูง
(PERCHED WATER TABLE)อาจเกิด ระดับน้ำใต้ดินลอย
- (CONFINED AQUIFER)ชั้นหินอุ้มน้ำมีขอบเขต คือ ชั้นหินอุ้มน้ำที่มีชั้น
หินต้านน้ำปิดทับอยู่ด้านบน ทำให้น้ำมีแรงดันจากการกดทับมากกว่าชั้นหินอุ้มน้ำ
ไม่มีขอบเขต ระดับน้ำใต้ดินชั้นนี้ควบคุมโดยโครงสร้างทางธรณีวิทยาของชั้นหิน
ต้านน้ำ เช่น การเอียงเทของชั้นหิน รอยแตกหรือรอยเลื่ อน

ระดับน้ำใต้ดินลอย น้ำซับในรัฐไอดาโฮ ประเทศสหรัฐอเมริกา

9

การเคลื่ อนที่ของน้ำใต้ดิน เมื่ อมีการเติมน้ำเข้าสู่ระบบ น้ำจะซึมผ่านชั้นหิน
ต่างๆ และมีการไหลของน้ำใต้ดินเป็นชั้นๆ ซึ่งเวลาที่น้ำใช้ในการไหลขึ้นอยู่กับ
อัตราการไหลและระยะทาง โดยอาจใช้เวลาเพียงไม่กี่วันหากเป็นชั้นน้ำในระดับ
ตื้ น หรืออาจใช้เวลาหลายพันปีสำหรับชั้นน้ำในระดับลึก

แบบจำลองแสดงการจำแนกชั้นหินตามศักยภาพในการเป็นชั้นน้ำบาดาล พื้ นที่รับและจ่าย
น้ำ ตลอดจนระยะเวลาการไหลของน้ำในแต่ละชั้นน้ำ

10

แบบฝึกหัด

1 11

เฉลย

บรรณานุกรม

สันติ ภัยหลบลี้ (2/03/2564) วัฏจักรของน้ำ (Water Cycle)สืบค้นเมื่อ 27
กุมภาพันธ์ 2565 http://www.mitrearth.org/9-5-water-cycle

SOMRUDEE_WA ใบงานวัฏจักรน้ำ
สือค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2565
HTTPS://WWW.LIVEWORKSHEETS.COM/QR2528751DQ

ประวัติผู้จัดทำ

ชื่อ ภัทรพงศ์ ประทุมเม
ชื่อเล่น สิงโต
ชั้น ปีที่ 2
คณะ : ครุศาสตร์
สาขา วิทยาศาสตร์ทั่วไปและชีววิทยา
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
Email [email protected]

water
is
life


Click to View FlipBook Version