The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน ว PA ครูบุษกร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bussakorn.ipad, 2022-06-05 09:06:00

บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน ว PA ครูบุษกร

บันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน ว PA ครูบุษกร

แบบบันทกึ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (ว PA)

สำหรับขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕
ระหว่างวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕

นางบษุ กร มากชิต
ตำแหน่งครู /ครู ชำนาญการพิเศษ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรยี นสรุ าษฎร์ธานี ๒ อำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร

PA 1/ส

แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรยี นสรุ าษฎร์ธานี ๒

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันที่ 1 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผู้จดั ทำขอ้ ตกลง .
ชอ่ื นางบษุ กร นามสกลุ มากชิต ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ .
สถานศึกษา โรงเรียนสรุ าษฎรธ์ านี ๒ สงั กัด สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสุราษฎรธ์ านี ชมุ พร
รบั เงินเดือนในอันดับ คศ. 3 อัตราเงนิ เดอื น 42,460 บาท

ประเภทหอ้ งเรียนที่จดั การเรยี นรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรยี น ตามสภาพการจัด
การเรยี นรจู้ รงิ )

✓ หอ้ งเรยี นวิชาสามญั หรอื วิชาพ้ืนฐาน
หอ้ งเรยี นปฐมวัย
ห้องเรยี นการศกึ ษาพิเศษ
ห้องเรียนสายวิชาชพี
ห้องเรยี นการศกึ ษานอกระบบ / ตามอัธยาศยั

ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
ซ่ึงเป็นตำแหนง่ และวิทยฐานะท่ีดำรงอยู่ในปัจจบุ ันกบั ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ไวด้ ังตอ่ ไปน้ี

สว่ นท่ี 1 ข้อตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.50 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ดังน้ี

กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ รายวชิ า

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา ฟิสิกส์ 2 จำนวน 11 ช่ัวโมง/สัปดาห์

รายวิชา การสื่อสารและการนำเสนอ (IS๒. ม.2 จำนวน 1.83 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

รายวิชา การสอ่ื สารและการนำเสนอ (IS๒. ม.4 จำนวน 1.83 ชัว่ โมง/สัปดาห์

กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน

ลูกเสือ เนตรนารี จำนวน 0.92 ช่วั โมง/สปั ดาห์

ชมุ นุม IS3 จำนวน 0.92 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 1.75 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กิจกรรมโฮมรมู วนั ละ 10 นาที จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์

กิจกรรมอบรมระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4/6 จำนวน 0.92 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 12 ช่วั โมง/สัปดาห์

หวั หนา้ งานสำนกั งานผอู้ ำนวยการ จำนวน 12 ชว่ั โมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน - ชั่วโมง/สปั ดาห์

-

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

1.1 ชัว่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.50 ช่วั โมง/สปั ดาห์ดงั นี้

กล่มุ สาระการเรยี นร/ู้ รายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 1 จำนวน 11 ชั่วโมง/สปั ดาห์

รายวิชา การศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ (IS๑. ม.2 จำนวน 1.83 ชั่วโมง/สปั ดาห์

รายวิชา การศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS๑. ม.4 จำนวน 1.83 ช่วั โมง/สัปดาห์

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

ลูกเสือ เนตรนารี จำนวน 0.92 ชั่วโมง/สัปดาห์

ชุมนุม สนุกกับดวงดาว จำนวน 0.92 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 1.75 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กิจกรรมโฮมรมู วันละ 10 นาที จำนวน 0.83 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กิจกรรมอบรมระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/6 จำนวน 0.92 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา จำนวน 12 ชวั่ โมง/สัปดาห์

หัวหน้างานสำนักงานผู้อำนวยการ จำนวน 12 ชวั่ โมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน - ช่ัวโมง/สัปดาห์

-

2. งานที่จะปฏิบัตติ ามมาตรฐานตำแหนง่ ครู (ให้ระบรุ ายละเอยี ดของงานท่จี ะปฏิบตั ใิ นแต่ละด้าน
วา่ จะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการดำเนนิ การด้วยกไ็ ด้)

ตวั ช้ีวัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกดิ ขึ้นกบั ผู้เรียน
ท่จี ะดำเนินการพฒั นา
ของงานตามข้อตกลง ทีแ่ สดงให้เหน็ ถงึ การ
ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ
ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ การประเมิน ที่คาดหวังใหเ้ กดิ ขนึ้ เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่ (โปรดระบุ
กบั ผ้เู รยี น ท่ดี ีข้นึ หรอื มกี ารพัฒนา

(โปรดระบ)ุ มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ รเิ ร่ิม พฒั นารายวิชาและหน่วย ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นา 1.ผเู้ รียนร้อยละ 80
ลกั ษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกับ
1.การสร้างและหรือพฒั นาหลกั สูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการ สมรรถนะและการเรียนรู้ มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรยี นรูต้ ามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช เต็มตามศักยภาพสง่ ผล เรียนสูงกว่าท่โี รงเรียน
2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ ใหค้ ณุ ภาพการจัดการ กำหนด
(ฉบับปรบั ปรงุ 256๐. และตาม
หลักสูตรบรบิ ทของสถานศึกษา เรยี นรูส้ งู ขนึ้ ดงั นี้ 2.ผู้เรียนร้อยละ 90
ผเู้ รียน และท้องถน่ิ และสามารถ
แก้ไขปญั หาในการจดั การเรยี นรู้ 1.ผเู้ รยี นสามารถอธบิ าย มีคณุ ลักษณะอันพงึ
เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นได้พัฒนาสมรรถนะ
และการเรยี นรู้เต็มตามศักยภาพ เรอ่ื งทีเ่ รียนรู้ได้ ประสงคส์ งู กว่าท่ี
ส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้
สูงขนึ้ และเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี 2.ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะ โรงเรียนกำหนด

ในการสรา้ งและหรอื พัฒนา อนั พึงประสงค์ 3. นักเรยี นรอ้ ยละ 80
หลักสตู ร มีวธิ กี ารดังน้ี
3.ผเู้ รียนมีสมรรถนะ มีสมรรถนะสำคญั ตรง
วิธีการดำเนนิ การ
๑. ศึกษาหลกั สูตรแกนกลาง สำคญั ตามหลักสูตร ตามหลักสตู รและความ
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช
2551 กลมุ่ สาระ ตอ้ งการของสถานศกึ ษา
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ 256๐.
๒. ศกึ ษาหลักสตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนสรุ าษฎรธ์ านี ๒
๓.วเิ คราะห์หลกั สตู รตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกิดขึน้ ท่ีจะเกิดขึ้นกบั ผเู้ รียน
ทแี่ สดงให้เห็นถงึ การ
การประเมิน กบั ผู้เรียน เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ท่ดี ีข้ึนหรือมกี ารพัฒนา
มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์
พุทธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระ สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
(ฉบบั ปรบั ปรงุ 256๐.
๔.วิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้
ตัวชว้ี ดั และผลการเรยี นรู้เพ่อื จัดทำ
คำอธิบายรายวชิ าฟิสกิ ส์ และหน่วย
การเรยี นรู้วิชาฟิสิกส์ใหส้ อดคลอ้ ง
กบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการ
เรยี นรู้
๕. ริเริ่ม คิดคน้ พฒั นารายวชิ า
โครงสรา้ งรายวิชาและหน่วย
การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ ระดบั ชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 และหนว่ ยการ
เรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกบั บริบทของ
สถานศึกษา ผู้เรยี น ท้องถ่นิ และ
สามารถนำไปปฏบิ ัติได้จริง
๖. จัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้
รายวิชาฟิสกิ ส์
๗. จัดกจิ กรรมการเรยี นรูร้ ายวชิ า
ฟสิ ิกส์โดยใช้การจดั การเรยี นร้แู บบ
Active Learning เพ่ือให้ผู้เรยี น ได้
พฒั นาสมรรถนะและการเรียนรเู้ ต็ม
ตามศักยภาพ
๘.เป็นแบบอยา่ งในการสรา้ ง และ
หรอื พัฒนาหลกั สตู รแก่ครูในกลมุ่
สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี

ตัวชีว้ ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ กับผ้เู รียน

ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เหน็ ถงึ การ

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังใหเ้ กิดขนึ้ เปล่ยี นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน กบั ผู้เรียน ท่ีดีขน้ึ หรือมีการพัฒนา
2.การออกแบบการจดั การเรียนรู้
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขึ้น (โปรดระบ)ุ

รเิ รมิ่ คิดคน้ การออกแบบการ จากวธิ ีการดำเนินการ 1.ผูเ้ รยี นร้อยละ 80

จดั การเรยี นรู้โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็น เกดิ ผลลพั ธอ์ ะไรกับ มีผลสัมฤทธท์ิ างการ

สำคัญสามารถแกไ้ ขปัญหาและ ผเู้ รียน เรยี นสูงกวา่ ทโ่ี รงเรยี น

พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ ๑. ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้ตู าม กำหนด

ใหส้ งู ข้นึ เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรู้ ทกั ษะ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2.ผูเ้ รยี นร้อยละ 90

คุณลกั ษณะประจำวชิ าคุณลกั ษณะ ตอบสนองความตอ้ งการ มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ

อนั พึงประสงคแ์ ละสมรรถนะที่ ของผู้เรยี น ประสงค์สูงกว่าที่

สำคัญตามหลกั สูตรมกี ระบวนการ ๒. ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรจู้ าก โรงเรยี นกำหนด

คิดและคน้ พบองคค์ วามรู้ด้วย กจิ กรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้น 3. นกั เรยี นร้อยละ 80

ตนเองและสร้างแรงบนั ดาลใจและ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มีสมรรถนะสำคัญตรง

เป็นแบบอย่างทด่ี ีในการออกแบบ ๓. ผู้เรียนได้รบั การแก้ไข ตามหลกั สูตรและความ

การจัดการเรยี นรู้ ปญั หาและพัฒนา ตอ้ งการของสถานศึกษา

วธิ กี ารดำเนนิ การ คุณภาพการจัดการ

๑.วิเคราะหผ์ ้เู รยี นรายบคุ คล เรยี นรู้แบบ Active

เพอ่ื ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ Learning

ตอบสนองต่อผูเ้ รยี น ๔. ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะ

๒.คิดค้นการออกแบบการจัดการ อนั พึงประสงค์

เรียนโดยเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยใช้ ๕. ผู้เรียนมีสมรรถนะ

กระบวนการเรียนรแู้ บบActiveLearning สำคญั ตามหลักสตู ร

เพ่ือแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ๖. ผเู้ รียนเกิด

การจดั การเรียนรใู้ หส้ งู ขน้ึ เพือ่ ให้ กระบวนการคดิ และ

ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ค้นพบองค์ความรดู้ ้วย

อนั พึงประสงค์ และสมรรถนะที่ ตนเอง

สำคัญตามหลักสูตรมีกระบวนการ

คิดและคน้ พบองค์ความรู้ด้วย

ตนเอง

๓.จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้

สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา

และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา

ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวช้วี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกดิ ขน้ึ กับผู้เรยี น

ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ

ลกั ษณะงานท่ปี ฏบิ ตั ิ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ใหเ้ กดิ ข้ึน เปล่ียนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่
การประเมิน กบั ผเู้ รยี น ท่ดี ขี ้ึนหรอื มีการพฒั นา
3.การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากขึน้ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงข้ึน (โปรดระบุ)

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

(ฉบับปรับปรุง 256๐.

๔.มีกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี

หลากหลายด้วยวิธีการปฏิบตั ิที่

สร้างสรรค์ มีการใช้คำถามสะทอ้ น

คิดทีจ่ ะให้เกดิ กบั ผเู้ รยี นตามหลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น

กจิ กรรม STEM กายกรรมช้อนสอ้ ม

เกา้ อแี้ สนสวย ไข่ตกไมแ่ ตก

กิจกรรมจรวดขวดน้ำ กจิ กรรมการ

ทดลองตามหลกั สตู ร การนำเสนอ

และการทบทวน ศึกษาค้นคว้าสร้าง

องคค์ วามรูด้ ว้ ยตวั เอง ด้วย

Chatbot เป็นต้น

๕. เป็นที่ปรกึ ษาในการเขียน

แผนการจดั การเรยี นรู้

มกี ารรเิ ร่ิม คิดคน้ และพฒั นา 1. ผเู้ รยี นสามารถ 1.ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 มี

นวตั กรรม การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ อธิบายเร่อื งที่เรียนรู้ได้ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

ที่สามารถแก้ไขปญั หาในการจัดการ 2. ผู้เรยี นสามารถอ่าน สงู กวา่ ทโี่ รงเรยี นกำหนด

เรยี นรู้ ทำให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาเต็ม คิด วเิ คราะห์ และเขียน 2.ผ้เู รยี นร้อยละ 90 มี

ตามศักยภาพเรยี นรู้และทำงาน สอ่ื ความจากเรือ่ งที่ คุณลกั ษณะอนั พงึ

ร่วมกัน มีกระบวนการคิดและค้นพบ เรยี นรไู้ ด้ ประสงค์สูงกว่าที่

องคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง และสรา้ ง 3. ผู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะ โรงเรียนกำหนด

แรงบันดาลใจและเป็นแบบอยา่ งท่ีดีใน อนั พึงประสงค์ 3. นกั เรียนร้อยละ 80

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ผเู้ รียนมสี มรรถนะ มสี มรรถนะสำคญั ตรง

วธิ ีการดำเนนิ การ สำคัญตามหลักสตู ร ตามหลกั สูตรและความ
๑.คิดคน้ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5. ผเู้ รยี นมที ักษะ ชวี ิต ตอ้ งการของสถานศกึ ษา
แบบ Active Learning เช่น กจิ กรรม ทักษะการทำงาน
STEM กายกรรมชอ้ นสอ้ ม เกา้ อี้ ทักษะดา้ นเทคโนโลยี 4.ผูเ้ รยี นร้อยละ 90
แสนสวย ไข่ตกไม่แตก กจิ กรรม สารสนเทศ และรเู้ ทา่ สามารถอา่ น คดิ
วิเคราะห์ เขยี นสือ่ ความ

ตวั ชวี้ ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ท่จี ะเกิดข้นึ กับผเู้ รยี น

ทจี่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ท่ีแสดงให้เห็นถึงการ

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังใหเ้ กดิ ขึน้ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่
การประเมนิ กบั ผเู้ รียน ที่ดีข้นึ หรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธิ์

สงู ขึ้น (โปรดระบุ)

จรวดขวดน้ำ กิจกรรมการทดลอง ทันการเขา้ ถงึ ส่อื จากเรื่องทเี่ รียนรู้สูงกวา่

ตามหลักสตู ร การนำเสนอ และการ เทคโนโลยี สงั คม ท่โี รงเรียนกำหนด

ทบทวน ศกึ ษาค้นคว้าสร้างองค์ ออนไลนต์ า่ งๆ และใช้
ความรดู้ ้วยตวั เอง ดว้ ย Chatbot ประโยชน์จากสอื่
เป็นต้น ที่สามารถแกไ้ ขปญั หาใน
การจดั การเรยี นร้ทู ำให้ผเู้ รยี นได้ เทคโนโลยี แหลง่
พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพเรยี นรู้และ
ทำงานรว่ มกนั มกี ระบวนการคิด เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมี
และค้นพบองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง
และสร้างแรงบนั ดาลใจในการจัด ประสทิ ธภิ าพ
กจิ กรรมการเรยี นรู้
6. ผเู้ รียนท่มี ีปัญหา
ไดร้ บั การแก้ไขผ่านการ
วิจัยในชัน้ เรยี น

๒. มีการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ เชน่

การทบทวน ศกึ ษาคน้ ควา้ สรา้ งองค์

ความรู้ด้วยตวั เอง ดว้ ย Chatbot

เรอื่ ง การเคลอื่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์

๓. มีกระบวนการนเิ ทศการจัดการ

เรยี นรูโ้ ดยการเปดิ ช้ันเรียนของ

ครผู สู้ อนในกลุ่มสาระการเรียนรู้

๔. มีสะท้อนกลบั จากครูผู้ร่วมนเิ ทศ

ดว้ ยชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู าง

วชิ าชพี PLC

๕.เปน็ แบบอย่างท่ีดใี นการจัด

กจิ กรรมการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย

และเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ

ตวั ช้วี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ท่ีจะเกดิ ขึน้ กบั ผู้เรียน

ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ

ลักษณะงานทป่ี ฏบิ ัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกดิ ขึ้น เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่
การประเมิน กบั ผ้เู รยี น ท่ดี ีขน้ึ หรอื มกี ารพัฒนา
๔.การสรา้ งและหรือพัฒนาส่อื
นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลง่ (โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากขึน้ หรอื ผลสัมฤทธ์ิ
เรยี นรู้
สูงขึ้น (โปรดระบุ)

มีการริเรม่ิ คิดค้นและพฒั นาสอ่ื 1.ผเู้ รยี นสามารถอธิบาย 1.ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80 มี

นวตั กรรมเทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ เรอ่ื งทเ่ี รียนรู้ได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนรู้ 2.ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะ สงู กว่าท่ีโรงเรยี นกำหนด

สามารถแกไ้ ขปัญหาในการเรยี นรู้ อันพงึ ประสงค์ 2.ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 90 มี

ของผเู้ รียน และทำให้ผู้เรยี นมี 3.ผ้เู รียนสามารถอ่าน คณุ ลักษณะอนั พึง

ทักษะการคิดและสามารถสร้าง คดิ วเิ คราะห์ เขียนส่ือ ประสงคส์ ูงกวา่ ที่

นวัตกรรมไดแ้ ละเปน็ แบบอย่างท่ีดี ความจากเรอื่ งท่ีเรยี นรู้ โรงเรียนกำหนด

ในการสร้างและหรือพฒั นาส่ือ ได้ 3.ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 90

นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละแหล่ง สามารถอ่าน คิด

เรียนรู้ วิเคราะห์ เขียนสื่อความ

วิธกี ารดำเนินการ จากเรอ่ื งทเี่ รยี นรสู้ ูงกวา่
๑. ศกึ ษาเน้อื หา เร่อื ง การเคลอื่ นท่ี ทโ่ี รงเรียนกำหนด

แบบโพรเจกไทล์ เพอ่ื ทจี่ ะสร้างและ

พฒั นาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี

และแหลง่ เรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับ

กจิ กรรมการเรียนรู้

๒. คิดค้น ออกแบบสอ่ื การเรยี นรู้

ให้สอดคล้องกบั เนอื้ หาสาระ

มาตรฐานการเรยี นรู้ตวั ชว้ี ัด และ

จดุ ประสงค์การเรียนรทู้ ีส่ ง่ เสริม

พัฒนาผเู้ รยี น เช่น Powerpoint

และ Chatbot โตต้ อบอตั โนมตั ิ

เรอ่ื ง การเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์

เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถทบทวน

บทเรยี น และเกิดการเรยี นรไู้ ด้ดว้ ย

ตนเอง และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ใน

Google Classroom

๓. ตรวจสอบคุณภาพของ Chatbot

โต้ตอบอัตโนมัติ เรอื่ ง การเคล่ือนท่ี

แบบโพรเจกไทล์ จากผู้เชีย่ วชาญ

ตัวชว้ี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทีจ่ ะเกิดขน้ึ กบั ผู้เรียน

ท่จี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เหน็ ถึงการ

ลักษณะงานทป่ี ฏบิ ัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน เปล่ยี นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมนิ กบั ผูเ้ รียน ทด่ี ขี นึ้ หรือมีการพัฒนา
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากขึน้ หรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

๔. นกั เรยี นประเมนิ การใช้ Chatbot

โต้ตอบอตั โนมตั ิ เรอื่ ง การเคลอื่ นท่ี

แบบโพรเจกไทล์

๕. นำผลการประเมนิ มาคดิ คน้ ในการ

สร้างพัฒนาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี

๖.เป็นพเี่ ล้ียงในการคิดคน้ การสรา้ ง

และหรือพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม

เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้

๕.การวัดผลและประเมินผลการ มกี ารริเริม่ คิดคน้ และพัฒนา ๑. นักเรยี นได้รับการวัดผล นักเรียนรอ้ ยละ 80 มผี ล

เรียนรู้ รปู แบบการวัดและประเมนิ ผลการ และประเมินผลตาม การประเมนิ ตามสภาพ

เรยี นรู้ตามสภาพจริง ดว้ ยวิธีการท่ี สภาพจรงิ จรงิ ด้วยวิธีการที่

หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้อง ๒. นักเรียนได้รับการ หลากหลายสอดคลอ้ ง

กับมาตรฐานการเรยี นรู้ และนำผล วัดผลและประเมนิ ผล กบั มาตรฐานการเรยี นร้/ู

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย ตวั ชวี้ ัด และผลการ

มาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรยี นรู้ มาใช้แกไ้ ขปญั หาและ เรียนรู้สูงกวา่ ค่า

เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนพัฒนาการเรยี นรอู้ ย่าง พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ เปา้ หมายของโรงเรียน

ต่อเนื่อง และเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีใน อย่างต่อเนอื่ ง

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

วิธกี ารดำเนินการ

๑. สร้างและพัฒนาเครื่องมอื วัดและ

ประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย และ

สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้

ตวั ช้วี ดั และหรอื ผลการเรยี นรู้ และ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เช่น แบบ

ประเมนิ การนำเสนอโครงงาน

๒. มีการประเมินตามสภาพจริงเชน่

การประเมินชิน้ งานโดยใช้ระดบั

คณุ ภาพ Rubic Score

๓. มกี ารประเมินคณุ ภาพของ

เครือ่ งมอื วดั และประเมินผลการ

เรียนรโู้ ดยการวเิ คราะห์

ตัวชี้วัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดขึน้ กบั ผ้เู รียน

ท่จี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เห็นถึงการ

ลักษณะงานทป่ี ฏบิ ัติ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกดิ ขน้ึ เปล่ียนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมิน กบั ผเู้ รียน ที่ดีขน้ึ หรอื มีการพฒั นา
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธิ์

สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ

แบบทดสอบเพ่อื หาคา่ ความยาก

ง่าย หาค่าอำนาจจำแนก

๔. ปรบั ปรุงข้อสอบที่เกิดจากการ

วเิ คราะห์

๕.เป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี นการ วเิ คราะห์

ข้อสอบ

๖.การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีการรเิ ริม่ คิดคน้ วเิ คราะห์ และ ๑.นักเรยี นไดร้ บั การ นักเรยี นรอ้ ยละ 70

เพื่อแกป้ ัญหาหรอื พฒั นาการเรียนรู้ สงั เคราะห์ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาหรอื แก้ปัญหาหรอื พฒั นาใน ไดร้ ับการแก้ปัญหาใน

พัฒนาการเรยี นรทู้ ่สี ่งผลต่อคณุ ภาพ ดา้ นการเรียนรู้ การเรียนรู้ส่งผลตอ่

ผ้เู รียนและนำผลการศึกษาวเิ คราะห์ ๒.นักเรยี นไดร้ บั การ คุณภาพผู้เรยี นรายบคุ คล

และสงั เคราะห์ มาใช้แกไ้ ขปญั หา แก้ปญั หาหรือพัฒนา ตามเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้

หรือพัฒนาคณุ ภาพการจัดการ ด้านคุณลักษณะอันพงึ

เรยี นรู้ให้สูงขึ้น และเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี ประสงค์

ในการศกึ ษา วเิ คราะห์ และ ๓.นกั เรียนไดร้ บั การ

สงั เคราะห์ เพื่อแกไ้ ขปญั หาหรือ แกป้ ัญหาหรือพฒั นา

พัฒนาการเรยี นรู้ ด้านสมรรถนะสำคัญผู้เรียน

วิธีการดำเนินการ ๔.ผเู้ รยี นได้รับการ

๑. วิเคราะห์ผูเ้ รียนเปน็ รายบคุ คล ช่วยเหลือเป็นรายบุคคล

๒. จัดกลุ่มนกั เรียน

๓. วางแผนพัฒนานักเรยี นตาม

ศกั ยภาพและความแตกต่างระหวา่ ง

บุคคล

๔. ใช้กระบวนการวิจยั เพ่อื

แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของ

ผ้เู รียนโดยใชว้ ิธกี ารท่ีถูกต้องและ

เหมาะสมกับสภาพปัญหาและความ

ตอ้ งการจำเป็น

๕. นำผลการแกป้ ัญหาหรือการ

พฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรียนไปใช้ในการ

พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น

ตัวชี้วัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรยี น

ที่จะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ

ลักษณะงานท่ีปฏิบตั ิ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ขึน้ เปลยี่ นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมิน กับผู้เรียน ที่ดีขนึ้ หรอื มกี ารพฒั นา
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้ึน (โปรดระบ)ุ

๖.เป็นแบบอย่างท่ดี ใี นการศึกษา

วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ เพือ่ แกไ้ ข

ปญั หาหรือพัฒนาการเรียนรู้ เชน่

แกไ้ ขปัญหาการไม่ส่งงานใน

สถานการณ์Covid19

๗.การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ มีการริเรมิ่ คิดคน้ และ ๑. ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มใน ๑.นักเรียน รอ้ ยละ 70

พฒั นาผู้เรียน พฒั นาการจัดบรรยากาศท่ี การพฒั นาการจดั มคี วามพงึ พอใจใน

เหมาะสม สอดคลอ้ งกับความ บรรยากาศทเี่ หมาะสม บรรยากาศการจัดการ

แตกตา่ งผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คล สอดคลอ้ งกับความ เรียนรู้ และมคี วามพร้อม

สามารถแกไ้ ขปัญหาการเรียนรู้ แตกต่างผู้เรียนเป็น ทีจ่ ะพัฒนาตนเอง

และสรา้ งแรงบนั ดาลใจส่งเสรมิ และ รายบุคคล ๒.นักเรยี น รอ้ ยละ 70

พฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ กระบวนการคิด ๒. ผู้เรยี นเกิด มกี ระบวนการคิด ทักษะ

ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน กระบวนการคิดมที ักษะ ชีวิต ทักษะการทำงาน

ทักษะการเรยี นรู้และนวัตกรรม ชวี ิตทกั ษะการทำงาน ทักษะการเรยี นรูแ้ ละ

ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และ ทกั ษะการเรียนรู้ นวัตกรรม ทกั ษะ ด้าน

เทคโนโลยแี ละเปน็ แบบอย่างทด่ี ีในการ ๓. ผู้เรยี นเกิดทกั ษะดา้ น สารสนเทศ สือ่ และ

จัดบรรยากาศทสี่ ่งเสริมและพัฒนา สารสนเทศสอื่ และ เทคโนโลยตี รงตาม

ผเู้ รยี น เทคโนโลยี จดุ ประสงค์การเรียนรู้

วธิ ีการดำเนินการ 4.ผเู้ รยี นมีความพงึ พอใจ ทก่ี ำหนดไว้
๑. ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่าง ต่อการจดั บรรยากาศ
สรา้ งสรรค์ในการจัดสภาพแวดลอ้ ม การเรยี นรู้

บรรยากาศที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้

Online อยา่ งมีความสุข

๒. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิด

กระบวนการคดิ มที ักษะชวี ติ ทักษะ

การทำงานทักษะการเรยี นรู้และ

นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ

สือ่ และเทคโนโลยี เช่น การทำสรุป

องคค์ วามรู้เปน็ กล่มุ

ตัวชวี้ ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ท่จี ะเกดิ ขนึ้ กับผู้เรียน

ทจี่ ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงให้เห็นถงึ การ

ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กิดขึน้ เปล่ยี นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมิน กบั ผูเ้ รียน ท่ีดีขึน้ หรอื มกี ารพฒั นา
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธิ์

สูงข้ึน (โปรดระบุ)

๓. เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีในการจดั

บรรยากาศที่ส่งเสริมและพฒั นา

ผ้เู รียนจัดบรรยากาศในการเรียน

Online

๘.การอบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะที่ มีการอบรมบ่มนสิ ยั ให้ผูเ้ รียนมี 1. ผเู้ รียนมีคุณธรรม ผู้เรยี นรอ้ ยละ 90 มี

ดีของผู้เรียน คุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะอันพงึ

พึงประสงค์ และคา่ นิยมความเปน็ อนั พึงประสงค์ และ ประสงคส์ งู กว่าท่ี

ไทยทด่ี ีงามโดยรเิ รมิ่ คดิ ค้น และ คา่ นยิ มความเป็นไทย โรงเรียนกำหนด

พฒั นารูปแบบการดำเนินการที่มี 2. ผูเ้ รียนได้รับการแกไ้ ข

ประสทิ ธภิ าพ คำนงึ ถึงความ ปัญหาและการพฒั นา

แตกต่างของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

และสามารถแก้ไขปญั หาและพฒั นา

ผเู้ รยี นได้ และเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีใน

การอบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะที่

ดีของผเู้ รียน

วิธกี ารดำเนนิ การ
๑. อบรมบ่มนสิ ัยใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ธรรม

จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์ และคา่ นิยมความเป็นไทย

ในช่ัวโมงโฮมรูม และสอดแทรกใน
กิจกรรมการเรียนรู้
๒. ริเร่ิม คดิ ค้น และพฒั นารูปแบบ

การดำเนนิ การท่มี ีประสิทธิภาพ
คำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งของผเู้ รยี นเปน็

รายบุคคล
๓. แก้ไขปัญหาและพฒั นาการ
เรยี นรูข้ องผเู้ รียนโดยการซ่อมเสริม

นักเรยี น

ตัวช้วี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ท่ีจะเกดิ ข้นึ กบั ผูเ้ รยี น

ท่จี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ การ

ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ัติ ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ให้เกดิ ข้นึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
การประเมิน กับผเู้ รียน ทีด่ ีขน้ึ หรือมีการพฒั นา
2. ดา้ นการส่งเสริมและสนับสนุน
การจดั การเรียนรู้ลกั ษณะงานท่ี (โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์
เสนอให้ครอบคลมุ ถึง
๙.การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของ สูงขนึ้ (โปรดระบ)ุ
ผเู้ รียนและรายวชิ า
๔. เป็นแบบอย่างที่ดีในการอบรม

และพฒั นาคณุ ลกั ษณะทีด่ ีของ

ผ้เู รียน

มกี ารริเริ่ม คิดคน้ และพฒั นา ๑.มีการจดั ทำข้อมูล นกั เรียนรอ้ ยละ 100

รปู แบบการจดั ทำข้อมูลสารสนเทศ สารสนเทศของผู้เรยี น ได้รบั การส่งเสรมิ

ของผู้เรยี นและรายวิชา ใหม้ ีขอ้ มลู และรายวิชาอยา่ งเป็น สนบั สนนุ การเรยี นรู้

เปน็ ปัจจบุ ัน เพ่อื ใช้ในการส่งเสรมิ ระบบ ถูกตอ้ งและเปน็ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นา

สนบั สนนุ การเรยี นรู้ แก้ไขปญั หา ปัจจุบนั คณุ ภาพผู้เรยี น

และพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และเป็น ๒. ผูเ้ รยี นได้รบั การ

แบบอยา่ งท่ีดี เสริมสรา้ งและพฒั นา

วิธกี ารดำเนินการ คณุ ภาพผู้เรียนจากการ
๑. รเิ ร่มิ คดิ คน้ และพัฒนารูปแบบ ใช้สารสนเทศ

การจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศของ

ผเู้ รยี นและรายวิชาอย่างเป็นระบบ

ถูกตอ้ งและเปน็ ปจั จุบนั

โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยีเพ่ือเปน็

ฐานข้อมูล

๒. ใช้สารสนเทศในการเสริมสร้าง

และพฒั นาผเู้ รียน

๓. ใหค้ ำปรึกษาแก่ครใู น

สถานศึกษาด้านการจัดทำข้อมูล

สารสนเทศ การจัดระบบข้อมลู เพือ่

สามารถนำมาใชไ้ ด้ทนั ที

๔. เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีดา้ นการจัดทำ

ข้อมูลสารสนเทศ เช่น การประเมิน

SDQ การเยยี่ มบา้ น ผลการเรียนแต่

ละภาคเรยี น โดยดำเนนิ การ

เผยแพร่เป็นแบบอย่างให้ครใู นกลมุ่

สาระการเรยี นรู้ และครใู นระดับช้นั

เดียวกนั

ตวั ชี้วัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ท่จี ะเกดิ ข้ึนกับผเู้ รียน

ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทีแ่ สดงให้เหน็ ถงึ การ

ลักษณะงานทปี่ ฏบิ ตั ิ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่ีคาดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ เปล่ยี นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมนิ กับผู้เรยี น ทด่ี ขี ึน้ หรอื มีการพัฒนา
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์

สงู ขึน้ (โปรดระบุ)

๑๐.การดำเนินการตามระบบดูแล มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกย่ี วกับ ๑.ผู้เรยี นไดร้ ับการ นักเรยี นรอ้ ยละ 100

ช่วยเหลือผู้เรียน ผู้เรียนรายบุคคล และประสาน พัฒนาและแก้ไขปัญหา ได้รบั การชว่ ยเหลือ

ความร่วมมอื กับผูม้ สี ว่ นเกี่ยวข้อง จากการใช้สารสนเทศ เพือ่ ลดปัญหาการออก

เพ่อื พัฒนาและแกไ้ ขปญั หาผ้เู รียน ๒. ผู้เรยี นไดร้ ับการ กลางคัน

และริเริ่มโครงการหรอื จัดกจิ กรรม สง่ เสริม ป้องกันและ

เชงิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยวิธีการท่ี แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

หลากหลายในการดแู ลช่วยเหลือ

ผเู้ รียนและเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี

วธิ กี ารดำเนนิ การ

๑. รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์

สังเคราะห์ จดั ทำและใช้สารสนเทศ

ของผู้เรียนในระบบดูแลช่วยเหลือ

ผู้เรียนโดยการแบง่ นักเรียนกลุ่ม

ปกติคกู่ บั นักเรยี นทม่ี ีปญั หาหรือ

กลมุ่ เสี่ยง เพ่อื ตดิ ตาม ดูแล

ช่วยเหลือท้ังด้านการเรยี นและ

พฤติกรรม

๒. รเิ รม่ิ โครงการหรอื จดั กิจกรรม

เชงิ สร้างสรรค์ด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลาย

ในการดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี นเช่น

กจิ กรรมคู่ Buddy เพือ่ ทำงานและ

ชว่ ยเหลือซึง่ กันและกันร่วมกนั

๓. สง่ เสริม ป้องกนั และแกป้ ัญหา

ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบโดยการให้

นกั เรียนกลุ่มปกติประกบนักเรียน

กลมุ่ มีปัญหาและกลุ่มเส่ยี ง

๔. เปน็ แบบอย่างทีด่ ีในการดแู ล

ชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นโดยใชว้ ิธีการคู่

Buddy

๑๑.การปฏิบัติงานวิชาการ และงาน ร่วมปฏิบตั งิ านทางวชิ าการ และ ผ้เู รยี นมคี ณุ ภาพในการ นักเรียนร้อยละ 100

อนื่ ๆ ของสถานศกึ ษา งานอ่ืนๆ ของสถานศึกษาเพอ่ื จดั การศึกษาของ ได้รบั แก้ไขปญั หาในการ

ตวั ชว้ี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผเู้ รยี น

ทีจ่ ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เห็นถึงการ

ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ให้เกิดขึน้ เปลยี่ นแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหนง่ การประเมนิ กบั ผู้เรียน ทดี่ ีข้ึนหรือมกี ารพัฒนา
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ มากข้นึ หรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขนึ้ (โปรดระบุ)

ยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษา สถานศึกษา ทีเ่ กิดจากการ เรียน สง่ เสรมิ การเรยี นรู้

ของสถานศึกษา โดยมีการพฒั นา ปฏบิ ตั งิ านตรงตาม นอกหอ้ งเรียนผ่าน

รปู แบบหรอื แนวทางการ ทกั ษะ ความรู้ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่อื

ดำเนนิ งานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพสงู ข้นึ ความสามารถ ของครู พัฒนา การเรยี นรู้

และเป็นแบบอยา่ งที่ดี

วิธีการดำเนนิ การ

๑. รว่ มปฏบิ ัติงานทางวิชาการ และ

งานอื่นๆ ของสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดบั

คุณภาพการจดั การศกึ ษาของ

สถานศกึ ษาเช่น การรายงานการ

สอนผ่านระบบgoogle from เพ่ือดู

การเข้าเรียนของนกั เรียน ในแตล่ ะ

รายวิชา แต่ละวัน

๒. เปน็ แบบอย่างดีรว่ มปฏิบตั ิงาน

ทางวชิ าการ และงานอื่นๆ ของ

สถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดับคุณภาพ

การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

โดยการสรปุ องคค์ วามรแู้ ละ

เผยแพร่เอกสารจากการพฒั นา

ตนเอง เช่น รปู แบบ เทคนคิ วธิ ีสอน

44 รูปแบบเพอื่ ใช้ในการจัดการ

เรียนการสอน ฯลฯ

๑2. และการประสานความร่วมมือ การประสานความรว่ มมือกบั ๑.ผเู้ รียนไดร้ ับการแกไ้ ข นกั เรียนรอ้ ยละ 100

กบั ผ้ปู กครองภาคเี ครือข่าย และหรือ ผู้ปกครอง ภาคีเครอื ขา่ ย และหรอื ปัญหาจากการเยี่ยมบ้าน ได้รับการชว่ ยเหลือ

สถานประกอบการ สถานประกอบการ เพอ่ื ร่วมกนั และการรว่ มมอื ของ ดา้ นการเรยี นโดยความ

แกไ้ ขปัญหาและพัฒนาผ้เู รยี น และ ผปู้ กครอง ภาคีเครือขา่ ย รว่ มมือระหว่างครู

เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี และหรือสถานประกอบการ ผู้ปกครอง หรอื สถาน

วิธีการดำเนนิ การ ๒.ผเู้ รยี นไดร้ ับการ ประกอบการ
๑.ประชมุ ผปู้ กครองชั้นเรียน ภาค พัฒนาจากการเยี่ยมบา้ น
เรียนละ 1 ครัง้ และการประชมุ
และการรว่ มมอื ของ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ ทจ่ี ะเกิดข้นึ กับผู้เรยี น
ทแี่ สดงให้เห็นถงึ การ
การประเมิน กบั ผเู้ รยี น เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ทด่ี ีขึน้ หรือมีการพฒั นา
มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธ์ิ
ผ้ปู กครองออนไลน์เพอื่ ติดตาม และหรือสถาน สงู ขึ้น (โปรดระบุ)
ช่วยเหลือนักเรยี น ประกอบการ
๒. เยยี่ มบา้ นออนไลน์ เพือ่ ติดตาม
แก้ไขปัญหา ชว่ ยเหลือนกั เรยี น
อย่างต่อเนอื่ ง

3. ดา้ นการพัฒนาตนเองและ พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ 1. ผู้เรียนมคี ณุ ภาพ ผูเ้ รียนมคี วามพึงพอใจใน
การจดั การเรียนการรู้
วชิ าชีพลกั ษณะงานท่ีเสนอให้ ตอ่ เนื่อง เพือ่ ใหม้ ีความรู้ เนอื่ งจากครูนำความรู้ ของครูโดยรวม ผา่ น

ครอบคลุมถึง ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ ความสามารถทไี่ ด้จาก กิจกรรม “การประเมนิ
คุณภาพการจัดการเรยี น
๑๓.การพัฒนาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบ อยา่ งย่ิง การใชภ้ าษาไทยและ การพฒั นาตนเอง มา การสอนของครตู าม
ความคิดเห็นของ
และตอ่ เนื่องเพื่อใหม้ คี วามรู้ ภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร และ พฒั นาเน้อื หาวิชาและ นกั เรยี น” อยู่ในระดบั
มาก ขึน้ ไป
ความสามารถ ทกั ษะ โดยเฉพาะ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศกึ ษา วิธกี ารสอน

อย่างย่งิ การใช้ภาษาไทยและ สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ใน 2. ผเู้ รียนมีคณุ ภาพ

ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร และ เน้อื หาวิชาและวธิ กี ารสอน และเปน็ เนอื่ งจากครูเข้ารับพฒั นา

การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การศกึ ษา แบบอยา่ งท่ดี ี อยา่ งเปน็ ระบบและ

สมรรถนะวชิ าชีพครแู ละความรอบรู้ วธิ กี ารดำเนินการ ต่อเนื่อง เพื่อใหม้ ีความรู้
ในเนื้อหาวชิ าและวธิ ีการสอนและ ๑.จัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID ความสามารถ โดยเฉพาะ

เปน็ แบบอย่างทดี่ ี Plan) ท่ีสอดคล้องกบั สภาพการ อย่างย่งิ ทักษะการใช้
ปฏิบัติงานความต้องการจำเปน็ หรือ เทคโนโลยีดิจิทัล

ตามแผนกลยุทธ์ของหนว่ ยงาน

การศกึ ษาหรอื สว่ นราชการต้นสงั กัด

๒. พัฒนาตนเองอย่างเปน็ ระบบและ

ตอ่ เน่อื ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทกั ษะ

การใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล คือ การสร้าง

Chatbot

3. นำความรคู้ วามสามารถและ

ทักษะทีไ่ ดจ้ ากการพฒั นาตนเองมา

พฒั นานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้

ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน

ตวั ช้วี ัด (Indicators)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ท่ีจะเกิดขึน้ กบั ผ้เู รียน

ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ท่แี สดงให้เหน็ ถงึ การ

ลกั ษณะงานทป่ี ฏิบตั ิ ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ ท่คี าดหวังให้เกิดขึน้ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ตามมาตรฐานตำแหน่ง การประเมนิ กับผ้เู รียน ทด่ี ีขน้ึ หรือมีการพฒั นา
(โปรดระบุ (โปรดระบุ) มากขึ้นหรอื ผลสัมฤทธ์ิ

สูงขึ้น (โปรดระบุ)

๑๔.การมสี ว่ นร่วมในการแลกเปล่ียน มสี ่วนรว่ ม และเป็นผูน้ ำในการ 1. ผู้เรียนไดร้ ับการแก้ไข ผเู้ รยี นมคี วามพึงพอใจใน

เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อแก้ปัญหาและ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ทางวชิ าชพี เพื่อ ปัญหาจากการท่ีครนู ำ การจดั การเรียนการรู้

สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ แก้ไขปญั หาและสร้างนวตั กรรม องคค์ วามรู้ที่ได้จากการ ของครโู ดยรวม ผา่ น

จัดการเรียนรแู้ ละเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนรู้และ เขา้ ร่วมชมุ ชนการเรียนรู้ กจิ กรรม “การประเมนิ

เปน็ แบบอยา่ งที่ดี ทางวิชาชพี คณุ ภาพการจดั การเรยี น

วธิ ีการดำเนินการ 2. ผูเ้ รียนไดร้ ับการ การสอนของครูตาม

1. นำองค์ความรู้ท่ีได้จากการเข้า พฒั นาจากนวตั กรรม ท่ี ความคิดเหน็ ของ

รว่ มชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี ไป ครูเขา้ รว่ มชมุ ชนการ นกั เรยี น” อยู่ในระดับ

ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน เรียนรทู้ างวชิ าชีพ มาก ขึ้นไป

2. สร้างนวตั กรรมที่ไดจ้ ากการเขา้

ร่วมในชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

เพื่อแกไ้ ขปัญหาการจัดการเรยี นรู้

เช่น การสรา้ ง Chatbot โตต้ อบ

อัตโนมตั ิ เพื่อพฒั นาทักษะการแก้

โจทย์ปญั หาฟสิ กิ ส์ เรือ่ ง การ

เคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์

3. เป็นผูน้ ำและเปน็ แบบอย่างท่ีดี

ดา้ นการสรา้ งนวตั กรรมจากชมุ ชน

การเรียนรทู้ างวิชาชีพ

๑๕.การนำความรคู้ วามสามารถ นำความรู้ ความสามารถ ทักษะทไี่ ด้ จากวิธกี ารดำเนนิ การ ผเู้ รยี นมคี วามพึงพอใจใน

ทักษะที่ไดจ้ ากการพัฒนาตนเองและ จากการพัฒนาตนเองและวชิ าชพี มาใช้ เกิดผลลัพธ์อะไรกบั การจดั การเรยี นการรู้

วชิ าชพี มาใช้ในการพฒั นาการจัดการ ในการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ การ ผูเ้ รยี น ของครูโดยรวม ผา่ น

เรียนรู้ การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น รวมถึงการ ๑.ผู้เรยี นมีคุณภาพจากการ กิจกรรม “การประเมนิ

และการพัฒนานวตั กรรมการจดั การ พัฒนานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ นำความรู้ ความสามารถ คณุ ภาพการจดั การเรยี น

เรียนรู้ท่ีมผี ลตอ่ คุณภาพผู้เรยี นและ ทีม่ ผี ลตอ่ คุณภาพผเู้ รียน และเป็น ทักษะของครู ที่ได้จาก การสอนของครตู าม

เปน็ แบบอยา่ งที่ดี แบบอยา่ งที่ดี การพัฒนาตนเองและ ความคิดเห็นของ

วธิ กี ารดำเนนิ การ วิชาชีพมาพัฒนา นกั เรยี น” อยใู่ นระดับ
1. นำความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ี นวัตกรรม มาก ข้ึนไป
ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ๒.ผู้เรียนมีคุณภาพจากการ
นำความรู้ ความสามารถ

ทักษะของครู ทีไ่ ด้จาก

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง
ตามขอ้ ตกลง ใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังให้เกดิ ขนึ้ ท่จี ะเกิดข้นึ กบั ผ้เู รยี น
ท่แี สดงให้เห็นถงึ การ
การประเมิน กบั ผู้เรยี น เปล่ียนแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ (โปรดระบ)ุ ท่ดี ขี ้นึ หรือมีการพัฒนา
มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธิ์
สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

มาใชใ้ นการพฒั นาการจัดการ การพฒั นาตนเองและ

เรียนรู้ Online วชิ าชีพมาใชใ้ นการ

2. นำความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ี จดั การเรียนรู้

ได้จากการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ

มาใช้ในการพัฒนานวตั กรรมในการ

จดั การเรียนรู้ เชน่ การสร้าง

Chatbot โต้ตอบอัตโนมัติ เร่อื ง

การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์

3. นำเสนอ Best Practice ของแต่

ครใู นกลุม่ สาระการเรียนร้แู ละ

ระดับสถานศึกษา

4. เป็นแบบอยา่ งท่ีดีด้านการนำ

ความรู้ ความสามารถ ทักษะท่ีไดจ้ าก

การพัฒนาตนเองและวิชาชพี โดย

การสรุปองคค์ วามรู้เปน็ เอกสาร

และได้เผยแพร่แหล่งต่าง ๆ

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ.PA.1.ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้

ของแต่ละสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบรว่ มกนั ระหวา่ งผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผ้จู ดั ทำขอ้ ตกลง
2. งาน (Tasks) ทเ่ี สนอเปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรบั ผิดชอบหลักท่ีส่งผลโดยตรง

ตอ่ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น และให้นำเสนอรายวิชาหลักท่ีทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ทำการ

สอนทุกระดับชนั้ ในกรณีท่ีสอนหลายรายวิชา สามารถเลอื กรายวิชาใดวชิ าหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงใหเ้ หน็ ถึงการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมนิ ผลการพัฒนางานตามขอ้ ตกลงสามารถประเมนิ ไดต้ ามแบบการประเมิน

PA 2
3. การพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลพั ธก์ ารเรียนร้ขู องผเู้ รยี น (Outcomes)และ

ตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้

คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละ
สถานศึกษา และผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผูเ้ รียนท่ีเกิดจากการพัฒนางานตามขอ้ ตกลงเปน็ สำคัญ โดยไมเ่ น้นการประเมินจาก

เอกสาร

สว่ นที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทเ่ี ป็นประเดน็ ท้าทายในการพฒั นาผลลัพธ์การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น

ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ตอ้ งแสดงให้เหน็ ถงึ ระดบั การปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
หรือมกี ารพัฒนามากขึ้น (ท้ังน้ี ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เหน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ัตทิ ่ีคาดหวงั ในวทิ ยฐานะที่สูงกวา่ ได้)

ประเด็นท้าทาย เร่อื ง การพฒั นา Chatbot โต้ตอบอตั โนมตั ิ เพอ่ื พัฒนาทักษะการแกโ้ จทย์ปญั หา วิชา
ฟสิ ิกส์ 2 เร่อื ง การเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (Covid-1๙. ที่

แพรก่ ระจายไปทั่วโลกทำให้มีผู้ติดเชือ้ จำนวนมากข้นึ อย่างรวดเร็ว สง่ ผลกระทบตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกคน ทง้ั ความ
เสียดหายที่เกิดขึ้นต่อระบบเศรษฐกิจ ระบบสาธารณสุข รวมทั้งระบบการศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙. ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน (สพฐ.) ได้กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้ 5 รูปแบบ ตามบริบท และความเหมาะสมของแตล่ ะโรงเรยี น คือ ๑.
ON-AIR ๒. ONLINE ๓. ON–DEMAND ๔. ON-HAND และ ๕. ON–SITE ดังน้ันสถานศึกษาจำเป็นต้องปรับการเรียนการ
สอนโดยมกี ารประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์สำหรบั จดั การเรียนร้อู ย่างหลากหลายเพ่อื พฒั นาประสิทธภิ าพในการเรียน
ให้เพิ่มขึ้น การใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาเปน็ การเชื่อมต่อช่องว่างระหว่างครูผูส้ อนและนักเรียนในการมีการเว้น
ระยะห่างทางสังคม การนำเอาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้นั้นท าให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากที่บ้านและ
ครูผสู้ อนสามารถมอบหมายงาน ตรวจงานและสร้างแบบวัดผลและประเมินผลการเรยี นรขู้ องนักเรยี นไดท้ ุกท่ีทุกเวลา New
normal หรือความปกติใหม่นี้ส่งผลให้สถานศึกษาเกิดการปรับตัวและมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่เกิดขึ้น
อย่างรวดเร็วครูผู้สอน นักเรียนและสถานศึกษาต้องปรบั ตัวอย่างเร่งด่วน ผู้พัฒนาระบบทางด้านสารสนเทศได้เร่งพัฒนา
เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการศึกษาและการประชุมทางไกล จึงเกิดเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนและการ
ประชุมทางไกลขึ้นมากมาย เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ เช่น Zoom, Google Hangouts, Skype, Line,
Facetime, Facebook, Messenger, Microsoft Teams, True Visual World, Google Meet, Vroom, WebX เปน็ ต้น
(กาญจนา บุญภกั ด์ิ,2563 : ๒.

สำหรับปีการศึกษา 2564 แนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสุราษฎร์ธานี ๒ คือ การใช้โปรแกรม
Google Classroom ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ถูกออกแบบมาสำหรับการสร้างห้องเรียนออนไลน์ สามารถเพิ่มชื่อผู้เรียนจาก
บัญชี Google สร้างกิจกรรม ส่งงาน แบบทดสอบ และให้คะแนนผู้เรียนได้ และ Google Meet สำหรับการประชุม
ออนไลน์ / สอนออนไลน์ สามารถใช้ร่วมกับ Google Calendar เพื่อกำหนดตารางการสอนได้ ซึ่งการเรียนการสอน
ออนไลน์เปน็ การจดั การเรียนการสอนทีเ่ รง่ ดว่ นและเกดิ ขึน้ อย่างรวดเร็วปญั หาและอุปสรรคทค่ี รูพบในการจัดการเรยี นรู้
แบบออนไลน์ คือ ด้านอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์สัญญาณอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมที่ใช้สำหรับการเรียนแบบออนไลน์มี
มากที่สุด ปัญหาทางด้านการเงินปัญหาทางด้านพฤติกรรมผู้เรียน เช่น การบริหารจัดการเวลาของนักเรียนและความ
รับผิดชอบต่อตนเองของนักเรียน นอกจากนั้นปัญหาครอบครัวทำให้นักเรียนบางส่วนต้องทำงานเพื่อแบ่งเบาภาระ
ครอบครัวขณะอยู่ทีบ่ ้าน (มนธิชา ทองหัตถ, 2563 : 4๙. และจากงานวิจัยของ Marek, Chew, & Wu (2021, p.9
๗. ที่ได้ศึกษาเรือ่ งประสบการณ์ของครูในการจัดการเรียนรู้ทางไกลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙. พบว่าครูและนักเรยี นใช้แชทแอพลิเคชัน เช่น Messenger Line และ Whatsapp
เพราะชว่ ยใหค้ รแู ละนักเรียนมปี ฏิสัมพันธ์กันมากขึน้ และชว่ ยลดช่องว่างระหว่างครูกับนกั เรียนอกี ดว้ ย ซ่ึงการเรียนผ่าน
อุปกรณ์สื่อสาร (mobil elearning) ที่พกพาสะดวกและรองรับแอปพลิเคชัน (application) ได้หลากหลายจะช่วยให้
เกดิ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ อนและผเู้ รยี นได้ดยี ง่ิ ขึน้ (ดวงมณี แสนม่นั และคณะ, 2561 : 7๙.

เทคโนโลยีมีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว จากการเกิดขึ้นของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence) ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชวี ิตเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ อนิ เตอรเ์ นต็ ช่วยใหเ้ ราสามารถเข้าถึงขอ้ มูลได้มากขึ้น
เร็วขึ้น ทำให้วิธีการเรียนรู้เปลี่ยนไปจากเดิม การปรับตวั ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงจึงเป็นส่ิงสำคัญต่อการเรียนรู้ และการ

ดำเนนิ ชีวติ ในอนาคต ซ่ึงแชทบอท (Chatbot) ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการสนทนาโต้ตอบกับผู้ใช้
อัตโนมัติโดยใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ในการสื่อสารทั้งรูปแบบข้อความ (Text) หรือเสียงพูด (Speech)

เป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ เช่น Chatbot สามารถให้ความรู้ด้านดิจิทัลสำหรับ
นักศึกษาระดับปริญญาตรีสามารถศึกษาทำความเข้าใจได้ด้วยตัวเองและการใช้แชทบอทสามารถช่วยเพิ่มความรู้ความ
เข้าใจได้ (ทิพย์วรรณ ฟูเฟื่อง และคณะ.2564, 3๖. อีกทั้ง Chatbot ช่วยในการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานสำหรับ

ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ในสถานศกึ ษาสังกดั สถาบันการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้ช่วยเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพในการจัดการเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผู้เรียน (พิชณะ พรมลา และสรเดช ครฑุ จ้อน, 2563 : 10๘.

ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ นกั เรยี นไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพได้ไมเ่ ต็มท่ี โดยเฉพาะทักษะการแก้โจทย์
ปัญหาฟิสกิ ส์ ดงั นนั้ ผ้วู จิ ัยจึงมีความสนใจและตระหนักถงึ ความเป็นไปได้ที่จะนำ Chatbot มาช่วยเสรมิ ในการจัดการเรียน
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน เรื่อง การเคลือ่ นท่ีแบบโพรเจกไทล์ สำหรบั นักเรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพ่ือเป็น

แนวทางในการใช้เทคโนโลยีสมยั ใหมม่ าประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรยี นรู้ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรยี นรู้
ตอ่ ไป

โพรเจกไทล์ 2. วธิ ีการดำเนนิ การให้บรรลุผล
2.1 ศึกษาปัญหา และเขยี นโครงการวิจยั
2.2 พัฒนาและหาประสิทธิภาพของ Chatbot เร่อื ง การเคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทล์
2.3 สรา้ งและหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่อื ง การเคลอ่ื นท่ีแบบ

2.4 ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียน
2.5 จดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสานด้วย Chatbot เรอ่ื ง การเคล่อื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์
2.6 ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรียน
2.7 วิเคราะห์ข้อมลู และจัดทำรายงานวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์

3. ผลลัพธก์ ารพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้รับการเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยพัฒนา

Chatbot โต้ตอบอตั โนมตั ิ เรอ่ื ง การเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ มที ักษะการแกโ้ จทย์ปญั หาฟิสิกส์ ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70
ของคะแนนเต็ม) คดิ เป็นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด และนกั เรยี นทั้งหมดมีความพงึ พอใจต่อการใช้ Chatbot

โตต้ อบอตั โนมัติ เร่ือง การเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ มคี า่ เฉลีย่ อยใู่ นระดับ มากข้นึ ไป
3.2 เชงิ คุณภาพ นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจใน และมีทักษะในการแก้โจทยป์ ญั หาฟิสิกส์ เร่ือง การ

การเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ และสามารถนำทักษะท่ไี ดไ้ ปเช่ือมโยงกับเนอ้ื หาเร่ืองอ่ืนๆ ได้

ลงชอื่ ........................................................................
(นางบษุ กร มากชิต)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ
ผู้จัดทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
วันที่ 1 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564

ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการสถานศึกษา

( ) เห็นชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไมเ่ ห็นชอบใหเ้ ปน็ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี อ้ เสนอแนะเพอ่ื นำไปแก้ไข และเสนอเพือ่ พจิ ารณา
อกี คร้ัง ดังน้ี

......................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ........................................................
(นายประยงค์ อินนพุ ฒั น์)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี ๒
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564


Click to View FlipBook Version