กระถางปลกู ตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ
จัดทาโดย
โชตกิ า นพประเสรฐิ รหัสนักศึกษา 63302010030
ศศนิ า สขุ สาราญ รหัสนกั ศึกษา 63302010033
เสนอ
อาจารย์นิพร จุทยั รัตน์
รายงานนเี้ ป้นส่วนหน่งึ ของ รายวชิ าโครงการ
สาขาวชิ า การบัญชี ประเภท พาณิชยกรรม
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี
กระถางปลกู ตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ
จัดทาโดย
โชตกิ า นพประเสรฐิ รหัสนักศึกษา 63302010030
ศศนิ า สขุ สาราญ รหัสนกั ศึกษา 63302010033
เสนอ
อาจารย์นิพร จุทยั รัตน์
รายงานนเี้ ป้นส่วนหน่งึ ของ รายวชิ าโครงการ
สาขาวชิ า การบัญชี ประเภท พาณิชยกรรม
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี
ก
ใบรับรองโครงการ
ระดับประกาศนยี บัตรวิชชพี ชน้ั สูง ชน้ั ปีที่ 2 (ปวส.)
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี
โครงการ
พฒั นาผลติ ภัณฑ์กระถางปลูกต้นไม้จากวัสดธุ รรมชาติ
1. นางสาวโชตกิ า โดย 63302010030
2. นางสาวศศนิ า 63302010033
นพประเสรฐิ รหัสนกั ศึกษา
สุขสาราญ รหสั นกั ศกึ ษา
ชัน้ ปวส. 2/2 สาขาวชิ าการบญั ชี
พิจารณาเหน็ ชอบโดย
.............................................
(นางนพิ ร จทุ ัยรตั น์)
ครูทีป่ รกึ ษาโครงการ
แผนกวิชาบญั ชี คณะบรหิ ารธรุ กจิ
ข
ชือ่ ผลงาน พฒั นาผลติ ภัณฑก์ ระถางปลูกต้นไมจ้ ากวัสดธุ รรมชาติ
ชื่อนกั ศกึ ษา โชตกิ า นพประเสรฐิ
ศศินา สุขสาราญ
สาขาวิชาการ การบญั ชี
ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม
ปกี ารศกึ ษา 2564
สถานศึกษา วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี
บทคดั ย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ น้ี ไดแ้ ก่ 1. เพ่อื พฒั นากระถางตน้ ไม้ด้วยวสั ดธุ รรมชาติย่อย
สลายงา่ ย 2. เพอ่ื พัฒนาผลิตภณั ฑ์เป็นการเพิ่มทางเลอื กแก่ผู้บรโิ ภคและอนรุ ักษธ์ รรมชาติ 3. เพอ่ื
ศกึ ษาความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายทมี่ ีตอ่ กระถางต้นไมจ้ ากวัสดธุ รรมชาติ โดยกลุม่ เป้าหมายที่ใช้
ในการศกึ ษาครัง้ นีไ้ ด้แกบ่ ุคคลทัว่ ไป ตลาดสามแยกปากหมา ลกู คา้ ออนไลน์ จานวน 20 คน ซ่งึ ได้มา
จากการเลอื กแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา คือ ข้อมูลทว่ั ไปของ
ผตู้ อบแบบสอบถามระดับความพงึ พอใจของผูบ้ รโิ ภคทมี่ ตี ่อผลติ ภัณฑ์กระถางปลกู ต้นไมจ้ ากวสั ดุ
ธรรมชาติ โดยแบ่งเปน็ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ ดา้ นการอานวยความสะดวกและความ
เหมาะสม ด้านการออกแบบผลิตภณั ฑ์และตราสนิ คา้ ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลติ ภัณฑ์
โดยรวม สถติ ใิ ช้ในการศึกษา ได้แก่ รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉล่ีย (Arithmetic Mean)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)
ผลการดาเนินงานโครงการ ดงั นี้
ดา้ นคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก และเมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อ
แลว้ มีความแขง็ แรงและทนทาน มีความพงึ พอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ยี 4.25 รองลงมาคือวัตถุดบิ ท่ี
ใชท้ ามคี วามเหมาะสม สามารถอุ้มนา้ ได้มี และระยะเวลาท่ใี ช้งานของผลิตภัณฑ์
ดา้ นการอานวยความสะดวกและความเหมาะสม โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก
และเมอื่ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ แล้ว สามารถเคลื่อนย้ายและสะดวกตอ่ การใช้มคี วามพงึ พอใจในระดับ
มาก มีค่าเฉลยี่ 4.05 รองลงมาคอื บรรจภุ ัณฑ์ทใ่ี สม่ ีความเหมาะสม ผลติ ภณั ฑ์มรี าคาทีเ่ หมาะสม และ
ผลิตภัณฑม์ ีความเหมาะสมในการใชง้ าน
ด้านการออกแบบผลติ ภณั ฑแ์ ละตราสินคา้ โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก และเมื่อ
พจิ ารณาเปน็ รายข้อแล้ว รปู ลกั ษณข์ องผลติ ภณั ฑ์และตรา น่าสนใจ สะดดุ ตา นาเปน็ ของฝากได้ และ
รูปแบบของผลิตภัณฑม์ ีความน่าสนใจ มีความพงึ พอใจในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ย 4.05 รองลงมาคอื มี
เอกลกั ษณ์ จดจาได้งา่ ย และรปู แบบของผลติ ภัณฑ์มคี วามน่าสนใจ
ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลิตภณั ฑ์โดยรวม โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก
และเมอ่ื พิจารณาเป็นรายขอ้ แลว้ ผลิตภัณฑม์ ีความเหมาะสม มปี ระโยชนแ์ ละสะดวกต่อใชง้ าน
โดยรวมมีความพึงพอใจในระดบั มาก มคี ่าเฉล่ยี 4.25 รองลงมาคือความแข็งแรง ความทนทานและ
ระยะการใช้งานผลิตภณั ฑโ์ ดยรวม และรูปลักษณ์ การออกแบบและความสวยงามของผลิตภัณฑ์
โดยรวม
คาสาคญั : กระถาง ธรรมชาติ ความพงึ พอใจ
ค
กติ ตกิ รรมประกาศ
โครงการ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์กระถางปลูกต้นไมจ้ ากวสั ดุธรรมชาติ ในครั้งนี้ สามารถสาเรจ็
ลลุ ว่ งอยา่ งสมบรู ณด์ ว้ ยความเมตตา จากอาจารย์นิพร จุทัยรตั น์ ที่ปรกึ ษาโครงการที่ใหค้ าปรกึ ษา
แนะนาแนวทางท่ถี กู ต้อง และเอาใจใสดีตลอดระยะเวลาในการศกึ ษาและจัดทาโครงการ ผู้ศกึ ษารสู้ ึก
ซาบซงึ้ เป็นอย่างย่งิ จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณบดิ า มารดา พแ่ี ละเพอื่ น ๆ ทกุ คนท่ไี ด้ให้คาแนะนาชว่ ยเหลอื สนับสนนุ ผู้
ศกึ ษาโครงการมาตลอด โครงการจะสาเรจ็ ลลุ ่วงไปไม่ได้ หากไมม่ ีบุคคลดงั กล่าวในการจดั ทาโครงการ
คุณคา่ และประโยชนข์ องงานศึกษา ผู้ศึกษาขอมอบเปน็ กตญั ญูกตเวทิตาแด่บพุ การี
บูรพาจารย์ และผ้มู ีพระคุณทุกท่านทั้งในอดตี และปจั จุบัน ทไี่ ด้อบรม สง่ั สอน ชแ้ี นะแนวทางใน
การศกึ ษา จนทาให้ผู้ศึกษาประสบความสาเร็จมาจนตราบทุกวันนี้
โชตกิ า นพประเสรฐิ
ศศนิ า สุขสาราญ
ง
สารบัญ
หน้า
ใบรบั รองโครงการ...............................................................................................................................ก
บทคัดยอ่ .............................................................................................................................................ข
กิตตกิ รรมประกาศ..............................................................................................................................ค
สารบัญ ............................................................................................................................................... ง
สารบัญตาราง .....................................................................................................................................จ
สารบัญรูป...........................................................................................................................................ฉ
บทท่ี 1 บทนา.....................................................................................................................................1
หลกั การและเหตผุ ล..............................................................................................................1
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ.....................................................................................................1
ขอบเขตของการวิจัย.............................................................................................................2
ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั ...................................................................................................2
นยิ ามศพั ท์ ............................................................................................................................2
บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง .................................................................................3
จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชา............................................3
แนวคดิ การวิเคราะห์ทางการตลาดแบบการจดั องค์กรอุตสาหกรรม.....................................4
แนวคิดเกย่ี วกับการขอรบั รบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน.................................................6
ทฤษฎีกลยทุ ธท์ างการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์.............................10
การบริโภคและทฤษฎีพฤตกิ กรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model) ..........................19
แนวคดิ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์.........................................................................................20
ทฤษฏีกลไกราคา ................................................................................................................28
แนวความคดิ ของหลกั การบัญชตี ้นทนุ ................................................................................30
งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง .............................................................................................................30
บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินงานโครงการ...................................................................................................32
ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง.................................................................................................32
เคร่ืองมอื ท่ีใช้การศกึ ษา.......................................................................................................32
ขน้ั ตอนในการสร้างเครือ่ งมอื ..............................................................................................33
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ........................................................................................................33
วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ใ่ี ช้ในการศึกษา ................................................................33
สารบญั (ตอ่ )
หน้า
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์...................................................................................................................35
สัญลักษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู ..................................................................................35
การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล.....................................................................................35
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ................................................................................47
สรุปผลการศกึ ษา................................................................................................................47
อภปิ รายผล.........................................................................................................................49
บรรณานกุ รม .................................................................................................................................... 51
ภาคผนวก ......................................................................................................................................... 52
ภาคผนวก ก แบบขออนมุ ตั โิ ครงการ/แบบเสนอโครงการ
ข แบบสอบถาม
ค เอกสารประกอบ (ภาพถา่ ย)
ประวตั ิผูจ้ ัดทาการศึกษา
จ
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
ตารางท่ี 1 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายจาแนกตามเพศ .........................................36
ตารางท่ี 2 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายจาแนกตามชว่ งอายุ....................................37
ตารางท่ี 3 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุม่ เปา้ หมายจาแนกตามสถานะ.....................................38
ตารางท่ี 4 แสดงคา่ เฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระถางปลูกต้นไม้
ตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ สรุปเป็นรายดา้ น.....................................................................39
ตารางท่ี 5 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายท่ีมีตอ่
ผลติ ภัณฑก์ ระถางปลกู ตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ ดา้ นคุณภาพผลติ ภัณฑ…์ ………….…..…41
ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลยี่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายที่มีต่อ
ผลิตภณั ฑ์กระถางปลูกต้นไม้จากวสั ดุธรรมชาติ ด้านการอานวยความสะดวกและ
ความเหมาะสม............................................................................................………………42
ตารางท่ี 7 แสดงคา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลมุ่ เป้าหมายที่มตี อ่
ผลิตภณั ฑ์กระถางปลูกต้นไม้จากวสั ดุธรรมชาติ ด้านการออกแบบผลติ ภัณฑ์และ
ตราสินคา้ ...................................................................................................…………….…44
ตารางท่ี 8 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ีต่อ
ผลิตภณั ฑก์ ระถางปลูกต้นไม้จากวสั ดธุ รรมชาติ ดา้ นการใช้งานและความเหมาะ
ผลติ ภณั ฑโ์ ดยรวม........................................................................................…………..…45
ฉ
สารบญั ภาพ
หน้า
ภาพที่ 1 เตรยี มกากมะพรา้ วท่สี ับแล้วอยา่ งละเอยี ดและแปง้ ขา้ วเหนยี วทเ่ี ค้ยี วจนขน้ .................66
ภาพที่ 2 เตรยี มกิง่ ไผท่ ี่เล่ือยเสร็จ,กาวรอ้ นแบบแท่งและปืนยงิ กาว ..............................................66
ภาพท่ี 3 เตรยี มกะลา กระดาษทราย สเี คลือบเงาและสวา่ น ........................................................67
ภาพที่ 4 นากากมะพร้าวท่ลี ะเอียดแลว้ มานวดใหเ้ ข้ากบั แป้งเหนยี วใหเ้ หมอื นรปู ท่ี 3..................67
ภาพท่ี 5 เสร็จแล้วนาแปง้ มาใสพ่ ิมพ์กระถางทเี่ ตรยี มไว้ป้ันใหเ้ ปน็ รูปทรงแล้วนาไป
ตากแดดจนแห้ง..............................................................................................................68
ภาพที่ 6 นาไมไ้ ผม่ าเรียงทลี ะอันใชป้ นื ยิงกาวยิงตามแบบท่วี าดไว้ดงั รูปที่ 3.................................68
ภาพที่ 7 กระดาษทรายมาขัดกระใหเ้ รียบแลว้ เจาะรูด้วยสว่านที่ได้รา่ งไว้บนกะลา......................69
ภาพที่ 8 นาสเี คลอื บเงามาทากะลาและอุปกรณ์ทีใ่ ช้จากนนั้ ประกอบกนั เปน็ รูปร่าง....................69
ภาพท่ี 9 นากระถางออกจากพมิ พ์ ................................................................................................70
ภาพท่ี 10 เมอื่ กระถางจากกากมะพร้าวแห้งนาตน้ ไม้มาปลกู เพื่อทดลองใชง้ าน...........................70
ภาพที่ 11 เมอื่ กระถางจากก่งิ ไผ่ตากกาวแหง้ แลว้ นาตน้ ไมม้ าปลูกเพื่อทดลอง .............................71
ภาพที่ 12 เมอื่ กระถางกะลามะพร้าวประกอบเสรจ็ นาตน้ ไม้มาปลูกเพอ่ื ทดลองใช้ ......................71
ภาพท่ี 13 ภาพประกอบการทางาน..............................................................................................72
ภาพที่ 14 ภาพประกอบการทางาน..............................................................................................72
ภาพท่ี 15 ภาพตราสินคา้ ..............................................................................................................73
บทท่ี1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคญั ของโครงการ
กระถางตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ทิตยสถาน พ.ศ.2525 หมายถงึ "ภาชนะทมี่ ปี ากกว้าง
รปู แบบตา่ งๆ ใชส้ าหรบั ปลูกต้นไมห้ รอื ใส่นา้ " ทามาจากดิน หรือ พลาสติกหรอื เซรามคิ มรี ูระบายนา้
ทีก่ ้น และมี ถาดรองรับน้าเข้าชดุ กนั ขนาดรปู ทรงและสสี ันแตกต่างกันไปตามความนิยมใช้สาหรบั
ตกแตง่ สภาพภายในอาคารให้สวยงามเพิม่ ขึน้ นอกจากนยี้ ังสามารถนาไปใส่ของอย่างอื่นไดห้ รือใช้เปน็
ที่ใสข่ องเชน่ ปากกา ดินสอ ฯลฯ แล้วแต่ขนาดของกระถาง
เนือ่ งจากปัจจุบนั ผู้ทน่ี ิยมรักธรรมชาตริ ักการปลกู ตน้ ไม้ดอกไม้มักจะหาสิง่ ที่ใชใ้ นการปลูกคอื
กระถาง แต่วสั ดทุ ่ใี ช้ในการผลิตกระถางลว้ นเป็นพวกท่ที ามาจากพลาสตกิ เซรามคิ ปนู ดนิ เผาซ่ึงเป็น
วัสดุทใี่ ช้เวลายอ่ ยสลายนานโดยเฉพาะพลาสติกเพราะหากพังเสยี หายอาจกลายเป็นขยะที่ย่อยสลาย
ยาก ซึ่งมีสว่ นทาใหส้ ่งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม แตพ่ ลาสติกบางชนดิ เมื่อนาไปเผาทาลายอาจทาให้
เกดิ ควันพษิ ในอากาศและกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ทีเ่ ป็นสาเหตทุ ี่อาจทาใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ นไดใ้ น
อนาคต และเปน็ สารทส่ี ่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพทาใหเ้ ป็นมะเรง็ ได้
ดงั นนั้ กลุม่ ผศู้ ึกษาจงึ พัฒนาและคิดค้นผลติ ภัณฑก์ ระถางขน้ึ มาและดดั แปลงจากกระถาง
ธรรมดาท่ที าจากวัสดยุ อ่ ยสลายยากใหก้ ลายเป็นกระถางท่ีทามาจากธรรมชาติ โดยใชว้ ัสดจุ าก
ธรรมชาตมิ าประกอบเปน็ วสั ดหุ ลักคือ กากมะพร้าว กิ่งไผ่ กะลามะพร้าวออกมาเป็นรูปแบบตา่ งๆ ซ่ึง
สามารถยอ่ ยสลายได้เรว็ และลดขยะในสังคมไมท่ าใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น
วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
1. เพือ่ พฒั นากระถางตน้ ไม้ดว้ ยวสั ดุธรรมชาตยิ ่อยสลายง่าย
2. เพ่อื พัฒนาผลิตภณั ฑ์เป็นการเพ่มิ ทางเลือกแกผ่ ู้บริโภคและอนรุ ักษธ์ รรมชาติ
3. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของกลมุ่ เปา้ หมายทมี่ ตี ่อกระถางต้นไมจ้ ากวัสดุธรรมชาติ
2
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หาท่ใี ช้ในการศึกษาครัง้ น้ี ไดแ้ ก่ พฒั นาผลติ ภณั ฑก์ ระถางปลูกต้นไม้
จากวสั ดุธรรมชาติ
2. ขอบเขตดา้ นเป้าหมายทใี่ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ได้แก่ ประชาชนท่ัวไป ตลาดสามแยกปาก
หมา จานวน 20 คน
3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศกึ ษาครั้งน้ี ไดแ้ ก่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 1 ตลุ าคม 2564
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
1. ไดผ้ ลิตภัณฑก์ ระถางต้นไมด้ ้วยวสั ดธุ รรมชาตยิ ่อยสลายงา่ ย
2. ไดผ้ ลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ การเพมิ่ ทางเลือกแกผ่ ้บู รโิ ภคและอนรุ ักษธ์ รรมชาติ
3. ไดท้ ราบความพึงพอใจของกลุม่ เป้าหมายท่มี ตี อ่ กระถางต้นไม้จากวัสดุธรรมชาติ
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
กระถาง หมายถึง ภาชนะปากกวา้ งทาด้วยดินเผา พลาสตกิ หรือโลหะ เปน็ ตน้ มหี ลาย
รปู แบบ ใช้สาหรับปลูกต้นไม้ และอื่นๆ
ธรรมชาติ หมายถงึ สงิ่ ที่อยรู่ อบๆตวั เราและเกิดขึ้นเองโดยไม่มีใครสรา้ งขึน้ มา เชน่ ดิน น้า
อากาศ ปา่ ไม้ สัตว์ แรธ่ าตเุ ป็นตน้ ซึ่งมีความสาคัญต่อการดารงชวี ิตของคนเราเปน็ อย่างมาก สง่ิ มีชีวิต
จะดารงอยไู่ มไ่ ด้หากขาดธรรมชาติ ธรรมชาติเปน็ อกี หนึง่ ปัจจยั ที่สาคญั ในการเกอื้ หนนุ การดารงชีวิต
โดยทวั่ ไปแล้วธรรมชาตจิ ะใหก้ าเนดิ สิง่ ต่างๆ เช่น อาหารการกนิ ทอ่ี ยู่อาศยั ของส่ิงมชี วี ิต
ความพงึ พอใจ หมายถึง ความร้สู ึกหรอื ความพอใจของบุคคลทีม่ ีตอ่ ผลติ ภัณฑ์ถุงนา้ หอม
สมุนไพร
บทท่ี 2
เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
การดาเนินการโครงการ พฒั นาผลิตภัณฑ์กระถางปลูกตน้ ไม้จากวัสดธุ รรมชาติ ณ บ้านเลขท่ี
30/10 ม.3 ต.หนองข้างคอก อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 1
ตุลาคม 2564 ผู้ดาเนินงานโครงการได้รวบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง มีหัวข้อ
ต่อไปน้ี
1. จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา
2. แนวคดิ การวเิ คราะหท์ างการตลาดแบบการจัดองคก์ รอุตสาหกรรม
3. แนวคดิ เกย่ี วกบั การขอรบั รบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน
4. ทฤษฎกี ลยทุ ธ์ทางการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์
5. การบรโิ ภคและทฤษฎีพฤติกกรมผ้บู ริโภค (Buyer Behavior’s Model)
6. แนวคิดการออกแบบบรรจุภัณฑ์
7. ทฤษฏีกลไกราคา
8. แนวความคดิ ของหลักการบญั ชีต้นทนุ
9. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง
1. จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชา
1.1 จดุ ประสงค์รายวชิ า
1.1.1 เข้าใจหลักกการและกระบวนการวางแผนจดั ทาโครงการสรา้ งและหรอื พฒั นา
งาน
1.1.2 ประมวลความรูแ้ ละทกั ษะในการสรา้ งและหรือพัฒนางานในสาขาวชิ าชีพตาม
กระบวนการวางแผน ดาเนนิ งาน แกป้ ัญหา ประเมนิ ผล ทารายงานและนาเสนอผลงาน
1.1.3 มีเจตคตแิ ละกิจนิสัยในการทางานด้วยความรบั ผิดชอบ มีวินยั มคี ณุ ธรรม
จริยธรรม ความคิด รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์และสามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื
1.2 สมรรถนะรายวิชา
1.2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกบั การจัดทาโครงการและการนาเสนอผลงาน
1.2.2 ดาเนนิ การจาทาโครงการ
4
1.2.3 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน
1.3 คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบตั เิ ก่ียวกบั หลักการจัดทาโครงการ การวางแผน การดาเนินงาน การ
แกไ้ ขปญั หา การประเมนิ ผล การจดั ทารายงาน และการทาเสนอผลงาน โดยปฏิบัติจดั ทาโครงสรา้ ง
และหรอื พัฒนางานทีใ่ ช้ความรู้และทกั ษะในระดับฝีมอื สอดคล้องกับสาขาวชิ าชพี ที่ศกึ ษา ดาเนินการ
เปน็ รายบคุ คลหรอื กลมุ่ ตามลกั ษณะของงานใหแ้ ลว้ เสร็จในระยะเวลาทกี่ าหนด
2. แนวคิดการวิเคราะห์ทางการตลาดแบบการจัดองค์กรอุตสาหกรรม
ก่อนท่ผี ู้ประกอบการจะเร่ิมวางแผนการตลาด ผ้ปู ระกอบการควรเขา้ ใจก่อนวา่ ความตอ้ งการ
ผู้บริโภคในยุคปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ไปตามรูปแบบการดารงชีวิต เทคโนโลยี สังคม
วัฒนธรรม และสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป สาหรับผู้ประกอบการรายใดท่ีสามารถวางแผนกล
ยุทธ์ให้สอดคล้อง และรวดเร็วทันกับความต้องการของผู้บริโภคย่อมเปน็ ผู้ไดเ้ ปรียบ ในการช่วงชิงและ
ครอบครองพ้ืนทีก่ ารตลาดไดม้ ากขน้ึ
2.1 ข้อคานึงก่อนการวางแผนการตลาด
2.1.1 สภาพความเป็นอยู่ในสังคมเปล่ียนแปลงไป ผคู้ นในสังคมมปี ฏิสัมพันธ์กันนอ้ ยลง
คนทางานมีความเครียดสูงขึ้น ต้องการความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว ความเพลิดเพลินและการ
พักผ่อนหย่อนใจ ดังน้ัน สินค้าหรือบริการท่ีหาซ้ือได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว และกลุ่มสินค้าหรือบริการ
เพ่ือความผอ่ นคลายจะไดค้ วามนยิ มมากขน้ึ
2.1.2 ผบู้ ริโภคมรี ะดับการศกึ ษามากขน้ึ และสามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ขา่ วสารได้งา่ ยมากขึ้น
ทาให้มีการหาข้อมูลท้ังในด้านราคา และคุณภาพของสินค้าและบริการมาเปรียบเทียบก่อนการ
ตัดสินใจซื้อ รวมถึงมีการสอบถามความคิดเห็นจากเพ่ือนฝูงหรือผู้คนในสังคมออนไลน์ ที่มี
ประสบการณ์ในการใช้งานสินค้าที่ตนเองสนใจก่อน เพ่ือมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจซ้ือ
พฤติกรรมผู้บริโภคท่ีใจร้อน ไม่ชอบการรอคอย ต้องการความสะดวก รวดเร็ว ทันใจ สินค้าหรือ
บรกิ ารที่มีขั้นตอน ยุ่งยาก ต้องรอคอยนาน จะทาให้ผู้บริโภคเบอ่ื หน่ายหนั ไปใช้สินค้าหรือบริการของ
ผู้ท่ีใหบ้ รกิ ารไดร้ วดเร็ว และสะดวกสบายกวา่
2.1.3 ผู้บริโภคยุคใหม่มีพฤติกรรมเบื่อง่าย ไม่ชอบความซ้าซาก จาเจ ต้องการความ
แปลกใหม่ และมีความคาดหวังการเปล่ียนแปลงใหม่ๆ จากผู้ผลิตอยู่เสมอ ทาให้ผู้ผลิตจะต้องมีการ
ปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) อย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือให้ลูกค้ามีความรู้สึกว่า ได้ใช้สินค้าท่ีทันสมัย
5
อยู่ตลอดเวลา ซ่ึงจะเห็นไดจ้ ากระยะเวลาการออกสินค้ารุ่นใหม่ของผู้ผลิตสมาร์ทโฟนจะมีรอบเวลาที่
ส้นั
2.1.4 การวางแผนการตลาดต้องมีความยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถปรับตัวให้ทันกับ
กระแสการเปลี่ยนปลงของสังคม ต้องค้นหาจุดเด่นขององค์กรและผลิตภัณฑ์ของตนเองให้พบแล้ว
ประกาศให้ชัดเจน เพอ่ื ใหส้ งั คมผ้บู รโิ ภครับรู้ และสร้างเปน็ ภาพจาในใจของผู้บริโภค
2.1.5 แผนกลยุทธ์การตลาดทุกแผนล้วนแต่มีค่าใช้จ่ายทางการเงินทั้งสิ้น
ผู้ประกอบการควรวางแผนกลยุทธ์ไว้หลายๆ แนวทาง และเลือกกลยุทธ์การตลาดท่ีมีความคุ้มค่าใน
การใชจ้ า่ ยเงินมากท่สี ดุ
2.1.6 ให้ ค วาม สาคั ญ กับ การสร้างค วาม สัม พั น ธ์ท่ี ดีกับ ลู กค้า (Customer
relationship management ; CRM) เพราะจะทาให้ลูกค้าเกิดความผูกพันและมีความจงรักภัคดีต่อ
สินค้าหรือองค์กร เพื่อเป็นการรักษาลูกค้าเดิมของกิจการไว้ ซ่ึงค่าใช้จ่ายในการรักษาลูกค้าเดิมจะต่า
กว่าคา่ ใช้จา่ ยในการหาลกู ค้าใหมถ่ ึง 5 เทา่
2.2 ผู้ประกอบการจะต้องจัดทาแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ี
กาหนดไว้
2.2.1 ข้ันตอนเตรียมการ เป็นข้ันตอนท่ีควรจะต้องปฏิบัติก่อนการลงมือทาแผนการ
ตลาด โดยการรวบรวมข้อมูลภายในองค์กรในด้านบุคลากร และทรัพยากรต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้ใน
การจัดทาแผนการตลาด รวมถึงประชุมร่วมกับผู้เกี่ยวข้องท้ังหมด เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรได้รับทราบ
และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทาให้เกิดความร่วมมือทางานตามแผนการตลาดท่ีจะ
กาหนดขน้ึ รว่ มกันวางแผนการตลาด พร้อมกับแบ่งหน้าท่ีความรับผดิ ชอบในการจัดทาแผนการตลาด
ให้ผเู้ กย่ี วขอ้ ง อธบิ ายวธิ ีการและข้นั ตอนตา่ งๆ ในการปฏบิ ตั ใิ หร้ บั ทราบ เร่มิ ไปปฏบิ ตั ิ
2.2.2 ข้ันตอนของการศึกษาหาข้อมูล เป็นขั้นตอนหาข้อมูลที่จาเป็นต่อการวางแผน
การตลาด กิจการจะตอ้ งร้ขู อ้ มูลตลาด มีข้อมลู อยู่สองประเภทท่กี ิจการต้องรกู้ ่อนวางแผนตลาด
2.2.2.1 ข้อมูลภายนอก หาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
การตลาด สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมน้ี คู่แข่งขัน เทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงแนวโน้มกระแส
ความนยิ มของผู้บรโิ ภค
2.2.2.2 ข้อมลู ภายในกจิ การ เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการจดบนั ทกึ ข้อมูลจากการ
ทางานท่ีผ่านมาของกิจการเช่น การวเิ คราะห์การขายแยกตามรายการผลิตภณั ฑ์ ตามรายลูกค้า หรือ
6
ตามพื้นที่การขาย ต้นทุนแยกตามสายผลิตภัณฑ์ รวมถึงข้อมูลการใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นการขายที่เคย
ดาเนนิ การมา
2.2.3 ขั้นตอนการกาหนดกลยุทธก์ ารตลาด กิจการควรแบ่งส่วนตลาดของธุรกิจที่ตนเอง
ดาเนินการอยู่ออกเป็นส่วนย่อยๆ โดยเลือกวิธกี ารแบ่งส่วนตลาดที่เหมาะสมกับสินค้าหรือบริการของ
ตนเอง เช่น แบง่ ตามลักษณะประชากร หรือแบง่ ตามพฤตกิ รรมการบริโภค หรือแบ่งตามภมู ิศาสตร์ที่
อยู่ของผู้บริโภค หรือแบ่งตามลักษณะจิตวิทยา แล้วเลือกกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของตลาดย่อยท่ีคิดว่า
เหมาะสมกับเราท่ีสุด จากน้ันทาการกาหนดวิธีการปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับกลุ่มลูกค้า เป้าหมาย ซ่ึงจะ
นาไปสู่ความสาเร็จของแผนการตลาดท่ีวางไว้ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด รวมถึงมี
วธิ ีการทจี่ ะใชว้ ดั ผลความสาเรจ็ ของแผนการตลาดดว้ ย
2.2.4 ข้ันตอนการทาแผนการตลาดให้ชัดเจน เป็นขั้นตอนที่นาเอากลยุทธ์ต่างๆ ท่ี
กาหนดข้ึน มาจัดทาเป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ทีละขั้นตอน
ผู้รับผิดชอบ ช่วงเวลาในการปฏิบัติ และประมาณการ ค่าใช้จ่ายที่จะต้องใช้ รวมถึงเป้าหมายท่ี
ตอ้ งการในแตล่ ะกลยุทธ์ ตามตวั อยา่ งดา้ นลา่ ง
2.2.5 ข้นั ตอนการนาไปปฏิบตั แิ ละติดตามทบทวนแผน เมอื่ จัดทาแผนการตลาด
เรยี บร้อยแลว้ ผูป้ ระกอบการจะตอ้ งนาแผนการตลาดทจ่ี ัดทาไว้มาปฏบิ ตั ิ และจะตอ้ งตดิ ตามทบทวน
ประเมนิ ผลจากการดาเนินงานตามแผนการตลาด และเพอ่ื นาผลที่เกดิ ขน้ึ ปรบั ปรุงในรายละเอยี ด
ปลีกยอ่ ยใหส้ อดคล้องกบั สถานการณจ์ ริง โดยอยภู่ ายใต้งบประมาณและทรัพยากรต่างๆ ทไี่ ด้วางแผน
ไว้ และเพื่อใหแ้ ผนท่ีวางไวม้ คี วามทนั สมยั สอดคล้องกับความเปน็ จรงิ การวางแผนการตลาด
จาเป็นตอ้ งมจี ุดเร่มิ ตน้ และวธิ กี ารดาเนินการไปส่จู ดุ ส้นิ สดุ อย่างเป็นขนั้ ตอนทีเ่ รยี กวา่ กระบวนการ
หากวางแผนการตลาดโดยไม่คานงึ ถึงกระบวนการเหลา่ น้ี จะทาใหก้ ารจดั ทาแผนการตลาดมีความ
สบั สน สง่ ผลใหป้ ระสทิ ธิภาพของแผนการตลาดด้อยลง หรอื อาจทาให้มีคา่ ใช้จ่ายท่ีสูงเกินความจาเป็น
กจ็ ะส่งผลใหก้ าไรจากการดาเนินงานไม่เป็นไปตามทค่ี าดหวงั ดงั น้นั ผ้ปู ระกอบการจงึ ควรทาความ
เข้าใจในแตล่ ะขนั้ ตอนก่อนการวางแผนการตลาดใหด้ ี
3. แนวคดิ เกย่ี วกับการขอรบั รบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน
3.1 วสิ ัยทัศน์ การมาตรฐานไทยขับเคลอ่ื นสินค้าและบรกิ าร ให้เปน็ ทย่ี อมรับและแข่งขันได้
ในระดบั สากล
7
3.2 นโยบาย มุ่งม่ันดาเนินงานด้านการมาตรฐาน เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้
เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ผูป้ ระกอบการ ผบู้ รโิ ภคและประเทศชาติโดยรวม
3.3 วตั ถปุ ระสงคก์ ารดาเนนิ งาน
3.3.1 คมุ้ ครองผู้บรโิ ภค
3.3.2 รกั ษาสง่ิ แวดล้อม และทรัพยพ์ ยากรธรรมชาติ
3.3.3 พัฒนาอตุ สาหกรรมของประเทศใหส้ ามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก
3.3.4 สรา้ งความเป็นธรรมในการซื้อขายขจัดปญั หา และอุปสรรคทางการค้าที่เกิดจาก
มาตรการด้านมาตรฐาน
3.4 อานาจหน้าที่ สมอ. มีอานาจหน้าที่ในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 มติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ นโยบายและแผนแมบ่ ทของกระทรวงอตุ สาหกรรม
3.5 พนั ธกิจ
3.5.1 กาหนดมาตรฐานที่ตรงความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกบั แนวทางสากล
3.5.2 กากบั ดูแลผลติ ภณั ฑ์ และการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐานใหไ้ ด้รับ
การยอมรบั
3.5.3 ส่งเสรมิ และพัฒนาดา้ นการมาตรฐานของประเทศ
3.6 กจิ กรรมดา้ นการมาตรฐานของ สมอ.
3.6.1 การกาหนดมาตรฐาน
3.6.1.1 มาตรฐานระดับประเทศ กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(มอก.) ประเภทบังงคับและไม่บังคับตามความต้องการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรม การค้า
และเศรษฐกิจของประเทศ รวมท้ังนโยบายของรัฐบาล เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รักษาสิ่งแวดล้อม และ
ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมใหภ้ าคอตุ สาหกรรมไทยแขง่ ขนั ได้ในตลาดโลก
3.6.1.2 มาตรฐานระดับสากล ร่วมกาหนดมาตรฐานกับองค์กรสากลที่สาคัญ
คื อ อ งค์ ก ารร ะ ห ว่างป ร ะ เท ศ ว่ าด้ วย ก ารม าต รฐ าน (International Organization for
standardization : ISO) คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอนิกส์
(International Electrotechnical Commission : IEC)
8
3.6.2 การรบั รองคณุ ภาพผลิตภัณฑ์
3.6.2.1 การรับรองตามมาตรฐานของประเทศ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพ
ผลติ ภัณฑ์ โดยการอนุญาตใหแ้ สดงเครื่องหมายมาตรฐาน
3.6.2.2 การรับจดทะเบียนผลิตภัณฑ์ สมอ. ให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์
สาหรบั ผลติ ภัณฑ์ที่ยงั มไิ ด้กาหนดมาตรฐาน โดยการจดทะเบยี นผลิตภัณฑ์ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี
3.6.2.3 การเป็นหน่วยตรวจให้กับสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ สมอ. ได้รับ
มอบหมายให้เป็นหน่วยตรวจของสถาบันมาตรฐานต่างประเทศ เพ่ือรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ตาม
มาตรฐานของประเทศญ่ีปุ่น ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา และประเทศ
สาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ นอกจากน้ียงั ตรวจติดตามผลใหก้ บั ประเทศสาธารณรัฐแอฟรกิ าใต้
3.6.2.4 การรบั รองฉลากเขยี ว (Green Label) สมอ. ร่วมกับสถาบนั
สงิ่ แวดล้อมไทยดาเนินโครงการฉลากเขียวเพ่อื ให้การรับรอง โดยใหใ้ ช้ฉลากเขยี วสาหรับผลิตภณั ฑ์
ทัง้ นเ้ี พ่ือชว่ ยลดมลภาวะจากสง่ิ แวดลอ้ ม และเพื่อผลักดันให้ผผู้ ลิตใชเ้ ทคโนโลยี หรอื วธิ กี ารผลติ ที่
ใหผ้ ลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม
3.6.3 การรับรองคณุ ภาพผลิตภัณฑช์ มุ ชน (มผช.)
เป็นการให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของผู้ผลิตในชมุ ชนท่ีเกิดจากการ
รวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงหรือชุมชนในโครงการหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ท่ีผ่าน
การคัดเลือกจากจังหวัด และ/หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่สานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดป้ ระกาศกาหนดไว้ และจะแสดงเครอื่ งหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชุมชนกับผลติ ภณั ฑ์ทีไ่ ด้รบั การรบั รอง
3.6.4 การรับรองระบบงาน
3.6.4.1 การรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ สมอ. ได้ดาเนินการรับรอง
ขีดความสามารถทางวิชาการ และระบบคุณภาพ การทดสอบของห้องปฏิบัติการสอบเทียบและ
ห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐานข้อกาหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการสอบ
เทียบและห้องปฏิบัติการทดสอบ (มอก.17025-2543) ซึ่งเหมือนกันทุกประการกับ ISO/IEC 17025
ซึ่งขอบข่ายของการรับรองอาจเป็นการรับรองการทดสอบหรือสอบเทียบทุกรายการหรือบางรายการ
ของห้องปฏิบัติการก็ได้
9
3.6.4.2 การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคุณวุฒิ หลักสูตรและองค์กรฝึกอบรม
ดา้ นการมาตรฐาน เป็นการให้การจดทะเบียนบุคลากร ผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านการประเมินการจดทะเบียน
หลักสูตรผึกอบรมและองค์กรฝึกอบรมด้านการมาตรฐานในกลุ่มสาขาต่าง ๆ ได้แก่ ระบบการ
บริหารงานคุณภาพ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง
ควบคุมในการผลิตอาหาร ระบบห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยระบบการรับรองผลิตภัณฑ์และระบบอ่ืน ๆ ตาม
มาตรฐานสากลหรอื มาตรฐานอื่น ๆ ทีส่ ากลยอมรับ
3.6.5 การบริการขอ้ สนเทศมาตรฐาน
3.6.5.1 บริการข้อสนเทศด้านการมาตรฐาน โดยให้ข้อมูลและตอบข้อซักถาม
ทางวิชาการเกี่ยวกับมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชากากร และการรับรองคุณภาพท้ังของไทยและ
ตา่ งประเทศ
3.6.5.2 เป็นศูนย์ตอบข้อซักถาม (Enquiry Point) ของไทย ภายใต้ความตก
ลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนคิ ตอ่ การคา้ (TBT) ขององค์การการค้าโลก (WTO)
3.6.5.3 บริการข้อมูลด้านการมาตรฐานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี
http://www.tisi.go.th
3.6.5.4 บริการห้องสมุดมาตรฐาน สมอ. โดยเป็นศูนย์รวมเอกสารมาตรฐาน
ทั้งของไทยและของต่างประเทศ ตลอดจนเอกสารทางด้านการรับรองคุณภาพ กฎระเบียบทาง
วชิ าการและเอกสารอื่น ๆ ที่ครบถว้ นและทนั สมัยทง้ั ในรปู ของเอกสารและไมโครฟิล์ม
3.6.6 การปฏิบตั ติ ามพนั ธกรณีความตกลงภายใต้องคก์ ารการค้าโลก
สมอ. เป็นแกนกลางในการปฏิบัติตามพันธกรณีตามมติคณะรัฐมนตรี ได้แก่ ความ
ตกลงว่าดว้ ยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Agreement on Technical Barriers to Trade : TBT)
ยกเวน้ ส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สนิ ค้าเกษตรและอาหาร
3.6.7 งานดา้ นการมาตรฐานระหว่างประเทศและภมู ภิ าค
3.6.7.1 กจิ กรรมมาตรฐานระหว่างประเทศ สมอ. ไดเ้ ขา้ รว่ มเปน็ สมาชิกใน
องค์การระหว่างประเทศว่าดว้ ยการ (International Organization for Standardization : ISO)
และคณะกรรมาธกิ ารระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์ (International
Electrotechnical Commission :IEC)
10
3.6.8 การส่งเสรมิ มาตรฐานและพัฒนาดา้ นการมาตรฐาน
สมอ. ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชน และหน่วยงานภาครัฐ
พัฒนาระบบการจักการให้สอดคล้องกับหลักปฏิบัติมาตรฐานสากล เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาขีด
ความสามารถของอุตสาหกรรม และเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ และ
ส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจแก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้เก่ียวข้องทุกระดับ เพื่อให้
ตระหนักถึงความสาคัญของคุณภาพ และการมาตรฐาน และนาไปใช้ เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
3.6.9 การพฒั นาบุคลากร สมอ. ได้ดาเนนิ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการมาตรฐานท้ัง
ภาครฐั และเอกชนใหม้ ขี ดี ความสามารถทจี่ ะดาเนนิ การด้านมาตรฐาน ใหส้ อดคล้องกบั สากล และ
เปน็ ท่ยี อมรับ
4. ทฤษฎีกลยุทธท์ างการตลาด (4Ps) และ (8Ps) , กลยุทธ์ตลาดออนไลน์
4.1 กลยทุ ธก์ ารตลาด 4Ps เกดิ จากหลักแนวคิดทวี่ ่า กอ่ นท่ีจะมาทาธุรกจิ หรอื การตลาด ควร
ท่จี ะต้องมคี วามสนใจใหค้ วามสาคญั ในการกาหนดหัวเรื่องสาคญั ที่ธุรกจิ ควรนามาพจิ ารณาถงึ ความ
พร้อมและใชเ้ ป็นแนวก่อนเริม่ ดาเนินการทางธรุ กจิ โดยได้ใช้ P ซึง่ เปน็ ตวั หนา้ ของเรื่องที่สนใจ
คือ Product-Price-Promotion-Place โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
4.1.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) คอื สนิ ค้าบริการที่ธุรกิจสรา้ งขน้ึ เพื่อตอบความตอ้ งการหรือ
ท่จี ะส่งมอบใหแ้ กล่ ูกค้าหรอื ผบู้ รโิ ภค ตอ้ งคานึงถึงกลุ่มเปา้ หมายท่ีเหมาะสมและชดั เจน ดวู ่ากล่มุ
ลกู คา้ เป้าหมายเขาต้องการอะไรบ้างใหใ้ ส่ใจในรายละเอียดน้ัน สนิ ค้าหรอื การบริการทม่ี ีแตกต่าง
อย่างไรทาใหล้ ูกค้าเกิดความสะดดุ ตาสะดดุ ใจในรูปลกั ษณ์ รวมถึงการใชง้ าน ความทนทาน และความ
ปลอดภัย ตลอดจนการสรา้ งความประทับใจใหแ้ กล่ ูกคา้ ทาใหล้ ูกค้าเกดิ ความสนใจและเลอื กซอื้ สนิ คา้
หรือบริการของเรา และมกี ารบอกกนั ปากต่อปาก เปน็ ตน้
4.1.2 ราคา (Price) คอื ราคาหรือสงิ่ ทล่ี ูกคา้ ต้องจา่ ยเพือ่ แลกกับการไดส้ ินค้าและบรกิ าร
อาจจะไมใ่ ช่เพียงแค่เงนิ เทา่ นนั้ อาจรวมถึงเวลาหรือการกระทาบางอย่าง ดังน้ันการตั้งราคาจงึ ตอ้ งให้
เหมาะสม คานวณเรื่องราคาตน้ ทนุ กบั กาไรวา่ มคี วามคมุ้ ค่าหรือไม่ มีกาไรมากนอ้ ยเพยี งไร
4.1.3 สถานที่ (Place) คอื ชอ่ งทางท่ลี ูกค้าจะสามารถเขา้ ถงึ สนิ คา้ และบรกิ ารของเราได้
เชน่ ช่องทางการจดั จาหนา่ ย ชอ่ งทางการให้บริการ รวมถึงทาเลในการจดั จาหน่ายสินคา้ และบรกิ าร
11
ให้แก่ลูกค้า ควรจะต้องมคี วามสะดวก ปลอดภยั มีประสทิ ธภิ าพ และเขา้ ถงึ ได้อยา่ งรวดเร็ว สามารถ
ทาให้เกดิ ผลกาไรจากการกระจายสนิ ค้าไปสู่กล่มุ ลกู ค้าใหต้ รงกบั กลุ่มเปา้ หมายมากท่ีสดุ
4.1.4 การส่งเสรมิ การตลาด (Promotion) คอื การสอื่ สารการตลาดเพ่อื ทาใหธ้ ุรกิจ
สามารถส่อื สารไปยังกลุม่ เปา้ หมายและนาไปสู่การโนน้ น้าวให้กล่มุ เป้าหมายตดั สินใจซอื้ สินค้าและ
บริการ นับวา่ เป็นหวั ใจสาคัญของการตลาด โดยในปัจจบุ นั สามารถทาการโฆษณาในส่ือหลายรปู แบบ
หรอื อาจเป็นการทากิจกรรมเพอื่ ใหล้ กู คา้ ไดม้ ารว่ มเพอื่ จูงใจใหล้ ูกคา้ สนใจและอยากเลอื กสนิ คา้ หรือ
บริการของเรา
4.2 กลยุทธท์ างการตลาด (8Ps) หมายถงึ กลยทุ ธ์ทางการตลาดสมยั ใหมซ่ ง่ึ เปน็ ส่วนผสม
ทางการตลาด (Marketing Mix) หรือทเี่ รยี กสนั้ ๆ ว่า 8P’s ซงึ่ ต้องมีแนวทางความคดิ ทางการสื่อสาร
การตลาด(IMC)โดยอาศยั เครื่องมือการ ตดิ ตอ่ ส่อื สารกบั ผ้บู รโิ ภคแบบสมยั ใหมซ่ ึง่ แบ่งสว่ นขยาย
เพิม่ เตมิ จากเดิมอกี หลายส่วนทั้งงานศกึ ษาทัง้ ภายในและภายนอกประเทศเช่ือมโยงสูก่ ารทาธรุ กจิ
สมยั ใหมซ่ งึ่ เนน้ การสรา้ งผลกาไรสูงสุดบนความพอใจของผู้บริโภคซง่ึ เป็นการทา ธุรกจิ ระยะยาว
(Long-Term Business) พร้อมกับพฤติกรรมทเี่ ปล่ยี นไปของผู้บริโภคสมยั ใหมซ่ ง่ึ เปลย่ี นไปอย่างมาก
โดยเฉพาะการแบง่ ส่วนการตลาด (Segmentation) ซึ่งไม่สามารถแบ่งสว่ นการตลาดแบบ เดมิ ๆ ได้
แลว้ ซ่ึงการเอกสารการศกึ ษาในสว่ นแรกเปน็ แนวทางทาธุรกจิ และก่อให้เกดิ พฤตกรรมในการเลอื กซือ้
ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหารส่วนที่เอกสารอืน่ ๆจะชว่ ยในการวางแผนการตลาด ในธุรกจิ ผลิตภณั ฑ์เสรมิ
อาหารท่ีมีความเกย่ี วข้องและสอดคล้องกับการศึกษาในครง้ั นแี้ นวคดิ ทางการวางแผนกลยุทธท์ าง
การตลาดโดยใช้ 8P’s ซึ่งประกอบไปด้วยส่วนผสมทางการตลาด ดงั น้ี
4.2.1. กลยทุ ธผ์ ลติ ภณั ฑ์ ( Product Strategy )
4.2.2. กลยุทธร์ าคา ( Price Strategy )
4.2.3. กลยทุ ธก์ ารจดั จาหน่าย ( Place Strategy )
4.2.4. กลยุทธก์ ารส่งเสริมการตลาด ( Promotion Strategy )
4.2.5. กลยทุ ธก์ ารบรรจภุ ัณฑ์ ( Packaging Strategy )
4.2.6. กลยุทธก์ ารใช้พนกั งานขาย ( Personal Strategy )
4.2.7. กลยุทธก์ ารให้ขา่ วสาร ( Public Relation Strategy )
4.2.8. กลยทุ ธพ์ ลงั ( Power Strategy )
12
4.2.1. กลยทุ ธผ์ ลิตภัณฑ์ (Product Strategy) คือ กลยุทธผ์ ลิตภัณฑ์น้ัน จะเกีย่ วข้อง
กับกระบวนการตดั สนิ ใจ เกย่ี วกบั
4.2.1.1 คณุ สมบตั ผิ ลิตภัณฑ์ (Product attribute)
4.2.1.2 ส่วนประสมผลิตภณั ฑ์ (Product mix)
4.2.1.3 สายผลติ ภัณฑ์ (Product lines)
สิง่ ท่ตี ้องพิจารณาเก่ียวกบั ผลติ ภัณฑ์
4.2.1.1. แนวความคดิ ด้านผลติ ภัณฑ์ (Product Concept) เปน็ คุณสมบตั ทิ ี่
สาคัญของผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผู้บริโภค Product ได้ ตอ้ งมคี วามชดั เจน
ในตัวผลิตภัณฑน์ น้ั ๆ
4.1.1.2. คุณสมบตั ิผลติ ภณั ฑ์ (Product attribute) จะตอ้ งทราบว่าผลิตภณั ฑ์
น้นั ผลติ มาจากอะไร มคี ุณสมบัติอยา่ งไร ลักษณะทางกายภาพ ฟิสกิ ส์ เคมี ชีวะ ขนาด ความดี ความ
งาม ความคงทนทานดา้ นรปู รา่ ง รปู แบของผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยใู่ นตัวของมันเอง
4.2.1.3.ลักษณะเดน่ ของสนิ ค้า (Product Feature) การนาสินคา้ ของบริษทั ไป
เปรยี บเทยี บกบั สินค้าของคู่แขง่ ขนั แลว้ มีคณุ สมบตั ิแตกตา่ งกนั และจะต้องร้วู า่ สินคา้ เรามีอะไรเด่น
กว่า เชน่ ลักษณะเด่นของ Dior คอื เป็นผลติ ภัณฑช์ นั นาจากปารสี
4.2.1.4.ประโยชนข์ องผลติ ภัณฑ์ (Product Benefit) พิจารณาว่าสินค้ามี
ลักษณะเดน่ อยา่ งไรบา้ ง และสินค้าใหป้ ระโยชนอ์ ะไรกบั ลูกค้าบ้าง ระหวา่ งการใหส้ ญั ญากับลกู คา้ กบั
การพิสจู นด์ ้วยลักษณะเดน่ ของสนิ ค้า
4.2.2. กลยทุ ธร์ าคา (Price Strategy) เปน็ การกาหนดว่าเราจะตง้ั ราคาแบบใด กลยทุ ธ์
ราคาสูงหรือราคาตา่ สิ่งที่จะตอ้ งตระหนัก คือ ราคาทีได้กาหนดไวน้ นั้ เหมาะสมในการแขง่ ขัน หรอื
สอดคล้องกับตาแหน่งผลติ ภณั ฑข์ องสินคา้ นน้ั หรือไม่กลยทุ ธ์ ดา้ นราคา (Price strategy) การกาหนด
กลยุทธ์ดา้ นราคามีประเดน็ สาคัญทจี่ ะต้องพจิ ารณาดงั น้ี
4.2.2.1 ต้ังราคาตามตลาด ( On going price ) หรือต้ังราคาตามความพอใจ (
Leading price )
1) ตัง้ ราคาตามตามตลาด (On going price) เหมาะสาหรบั สินค้าท่ี
สร้างความแตกต่างได้ยากจงึ ไมส่ ามารถจะตัง้ ราคาใหแ้ ตกต่างจากตลาดคแู่ ข่งขนั ได้ น่ัน
คอื การตั้งราคาตามคู่แขง่ ขนั
13
2) ตั้งราคาตามความพอใจ ( Leading price ) เป็นการตงั้ ราคาตาม
ความพอใจโดยไมค่ านึงถงึ ค่แู ขง่ ขนั เหมาะสาหรบั ผลิตภณั ฑท์ ี่มีความแตกต่างในตราสิน
ค้า สินค้าทมี่ ีเอกลักษณส์ ว่ นตัวมภี าพพจนท์ ี่ดี จะต้งั ราคาเทา่ ไรก็ไม่มีใครเปรียบเทียบ
4.2.2.2. สินคา้ จะออกเปน็ แบบราคาสงู ( Premium price ) เมื่อแน่ใจใน
คุณภาพทีเ่ หนือกว่า และการยอมรบั ในราคาของลกู ค้า หรือราคามาตรฐาน (Standard ) เม่อื ใช้การ
ตัง้ ราคาโดยพิจารณาจากราคาของคแู่ ข่งขัน หรอื ตราสินคา้ เพอื่ การแข่งขัน ( Fighting brand ) เป็น
สินค้าดอ้ ยคณุ ภาพกว่าคู่แข่งขันเลก็ น้อย จะลงตลาดลา่ ง
4.2.2.3. การตั้งราคาเทา่ กนั หมด ( One pricing ) คอื สินค้าหลายอย่างทม่ี รี าคา
ตดิ อยบู่ นกล่องหมายถงึ ไม่วา่ จะขายอยทู่ ีใ่ ดฤดูหนาวหรือฤดรู อ้ นราคาก็เท่ากนั หมด หรอื ราคา
แตกตา่ งกนั ( Discriminate price ) ขอ้ ดี คอื สามารถเรียกราคาไดห้ ลายราคา แต่ขอ้ เสยี กค็ ือ เราตอ้ ง
หาเหตผุ ลในการตงั้ ราคาหลายอยา่ ง เพื่อใหค้ นยอมรบั ได้
4.2.2.4. การขยายสายผลิตภัณฑ์ ( Line extension ) ในกรณนี ีก้ ารนาเสนอ
สินคา้ เร่มิ ต้นด้วยราคาหน่งึ แล้วมีกลยุทธ์เผยแพร่ความนิยมไปยงั ตลาดบน หรอื ตลาดลา่ ง
4.2.2.5. การขยบั ซอ้ื สงู ข้นึ ( Trading up ) เป็นการปรบั ราคาสงู ขึ้นทาใหไ้ ด้
กาไรมากขน้ึ จึงพยายามขายใหป้ รมิ าณมากข้นึ หรือการขยบั ซื้อตา่ ลง ( Trading down ) เป็นการผลติ
สนิ ค้าทีม่ ีราคาแพงให้มีคุณภาพกว่าสนิ ค้าทีร่ าคาถกู เลก็ น้อยแต่ ต้งั ราคาสูงกว่า เพ่ือใหค้ นซอ้ื สนิ คา้ ท่ี
รองลงมา
4.2.2.6. การใชก้ ลยุทธด์ ้านขนาด ( Size ) คอื ไม่ทาขนาดเท่ากับผู้ผลิตรายอน่ื ๆ
4.2.3. กลยทุ ธก์ ารจดั จาหน่าย (Place Strategy) คือกลยุทธ์เกี่ยวกบั วิธีการจดั จาหน่าย
จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ รายละเอยี ดดังนี้
4.2.3.1. ช่องทางการจัดจาหน่าย ( Channel of distribution ) เป็นเส้นทางที่
สนิ ค้าเคล่ือนยา้ ยจากผู้ผลิตหรอื ผู้ขายไปยังผู้บริโภคหรือผใู้ ช้ ซ่ึงอาจจะผา่ นคนกลางหรือไม่ฝ่ายคน
กลางก็ได้
4.2.3.2. ประเภทของรา้ นค้า ( Outlets ) ในทุกวันนจ้ี ะพบไดว้ า่ วิวฒั นาการของ
การจัดจาหนา่ ยน้ันเปน็ สิ่งทเี่ จรญิ เติบโตรวดเรว็ มากประเภทของรา้ นค้ามีมากมายจนแทบจะตามไม่
ทันจะขอเรียงลาดับประเภทของร้านคา้ จากใหญ่ไปหาเลก็
14
1) ร้านค้าสง่ ( Wholesale store ) เปน็ ร้านคา้ ทีข่ ายสินคา้ ใน
ปริมาณมาก ลกู ค้าสว่ นใหญ่เปน็ คนกลาง
2) รา้ นค้าขายของถูก( Discount store ) เป็นรา้ นค้าที่ขายสนิ คา้
ราคาพเิ ศษ
3) รา้ นหา้ งสรรพสินค้า( Department store )
4) ซูเปอรม์ าร์เก็ตทีอ่ ยู่เดย่ี ว ๆ (Stand alone supermarket)เป็น
ร้านทม่ี ีทาเลเดย่ี วไม่ติดกบั ร้านคา้ ใดๆ
5) ชอ้ ปปง้ิ ชุมชน ( Community mall ) เปน็ รา้ นคา้ ทีอ่ ยใู่ นย่าน
ชมุ ชน
6) Minimart จะเห็นได้จากรา้ นคา้ เล็กๆ ตามตกึ อาคารสงู ๆ ใน
โรงพยาบาล ซง่ึ ต้ังฮ่ัวเสง็ เริม่ บุกตลาด Minimart พอสมควร
7) รา้ นค้าสะดวกซื้อ ( Convenience store ) เป็นรา้ นค้าทีข่ าย
สนิ ค้าอุปโภคบริโภค หรอื สินค้าสะดวกซอ้ื บางรา้ นจะเปิดบรกิ าร 24 ชว่ั โมง
8) ร้านค้าในป๊ัมน้ามัน
9) ซุม้ ขายของ ( Kiosk ) เป็นร้านทีจ่ ดั เปน็ ซ้มุ ขายของ บางครั้งจดั เป็น
บทู
10) เคร่ืองขายอัตโนมัติ ( Vending machine ) เป็นการขายสินคา้
ผา่ นเครื่องจักรอัตโนมัติ
11) การขายทางไปษณีย์ ( Mail order ) เปน็ การขายสนิ คา้ ซง่ึ ใช้
จดหมายส่งไปยงั ลูกค้า มกี ารลงในหนงั สอื พิมพ์ นติ ยสาร ถ้าพอใจก็ส่งขอ้ ความสั่งซือ้
ทางไปรษณีย์
12) ขายโดยแคตตาลอ็ ก ( Catalog sales )
13) ขายทางโทรทศั น์ ( T.V. Sales )
14) ขายตรง ( Direct sales ) การขายโดยใช้พนักงานขายออกเสนอ
ขายตามบ้าน
15) ร้านค้าสวสั ดกิ าร เปน็ ร้านค้าทต่ี ั้งขน้ึ เพอ่ื อานวยความสะดวกกับ
พนักงานตามหน่วยงานราชการ ตา่ งๆ ของบรษิ ทั หรอื สานกั งานตา่ งๆ
15
16) รา้ นค้าสหกรณ์ เป็นร้านคา้ ทตี่ ง้ั อย่ตู ามมหาวิทยาลัย และ
โรงเรยี นต่างๆ
4.2.3.3. จานวนคนกลางในช่องทาง ( Number of intermediaries ) หรอื
ความหนาแน่นของคนกลางในช่องทางการจัดจาหนา่ ย( Intensity of distribution ) ในการพจิ ารณา
เลือกช่องทางการจดั จาหนา่ ยจะมกี ระบวนการ 3 ขน้ั ตอนดงั น้ี
1) การพจิ ารณาเลอื กลูกคา้ กลุ่มเปา้ หมายวา่ เปน็ ใคร
2) พฤตกิ รรมในการซอ้ื ของกล่มุ เปา้ หมาย เช่น ซอ้ื เงินสดหรอื เครดติ
ตอ้ งจดั ส่งหรอื ไม่ ซื้อบ่อยเพยี งใด
3) การพจิ ารณาท่ตี ง้ั ของลูกคา้ ตามสภาพภูมิศาสตร์
4.2.3.4. การสนบั สนุนการกระจายตวั สนิ คา้ เขา้ สู่ตลาด (Market logistics)
เป็นกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเคลอ่ื นย้ายปัจจัยการผลิต และตัวสินค้าจากแหล่งปจั จยั การผลติ ผา่ น
โรงงานของผ้ผู ลติ แล้วกระจายไปยังผู้บริโภค
ตวั อยา่ งกลยุทธ์
: ต้งั ราคาสงู กวา่ คูแ่ ข่งร้อยละ 30 เพื่อแสดงภาพลกั ษณข์ องตาแหนง่ ผลติ ภัณฑข์ อง
สนิ คา้ ทอี่ ยู่ในระดบั สูง
: ตง้ั ราคาต่าสาหรับช่วงฤดูกาลท่ียอดขายนอ้ ย และตัง้ ราคาต่ากว่าผนู้ าเล็กน้อย
ในช่วงฤดกู าลท่ยี อดขายดี
4.2.4. กลยทุ ธก์ ารส่งเสรมิ การตลาด ( Promotion Strategy ) กลยุทธ์การสง่ เสรมิ
การตลาดจะต้องประสานกบั แผนการตลาดโดยรวมและควรกาหนดแผนการส่งเสรมิ การตลาดท่ี
เฉพาะเจาะจง
ตวั อย่างกลยทุ ธ์
: ใชก้ ลยุทธก์ ารส่งเสรมิ การตลาดให้เกิดผลประโยชนส์ ูงสุดกบั คูค่ ้า เพ่อื ใหค้ ูค่ ้า
สนับสนุนตราสินคา้ ของเรา
: ใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดใหเ้ กดิ ผลสูงสุดเพื่อกระตนุ้ ใหเ้ กิดการซอ้ื สนิ ค้าของเรา
ในช่วงทยี่ อดขายตกต่าของปี
16
4.2.5. กลยุทธ์การบรรจุภณั ฑ์ (Packaging Strategy)การตัดสนิ ใจเลือกรูปแบบการ
บรรจุภณั ฑ์และประเภทวัสดุของบรรจุภณั ฑม์ ักจะใช้กบั สนิ คา้ อุปโภคบริโภคที่พฒั นาใหมห่ รือเมื่อมี
การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงสนิ คา้ ใหม่กลยุทธ์การบรรจภุ ัณฑม์ ีหลักในการพจิ ารณาดังนี้
4.2.5.1. บรรจภุ ณั ฑ์น้นั เหมาะสมทีจ่ ะบรรจสุ นิ ค้า ( Put in ) หรอื ไม่
4.2.5.2. สนิ ค้าเมื่อวางบนชั้นแลว้ ได้เปรียบ (เด่น ) ( Put up ) หรอื ไม่
4.2.5.3. สนิ ค้าเม่อื นาเอามาใชแ้ ลว้ เกบ็ สะดวก ( Put away ) หรือไม่
4.2.5.4. บรรจุภัณฑส์ วยงาม ( Prettiness ) หรอื ไม่
4.2.5.5. สามารถเชญิ ชวนใหใ้ ช้ ( Pleading ) ได้หรอื ไม่
4.2.5.6. บรรจภุ ัณฑส์ ามารถสะทอ้ นตาแหน่งครองใจของสินคา้ (Positioning)
ได้หรือไม่
4.2.5.7. บรรจุภัณฑ์สามารถสะทอ้ นบุคลกิ ภาพของสนิ ค้า ( Personality ) ได้
หรือไม่
4.2.5.8. บรรจภุ ัณฑ์สามารถปกป้องสินคา้ ( Protection ) ไดห้ รือไม่
4.2.5.9. บรรจภุ ณั ฑม์ ีความสะดวกต่อการใช้งาน ( Practicality ) หรือไม่
4.2.5.10.บรรจภุ ัณฑ์ทีเ่ ลือกน้นั สามารถทากาไรไดม้ ากขึ้น ( Profitability ) ได้
หรอื ไม่
4.2.5.11.บรรจุภัณฑน์ ้นั สามารถนามาใช้ในการส่งเสรมิ การตลาด
(Promotion) ไดห้ รอื ไม่
4.2.5.12.เป็นการบอกถึงวธิ ีการใชส้ ินค้า ( Preaching ) ได้หรือไม่
4.2.5.13.สามารถดแู ลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม ( Preservation ) ไดห้ รอื ไม่ ถ้านาสง่ิ
เหล่านมี้ าพจิ ารณาท้งั หมดจะเหน็ ว่าในการออกแบบบรรจภุ ณั ฑข์ องบริษัทจะเปน็ โลโก้ ตัวหนังสอื
ตวั อักษรการเลือกเป็นกระดาษ เปน็ โฟม เปน็ ฝาจกุ หรอื เครือ่ งหมาย สสี นั ตา่ งๆ บรษิ ัทก็จะได้บรรจุ
ภณั ฑท์ ีด่ ี
ตวั อย่างกลยุทธ์
: เปลย่ี นบรรจภุ ัณฑใ์ หม่ด้วยสีสนั ท่สี ดใสเพอื่ ใหผ้ บู้ รโิ ภคเหน็ อยา่ งชดั เจน ณ จดุ ขาย
: ตั้งราคาต่าสาหรบั ชว่ งฤดูกาลทีย่ อดขายน้อย และตั้งราคาตา่ กวา่ ผนู้ าเล็กนอ้ ย
ในช่วงฤดูกาลทย่ี อดขายดี
17
4.2.6. กลยุทธก์ ารใช้พนักงานขาย (Personal Strategy)
การขายโดยใช้พนักงานขายจัดเป็นรูปแบบการปฏิบัติตัวต่อตัวระหว่างกิจการกับลูกค้า
ท้ังนี้เพื่อมุ่งหวังคาสั่งซื้อด้วยรูปแบบการขายท่ีแตกต่างกัน การขายโดยพนักงานขายนั้นเกี่ยวข้องกับ
การจ้างพนักงานขาย การจัดการทั่วๆไปเก่ียวกับพนักงานขาย ตลอดจนการบริหารสินค้าคงคลัง การ
เตรียมการเสนอขายและการบริการหลังการขาย ในการพัฒนาแผนกการขายนั้น กิจการจะเริ่มตั้งแต่
การตั้งวตั ถุประสงคแ์ ละปฏิบัตกิ าร ซงึ่ ต้องมีความชัดเจนและสอดคลอ้ งกับประเภทของธุรกจิ โดยอาจ
เป็นธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจการบริการ หรือธุรกิจการผลิต จากน้ันจึงกาหนดกลยุทธ์การขาย และการ
ดาเนินงาน การขายโดยใช้พนักงานขายนั้นหวังผลลัพธ์เพ่ือเพิ่มยอดขายและขณะเดียวกันก็ เพ่ือสร้าง
สัมพันธภ์ าพระยะยาวกับลูกค้าอีกด้วย นอกจากนี้การขายโดยใช้พนักงานขายนั้น ยังมีการใช้โบว์ชัวร์
เอกสาร ใบปลิว วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เพ่ือช่วยในการนาเสนอขายของพนักงาน ตลอดจนเป็นหลักฐาน
อา้ งอิงและสามารถมอบไวใ้ หล้ ูกค้าเพือ่ ศกึ ษาขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ
ตวั อย่างกลยุทธ์
: กาหนดตัวเลขอตั ราสว่ นการขาย เช่น จานวนลกู คา้ ที่คาดหวงั ( Prospect ) เมอ่ื
เทยี บกับจานวนทก่ี ลายเป็นลกู ค้าที่ซ้ือสินค้าของเราในทส่ี ดุ หรือจานวน ลกู ค้าทซ่ี อ่ สินค้าเมือ่ เทยี บกบั
ลกู ค้าที่เข้ามาในห้างทั้งนเี้ พือ่ การตรวจสอบถงึ ประสิทธภิ าพของพนักงานขาย
: คดิ คน้ โปรแกรมการใหผ้ ลตอบแทนการขาย ( Incentive Program ) ใหมๆ่ เพอ่ื
เป็นรางวัลแกพนกั งานขายทีท่ ายอดขายตามเป้า
4.2.7. กลยุทธก์ ารให้ขา่ วสาร (Public Relation Strategy)
การให้ข่าวสารนั้นคือรูปแบบหนงึ่ ของการติดตอ่ ส่อื สารที่ไม่เสียค่าใชจ้ า่ ยในการ
ซ้อื สอื่ ทงั้ นเ้ี พอ่ื สร้างทศั นคติทเี่ ป็นบวกตอ่ สนิ คา้ และกิจการของเรา แต่ปัจจุบันการส่ือสารโดยวธิ ี
ดงั กลา่ วอาจมีคา่ ใชจ้ ่ายอื่นๆ รวมทงั้ ค่าใชจ้ ่ายทางอ้อมเกย่ี วกับสือ่ อีกด้วย การให้ขา่ วสารแก่สาธารณะ
ชน น้ันเป็นรูปแบบหน่ึงของการประชาสมั พนั ธ์ การใหข้ ่าวสารจดั วา่ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ในระยะ
ยาวแก่องค์กร และตอ้ งการใหผ้ ลลพั ธน์ อ้ี อกมาในเชงิ บวกแก่องคก์ ร ส่ิงทเ่ี ราต้องพิจารณาอยา่ งย่งิ ใน
การให้ข่าวสารคือ กลุ่มเปา้ หมายท่ตี อ้ งการได้รบั ข่าวสารและส่ือโฆษณาทีจ่ ะใช้เพอ่ื การส่ือขา่ วสาร
ตัวอยา่ งกลยทุ ธ์
: การร่วมมอื กบั สื่อบางสอ่ื เพื่อจดั เทศกาลในโอกาสพเิ ศษ
18
: กาหนดโปรแกรมการเปิดตวั การบรกิ ารรปู แบบใหมข่ องธุรกจิ เรา: กาหนด
โปรแกรมการเปดิ ตัวการบรกิ ารรูปแบบใหมข่ องธุรกจิ เรา
4.2.8. กลยทุ ธพ์ ลงั ( Power Strategy )
พลังในที่นหี้ มายถงึ อานาจในการต่อรองและควบคมุ ซงึ่ ดูเหมอื นจะเปน็ ส่งิ ท่ียาก
ทส่ี ดุ ในการเนรมติ ใหเ้ กดิ ขึน้ แต่ก็เปน็ สิง่ จาเป็นและขาดเสียไมไ่ ด้ในองคป์ ระกอบ P สว่ นสดุ ทา้ ยน้ี
เพราะอานาจต่อรองจะเปน็ พลังพิเศษที่นามาใช้ตอ่ รองแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ทางการค้าใหบ้ รษิ ทั
ได้รับข้อเสนอทดี่ ที สี่ ุดในกรณที ไ่ี ม่สามารถตกลงกันตามกรอบได้อย่างลงตวั
กลยุทธ์การตลาด 8P ท่ไี ด้กล่าวมานีเ้ ป็นเคร่ืองมอื พื้นฐานทนี่ ักธรุ กจิ ส่วนใหญน่ าไปใชเ้ ปน็
บรรทดั ฐานในการทาการตลาด โดยอาจแตกต่างตรงที่บางบริษัทประสบความสาเร็จ แตบ่ างบรษิ ทั
กลับลม้ เหลวอยา่ งไมเ่ ปน็ ท่า เหตุผลทเี่ ปน็ เชน่ นน้ั กเ็ พราะบริษทั ที่ลม้ เหลวไม่อาจสรา้ งองค์ประกอบ
ทางกลยทุ ธ์ 8P ได้ครบตามวงจร ดังนน้ั ผู้ประกอบการท่สี นใจจะใชก้ ลยทุ ธ์ 8P น้ที าการตลาดให้ได้ผล
ต้องเอาใจใสท่ กุ รายละเอยี ดของกลยทุ ธแ์ ตล่ ะขอ้ เพ่ือสร้างสรรค์ตัว P ทง้ั แปดให้เกิดขึน้ มาใหไ้ ด้
4.3 กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์
4.3.1 กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน หลากหลายธุรกิจยังคงทา
การตลาดรูปแบบเดิม ๆ ที่ขายออฟไลน์เพียงอย่างเดียว ยุคน้ีคงไม่เพียงพออกี ต่อไป เมื่อเกิดวฤิ ตการ
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ทาให้มีข้อจากัดต่าง ๆ มากมาย คนออกจากบ้านน้อยลง งด
เดินทาง งดนั่งร้านอาหาร งดท่องเท่ียว ใช้ชีวิตอยู่ท่ีพักมากย่ิงข้ึนและนิยมซื้อของออนไลน์ หรือสั่ง
อาหารแบบเดลิเวอร่ีเพื่อลดการออกไปสัมผัสเช้ือ ทาให้หลากหลายธุรกิจที่ยังขายรูปแบบเดิม ๆ
หยุดชะงัก แก้ไขง่าย ๆ เพียงแค่คุณปรับตัวให้ทันกันสถานการณ์ปัจจุบันเพ่ือความอยู่รอดของธุรกิจ
ทันพฤติกรรมของผู้บริโภคและเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การขายง่ายข้ึน เร่งเคร่ืองการตลาดเชิงรุก
บุกตลาดออนไลน์ด้วยการ ออกแบบเว็บไซต์ E-commerce , โฆษณาสินค้าและบริการของคุณให้
ลูกค้าเห็นด้วย Google Ads , โฆษณาออนไลน์บนแพลตฟอร์มท่ีมีผู้ใช้งานมากมาย เช่น Facebook
Ads เพียงเทา่ นีไ้ มว่ า่ จะวกิ ฤตไหนยอดขายคณุ ก็จะไมห่ ยดุ นงิ่ อีกต่อไป
4.3.2 กลยุทธ์ที่ 2 สู้กับคู่แข่งให้แซงหน้า ปิดยอดขายแบบฉับไว คู่แข่งทางการค้า
สาคัญมาก เพราะมีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน สินค้าและบริการคล้ายคลึงกัน คุณควรดึงดูดลูกค้าให้
สนใจสินค้าและบริการของมากย่ิงข้ึน เพราะผู้ประกอบการมีจานวนมหาศาลทาให้มีการแข่งขันท่ีสูง
คุณต้องสู้เพ่ือชัยชนะในการตลาดท่ีดุเดือดแบบ Red Ocean เลือกทาการตลาดออนไลน์และสู้ให้ถูก
19
ทางโดยเน้นผู้เช่ียวชาญมาวางแผน ออกแบบ ดาเนินการ วิเคราะห์ผล เพื่อให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด
เพือ่ ทีค่ ณุ จะไดเ้ ดนิ เกมสก์ ารตลาดเชิงลุกไดถ้ กู ทาง และทาการตลาดออนไลนท์ ช่ี ่วยปดิ การขายได้แบบ
ฉับไว การนั ตีด้วยประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญ ที่จะทาให้ธรุ กิจของคุณสามารถสร้างยอดขายและพุ่ง
เขา้ หากลุ่มเปา้ หมายไดแ้ บบรวดเรว็ จนแซงคแู่ ขง่ ได้อยา่ งแนน่ อน
4.3.3 กลยุทธ์ที่ 3 เช่ือมโยงทุกช่องทางการขายเข้าหากัน อย่างที่เราได้บอกเสมอว่า
การขายของเพยี งชอ่ งทางเดียวอาจจะไมเ่ พียงพออกี ต่อไป เพราะไมส่ ามารถรองรับการหลง่ั ไหลเข้ามา
ของลูกค้าบนโลกออนไลน์อันมหาศาลได้ และด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีเปล่ียนไปในทุก ๆ ปี ทา
ให้ลกู ค้ามีตวั เลือกหลากหลายช่องทาง หากคุณยังคงขายด้วยช่องทางเดมิ ๆ กจ็ ะมเี พยี งแค่กลุ่มลูกค้า
เดมิ ๆ ท่ีให้ความสนใจเท่าน้ัน เพียงแค่คุณเร่ิมปรับเปล่ียนการตลาดออนไลน์ เพม่ิ ชอ่ งทางการขายให้
รับรองลูกค้ามากยิ่งขึ้นและเช่ือมโยงทุกช่องทางเข้าหากัน เพ่ือให้ลูกค้าไม่พลาดการติดต่อ และ
สามารถติดตามความเคลื่อนไหวของแบรนด์หรือคอย Update ข่าวสารโปรโมชั่นไว้ เพื่อเพ่ิมโอกาส
ใหล้ กู ค้าได้กลบั มาซอ้ื สินคา้ ของคณุ ใหม่ได้อีกคร้ัง
4.3.4 กลยทุ ธ์ที่ 4 กลา้ ทจ่ี ะโฆษณา ลยุ ไปให้สดุ หากคุณมีสนิ ค้าอย่ใู นมอื แต่ไม่
สามารถทาใหผ้ ู้คนรู้จักและมองเห็นสนิ ค้าของคณุ ได้ เชื่อเถอะว่ายอดขายของคุณกจ็ ะน่ิงตามอย่าง
แนน่ อน เพราะสนิ คา้ ดีอยา่ งเดยี วคงไมพ่ อ คณุ ตอ้ งสรา้ งภาพลกั ษณ์เพ่ิมมูลคา่ ให้กบั สนิ ค้าและโฆษณา
บนโลกออนไลนเ์ พือ่ ให้กลุ่มเปา้ หมายได้เขา้ มาดูและเลอื กชอื้ สินคา้ ของคณุ ได้จากทกุ ท่ี ทกุ มุมโลก ทาง
เราแนะนาวา่ สิง่ แรกทค่ี ณุ ตอ้ งลงทนุ ในการทาโฆษณาออนไลนค์ ือการออกแบบเว็บไซต์ทีร่ องรับ SEO
และควรทาโฆษณา บน google เพอื่ เปดิ การมองเห็น ดงึ ดดู ลกู คา้ เขา้ มาให้ไดม้ ากที่สดุ พรอ้ มโฆษณา
Facebook อีกช่องทาง รบั รองวา่ โฆษณาทกุ รูปแบบ จัดหนัก จดั เตม็ ขนาดน้ี ยอดขายของคุณจะ
เพมิ่ ขึน้ หลายเท่าตวั ในเวลาไมน่ าน
5. การบริโภคและทฤษฎีพฤตกิ กรมผู้บรโิ ภค (Buyer Behavior’s Model)
5.1 พฤตกิ รรม (Behavior)
การกระทาหรือการแสดงออกของสัตว์เพ่ือตอบสนองต่อสิ่งเร้า หรือส่ิงท่ีมากระตุ้น
(stimulus) ซงึ่ อาจจะเกดิ ขน้ึ ทนั ทีหรอื เกิดขน้ึ หลงั จากท่ถี กู กระตุ้นมาแลว้ ระยะหนง่ึ
20
5.2 ผูซ้ ้อื (Buyer)
ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซ่ึงได้รับการเสนอหรือชักชวนจากผู้ประกอบ
ธุรกิจ เพื่อให้ซื้อสินค้าหรือบริการ และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้
ประกอบธุรกจิ โดนชอบ แมม้ ิไดเ้ สียค่ายตอบแทนกต็ าม
5.3 พฤติกรรมของผบู้ รโิ ภค (Consumer Behavior)
การแสดงออกของแต่ละบุคคลท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับการใช้สินค้าและบริการทาง
เศรษฐกจิ รวมท้ังกระบวนการในการตดั สนิ ใจทมี่ ีผลต่อการแสดงออก
5.3.1 สิ่งกระตุ้น (stimulus) หมายถึง ส่ิงกระตุ้นท่ีอาจเกิดข้ึนเองจากภายในร่างกาย
และสิ่งกระตุ้นจากภายนอก นักการตลาดจะต้องสนใจและจัดส่ิงกระตุ้นภายนอก เพื่อให้ผู้บริโภคเกิด
ความตอ้ งการผลิตภัณฑ์ สิ่งกระตุ้นนี้ถือวา่ เปน็ เหตุจูงใจใหเ้ กดิ การซื้อสินคา้ ซึ่งอาจใช้เหตุจูงใจซื้อดา้ น
เหตผุ ล และใชเ้ หตจุ งู ใจใหซ้ อ้ื ในดา้ นจติ วทิ ยา (อารมณ)์
5.3.2 กล่องดาหรือความรู้สึกนึกคิดของผู้ซ้ือ (buyer’s black box) หมายถึง
ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ ซึ่งเปรียบเสมือนกล่องดา ที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายไม่สามารถทราบได้ จึงต้อง
พยายามค้นหา ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซ้ือ ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อจะได้รับอิทธิพลมาจากลักษณะ
และกระบวนการตัดสินใจของผ้ซู อื้
5.3.3 การตอบสนองของผู้ซอ้ื (buyer’s response) หรอื การตดั สินใจซอื้ ของผบู้ ริโภค
หรอื ผู้ซือ้ ผูบ้ รโิ ภคจะมกี ารตดั สินใจในประเดน็ ตา่ งๆ
6. แนวคดิ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์
การทาความเข้าใจเกยี่ วกับความหมาย ความเป็นมา ตลอดจนความสาคญั ของบรรจุภณั ฑ์
เป็นแนวคิดในการเรียนร้อู ดตี ศึกษาปจั จุบัน เพอื่ กา้ วไปในอนาคต ความเขา้ ใจเรือ่ งราวของบรรจุ
ภัณฑใ์ นบทนี้จะช่วยให้การนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ได้เหมาะสม เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด เปน็ ทางเลือก
ให้กบั ผปู้ ระกอบการไดเ้ ล็งเหน็ ความสาคญั ในการเลอื กพัฒนาบรรจภุ ัณฑใ์ หก้ บั ผลิตภณั ฑ์ของตนเอง
ได้อยา่ งโดดเด่นน่าสนใจ บรรจุภัณฑม์ บี ทบาทสาคญั มากขน้ึ ตอ่ ผูผ้ ลติ ซ่งึ เปน็ หน้าท่ขี องนักออกแบบท่ี
ตอ้ งคานงึ ถึงศาสตร์และศลิ ปส์ าหรบั ใช้แก้ ปญั หา ในการออกแบบบรรจุภัณฑแ์ ต่ละดา้ นให้เกดิ ผลลัพธ์
ท่ีมีประสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ และถกู ใจผู้บรโิ ภคมากที่สุด ซงึ่ สง่ิ สาคญั ในการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ หรอื
ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ที่ผอู้ อกแบบหรอื ผูผ้ ลิตตอ้ งเข้าใจคอื วัตถปุ ระสงคข์ องการออกแบบ
บรรจภุ ัณฑ์ องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบกราฟกิ สาหรับบรรจุภณั ฑ์
21
ขนั้ ตอนการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การวางแผนเพอื่ ผลติ บรรจุภัณฑ์ หรือแม้กระท้งั เทคนิคการ
ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ดงั นน้ั การบรรจุภัณฑท์ เี่ หมาะสมกับผลติ ภัณฑน์ น้ั เป็นส่งิ ท่ีมีความสาคญั เป็น
อยา่ งยง่ิ ต่อการจาหน่ายสินคา้ ทงั้ ในด้านการจัดจาหน่ายและการขนส่ง ตลอดจนการตดั สินใจเลือกซอื้
สนิ คา้ เพื่อให้สามารถส้คู ู่แขง่ ทางการคา้ ในตลาดได้อย่างมีคุณภาพ และมีประสทิ ธิภาพต่อไปใน
อนาคตไดอ้ ยา่ งย่ังยืน
6.1 ประวัติความเปน็ มาของบรรจุภณั ฑ์
กาเนิดของการบรรจภุ ณั ฑ์ จากวันนีย้ ้อนกลับไปในอดตี ชว่ งปลายศตวรรษท่ี 18 ในชว่ ง
แรกอาหารจะนาไปบรรจุในภาชนะโลหะที่ปดิ ผนึกและถกู หลกั อนามยั นัน่ คอื กระปอ๋ งบรรจอุ าหารท่ี
ทาจากดบี กุ (Tin Can) หรือกลอ่ งกระดาษแข็งได้ใช้กนั อยา่ งกวา้ งขวาง เพราะมนี ้าหนกั เบา สามารถ
พิมพท์ บั ลงไปได้ง่ายบนแผน่ กระดาษก่อนทนี่ าไปทาแบบบรรจุ และเป็นการประหยัดพ้ืนท่ี กลอ่ งโลหะ
กไ็ ด้รบั การพัฒนากันอย่างกว้างขวาง เชน่ เดียวกันในเวลานัน้ เพราะเปน็ อีกทางเลือกหน่งึ ทีด่ ีกว่าการ
ใชก้ ลอ่ งกระดาษแขง็ โดยเฉพาะสนิ คา้ ท่บี ูดเนา่ ได้ เชน่ ขนมปังกรอบ หรือขนมหวาน ทาใหร้ ะดบั
ความต้องการที่จะเก็บรกั ษาสนิ ค้าเพม่ิ จานวนมากขนึ้ หนั กลับมามองในศตวรรษท่ี 20 ปัจจุบนั นี้
เทคนิคในการผลิตไดก้ า้ วไกลไปมากพอที่จะทาใหบ้ รรจุภัณฑ์โลหะเหลา่ นมี้ ีรูปแบบหรือรูปทรงตา่ ง ๆ
ไดต้ ามตอ้ งการดว้ ยการนาเทคนิคคอมพิวเตอรม์ าช่วยในการผลติ รวมถึงพลาสตกิ ท่ไี ดร้ ับการพฒั นาให้
ดยี ่ิงข้นึ เราจึงนามาใชใ้ นทุกวันน้ี เทคนิคการพมิ พ์ทเ่ี ฟ่อื งฟูมาต้งั แต่ต้นศตวรรษที่ 19 น้ันต้องการการ
พฒั นาในเรือ่ งเทคนิคการพิมพ์ บรรจุภณั ฑ์ท่มี คี วามรวดเร็ว ตราผลิตภัณฑห์ รือยี่หอ้ นนั้ จาเปน็ ตอ้ งมี
ติดอยบู่ นภาชนะบรรจุไม่ว่าจะเป็นวสั ดปุ ระเภทไหนก็ตาม ขวดแก้ว หม้อดนิ เผา กลอ่ งหรอื กระปอ๋ ง
โลหะ กล่องกระดาษแขง็ หรอื กระดาษห่อธรรมดา ก็ต้องมฉี ลากทจ่ี ะบอกยห่ี อ้ ของผลิตภัณฑน์ ัน้ ผลท่ี
ตามมานัน้ ไปไกลเกนิ คาดในเรอ่ื งของการเพ่ิมคณุ ค่า และความสนใจให้กบั สนิ ค้าท่วั ไป ตัวอย่างเช่น
รูปภาพ สีสด ชดั เจน ทอ่ี ยบู่ นกล่องผงซักฟอก ย่อมจะดงึ ดดู ผูบ้ ริโภคมากกวา่ ตวั ผงซกั ฟอก
6.2 ความหมายของบรรจภุ ัณฑ์ ความหมายหรอื นยิ ามของคาวา่ การออกแบบ (Design)
และบรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging) มนี กั วิชาการและผู้เชีย่ วชาญ ได้กลา่ วไว้ ดงั นี้
6.2.1 กดู (Good) กลา่ วว่า การออกแบบ เปน็ การวางแผนหรือกาหนดรปู แบบรวมท้ัง
การตกแต่งในโครงสร้างรปู ทรงของงานศลิ ปะ ทัศนศลิ ปด์ นตรี ตลอดจนวรรณกรรม
6.2.2 วิรณุ ต้ังเจรญิ กลา่ วว่า การออกแบบ หมายถงึ การวางแผนสรา้ งสรรคร์ ูปแบบ
โดยการวางแผนจดั ส่วนประกอบของการออกแบบใหส้ ัมพนั ธก์ ับประโยชน์ใช้สอย วสั ดุ และการผลิต
22
6.2.3 นิไกโด เคลค็ เตอร์ (Nikaido Clecture) กลา่ ววา่ บรรจุภัณฑ์ เป็นเทคนิคท่ี
สง่ เสริมการขายกับการประสานประโยชนร์ ะหวา่ งวัตถกุ ับภาชนะบรรจุ โดยมีความมุ่งหมายเพ่อื การ
คุ้มครองในระหว่างการขนส่ง และการเกบ็ รักษาในคลัง
6.2.4 จรญู โกสีย์ไกรนริ มล กล่าวว่า บรรจุภณั ฑ์ คือการนาเอาวสั ดุ เช่น กระดาษ
พลาสติก แกว้ โลหะ ไม้ ประกอบเปน็ ภาชนะหอ่ หมุ้ สินคา้ เพอื่ ประโยชนใ์ นการใช้สอยทมี่ ีความ
แข็งแรง สวยงามได้สดั สว่ นท่ีถูกตอ้ งสร้างภาพพจน์ทดี่ ี มีภาษาในการตดิ ต่อส่ือสาร และทาให้เกิด
ความพึงพอใจจากผซู้ ้อื สินค้า
6.3 วตั ถุประสงค์ของบรรจุภัณฑ์
บรรจภุ ัณฑ์ คอื การนาเอาวสั ดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ และไม้ ประกอบ
เป็นภาชนะห่อหุ้มสนิ ค้า เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใชส้ อยท่มี ีความแขง็ แรง สวยงามไดส้ ดั ส่วนทถี่ ูกตอ้ ง
สร้างภาพพจน์ทีด่ ี มีภาษาในการติดตอ่ สอื่ สาร และทาให้เกิดความพงึ พอใจจากผซู้ อื้ สินค้า โดย
วตั ถปุ ระสงค์ของการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ มดี งั นี้
6.3.1 เพ่อื ชว่ ยปกปอ้ งคมุ้ ครองและรกั ษาคุณภาพสนิ คา้
6.3.2 เพื่อเปน็ ตวั ชบ้ี ง่ และสอ่ื สารรายละเอยี ดสนิ คา้ ดึงดดู ผบู้ ริโภค ให้แสดงถงึ
ภาพลักษณ์
6.3.3 เพอื่ สรา้ งบรรจุภณั ฑใ์ ห้สามารถเออื้ ประโยชน์ดา้ นหนา้ ทีใ่ ชส้ อยได้ดี มีความ
ปลอดภยั ประหยดั และมีประสิทธภิ าพ
6.3.4 เพอื่ สรา้ งบรรจภุ ณั ฑใ์ หส้ ามารถส่อื สาร และสร้างผลกระทบต่อผบู้ ริโภคโดยใช้
ความร้แู ขนงศลิ ปะเขา้ มาสรา้ งคุณ ลักษณะ เช่น มีเอกลกั ษณ์ลกั ษณะพิเศษท่ีดึงดูดและสรา้ งการจดจา
ตลอดจนเขา้ ถงึ ความหมายและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์
6.4 ความสัมพนั ธข์ องบรรจุภณั ฑ์
ประเทศไทยของเรามสี ินค้ามผี ลิตผลทางด้านการเกษตรกรรม และการประมง
มากมาย เชน่ ผักสด ผลไมส้ ด และสินค้าทเี่ ป็นอาหารจากทะเล สิ่งท่ีกล่าวมานจี้ ะไดร้ บั ความเสยี หาย
มากเน่อื งจากสภาวะของอากาศการบรรจุหีบห่อ และการขนส่งทเี่ หมาะสมมสี ่วนท่จี ะช่วยลดความ
เสยี หายเหลา่ น้ันลงได้ซึ่งเป็นการชว่ ยให้ผลผลติ ที่กล่าวถงึ มือผูบ้ รโิ ภคในสภาพท่ดี ี และจะทาให้ขายได้
ในราคาท่ีสงู อกี ด้วย จะเหน็ ได้ว่าการบรรจุภัณฑ์น้นั มคี วามสาคญั เปน็ อยา่ งยิง่ ต่อผลผลติ ซึง่ สามารถ
สรปุ เป็นรายละเอียดได้ดงั นี้
23
6.4.1 รักษาคณุ ภาพ และปกป้องตัวสนิ คา้ เริม่ ตั้งแตก่ ารขนสง่ การเกบ็ ให้ผลผลติ หรือ
ผลิตภณั ฑเ์ หลา่ น้นั มใิ ห้เสยี หายจากการปนเป้ือนจากฝนุ่ ละออง แมลง คน ความช้นื ความรอ้ น
แสงแดด และการปลอมปนอน่ื ๆ เปน็ ต้น
6.4.2 ให้ความสะดวกในเรอ่ื งการขนสง่ การจัดเกบ็ มีความรวดเร็วในการขนส่ง เพราะ
สามารถรวมหน่วยของผลติ ภัณฑเ์ หล่าน้ันเปน็ หน่วยเดียวได้ เชน่ ผลไม้หลายผลนาลงบรรจใุ นลงั เดยี ว
หรอื เคร่อื งดื่มที่เปน็ ของเหลวบรรจลุ งในกระป๋องหรือขวดได้ เปน็ ตน้
6.4.3 ส่งเสริมทางด้านการตลาด บรรจุภณั ฑ์เพื่อการจัดจาหน่ายเป็นส่ิงแรกที่ผู้บริโภค
เห็น ดังน้ันบรรจุภัณฑ์จะต้องจะทาหน้าท่ีบอกกล่าวส่ิงต่าง ๆ ของตัวผลิตภัณฑ์โดยการบอกข้อมูลท่ี
จาเป็นทั้งหมดของตัวสินค้าและนอกจากน้ันจะต้องมีรูปลักษณ์ท่ีสวยงามสะดุดตาเชิญชวนให้เกิดการ
ตัดสินใจซ้ือ ซึ่งการทาหน้าที่ดังกล่าวของบรรจุภัณฑ์น้ันเป็นเสมือนพนักงานขายที่ไร้เสียง (Silent
Salesman)
6.5 หน้าที่และประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์ ทาหน้าที่ท้ังต่อตัวผลิตภัณฑ์โดยตรง และหน้าที่
สื่อข้อมลู ทเี่ ก่ียวกับตัวผลติ ภัณฑ์ มีดงั น้คี ือ
6.5.1 การทาหน้าท่ีบรรจใุ ส่สนิ คา้ เช่น ใส่หอ่ สินคา้ ด้วยการชั่งตวงวัดหรือนับ
6.5.2 การทาหน้าทค่ี ุ้มครองป้องกนั ตัวผลิตภัณฑ์ ไมใ่ หส้ ินค้าเสยี รปู แตกหกั ไหลซึม
6.5.3 ทาหน้าท่ีรักษาคุณภาพอาหาร เช่น ป้องกันอากาศซึมผ่าน ป้องกันแสง และ
ปอ้ งกันความชน้ื เป็นตน้
6.5.4 ทาหน้าท่ีเป็นฉลากแสดงข้อมูลรายละเอียดของสินค้า เช่น เครื่องหมายการค้า
ขอ้ มูลส่วนผสม และแหลง่ ผลติ เป็นต้น
6.5.5 ทาให้ต้ังราคาขายได้สูงขึ้น เน่ืองจากความสวยงามของบรรจุภัณฑ์จะสร้าง
มูลค่าเพ่ิมให้แก่สนิ ค้า
6.5.6 เพ่อื อานวยความสะดวกในการจัดวางขนสง่ และจัดแสดง
6.5.7 สรา้ งความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เปน็ การส่งเสริมการขายและเพ่ิมยอดขาย
6.6 ประเภทของบรรจภุ ณั ฑ์ ในสภาวะตลาดทม่ี กี ารแขง่ ขันกันสงู ในปัจจุบัน การเลือกใช้
บรรจภุ ณั ฑ์จะมีส่วนสาคญั ในการเพม่ิ มลู ค่า และสรา้ งความโดดเด่นใหก้ บั ตวั สนิ คา้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง
สนิ ค้าทมี่ คี ุณสมบัติพิเศษเหนอื กว่าสนิ ค้าอื่นในท้องตลาด มคี วามจาเป็นอย่างยงิ่ ทีจ่ ะต้องเลอื กใช้บรรจุ
24
ภณั ฑ์ทมี่ มี ูลคา่ สูง เพ่อื สามารถยกระดับมาตรฐานสินค้าใหส้ ูงข้นึ โดยประเภทบรรจภุ ัณฑแ์ บง่ ไดห้ ลาย
วธิ ีตามหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ดงั น้ี
6.6.1 แบง่ ตามวิธกี ารบรรจุและวิธีการขนถ่าย
6.6.1.1 บรรจุภัณฑเ์ ฉพาะหน่วย (Individual Package) คอื บรรจภุ ณั ฑ์ท่ี
สัมผสั อยกู่ บั ผลติ ภณั ฑ์ชน้ั แรก เป็นส่ิงที่บรรจุผลติ ภัณฑเ์ อาไวเ้ ฉพาะหน่วย โดยมวี ัตถุประสงคข์ ัน้ แรก
คอื เพิม่ คุณคา่ ในเชิงพาณิชย์ เช่น การกาหนดใหม้ ลี กั ษณะพิเศษเฉพาะหรือทาให้มรี ปู รา่ งทเ่ี หมาะแก่
การจับถอื และอานวยความสะดวกต่อการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ พร้อมทง้ั ทาหน้าท่ีใหค้ วามปกป้องแก่
ผลิตภณั ฑโ์ ดยตรงอกี ด้วย
6.6.1.2 บรรจุภัณฑช์ นั้ ใน (Inner Package) คือบรรจุภัณฑท์ อ่ี ยถู่ ดั ออกมา
เป็นชนั้ ท่สี อง มหี น้าทีร่ วบรวมบรรจภุ ัณฑ์ขน้ั แรกเขา้ ไวด้ ้วยกันเปน็ ชดุ ในการจาหนา่ ยรวม ตั้งแต่ 2–
24 ชิ้นขึน้ ไป โดยมีวตั ถปุ ระสงคข์ ั้นแรก คอื การป้องกันรักษาผลิตภณั ฑจ์ ากน้า ความชืน้ ความร้อน
แสง แรงกระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เป็นตน้ โดยตวั อย่างของ
บรรจุภณั ฑป์ ระเภทนี้ ได้แก่ กล่องกระดาษแข็งท่บี รรจุเครอื่ งดม่ื จานวน 1 โหล และสบู่ 1 โหล เปน็
ตน้
6.6.1.3 บรรจภุ ัณฑช์ ัน้ นอกสุด (Out Package) คอื บรรจภุ ัณฑท์ ี่เป็นหน่วยรวม
ขนาดใหญท่ ใี่ ช้ในการขนส่ง โดยปกติแล้วผ้ซู ือ้ จะไม่ได้เห็นบรรจุภัณฑป์ ระเภทนีม้ ากนกั เนือ่ งจากทา
หนา้ ทป่ี ้องกนั ผลติ ภณั ฑ์ในระหวา่ งการขนสง่ เท่านั้น ลกั ษณะของบรรจุภัณฑ์ประเภทนี้ ได้แก่ หบี ไม้
ลงั กลอ่ งกระดาษขนาดใหญท่ ่บี รรจสุ นิ คา้ ไวภ้ ายใน ภายนอกจะบอกเพียงขอ้ มลู ท่ีจาเปน็ ต่อการขนสง่
เท่าน้นั เช่น รหัสสินคา้ (Code) เลขที่ (Number) ตราสินค้า และสถานทสี่ ง่ เปน็ ต้น
6.6.2 แบง่ ตามวัตถุประสงคข์ องการใช้
6.6.2.1 บรรจุภณั ฑเ์ พอื่ การขายปลีก (Consumer Package) เปน็ บรรจภุ ณั ฑ์
ท่ีผ้บู รโิ ภคซื้อไปใชไ้ ป อาจมชี น้ั เดยี ว หรือหลายชน้ั ก็ได้ ซึง่ อาจเป็น Primary Package หรือ
Secondary Package กไ็ ด้
6.6.2.2 บรรจุภณั ฑเ์ พอื่ การขนส่ง (Transportation Package) เป็นบรรจุ
ภัณฑ์ทใ่ี ชร้ องรบั หรือหอ่ หุ้มบรรจุภณั ฑ์ขน้ั ทตุ ยิ ภมู ิ ทาหน้าทรี่ วบรวมเอาบรรจุภณั ฑ์ขายปลีกเข้า
ดว้ ยกันให้เปน็ หน่วยใหญ่ เพอ่ื ความปลอดภยั และความสะดวกในการเกบ็ รกั ษา และการขนสง่ เชน่
กลอ่ งกระดาษลูกฟูกทใ่ี ช้บรรจุยาสีฟัน กล่องละ 3 โหล
25
6.6.3 แบ่งตามความคงรูป
6.6.3.1 บรรจภุ ณั ฑ์ประเภทรูปทรงแขง็ ตัว (Rigid Forms) ได้แก่ เครอื่ งแกว้
(Glass Ware) เซรามิก (Ceramic) พลาสตกิ จาพวก Thermosetting ขวดพลาสตกิ ส่วนมากเป็น
พลาสติกฉีด เคร่อื งปัน้ ดนิ เผา ไม้ และโลหะ มีคุณสมบตั แิ ข็งแกรง่ ทนทานเออ้ื อานวยตอ่ การใช้งาน
และปอ้ งกันผลิตภัณฑ์จากสภาพแวดล้อมภายนอกได้ดี
6.6.3.2 บรรจุภณั ฑ์ประเภทรูปทรงก่ึงแขง็ ตวั (Semi Rigid Forms) ไดแ้ ก่
บรรจภุ ณั ฑท์ ี่ทาจากพลาสติกอ่อน กระดาษแข็งและอะลมู เิ นยี มบาง คณุ สมบัติท้ังดา้ นราคา นา้ หนกั
และการป้องกนั ผลติ ภัณฑ์จะอยใู่ นระดบั ปานกลาง
6.6.3.3 บรรจภุ ณั ฑป์ ระเภทรปู ทรงยืดหย่นุ (Flexible Forms) ได้แก่ บรรจุ
ภัณฑ์ที่ทาจากวัสดุอ่อนตวั มีลักษณะเปน็ แผ่นบาง ได้รับความนิยมสงู มาก เนอ่ื งจากมีราคาถกู หากใช้
ในปริมาณมาก และระยะเวลานาน น้าหนกั นอ้ ย มีรปู แบบ และโครงสร้างมากมาย
6.6.4 แบง่ ตามวสั ดุบรรจภุ ณั ฑ์ทีใ่ ช้ การจดั แบ่งและเรยี กชือ่ บรรจุภณั ฑ์ในทรรศนะ
ของผอู้ อกแบบ ผูผ้ ลิต หรือนกั การตลาดจะแตกต่างกนั ออกไป บรรจภุ ณั ฑแ์ ต่ละประเภทก็ต้งั อยู่
ภายใต้วตั ถุประสงคห์ ลกั ใหญท่ ค่ี ลา้ ยกันคือ เพอื่ ป้องกนั ผลิตภัณฑ์ เพื่อจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ และเพอ่ื
โฆษณาประชาสมั พนั ธผ์ ลติ ภณั ฑ์
6.7 ลักษณะของบรรจุภณั ฑ์
6.7.1 บรรจุภณั ฑข์ ้ันที่หนง่ึ (Primary Packaging) คือ บรรจุภัณฑท์ มี่ าหอ่ หุ้มตวั สินค้า
เพ่ือปอ้ งกันรักษาไม่ใหต้ ัวสินคา้ ได้รบั ความเสยี หายหรอื เพือ่ ความสะดวกในการนาไปใช้งาน
ตวั อยา่ งเชน่ หลอดยาสฟี นั ขวดแชมพู
6.7.2 บรรจภุ ณั ฑ์ข้ันที่สอง (Secondary Packaging) คอื บรรจภุ ัณฑท์ ม่ี าหอ่ หุ้มบรรจุ
ภณั ฑ์ข้ันทห่ี น่ึง เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ตัวสินคา้ ได้รับความเสยี หาย อกี ทั้งยงั ชว่ ยสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ให้กบั ตัว
สนิ ค้า ช่วยในการขายสินค้าโดยการดึงดูดความสนใจของผูบ้ ริโภค ตัวอยา่ งเช่น กลอ่ งยาสีฟัน และ
กลอ่ งใส่ขวดเบียร์
6.7.3 บรรจภุ ณั ฑ์เพอ่ื การขนส่ง (Shipping Packaging) คือ บรรจภุ ณั ฑ์ท่ที าหน้าทีใ่ น
การเกบ็ รกั ษาและขนสง่ สนิ คา้ ตัวอยา่ งเช่น ลัง ตู้คอนเทนเนอร์ เปน็ ตน้
6.8 องค์ประกอบของการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ องคป์ ระกอบทีอ่ อกแบบไว้บนบรรจภุ ัณฑ์
เป็นปจั จัยสาคัญในการเลือกซ้อื สินค้านน้ั รายละเอียด หรอื สว่ นประกอบบนบรรจุภณั ฑจ์ ะแสดงออก
26
ถงึ จติ สานกึ ของผผู้ ลิตสนิ ค้าและสถานะของบรรจุภัณฑ์ สามารถขยับเปน็ สื่อโฆษณาระยะยาว ส่วน
องค์ประกอบทส่ี าคญั บนบรรจุภณั ฑอ์ ย่างน้อยทีส่ ดุ ควรมี ดงั น้ี
6.8.1 ชื่อสนิ ค้า
6.8.2 ตราสินคา้
6.8.3 สัญลกั ษณ์ทางการคา้
6.8.4 รายละเอียดของสินคา้
6.8.5 รายละเอยี ดสง่ เสรมิ การขาย
6.8.6 รูปภาพ
6..8.7 ส่วนประกอบของสินค้า
6.8.8 ปริมาตรหรอื ปรมิ าณ
6.8.9 ชื่อผผู้ ลิตและผู้จาหน่าย (ถ้าม)ี
6.8.10 รายละเอียดตามขอ้ บงั คบั ของกฎหมาย เชน่ วนั ผลิต และวนั หมดอายุ เปน็ ตน้
หลงั จากท่ีมกี ารเกบ็ ข้อมลู รายละเอยี ดต่าง ๆ ดงั กลา่ วมาแล้วจึงเริ่มกระบวนการออกแบบดว้ ยการ
เปลี่ยนขอ้ มลู ทไี่ ด้รบั มาเป็นกราฟฟิกบนบรรจุภณั ฑ์
6.9 ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลต่อราคาของบรรจภุ ัณฑ์ ในกระบวนการสรา้ งสรรค์บรรจภุ ณั ฑ์ มี
องคป์ ระกอบทเี่ ข้ามาเก่ยี วข้องทีส่ ง่ ผลต่อราคาของการพฒั นาบรรจุภณั ฑ์ทงั้ ตอ่ ราคารวมและราคาตอ่
หนว่ ย ดังน้ี
6.9.1 ราคาต้นทุนของวสั ดบุ รรจภุ ณั ฑ์
6.9.2 ราคาของกรรมวิธกี ารผลติ บรรจภุ ัณฑ์
6.9.3 ราคาของการเก็บรกั ษาและการขนส่ง
6.9.4 ราคาของเคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ใี ชใ้ นการผลิตและบรรจุภณั ฑ์
6.9.5 ราคาของการใชแ้ รงงานทเ่ี กย่ี วข้อง
6.10 การใชส้ เี พ่ือการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การใช้สเี พอ่ื การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ชว่ ยให้การ
ดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เกิดความสะดุดตาบ่งบอกถึงความหมาย และประโยชนใ์ ชส้ อยของ
ผลติ ภัณฑ์นน้ั ๆ การกาหนดความหมายจากสีจากความรสู้ กึ และกาหนดจากมาตรฐานสากลใช้ชว่ ย
บอกถึงลักษณะการใชง้ านตามประโยชน์ใช้สอยของผลติ ภัณฑ์ นอกเหนอื จากการใชส้ ีเพื่อตกแต่ง
ผลิตภณั ฑซ์ ่ึงเปน็ การกาหนดโดยผอู้ อกแบบและความนิยมของสภาวะตลาดในปจั จุบัน
27
6.11 การใชส้ สี าหรับการตกแต่งหบี หอ่ บรรจุภัณฑ์ องคป์ ระกอบที่สาคญั ในการเลือกใช้สีที่
ควรคานึงถึงสาหรับการตกแตง่ หบี หอ่ บรรจุ คือ
6.11.1 สีต่าง ๆ ทใ่ี ชบ้ นเนอื้ ท่ีของหบี หอ่ บรรจคุ วรติดตอ่ กนั อยา่ งไดเ้ รื่องราวทัง้ หมดไม่
ขดั กนั
6.11.2 ขอบเขตของสที ี่ใช้บนหีบห่อบรรจุ แต่ละสีควรจะประกอบกนั แล้วเข้าใจกันได้
หรอื เป็นสคี ู่กนั ได้
6.11.3 สที ่ใี ช้ควรเปน็ สีทีย่ อมรับของผูบ้ รโิ ภคในตลาด ถกู ต้องตามรสนิยมของผบู้ รโิ ภค
6.11.4 ขอบเขตของสิ่งท่ีจะทาใหห้ ีบห่อบรรจุ ขดั แย้งหรอื ไมเ่ ดน่ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั
หบี หอ่ บรรจุภณั ฑ์ของผลติ ภัณฑ์คูแ่ ข่งขัน
6.12 ขอ้ พจิ ารณาในการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ดนี ้นั จะตอ้ งสามารถผลิต และ
นาไปบรรจุไดด้ ้วยวิธกี ารที่สะดวก ประหยดั และรวดเร็ว การเลือกบรรจภุ ณั ฑม์ ีข้อพิจารณา
ดังต่อไปนี้
6.12.1 ลักษณะของสนิ คา้ คณุ สมบตั ิทางกายภาพประกอบด้วย ขนาด รูปทรง
ปริมาตร สว่ นประกอบหรอื ส่วนผสม ของแข็ง ของเหลว ผ้อู อกแบบตอ้ งทราบความเหนียวข้น ในกรณี
เป็นของเหลวและต้องรนู้ า้ หนักหรอื ปรมิ าณหรอื ความหนาแน่นสาหรับสนิ ค้าท่เี ป็นของแหง้ ประเภท
ของสนิ คา้ คุณสมบตั ทิ างเคมี คือ สาเหตุที่ทาใหส้ นิ ค้าเน่าเสยี หรอื เสอื่ มคณุ ภาพจนไม่เป็นทีย่ อมรับได้
และปฏิกิรยิ าอ่นื ๆ ที่อาจจะเกดิ ขนึ้ คณุ สมบัตพิ เิ ศษอ่นื ๆ เชน่ กล่ิน การแยกตวั เปน็ ตน้ สินคา้ ท่ี
จาหน่ายมีลักษณะเปน็ อย่างไร มคี ณุ สมบัตทิ างฟสิ ิกส์ หรอื ทางเคมอี ย่างไร เพอ่ื จะได้เลือกวัสดุในการ
ทาบรรจุภณั ฑ์ที่ปอ้ งกนั รักษาไดด้ ี
6.12.2 ตลาดเป้าหมาย ต้องศึกษาความตอ้ งการของลูกคา้ เป้าหมายเพือ่ จะได้เลือก
บรรจภุ ัณฑท์ ี่ตรงกับความต้องการของตลาดหรือกลุม่ ลูกคา้ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ใหส้ นองกับความ
ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ตอ้ งวิเคราะห์จุดยืนของสนิ ค้าและบรรจภุ ัณฑ์เทยี บกับคูแ่ ขง่ ขันทม่ี ี
กลมุ่ เป้าหมายเดียวกัน เชน่ ขอ้ มูลปริมาณสนิ คา้ ทจ่ี ะบรรจขุ นาด จานวนบรรจภุ ัณฑ์ ต่อหนว่ ยขนสง่
และอาณาเขตของตลาด เปน็ ต้น
6.12.3 วธิ จี ัดจาหนา่ ย การจาหนา่ ยโดยตรงจากผผู้ ลิตไปสผู่ บู้ รโิ ภคยอ่ มตอ้ งการบรรจุ
ภณั ฑล์ กั ษณะหนง่ึ แตห่ ากจาหนา่ ยผ่านคนกลาง เป็นคนกลางประเภทใด มีวิธกี ารซอ้ื ของเขา้ ร้าน
28
อย่างไร วางขายสนิ คา้ อยา่ งไร เพราะพฤตกิ รรมของร้านคา้ ยอ่ มมีอิทธพิ ลต่อโอกาสขายของผลติ ภณั ฑ์
นั้น ๆ รวมท้ังพจิ ารณาถงึ ผลติ ภัณฑ์ของคแู่ ข่งขันที่จาหน่ายในแหลง่ เดยี วกนั ดว้ ย
6.12.4 การขนสง่ มหี ลายวธิ ี และใช้พาหนะตา่ งกนั รวมท้งั ระยะในการขนสง่ ความ
ทนทาน และความแขง็ แรงของบรรจุภณั ฑ์ การคานึงถึงวธิ ีทจ่ี ะใช้ในการขนส่งก็เพอื่ พจิ ารณา
เปรียบเทยี บใหเ้ กิดผลเสียนอ้ ยทีส่ ดุ รวมถงึ ประหยัดและปจั จยั เร่ืองดนิ ฟ้าอากาศ ในปจั จบุ นั นิยมการ
ขนส่งด้วยระบบต้บู รรทกุ สาเรจ็ รูป
6.12.5 การเก็บรกั ษา การเลอื กบรรจภุ ณั ฑจ์ ะตอ้ งพจิ ารณาถึงวิธีการเก็บรกั ษา
สภาพของสถานทเี่ ก็บรักษา รวมทง้ั วธิ กี าร เคล่ือนย้ายในสถานท่เี กบ็ รกั ษาด้วย
6.12.6 ลกั ษณะการนาไปใช้งาน ตอ้ งนาไปใชง้ านไดส้ ะดวกเพ่ือประหยัดเวลา
แรงงาน และคา่ ใช้จา่ ย
6.12.7 ตน้ ทุนของบรรจุภณั ฑ์ เปน็ ปัจจัยทจ่ี ะต้องคานึงถึงเปน็ อยา่ งมาก และตอ้ ง
คานึงถึงผลกระทบท่มี ีตอ่ ยอดขาย หรือความสูญเสียค่าใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ บรรจภุ ณั ฑ์ดีอาจตอ้ งจา่ ยสงู แต่
ดงึ ดูดความสนใจของผู้ซ้อื ยอ่ มเป็นสิ่งชดเชยทค่ี วรเลอื กปฏิบตั ิ รวมถงึ ผลการชดเชยในกระบวนการ
ผลิต การบรรจทุ ี่สะดวก รวดเร็ว เสยี หายน้อย ประหยัด และลดตน้ ทนุ การผลิตได้
6.12.8 ปัญหาดา้ นกฎหมาย บทบัญญัตดิ า้ นกฎหมายเก่ยี วกบั บรรจุภณั ฑท์ ่ปี รากฏ
ชันเจน คอื กฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั เกี่ยวกับฉลากการออกแบบกราฟกิ ของผลติ ภณั ฑต์ ้องเปน็ ไปตาม
ขอ้ บงั คับ นอกจากน้ียงั ตอ้ งศึกษาการใชส้ ญั ลกั ษณเ์ กย่ี วกบั สงิ่ แวดล้อม เป็นตน้ และกฎระเบียบและ
ขอ้ บังคบั เก่ียวกบั สิ่งแวดล้อม เปน็ ตน้
7. ทฤษฎีกลไกราคา
ราคาสนิ ค้า คือ มลู ค่าของสนิ ค้าและบริการทผ่ี ู้ประกอบการทาการผลติ ไดแ้ ละนามา
จาหนา่ ยใหแ้ กผ่ ูบ้ ริโภค เชน่ นาย ก. ผลิตปากกาออกขายใหแ้ กน่ ักเรียนในราคาดา้ มละ 5 บาท เปน็
ต้น ในระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม หรือระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ซงึ่ การผลิตการบรโิ ภคสว่ นใหญ่
เป็นเร่อื งของภาคเอกชน โดยผ่านกลไกของราคา น้นั ราคาสินค้าและบริการจะทาหน้าที่ 3 ประการ
คือ
7.1 กาหนดมลู ค่าของสนิ ค้า ในการซ้ือขายแลกเปลี่ยนทใ่ี ชเ้ งินเปน็ สอื่ กลาง ราคาจะทา
หน้าทก่ี าหนดมูลค่า เพือ่ ให้ผูซ้ ้อื ตดั สนิ ใจทจ่ี ะซอ้ื สินค้าในมลู ค่าทค่ี ุม้ หรอื ไมค่ ้มุ กับเงนิ ทเี่ ขาจะต้องเสีย
29
ไป ราคาสนิ ค้าบางแหง่ กก็ าหนดไว้แนน่ อนตายตัว แต่บางแหง่ ก็ตั้งไวเ้ ผ่อื ตอ่ เพือ่ ใหผ้ ูซ้ ้อื ต่อรอง
ราคาได้
7.2 กาหนดปรมิ าณสนิ คา้ ในการซ้ือขายแลกเปลี่ยนกนั นนั้ ถา้ สนิ คา้ มีราคาถกู ผู้ซอื้ จะซอื้
ปรมิ าณมากขนึ้ สว่ นผู้ขายจะเสนอขายในปรมิ าณนอ้ ยลง แตถ่ า้ สนิ ค้ามรี าคาแพงผ้ซู ื้อจะซื้อปริมาณ
นอ้ ยลงสว่ นผูข้ ายจะขายในปรมิ าณมากขึ้น ราคาจึงเปน็ ตัวกาหนดปริมาณสินค้าทจี่ ะซื้อขายกัน
7.3 กาหนดปริมาณการผลติ ของผ้ปู ระกอบการ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซงึ่ การผลิต
ส่วนใหญ่เป็นเรือ่ งของเอกชนนนั้ จะมีปญั หาว่าผู้ผลิตควรจะผลติ ในปรมิ าณสกั เท่าใดจงึ จะพอดกี ับ
ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค เพอื่ ให้เขาไดก้ าไรสูงสุดตามทตี่ อ้ งการ โดยสังเกตความตอ้ งการซื้อ (อุป
สงค)์ และความต้องการขาย (อปุ ทาน) ของสนิ คา้ ทเ่ี ราทาการผลิตในระดับราคาต่างๆ กนั เพื่อ
หา ดลุ ยภาพ ซึ่งเปน็ ระดบั ท่ีผ้ซู ้อื และผูข้ ายจะทาการซอื้ ขายกนั ในปริมาณและราคาท่ี
ตรงกัน ปรมิ าณที่มกี ารซ้ือขาย ณ จดุ ดลุ ยภาพ เรยี กวา่ ปรมิ าณดุลยภาพ และผู้ซ้ือมีความต้องการ
ซื้อ สว่ นราคาท่ีดลุ ยภาพ เรียกวา่ ราคาดลุ ยภาพ อันเปน็ ราคาทผี่ ผู้ ลติ ควรพจิ ารณาในการตง้ั ราคา
ขาย
7.4 กลไกราคา (price mechanism) หมายถงึ ตวั กาหนดการจัดสรรทรัพยากรในระบบ
เศรษฐกิจทมี ปี จั จยั สาคัญในการกาหนดราคา คอื อุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply)
7.4.1 อุปสงค์ (Demand) คอื ปริมาณความตอ้ งการซอ้ิ สินคา้ และบรกิ ารของผู้ซื้อ
ในระยะเวลาใดเวลาหน่งึ ณ ระดับราคาต่างๆ กัน ความตอ้ งการซ้ือจะแตกต่างจากความต้องการ
ทว่ั ไป (want) แตจ่ ะตอ้ งรวมอานาจซ้อื (purchasing power) คือ เต็มใจและมเี งินเพยี งพอทจ่ี ะ
จ่ายซือ้ สินค้านน้ั ด้วย อย่างไรกต็ ามปรมิ าณความต้องการซ้ือนจี้ ะเปล่ียนแปลงเมือ่ มีปจั จัยกาหนดอปุ
สงคต์ วั อ่ืนๆ เปลี่ยนแปลงด้วย เช่น รายได้ของผซู้ ้ือ รสนิยม ราคาสนิ คา้ ชนดิ ทใี่ ช้ทดแทนกันได้ เชน่
เน้อื หมกู บั เนื้อไก่ เป็นต้น
7.4.2 อุปทาน (supply) คอื ปริมาณความตอ้ งการเสนอขายสนิ ค้าและบรกิ ารของ
ผขู้ ายในระยะเวลาใดเวลาหนงึ่ ณ ระดับราคาต่างๆ กันโดยผ้ขู ายเต็มใจจะขาย กล่าวคือ ถ้าราคาตา่
ปรมิ าณท่เี สนอขายกจ็ ะลดต่าลงด้วย และในทางตรงกนั ข้าม หากระดับราคาสูงขน้ึ ก็จะมีปรมิ าณ
เสนอขายเพ่ิมขนึ้ ซ่งึ เปน็ ไปตาม กฎของอุปทาน (Law of Supply) ปัจจยั ท่ที าใหอ้ ปุ ทาน
เปล่ยี นแปลง เชน่ การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีในการผลิต ราคาของปัจจยั ท่ใี ชใ้ นการผลิตสินค้าและ
บรกิ าร การเปลี่ยนแปลงฤดูกาล การคาดคะเนราคาสนิ คา้ และบรกิ ารของผู้ขาย
30
8. แนวความคดิ ของหลักการบญั ชตี ้นทนุ
ตน้ ทุนเป็นมูลค่าของทรพั ยากรท่ีใช้ในการผลิตหรือการใหบ้ รกิ าร เป็นส่วนที่เรยี กว่ามูลคา่ ของ
ปัจจยั เขา้ (Input Value) ของระบบ ต้นทุนจงึ เปน็ เงนิ สดหรอื ค่าใช้จ่ายในรูปแบบอ่นื ที่จา่ ยไปเพื่อให้
ไดม้ าซึ่งบริการหรือผลผลติ ในทางธรุ กิจ ตน้ ทนุ คอื ค่า้ใจา่ ยสว่ นท่จี ่ายไฟเพื่อใหไ้ ด้มาซึง่ ซึง่
ผลตอบแทนหรอื รายได้ ตน้ ทุนจงึ เป้นส่วนสาคญั ในการตัดสนิ ใจทางธุรกจิ ตา่ งๆ
8.1 ต้นทนุ คา่ ใช้จ่าย และความสูญเสีย
ตน้ ทุน คา่ ใชจ้ า่ ย และความสญู เสยี โดยแท้จริงเปน็ สงิ่ เดยี วกัน แตจ่ ะมีความหมายที่
แตกต่างกนั ในดา้ นความหมายในารใชง้ าน ตน้ ทุนและความสญู เสยี ตา่ งก็เปน็ ค่าใช้จา่ ยทงั้ สิน้ ค่าใช้จา่ ย
ไม่วา่ จะอยใู่ นรปู แบบของเงินสดหรอื สง่ิ แลกเปลยี่ นใดๆ ย่อมถือไดว้ ่าเป็นส่ิงทีจ่ ่ายไปเพื่อใหไ้ ด้ผลผลิต
8.2 ค่าใช้จ่าย (Expense)
ตน้ ทุนในการใหไ้ ด้รายได้สาหรบั ชว่ งระยะเวลาใดๆ เชน่ เงินเดอื นในสานกั งาน
คา่ ใช้จา่ ยเปน็ จานวนเงินหรอื ส่ิงแลกเปล่ียนทจ่ี า่ ยไปเพ่ือใช้ในการบริการซ่ึงตดั ลดทอนจากส่วนใฃ
รายได้ในงวดบญั ชีใดๆ จึงมกั จะใช้ในด้านรายไดท้ างการเงนิ มากกว่าใช้ในระบบบัญชที รัพยส์ นิ
8.3 ต้นทุน (Cost)
ค่าใชจ้ า่ ยที่จ่ายไปสาหรับปัจจัยทางการผลิตเพื่อใหเ้ กดิ ผลผลติ ต้นทนุ จึงเปน็ ส่วนทีใ่ ช้
สาหรับนยิ าม อตั ราผลติ ภาพหรือผลิตภาพ (Productivity) ซึง่ เท่ากับผลผลิต (Output) หารด้วย
ปจั จัยนาเข้า (Input) ตน้ ทนุ จึงเป็นมลู ค่าทวี่ ัดไดใ้ นเชงิ เศรษฐศาสตรข์ องทรพั ยากรทใี่ ช้ และตน้ ทนุ มี
ลกั ษณะทใี่ ช้จ่ายไปเพ่อื ให้ได้ผลิตภณั ฑห์ รือการบริการทถ่ี ือเปน็ สินทรพั ยไ์ ด้
8.4 ความสญู เสีย
ค่าใชจ้ า่ ยที่จา่ ยไปแลว้ เกิดผลไดน้ ้อยกว่าหรือคา่ เสียหายทตี่ อ้ งจา่ ยโดยไม่มผี ลตอบแทน
และเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายทีถ่ ูกตดั ออกจากส่วนของผถู้ อื หุ้นมากกว่าท่ีจะหักจากส่วนของการลงทนุ ความ
สูญเสยี ท่ีเกิดขน้ึ ไดจ้ ากการตดั สินใจทผ่ี ดิ พลาดหรือเกิดจากส่ิงผดิ ปกติตามธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ ตึก
ถล่ม
9. งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง
พิชชาพร สงั ข์ทอง (2561) ไดท้ าการศึกษากระถางต้นไมจ้ ากใยมะพรา้ วพบวา่ กระถางตน้ ไมท้ ี่
ทาจากใยมะพร้าวคงทน ระยะการใชเ้ วลาในการประดิษฐก์ ระถางต้นไมจ้ ากธรรมชาติ 2-3 วนั
31
ปรมิ าณของแปง้ เปยี กท่ผี สมกับใยมะพรา้ วต้องพอดแี ละปรมิ าณแปง้ เปียกตอ้ งพอดีและเหมาะสมกบั
ปรมิ าณใยมะพรา้ ว น้าหนักเบา ควบคมุ ความชน้ื ได้ดี สามารถนาไปปลกู ลงดินได้ทงั้ กระถาง กระถาง
ตน้ ไม้ท่ที าจากใยมะพรา้ วมคี วามสามารถในการอุม้ น้าได้ดี และกระถางตน้ ไมท้ ี่ทาจากใยมะพรา้ วมี
การอุ้มน้า 69 เปอรเ์ ซ็นต์ เนือ่ งจากปริมาณของแป้งเปยี กมีความเข้มขน้ พอดเี พราะฉะนน้ั กระถาง
ต้นไมท้ ที่ าจากใยมะพรา้ วมีอตั ราการอุม้ น้าได้ดกี ระถางใยมะพรา้ วจะมีอายุการใชง้ านประมาณ6–12
เดือนหรอื อาจนานกวา่ น้นั ขน้ึ อยกู่ ับประเภทตน้ ไม้ที่ปลกู ถ้าเรานาไปปลูกต้นไม้ทม่ี รี ากแก้วและ
เจริญเติบโตไวอายุกระถางจะส้ันลง เหมาะสาหรับการใช้เปน็ ที่เพาะตน้ กลา้ เพอื่ นาลงปลูกในดินทงั้
กระถาง แต่ถา้ ปลูกต้นไมเ้ ล็ก และไม่ไดน้ าลงดิน กจ็ ะมีอายกุ ารใชง้ านทคี่ อ่ นขา้ งนาน ก่อนที่จะเริ่ม
ย่อยสลาย
เกศิณี แกว้ ใจกาญ (2558) ไดท้ าการศึกษากระถางธรรมชาติกากมะพร้าวและหญ้าแหง้ พบว่า
กระถางต้นไมท้ ีท่ าจากกากมะพร้าวสามารถอุม้ นา้ ไดม้ ากกว่ากระถางตน้ ไม้ที่ทาจากหญา้ แหง้
69 เปอรเ์ ซ็น และกระถางต้นไม้ท่ที าจากหญา้ มคี วามคงทนนอ้ ยกวา่ กระถางต้นไม้ทที่ าจากกาก
มะพรา้ วเฉล่ยี 20 เปอรเ์ ซน็ ซ่ึงทาใหท้ ราบว่า กระถางตน้ ไมท้ ่ที าจากกากมะพรา้ วมคี วามคงทนได้ดี
สามารถอุม้ น้าไดม้ ากกวา่ กระถางทท่ี าจากหญ้าแหง้ และเม่อื นา กระถางต้นไม้ 2 ชนิดมาทดลอง จงึ
สามารถทราบไดว้ า่ กระถางต้นไม้จากธรรมชาตทิ ีด่ ีท่ีสุดคอื กระถางต้นไมท้ ท่ี าด้วยกากมะพร้าว และ
กระถางต้นไม้ทน่ี ามาทดลองนน้ั กส็ ามารถนามาใชไ้ ด้จริง และจาหนา่ ยเพอ่ื เพิ่มรายได้ในชวี ติ ประจาวนั
ได้
บณุ ยภู มาโต (2561) ไดท้ าการศกึ ษาการทาถางต้นไมจ้ ากกากมะพรา้ วพบว่า ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ าก
แบบประเมินความพงึ พอใจของตอ่ การใช้ ผลิตภณั ฑ์กระถางตน้ ไมจ้ ากกากมะพร้าว 30 คน ในหัวข้อ
ความคิดสรา้ งสรรค์ พบวา่ การใชว้ สั ดุ อยา่ งค้มุ คา่ มรี ะดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ท่ีคะแนนเฉลีย่
4.70 และ เรียบง่ายดดู ี มรี ะดับความ พงึ พอใจมากที่สดุ ที่คะแนนเฉลีย่ 4.67 รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม พบว่า
ลดการใชก้ ระถางพลาสติก ลดขยะ ทางพลาสติกได้ มรี ะดับความพงึ พอใจ มากทีส่ ดุ ทีค่ ะแนนเฉล่ีย
5.00 และ ลดการใชส้ ารเคมกี บั พชื มี ระดบั ความพึงพอใจ มากทส่ี ุด ทค่ี ะแนนเฉลีย่ 4.87 ด้านเพิ่ม
มลู ค่าให้กบั ขอเหลือใชพ้ บวา่ สรา้ ง รายไดเ้ พิม่ มรี ะดับ ความพึงพอใจมากท่สี ุด ทีค่ ะแนนเฉลี่ย 4.80
สามารถเพ่ิมมลู ค่าให้กบั กาก มะพรา้ ว มรี ะดบั ความพึงพอใจมากทสี่ ุด ทค่ี ะแนนเฉลย่ี 4.93 และเป็น
ปุ๋ยทางการเกษตร มีระดับ ความพงึ พอใจมากที่สุด ทีค่ ะแนนเฉลีย่ 4.88 โดยภาพรวมผลิตภณั ฑ์
กระถางต้นไม้จากกากมะพร้าว ไดก้ ารยอมรบั ท่ีคะแนนเฉล่ยี 4.77 มีระดับความพงึ พอใจมากทสี่ ุด
บทท่ี 3
วธิ ดี าเนินงานโครงการ
การพัฒนาผลิตภณั ฑ์กระถางปลูกตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ เป็นการออกแบบและพัฒนา
ผลติ ภัณฑก์ ระถางปลกู ต้นไม้ให้มคี วามนา่ สนใจและเป็นการเพม่ิ ทางเลือกใหแ้ กก่ ลมุ่ ผบู้ รโิ ภคมากยิง่ ขน้ึ
ผู้ดาเนินโครงการมวี ธิ ีการดาเนินงานตามขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. เครือ่ งมือทีใ่ ช้การศึกษา
3. ขั้นตอนในการสรา้ งเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
5. วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถติ ทิ ี่ใช้ในการศกึ ษา
1. ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
1.1 กล่มุ เปา้ หมายท่ีใชใ้ นการศึกษาครัง้ นี้ ไดแ้ ก่ บคุ คลทั่วไป ตลาดสามแยกปากหมา
ลกู คา้ ออนไลน์ จานวน 20 คน ซึ่งไดม้ าจากการเลือกแบบบังเอญิ (Accidental Sampling)
2. เคร่ืองมือท่ใี ช้การศกึ ษา
เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการศึกษาครงั้ น้ี เป็นแบบสอบถามซ่ึงประกอบด้วยแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale)แบบคาถามปลายเปดิ (Open Ended Questionnaire) และ
แบบสอบถามปลายปิด (Close Ended Questionnaire) จานวน 3 ตอน มีรายละเอยี ด ดงั นี้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจผบู้ ริโภค
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
3. ขนั้ ตอนในการสร้างเครอ่ื งมือ
การสร้างเคร่อื งมอื จากแบบสอบถาม ซ่ึงมรี ายละเอยี ดแบง่ เปน็ 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ขอ้ 1 เพศ
ขอ้ 2 อายุ
ข้อ 3 อาชพี
33
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจผลติ ภัณฑ์และบรรจภุ ณั ฑก์ ระถางปลกู ต้นไมจ้ ากวสั ดุ
ธรรมชาติ ลกั ษณะแบบสอบถามเปน็ แบบมาตราสว่ น 5 ระดับ
ระดับ 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ดุ
ระดบั 4 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมาก
ระดับ 3 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
ระดับ 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ย
ระดบั 1 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจน้อยท่ีสุด
โดยกาหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายข้อมลู ที่เปน็ ค่าเฉล่ยี ตา่ ง ๆ คือ
ค่าเฉล่ียระหวา่ ง ความหมาย
4.21 – 5.00 มีความพึงพอระดับมากที่สดุ
3.41 – 4.20 มีความพงึ พอระดับมาก
2.61 – 3.40 มีความพงึ พอระดบั ปานกลาง
1.81 – 2.60 มคี วามพึงพอระดับนอ้ ย
1.00 – 1.80 มีความพึงพอระดบั น้อยท่ีสุด
ตอนท่ี 3 เป็นคาถามปลายเปิดสาหรับผ้ตู อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ และให้
ข้อเสนอแนะต่าง ๆ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
คณะผจู้ ดั ทาได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
4.1 ดาเนินการแจกแบบสอบถาม กระถางปลูกตน้ ไม้จากวสั ดุธรรมชาติ โดยแจก
แบบสอบถามใหก้ ับกลุ่มเป้าหมาย และขอรบั คนื ดว้ ยตนเอง
4.2 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถาม กระถางปลูกตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ เพอ่ื นาขอ้ มูลท่ไี ด้มา
วิเคราะหต์ ่อไป
5. วิธีการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา
คะแนนท่ีไดจ้ ากแบบสอบถาม หาค่ารอ้ ยละ รวมทัง้ หาคา่ เฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
โดยใชส้ ูตรดังนี้
34
5.1 คา่ ร้อยละ
เมอื่ P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถีท่ ีต่ ้องการแปลค่าให้เปน็ ร้อยละ
N แทน จานวนความถ่ที ้งั หมด
5.2 คา่ เฉล่ยี
เม่ือ แทน คา่ เฉลย่ี
แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดในกลมุ่
แทน จานวนคะแนนในกลมุ่
5.3 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
เมื่อ แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว
X แทน จานวนคะแนนในกลมุ่
แทน คะแนนแตล่ ะตวั ในกลมุ่ ข้อมูล
บทที่ 4
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การดาเนินโครงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์กระถางปลูกตน้ ไม้จากวัสดุธรรมชาติ จากการวเิ คราะห์
ข้อมูลผดู้ าเนนิ โครงการมีผลดาเนนิ งานโครงการดังต่อไปน้ี
4.1 สญั ลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล
N แทน จานวนคนในกล่มุ เปา้ หมาย
แทน คะแนนเฉลยี่
แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
4.2 การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะห์ข้อมูลในการศกึ ษาคร้ังนี้ ผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ตอน ดงั นี้
ตอนที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ข้อมลู ความพึงพอใจของกลมุ่ เปา้ หมายตอ่ ผลิตภณั ฑ์กระถางปลกู ตน้ ไม้จากวสั ดุ
ธรรมชาตแิ บ่งเป็น 4 ด้านคอื 1. ดา้ นคุณภาพผลิตภัณฑ์ 2. ดา้ นการอานวยความสะดวกและความ
เหมาะสม 3. ด้านการออกแบบผลติ ภัณฑ์และตราสินคา้ 4. ดา้ นการใชง้ านและความเหมาะสม
ผลิตภณั ฑโ์ ดยรวม
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
36
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตารางที่ 1 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลมุ่ เปา้ หมายจาแนกตามเพศ
สภานภาพ กล่มุ เปา้ หมาย n=20
จานวน รอ้ ยละ
เพศ
ชาย 2 10.00
หญิง 18 90.00
รวม 20 100.00
จากตารางท่ี 1 พบวา่ กลมุ่ เปา้ หมายส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ จานวน 18 คน คิดเป็นร้อย
ละ 90.00 เพศชาย จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.00
10, 10%
90, 90%
าย
37
ตารางที่ 2 แสดงความถีแ่ ละรอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายจาแนกตามชว่ งอายุ
สภานภาพ กลุ่มเปา้ หมาย n=20
จานวน รอ้ ยละ
อายุ 1 10.00
ตา่ กว่า 15 ปี 17 85.00
15-20 ปี 2 15.00
21-35 ปี -0
36-49 ปี -0
50 ปีขนึ้ ไป 20 100.00
รวม
จากตารางที่ 2 พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ อายุ 15-20 ปี จานวน 17 คน คดิ เป็นรอ้ ย
ละ 85.00 รองลงมาอายุ 21-35 ปีจานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 15.00 อายตุ า่ กว่า 15 ปีจานวน 1
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.00
ายุ
15% 10%
85%
ตา า
38
ตารางท่ี 3 แสดงความถีแ่ ละรอ้ ยละของกล่มุ เปา้ หมายจาแนกตามสถานะ
สภานภาพ กลุ่มเป้าหมาย n=30
จานวน ร้อยละ
สถานะ
นกั เรยี น 1 05.00
นกั ศกึ ษา 17 85.00
ข้าราชการครู -0
รับจ้างทัว่ ไป 2 10.00
รวม 20 100.00
จากตารางท่ี 3 พบวา่ กลมุ่ เป้าหมายส่วนใหญ่ เป็นนกั ศกึ ษา จานวน 17 คน คดิ เป็นร้อย
ละ 85.00 รองลงมารับจ้างทัว่ ไป จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.00 นกั เรยี น จานวน 1 คนคิดเป็น
ร้อยละ 05.00
า
10% 5%
85%
นกั เรียน นกั ศกึ ษา ขา้ ราชการครู รบั จ้างทั่วไป
39
ตอนท่ี 2 ข้อมลู ความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายตอ่ ผลติ ภณั ฑ์กระถางปลูกตน้ ไม้จากวสั ดุธรรมชาติ
แบง่ เปน็ 4 ด้านคือ 1. ดา้ นคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ 2. ด้านการอานวยความสะดวกและความเหมาะสม
3. ดา้ นการออกแบบผลิตภณั ฑ์และตราสินคา้ 4. ด้านการใชง้ านและความเหมาะสมผลิตภณั ฑ์
โดยรวม
ตารางที่ 4 แสดงคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระถางปลูกตน้ ไมจ้ าก
วัสดธุ รรมชาติ สรุปเปน็ รายดา้ นไดด้ งั น้ี
รายการประเมิน ระดับความพงึ พอใจ
ระดบั แปลผล
1. ด้านคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ 4.00 0.60 มาก
2. ด้านการอานวยความสะดวก 3.94 0.75 มาก
และความเหมาะสม
3. ดา้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 4.08 0.71 มาก
และตราสินค้า
4. ด้านการใช้งานและความเหมาะสม 4.15 0.65 มาก
ผลติ ภัณฑ์
รวม 4.04 0.06 มาก
จากตารางที่ 4 พบว่าการศึกษาความพงึ พอใจของผบู้ รโิ ภคทมี่ ตี อ่ ผลิตภณั ฑก์ ระถางปลูก
ต้นไม้จากวัสดธุ รรมชาติ โดยรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ( = 4.04 และ S.D.= 0.06) และเมื่อ
พจิ ารณาเปน็ รายข้อแลว้ ทุกประเด็นมีความพงึ พอใจในระดับมาก เริม่ จากด้านการใช้งานและความ
เหมาะสมผลิตภัณฑ์ ( = 4.15 และ S.D.= 0.65) รองลงมาคอื ดา้ นการออกแบบผลิตภณั ฑ์และตรา
สนิ ค้า ( = 4.08 และ S.D.= 0.71) ด้านคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ ( = 4.00 และ S.D.= 0.60) ด้านการ
อานวยความสะดวกและความเหมาะสม ( = 3.94 และ S.D.= 0.75) ตามลาดับ