วจิ ัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การพัฒนาทักษะทส่ี ำคญั ในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ
ผวู้ ิจยั
นายบุญมี (ไชยทองวงศ)์
Mr. Bounmy Xaithongvong
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565
บททที่1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เนื่องจากเราคนไทยน้ันใช้ภาษาไทยเป็นภาษาหลักในการสอ่ื สารกันในชีวติ ประจำวนั คนส่วนใหญ่เกือบท้ัง
ประเทศใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสาร และพูดคุยกันนั้นจึงเป็นเหตุผลให้คนไทยไม่ค่อยได้มีโอกาสได้ใช้
ภาษาองั กฤษ และไม่ค่อยไดม้ ีโอกาสได้ฟงั ภาษาอังกฤษมากนัก
ด้วยเหตุนี้เองทำให้การเรียนรู้ภาษายากขึ้น เพราะเมื่อเรียนภาษาอังกฤษในห้องเรียน หรือพยายามเรียน
ด้วยตนเองผ่านทางช่องทางออนไลน์ แล้วไม่ได้รับการฝึกฝนหรือนำมาใช้จริง สิ่งที่เราได้เรียนมาจะค่อย ๆ เลือน
หายไป จึงทำให้เมื่อเวลาทีเ่ ราอยากที่จะใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสอบ การสื่อสาร เราจะต้องกลับไปเรียนเร่ืองเดมิ
ซ้ำ ๆ วนไปอยา่ งน้ีเดก็ ไทยเรียนภาษาอังกฤษจากท่ีโรงเรียนมาตัง้ แต่เดก็ จนโต และทโ่ี รงเรียนจะเน้นสอนพวกแกรม
มา และไวยากรณใ์ ห้เด็ก และใช้การวัดผลการเรียนรู้เปน็ การสอบ
ซึ่งการเรียนภาษาโดยเริ่มจากการให้เด็กเข้าใจจากแกรมมา และไวยากรณ์ถือเป็นการข้ามขั้นตอนไป
เรยี นร้ใู นระดับทย่ี ากเกินไป เพราะธรรมชาติของการเรียนภาษาทุกภาษาบนโลก จะตอ้ งเริ่มต้นจากการฟัง เมื่อฟัง
จนเข้าใจ แล้วจงึ เรมิ่ พูดลอกเลียนแบบตาม หลักจากน้ันจะเป็นขนั้ ของการอา่ น แล้วค่อยไปเขียนตามลำดับและเมื่อ
เดก็ ๆ ไดเ้ ร่มิ เรยี นจากขั้นตอนท่ยี าก โดยไม่มพี ื้นฐานของความเขา้ ใจมาก่อน ทำเพียงแค่จำท่ีครูสอนเพื่อนำไปสอบ
ใหผ้ ่าน จึงเป็นสาเหตใุ หเ้ ด็ก ๆ ไม่สามารถนำเอาสงิ่ ที่ได้เรียนรู้มาใช้ในชีวติ จริง
ระบบการจัดการศึกษาจึงต้องแสดงบทบาทใหส้ อดคล้องกับภาวะ ความเป็นจริงของสังคม สำหรับโลกใน
ปัจจุบัน นั้นมีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปหลายด้าน เช่น ด้านการศึกษา ด้านการสื่อสาร
ด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านอ่นื ๆ อกี มากมาย ซงึ่ ด้านทีม่ ีความจาํ เปน็ ต่อครูนนั่ คือด้านการศึกษา ซึ่ง
จะมุ่งประเด็นสำคัญไปที่วิธีการสอนภาษาอังกฤษ ทักษะพื้นฐานสำคัญของการเรียนภาษาคือ การอ่าน การเขียน
การพูดและการฟังการฟังและการอ่านนั้นเป็นทักษะการรับสาร (receptive skills) เพราะว่าผู้เรียนไม่ต้องส่งสาร
หรือพูด พวกเขาแค่ต้องรับสารมาและทำความเข้าใจกับมัน บางครั้งทักษะเหล่านี้ถือว่าเป็นทักษะติดตัว(passive
skills) การพูดและการเขียนนั้น ผู้เรียนต้องใช้ทักษะเหล่านี้เพื่อมาสร้างคำพูดหรือภาษา ทักษะเหล่านี้เป็นทักษะ
เชิงรุก (active skills)
1.2 ปัญหาของงานวจิ ยั /วัตถปุ ระสงคข์ องงงานวิจัย
1. เพอ่ื พฒั นาการใช้ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในชวี ติ จรงิ
2. เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษทถี่ ูกตอ้ งตามทักษะท่ีสำคญั
3. เพ่อื ประเมลิ การเรียนนรแู้ ละการนำไปใช้เก่ียวกับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของผเู้ รยี น
1.3 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ
1. ผเู้ รยี นสามารถนาษาองั กฤษไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ไดจ้ รงิ
2. ผู้เรียนรู้ทักษะการเรียนรทู้ ีถ่ กู ต้องและเกิดความเข้าใจ
3. มผี ลการเรยี นรู้และการประเมิลทดี่ ีขึ้น
1.4 ขอบเขตงานวิจยั
ตวั แปรท่จี ะศกึ ษา
ตัวแปรต้น
ทักษะการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษของ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 31 คน ปกี ารศึกษา 2565
โรงเรยี นบ้านนาคำ
ตวั แปรตาม
-พัฒนาการใชท้ ักษะการใช้ภาษาองั กฤษในชีวติ จริงและสถานการณ์จรงิ มกี ารแก้ปัญหาเฉพาะหนา้
-พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่ถูกต้องตามทักษะที่สำคัญในการเรียนรู้ทั้ง 4 ทักษะ ได้แก่ การฟัง การ
พูด การอา่ น และการเขยี น เพือ่ ให้เกิดความร้แู ละความเขา้ ใจ ท่ไี ม่ใช่การจดจำ
-ประเมลิ การเรยี นนรู้และการนำไปใช้เก่ียวกบั ทักษะการใช้ภาษาองั กฤษของผ้เู รยี น
ตัวแปรควบคมุ
-ชุดแบบทดสอบและแบบสอบถาม
-ระยะเวลาในการจดั กิจกรรม
วิธีดำเนนิ งานวิจัย
-ใช้คมู่ ือการจดั การเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษษต่างประเทศ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6
-ใชส้ ถานการณ์สมมตุ ิในการเรียนรู้และทักษะการใชภ้ าอังกฤษ
-ใช้แบบทดสอบและแบบสอบถามในการประเมิลทกั ษะการเรยี นรู้
-แบบบนั ทกึ ผล ในการประเมิลทักษะการเรียนรู้
1.5 นิยามศัพท์
ทกั ษะเชิงรุก (active skills) คือ การเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม
ไวยากรณ์(gramma) คอื กฎเกณฑข์ องภาษา
ทักษะการรับสาร (receptive skills) คอื การฟงั และการอ่าน
ทกั ษะติดตัว(passive skills) คอื การพูดและการเขียน
1.6 ระยะเวลาในการทำวิจัย 3 เดอื น
1.7 แผนงานการดำเนนิ การวิจัยและ งบประมาณ
แผนการดำเนนิ การวิจยั
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการขั้นตอน
ของการจัดการความรู้ ดังต่อไปน้ี
1. การวางแผนเตรียมการ
1.1 การประชาสัมพันธโ์ ครงการ ขออนญุ าติผบู้ รหิ ารและดำเนินการคัดเลอื กเพอ่ื เปน็ กล่มุ ตัวอย่าง
1.2 ประชมุ สรา้ งความเข้าใจและปรบั กระบวนทัศนก์ ับผู้เกยี่ วขอ้ งโดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
2. การประเมิลทักษะการเรียนรู้ โดยการสำรวจความสนใจและทดสอบ เพื่อจัดกลุ่มใชก้ ิจกรรมที่เหมาะสมในแต่
ละกลุม่ (focus group) เพอ่ื ดำเนินกิจกรรม ดังนี้
2.1 การสำรวจความสนใจและศกั ยภาพ
2.2 การศึกษาดงู าน
2.3 การสมั มนาแลกเปลย่ี นความรู้
3. การสร้างความรู้ โดยออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดในแต่ละเทคนิควิธี เพื่อลงสู่
การปฏบิ ัติจรงิ
4. การนิเทศตดิ ตามผลการดำเนินงาน โดยใช้กจิ กรรม การทดสอบ และแบบสอบถามตดิ ตาม
5. การจัดเก็บและค้นคืนความรู้ เป็นการจัดระบบโดยการเขียนรายงานผลการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรม
แลกเปลย่ี นความรู้ และการรวบรวมความรใู้ นรปู สอ่ื สิ่งพมิ พ์และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น E – book website
6. การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ เป็นการนำความรู้ที่จัดเก็บมาเผยแพร่ ทางเอกสาร ระบบ
อินเตอร์เนต็ และมีการจำลองสถานการณ์ในการใชภ้ าษาองั กฤษ
7. การสร้างความรใู้ หม่ นำขอ้ มูลจากการสร้างความรู้ของทุกคนมาสังเคราะห์ข้อมูลสร้างเป็นองคค์ วามรู้ใหม่
แผนปฏิบัติการ (Action Plan)
ระยะเวลา กจิ กรรม ตวั ช้ีวัด/วัตถปุ ระสงค์ สถานท่ี ผรู้ บั ผิดชอบ
งบประมาณ
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง
ภาษาองั กฤษยังถือเป็นภาษาทางราชการของ 61 ประเทศ และเปน็ ภาษาหลกั ในหลายรฐั ทั่วโลกอกี ดว้ ย
จึงถอื เปน็ ภาษากลางที่ใช้ตดิ ต่อสื่อสารระหวา่ งประชากรในประเทศตา่ งๆ ทง้ั ในสว่ นของการฟัง การพูด การอ่าน
และการเขียน ทำใหส้ ่ือตา่ งๆ ที่เผยแพร่ในระดบั นานาชาติ จะใชภ้ าษาอังกฤษท้ังสิน้ เชน่ เดยี วกนั ไม่วา่ แต่ละคน
หรือแตล่ ะประเทศจะมีภาษาเปน็ ของตัวเอง แต่เมอื่ ต้องติดตอ่ ส่ือสารกับคนอื่นที่มาจากต่างภาษา วฒั นธรรม ทุก
คนจำเป็นทจ่ี ะต้องใช้ภาษาอังกฤษด้วยเหตผุ ลน้ี ทกุ คนทุกชาตทิ กุ ภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาทสี่ อง
รองลงมาจากภาษาประจำชาติ เป็นแกนหลักของหลกั สตู รการศกึ ษาทุกระดับ ต้งั แต่ปฐมวยั ไปจนถงึ การศึกษา
ตลอดชวี ิต
2.1 ความสำคัญของภาษาอังกฤษ
ภาษาองั กฤษมคี วามสำคัญย่งิ ในสังคมโลกปจั จบุ ันเพราะว่าภาษาอังกฤษเปน็ เคร่ืองมือหรอื อปุ กรณท์ ี่สำคัญ
ตอ่ การติดตอ่ ส่อื สาร เช่น ดา้ นการศึกษา ดา้ นการแสวงหาความรดู้ า้ นการประกอบอาชพี ด้านการสร้างความเข้าใจ
ต่อประเพณีวัฒนธรรม ด้านการค้าขายและธุรกิจ ร่วมไปถึงด้านการติดต่อสื่อสารกับกลุ่มประชาคมอาเซียนและ
ต่างประเทศทั่วโลก เมือ่ มคี วามหลากหลายและแตกต่างทางประเพณีวัฒนธรรม ยอ่ มตระหนกั ถงึ การสื่อสารเพื่อให้
เกิดความเข้าใจ ภาษาที่เป็นสื่อกลางเพื่อแสดงความเข้าใจต่อกันนั่นก็คือภาษาอังกฤษ เพราะทั่วโลกจะใช้
ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาสากล และ ภาษาในการตดิ ต่อส่อื สารกบั ประเทศที่ไมไ่ ดพ้ ดู ภาษาเดียว จะเหน็ ไดว้ า่ การที่จะ
ส่อื สารเพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจ จำเป็นต้องสอ่ื สารดว้ ยภาษาองั กฤษ ที่ไม่ใชเ่ พยี งแค่ภาษาไทยเท่านั้น
ภาษาอังกฤษกลายเป็นภาษาที่ทั่วโลกใช้กันมากที่สุดภาษาหนึ่ง การใช้ภาษอังกฤษในยุคปัจจุบันสำคัญ
มากที่สุด และเก่ียวข้องกับนักเรียน นิสิต นักศึกษาและคนทํางานทุกสาขาอาชีพซ่ึงในปัจจุบันคนไทยจำเป็นต้องมี
ความรู้และมีความเข้าใจทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะทักษะภาษาอังกฤษทั้ง ๔ ด้าน ประกอบด้วย การฟัง
การพดู การอา่ น และการเขียน(ครูอัพเดทดอทคอม. 2561 : ออนไลน์)
2.2 การพัฒนาหลกั สูตรการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายเร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกันเพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษ ให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาองค์ความรู้เพอ่ื
การพัฒนาตนอนั จะนำไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนใน
ปีพ.ศ. 2558 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานขน้ึ เพอ่ื ใหท้ ุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความจ าเป็นทจี่ ะต้องเร่งรัดปฏิรูป
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะตามที่ก าหนดโดยเร็ว จึงได้กำหนด
นโยบายการปฏริ ปู การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ดังน้ี
2.2.1. ใช้กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ได้แก่ The Common
European Framework of Reference for Language (CEFR) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการ
สอนภาษาอังกฤษของประเทศ ทั้งในการออกแบบหลักสูตร การพัฒนาการเรียนการสอน การทดสอบ การวัดผล
การพัฒนาครู รวมถงึ การกำหนดเปา้ หมายการเรียนรู้
2.2.2. ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้โดย
เน้นการสื่อสาร (Communicative Language Teaching : CLT) โดยปรับการเรียนการสอนจากการเน้น
ไวยากรณ์มาเปน็ เน้นการสอื่ สารท่เี ร่มิ จาก การฟงั ตามด้วยการพดู การอา่ น และการเขยี นตามลำดบั
2.2.3. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานหลกั ด้วย
หลักสูตรแบบเรียนสอ่ื การเรียนการสอน แตด่ ว้ ยวธิ กี ารท่ีแตกต่างกันได้ ทั้งนีต้ ามความพร้อมของแต่ละสถานศึกษา
และแสดงถงึ ความถนัดและความสนใจของผเู้ รียน
2.2.4. สง่ เสริมการยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษ ได้แก่
2.2.4.1 ขยายโครงการพิเศษด้านการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ได้แก่
(1) English Program (EP)
(2) Mini English Program (MEP)
(3) International Program (IP) สำหรับผเู้ รียนทมี่ ีความสามารถทางวชิ าการสงู
(4) English Bilingual Education (EBE) โดยจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และศิลปศึกษา
แบบสองภาษา (ภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ)
(5) English for Integrated Studies (EIS) ดว้ ยการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ
2.2.4.2 พัฒนาห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (Enrichment Class) เพื่อให้ผู้เรียนที่มี
ศักยภาพทางภาษาอังกฤษสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทางสังคม (Social Interaction) และด้านวิชาการ
(Academic Literacy) และพัฒนาห้องเรียนสนทนาภาษาอังกฤษ (Conversation Class)ที่เน้นทักษะการฟังและ
การพูด อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ เพื่อให้
ผู้เรียนมคี วามพร้อมในการใชภ้ าษาองั กฤษสำหรับประกอบอาชีพโดยเฉพาะสำหรับผู้เรยี นที่จะจบชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 และในโรงเรียนขยายโอกาส
2.2.4.3 จดั กจิ กรรมและสภาพแวดล้อมที่สง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นภาษาอังกฤษเช่น
(1) การเข้าค่ายภาษาองั กฤษแบบเข้ม ระยะ 2 - 4 สัปดาห(์ 84-170 ชวั่ โมง) ในช่วงปิดภาคเรียน
สำหรบั นักเรยี นทว่ั ไป และค่ายนานาชาตสิ ำหรบั นกั เรียนทม่ี คี วามสามารถสงู
(2) การเพิ่มชว่ั โมงเรยี นการเรียนอย่างตอ่ เนอื่ ง ครง่ึ วัน/ท้ังวัน/หรอื มากกว่านนั้ รวมทั้ง
(3) การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศที่ส่งเสริม/กระตุ้นการฝึกทักษะการสื่อสาร เช่น English Literacy Day,
English Zone, English Corner, การประกวดแข่งขันต่างๆ ป้ายสารนิเทศ และการเพิ่มกิจกรรมการอ่านในและ
นอกหอ้ งเรียนด้วยเนอ้ื หาสาระท่ีหลากหลาย เป็นต้น
2.2.4.4 ให้มีการเรียนการสอนวิชาสนทนาภาษาอังกฤษเป็นการทั่วไป และมีการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษแบบเข้มข้น รวมถึงจัดให้เป็นสาระเพิ่มเติมในลักษณะวิชาเลือกได้ด้วยเพื่อให้ผู้เรียนเลือก
เรยี นตามความสนใจความถนัดและศกั ยภาพ
2.2.5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนของครใู ห้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้
ที่เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR โดยจัดให้มีการประเมินความรู้พื้นฐาน
ภาษาอังกฤษสำหรับครู (ผูส้ อน) เพื่อให้มีการฝึกอบรมครู ตลอดจนพฒั นาระบบติดตามแก้ปัญหาและช่วยเหลือครู
และให้มีกลไกการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบและมีความหลากหลายเพื่อ
ตอบสนองความแตกต่างของระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษเพื่อให้สามารถยกระดับความสามารถทาง
ภาษาอังกฤษได้จริง นอกจากนี้ควรมีระบบการฝึกฝนและการสอบวัดระดับความสามารถออนไลน์เพื่อการพัฒนา
ต่อเนือ่ งด้วย
2.2.6. สง่ เสริมให้มีการใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การศกึ ษาเปน็ เครื่องมือสำคญั ในการช่วย
พัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน ทั้งการส่งเสริมให้มีการผลิต การสรรหาe-content, Learning
applications รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพสำหรับการเรียนรู้ รวมทั้งส่งเสริมให้มี
การใช้ช่องทางการเรียนรู้ผ่านโลกดิจิทัล ยกตัวอย่างเช่น การเรียนรู้การฟัง การออกเสียงที่ถูกต้องตาม Phonics
จากสอื่ ดิจิทัล
ในปีการศึกษา 2559 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหารจัดการเวลา
เรียนภาษาองั กฤษ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 ในสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ดังนี้
1. การบริหารจัดการเวลาเรียน
ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานทุกแห่ง เพิ่มเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษอังกฤษ) ในชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 จาก 40 ชั่วโมงต่อปี เปน็ 200 ชั่วโมงต่อปี หรอื 1 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์เป็น
5 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์
2. การจดั การเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)ให้
ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามบริบทความต้องการ ความ
เหมาะสมและความพร้อมของสถานศึกษา เน้นการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยให้ความสำคัญกับการใช้
ภาษา (Use) มากกว่าวิธีใช้ภาษา (Usage) ให้ความสำคัญกับความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (Fluency) และ
ความถูกตอ้ งของการใชภ้ าษา (Accuracy) ดงั น้ี
1) การทบทวนคำศัพท์กอ่ นเรียน
2) การใชภ้ าษาอังกฤษในชีวติ ประจ าวัน โดยผา่ นกจิ กรรมทสี่ นกุ สนานและพฒั นาการเรยี นรู้
3) การใชส้ ือ่ เสรมิ แอพพลเิ คชน่ั และเทคโนโลยี สง่ เสรมิ การสอนและสรา้ งแรงจูงใจ
4) การใช้หนงั สือเรยี น โดยเนน้ ทกั ษะฟัง พดู อา่ น และเขียน
5) การสอนเสริมผเู้ รยี นทีต่ ้องการความชว่ ยเหลอื และจดั หาสื่อ/แหลง่ เรียนร้เู พือ่ เพมิ่ ศักยภาพของผู้เรยี น
3. การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สถานศึกษาดำเนินการด้วยวิธีการและ
เครือ่ งมอื ทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกับลักษณะของกิจกรรมการเรยี นรู้ และสะทอ้ นคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้วี ดั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
2.3 ทกั ษะที่สำคัญในการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ
การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ หมายถึงการสื่อสารภาษาอังกฤษน้ัน การพูดเป็นทักษะที่จําเปน็ อยา่ ง
ยิ่งที่ผู้พูดจะต้องใช้ความสามารถทางด้านภาษาหลายด้านประกอบกัน เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจโดยจะต้องถ่ายทอด
ความรู้สึกนกึ คิดออกมาเปน็ คาํ พูดเพอื่ ใหผ้ ู้ฟังสามารถฟังอย่างเขา้ ใจ มีนักการศึกษาหลายไดใ้ ห้ความหมายเก่ียวกับ
การสอ่ื สารไวดังนี้
อวยชยั ผกามาศ กล่าววา่ เปน็ การส่ือสารทางความคิด ประสบการณแ์ ละ ความต้องการของผู้พูด
ไปสู่ผู้ฟัง เพือ่ ส่ือความหมายให้ผู้ฟังเกดิ ความเข้าใจ โดยใช้น้ำเสยี งภาษา และกรยิ าท่าทาง อย่างมีประสทิ ธิภาพและ
ถกู ตอ้ งตามจรรยามารยาทและประเพณีนิยมของสังคมใหผ้ ู้ฟังรับร้แู ละเกดิ การตอบสนอง (วรรคณา เค้าอ้น.2560)
แวลเลท. ซิทโซปูลแู ละ วิดโดสนั มีความเหน็ และให้ความหมายของการพูดในแนวทางเดียวกันว่า
การพูดเปน็ การแลกเปลย่ี นบทบาทระหวา่ งผพู้ ูดกบั ผู้ฟงั แตเ่ ป็นการทําให้ผฟู้ งั เข้าใจในสิ่งทีพ่ ูด และการพูดส่ือสารที่
ดพี ฤตกิ รรมท่ีไมใ่ ช่คําพูดทีส่ อดคล้องเหมาะสม มีความสาํ คญั เท่ากันกับความรู้ในเรื่องภาษา(กมลวรรณ โดมศรีฟ้า.
2551)
สุมิตรา อังควัฒนกุล อธิบายว่า การพูดเป็นการถ่ายทอดความคิดความเข้าใจ และความรู้สึกให้
ผูฟ้ งั ได้รบั รู้และเข้าใจจุดม่งุ หมายของผู้พูด ดงั นน้ั ทกั ษะการพูดจึงเปน็ ทักษะท่ีสาํ คัญสําหรับบุคคลในการสื่อสารใน
ชีวติ ประจําวนั สาํ หรับการเรียนภาษา (สนุ ันทา แก้วพันธช์ ่วง. 2550)
สรุปได้ว่าทฤษฎีทางการสื่อสาร หมายถึง การอธิบายให้ทราบถึงลักษณะขององค์ประกอบการ
สื่อสารและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ยังมีอีกนิยามหนึ่งที่กล่าวว่า ทฤษฎีการสื่อสารคือข้อความท่ี
เกี่ยวข้องกับการทํางานของสิ่งต่าง ๆ โดยมีการจัดระเบียบของความหมาย ทฤษฎีการสื่อสารจึงเกิดขึ้นโดยอาศัย
ลักษณะองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ในกระบวนการติดต่อสื่อสารของมนุษย์ความมุ่ง
หมายของการสื่อสารย่อมต้องการความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้สื่อสารและผู้รับสาร เป็นพื้นฐานนอกเหนือไปจาก
น้ันยังต้องการผลการปฏบิ ัติของผู้รบั ตามท่ตี ้องการและการปรับปฏิกิริยาของผู้รบั เพ่ือปรับปรุงระบบการส่ือสารให้
มปี ระสิทธิภาพต่อไป (อรญา บาํ รงุ กิจ. 2558)
2.4 วธิ กี ารพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
การที่จะพัฒนาภาษาองั กฤษเพื่อบัณฑิตสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ในยุคปจั จุบันก็ตอ้ งอาศัยหลกั การ
ในการชว่ ยเสริมแรง สร้างแรงกระตุ้น และผลกั ดันให้บัณฑติ เกิดการเรยี นร้ภู าษาอังกฤษ และเกิดการพัฒนาทักษะ
การสื่อสารภาษาอังกฤษ ดงั นี้
2.4.1 การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) เป็นแรงที่กระตุ้นให้บัณฑิตแสดงพฤติกรรมไปสู่
เป้าหมายแรงจูงใจเป็นกุญแจสําคัญของความสําเร็จในการเรียนรู้และครูอาจารย์ที่สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนมี
แรงจูงใจในการเรียนรู้ก็เท่ากับประสบความสําเร็จในการจัดการเรียนรู้ไปแล้วครึ่งหนึ่ง การจัดการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษจึงควรเริ่มด้วยการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียน ซึ่งทําได้โดยการแสดงให้
ผู้เรียนเห็นประโยชน์ที่จะได้รับจากการเป็นผู้มีทักษะภาษาอังกฤษ และการช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนสามารถ
ตั้งเปา้ หมายในการเรียนที่เหมาะสมกบั ตนเอง ดงั นั้นแรงจงู ใจมอี ยดู่ ว้ ย ๒ ประเภท คือ
2.4.1.1) แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) เป็นสิ่งกระตุ้นหรือผลักดันมาจาก
ภายในตัวบุคคล ซึ่งอาจจะเป็นเจตคติหรือทัศนคติความคิด ความสนใจ การเห็นคุณค่าหรือความต้องการอยากรู้
อยากเห็นในสิ่งต่างๆเป็นสภาวะที่บุคคลต้องการแสดงการกระทํา หรือแสดงพฤติกรรมต่างๆด้วยตนเอง เพื่อให้
ตนเองมีความรู้สึกว่า ตนมีความสามารถมีศักยภาพ โดยไม่ได้เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ต้องการเรียนรู้เพราะ
ตอ้ งการรูแ้ ละเข้าใจในส่ิงน้ัน หรือตอ้ งการทํางานทยี่ าก เพราะรู้สึกว่าเปน็ สงิ่ ท้าทาย หรือความตอ้ งการไปท่องเที่ยว
ต่างแดน เพราะต้องการสนุกสนาน และทํา ให้มโี ลกทศั นท์ ี่กวา้ งไกลข้นึ และ
2.4.1.2) แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลได้รับการ
กระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอกจนเกิดพฤติกรรมที่นํา ไปสู่เป้าหมาย เช่น เงิน ปริญญาบัตร รางวัลเกียรติยศ ชื่อเสียง
ความก้าวหน้า คําชมเชยการได้รับการยอมรับนับถือ และสภาพแวดล้อมอื่นๆ เมื่อบุคคลเห็นเป้าหมายที่ต้องการ
บุคคลนั้นก็จะถูกกระตุน้ หรือเร้าให้แสดงพฤตกิ รรมเพื่อมุ่งสูเ่ ปา้ หมายนั้น มีผลการศึกษาจํานวนมากที่สนับสนุนวา่
การสร้างแรงจูงใจท้ังภายในและภายนอกสามารถใช้เป็นตวั กาํ หนดความสําเร็จการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้
(ณภัทร วุฒิวงศา. 2557 : 89-97)
2.4.2 การสร้างเจตคติเชิงบวก (Positive Attitude) มีผลการวิจัยทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศเปน็ จํานวนมาก ท่แี สดงว่า "เจตคติ (Attitude)" มีความสมั พนั ธก์ ับผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรียนรู้ทกุ วชิ า ของ
ผู้เรียนในทุกระดับการศึกษา ผู้ที่มีเจตคติเชิงบวก (Positive Attitude) ต่อวิชาที่ศึกษา และต่อครูอาจารย์ที่สอน
เช่น ชื่นชอบวิชา ชื่นชอบการเรียน ชื่นชอบครูอาจารย์ผู้สอน จะมีโอกาสเรียนรู้ได้ดีกว่าผู้ที่มีเจตคติเชิงลบ
(NegativeAttitude) เช่น ไม่ชื่นชอบวิชา ไม่ชื่นชอบเรียน และไม่ชื่นชอบครูอาจารย์ผู้สอน ผู้เรียนส่วนใหญ่จะมี
ประสบการณ์ที่ทําให้มีเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ด้วยเหตุผลเรียนแล้วไม่เข้าใจ เรียนแล้วไม่สนกุ
ทําข้อสอบไม่ได้ผลการเรียนไม่ดีวิธีการสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนทําได้โดยการทําให้การเรียนสนุกน่าส นใจ
บทเรียนมีความหมายคือสัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรียน และให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัตกิ ิจกรรมแบบตื่นตัว
(Active Learning) ดังนั้นได้มีนักวิชาการ R.M. Gagne ได้กล่าวถึงเจตคติว่า เจตคติเป็นสภาวะทางจิตใจซึ่งเป็น
คุณลักษณะภายในของบุคคล ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเลือกแนวทางการแสดงออกเป็นพฤติกรรมของแต่ละบุคคล มี
องคป์ ระกอบ ๓ สว่ นดงั นี้
2.4.2.1) องคป์ ระกอบด้านจิตใจ (Affective Component) ซง่ึ เป็นความรสู้ กึ ในทางบวก
หรอื ลบตอ่ สงิ่ ใดสิง่ หน่ึง
2.4.2.2) องค์ประกอบทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Component) ซึ่งเป็นลักษณะ
อาการท่บี คุ คลแสดงออกอนั เป็นผลเนอื่ งมาจากความร้แู ละความรสู้ ึกต่อสิ่งนนั้
2.4.2.3) องค์ประกอบทางด้านปัญญา (Cognitive Component) ซึ่งเป็นความรู้ท่ี
ครอบคลุมทักษะทางสติปัญญา สารสนเทศจากถ้อยคาํ รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับการคาดหวังทางสังคมผลตอบแทนท
จะไดร้ บั และผลท่ีตามมาจากการกระทําท่ีแสดงออก
(พรพมิ ล รยิ าย และ ธนางกรู ขาํ ศร. 2552 : 13)
2.4.3 การเพิ่มความรู้และพัฒนาทักษะ (More Knowledge and More Skills) เป็นการ
พัฒนาทกั ษะการฟัง การพูด การอา่ นและการเขยี นภาษาองั กฤษให้ครอบคลุม ใหผ้ ู้เรียนสามารถใช้ได้ใช้ถูก ใช้เป็น
และใช้อย่างคล่องแคล่ว กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากแหล่งเรียนรู้หลากหลายรอบตัว ในการวิจัยเพื่อ
พัฒนาสมรรถภาพด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียน เพื่อกระตุ้นและเกิดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากแหล่งเรียนรู้
รอบตัว เช่น เจ้าของภาษา ป้ายต่างๆ กล่องผลิตภัณฑ์รายการโทรทัศน์หนังสือพิมพ์นิตยสาร วารสาร แบบฟอร์ม
และ เอกสารของหน่วยงาน สถานประกอบการต่างๆ จัดทําขึ้น และการสืบค้นใน Internet ที่เป็นภาษาอังกฤษ
(บริททิชเคานซลิ . 2561 : ออนไลน)์
2.4.4 การสร้างความมั่นใจ (Confidence) ถอื ว่าเป็นอกี ข้อหนึง่ ที่สําคัญที่ทําให้บัณฑิตกล้าพูด
กล้าแสดงออกทางด้านภาษาอังกฤษ โดยให้บัณฑิตได้มีโอกาสฝึกภาษาอังกฤษใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์จริง
(Real Life Situations) คือ สร้างกิจกรรมพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษโดยการออกไปสัมภาษณ์
พูดคุยกับชาวต่างประเทศ (Foreigners) ตามสถานที่สําคัญต่างๆ ที่มีชาวต่างชาติมาท่องเที่ยว และฝึกพูด
ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนบ่อยๆ เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจและความเคยชินเมื่อมีโอกาสได้ได้แสดงหรือสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ โดยฝึกสรา้ งความมั่นใจหรอื ความกลา้ ในการใช้ภาษาอังกฤษ ดังนี้
2.4.4.1) มองรอบตัวเราเองเพ่ือหาไอดอลหรือคนตน้ แบบสักคนท่ตี ัวเราเองอยากจะเป็น
เหมือนเขา เรียนรู้ลักษณะของเขา แล้วมองตัวเราเองแล้วให้สมมุตวิ า่ เราเป็นเหมือนไอดอลหรอื ต้นแบบคนนั้น ตัว
เรารู้สึกอย่างไร มองตัวเราเองแบบใดถ้าเราเป็นไอดอลหรือต้นแบบคนนั้น ตัวเราเองไม่มีวันทําตัวเปลี่ยนไปจาก
ภาพลักษณ์ที่ตัวเราเองคิดว่าตัวเราเองเป็น ถ้าเราคิดว่าตัวเราเองไม่สําคัญ เราก็จะทําตัวเราเองไม่สําคัญ แต่ถ้าตัว
เราเองมองตัวเราเองเป็นดังเช่น สงิ โต แมว้ า่ ตวั เราเองจะเปน็ ดังเช่นหนูไม่วา่ เราจะไปไหนแห่งหนใด ใครๆก็จะมอง
ว่าตัวเราเป็นดังเชน่ สงิ โต
2.4.4.2) พจิ ารณาจดุ บกพรอ่ งของตัวเราเอง ยอมรับข้อบกพร่อง แล้วหาวธิ พี ัฒนาตัวเอง
ความมนั่ ใจ คือการยอมรบั ข้อบกพร่องของตวั เราเอง ถ้าเปน็ เร่ืองการพดู หรือสื่อสารภาษาอังกฤษให้แสวงหาแหล่ง
เรยี นรูห้ รอื แหลง่ พัฒนาการเรยี นภาษาท่ที ําใหต้ ัวเราเองพัฒนาหรือเก่งขึน้
2.4.4.3) ไม่เปรียบเทียบกับคนทีเ่ ก่งกว่าตัวเราเอง คิดเสมอว่า ไม่มีใครเก่งกว่าใคร และ
ไม่มีใครเก่งมาตั้งแต่เกดิ แต่ละคนมีประสบการณ์ต่างๆกัน พิจารณาองค์ประกอบว่าคนเหลา่ น้ีหรือคนเหล่านัน้ เก่ง
ภาษาองั กฤษเพราะอะไร พวกเขาต้องฝกึ ฝนและเรียนรู้มากเทา่ ไรถึงได้เก่งแบบน้ี เราจะเห็นแต่ความสําเร็จของเขา
แตไ่ ม่เคยเหน็ ตอนที่พวกเขาทรมานต่อการฝกึ ฝนทักษะภาษาอังกฤษ คอื ใหค้ ดิ บวกเข้าไว้
2.4.4.4) ไมส่ นใจคนท่หี วั เราะเยาะเย้ย หรือ ดถู ูกเรา ใหค้ ิดเสมอวา่ ย่ิงมีคนหวั เราะและดู
ถูกเราจะเป็นการเพิ่มความมั่นใจให้กับตัวเราเองเก็บคําหัวเราะ และคําดูถูกเป็นแรงบันดาลใจแล้วพัฒนาทักษะ
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง เมอื่ ถงึ เวลาจากคาํ ดูถูกจะกลบั กลายมาเป็นคําชม ๕) ต้ังเป้าหมายไว้ในใจ ดว้ ยเหตผุ ลไม่ว่าอะไรหรือ
ใครจะหยุดเราไม่ได้จะมุ่งมั่นและพัฒนาทักษะด้านภาษาให้ได้เมื่อไหร่ที่ตัวเราเองทําสําเร็จ พวกเขาเหล่านั้นจะ
แปลกใจและจะสอบถามเราว่าทําอย่างไรถึงพัฒนาภาษาอังกฤษและมีความมั่นใจในตัวเองได้ (FMCPENGLISH.
2561 :ออนไลน)์
2.4.5 แบบการเรียนรู้ (Learning Style) อาจจะเหมือน หรือ ต่างจากคนอื่น แบบการเรียนรู้
เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนแต่ละคนชอบใช้และจะเรียนรู้ได้ดีด้วยวิธีการเรียนรู้ในแบบนั้นๆ ครูอาจารย์ควรศึกษา
แบบการเรียนรู้ของบัณฑิตและหาวิธีการให้แต่บัณฑิตได้เรียนรู้ในแบบของตน เพื่อให้การเรียนรู้เป็นเรื่องง่ายและ
ได้ผลมากขึ้น ทฤษฎีที่กล่าวถึงแบบการเรียนรู้มีอยู่หลายทฤษฎีแต่ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับร่วมกัน ว่าเป็นทฤษฎี
พื้นฐานและนิยมใช้ในการเรียนภาษา คือ ทฤษฎีที่แบ่งผู้เรียนเป็น ๓ ประเภท ซึ่ง Haynes (2009 : Online) ได้
อธิบายวา่ "Auditory Learners" คือ ผู้เรียนท่ีเรียนรู้ได้ดีจากการฟัง และสามารถจําส่ิงที่ฟงั ไดผ้ ู้เรียนประเภทน้จี ะ
สนกุ กบั การพูดคุย สมั ภาษณก์ ารอ่านออกเสยี ง กจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี หมาะกับผ้เู รยี นกลุ่มน้ีได้แก่ : interviewing.
debating. participating on a panel. giving oral reports. participating in oral discussions of written
material "Visual learners" คือ ผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ดีจากการดูและสามารถจาํ สิ่งท่ีได้ดูได้ผู้เรียนประเภทนี้จะชอบ
การอ่านในใจ และการสังเกต กิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียนกลุ่มนี้ได้แก่ : computer graphics. maps.
graphs. charts. cartoons. posters. diagrams. graphic organizers and text with a lot of pictures แ ล ะ
"Tactile Learners" คือ ผเู้ รียนท่ีเรียนร้ไู ด้ดจี ากการสัมผสั พวกเขาจะเขา้ ใจในส่ิงท่ตี นได้ลงมือเขียน และเรียนรู้ได้
ดีจากการลงมือทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับผูเ้ รียนกลุ่มนี้ได้แก่ : drawing. playing board game. making
dioramas. making models. following instructions to make something การสอนอ่านกับผู้เรียนกลุ่มน้ี
เหมาะที่จะใช้ "The Language Experience Approach (LEA)"และ "The Whole Language Approaches"
(ผศ.วิไล แผงศรี. 2561 : ออนไลน์)
บทท่ี 3
วธิ ีการวจิ ยั
การดำเนนิ การทำวิจยั โดยการทำแบบดสอบและแบบสอบถามดงั น้ี
3.1) ประเภทของงานวิจัย การวิจัยเชิงปฎิบัติ (Action Research) เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะที่มุ่ง
แกป้ ัญหาเฉพาะหน้าเป็นเร่อื ง ๆ ไป ผลของการวิจัยน้ใี ช้ได้ใน ขอบเขตของปญั หานน้ั ๆ เทา่ นนั้ ไมส่ ามารถนำไปใช้
ในสถานการณ์ อนื่ ๆ
3.2) พน้ื ท่ีศกึ ษาและประชากร นกั เรียนโรงเรียนบา้ นนาคำ ปกี ารศึกษา 2565 จำนวณ 125 คน
3.3 กล่มุ ตัวอย่างและการคัดเลือกกลุ่มตวั อยา่ ง นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 31 คน
ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านนาคำ
3.4) เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั แบบทดสอบและแบบสอบถาม
3.5) การเก็บรวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1 ขอมลู ท่ไี ด้จากแบบทดสอบ ซึง่ จะแบง่ ออกเปน็ 4ทกั ษะ ไดแ้ ก่ ฟัง พูด อา่ น และเขียน
2 ข้อมลู ท่ีได้จากแบบสอบถาม ซึง่ จะแบ่งออกเปน็ 4ทกั ษะ ไดแ้ ก่ ฟัง พูด อ่าน และเขยี น
3.6) การวิเคราะหข์ อ้ มูล นำข้อมลู ทไี่ ด้จากการสอบถามและแบบทดสอบ สรปุ ข้อมูลและหาข้อเทจ็ จริงโดยการ
แยกออกเปน็ แต่ละหวั ข้อทีศ่ ึกษา
บทท่ี 4
การวิจยั และอธบิ ายผล
การสอนภาษาทสี่ องโดยใหผ้ ู้เรยี นทำกิจกรรมที่มีการสนทนาปฏิสมั พนั ธ์กนั นนั้ เป็นสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี น
ภาษาเกิดความสามารถในการพดู สอื่ สาร มแี นวคิดพื้นฐานมาจากทฤษฎกี ารรับรภู้ าษาท่ีสอง มนษุ ยส์ ามารถรับรู้
ภาษาได้โดยการสื่อสารและการรบั ขอ้ มลู ทางภาษาทสี่ ามารถเขา้ ใจได้ (Comprehensible Input) การรบั รภู้ าษาที่
สองมีลักษณะคลา้ ยการเรียนรู้ภาษาแมข่ องเด็กเล็กที่เริ่มรับร้ภู าษา โดยไมจ่ ำเป็นต้องสอนรูปแบบหรือหลักการใช้
ภาษาโดยตรง แตผ่ ู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะความสามารถเป็นผ้ใู ชภ้ าษาไดเ้ องอย่างมีประสิทธภิ าพ ใน
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการรับรู้ภาษา
4.1 ผลการวจิ ยั
จากผลการวจิ ยั พบว่าผูเ้ รยี นมีการพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้และมีความกล้าแสดงออก มคี วามสามารถในการนำ
ความรูแ้ ละทักษะการเรียนร้ภู าษาอังกฤษในใชใ้ นสถานการณไ์ ดจ้ ริงและมีเทคนคิ วธิ ใี นการแก้ไขสถานการณ์ที่
เกิดข้ึนได้อย่างมที ักษะ
4.1.1 ทกั ษะการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ
ทกั ษะพน้ื ฐานสำคญั ของการเรยี นภาษาคอื การอ่าน การเขียน การพดู และการฟัง ในขณะท่ีกำลงั เรียน
ภาษาอังกฤษ อาจจะค้นพบว่าเกง่ ข้นึ ในด้านใดด้านหนึง่ โดยปกติคนจะไม่ค่อยถนดั ในการฟงั และการพดู
การฟงั และการอา่ นน้ันเปน็ ทักษะการรบั สาร (receptive skills) เพราะว่าผูเ้ รยี นไม่ต้องส่งสารหรือพูด
พวกเขาแคต่ ้องรบั สารมาและทำความเข้าใจกับมัน บางครั้งทกั ษะเหล่าน้ีถือวา่ เป็นทักษะติดตวั (passive skills)
การพูดและการเขียนน้นั ผเู้ รียนต้องใชท้ ักษะเหล่านเ้ี พ่ือมาสร้างคำพูดหรือภาษา ทักษะเหล่านี้เปน็ ทกั ษะเชงิ รกุ
(active skills)
การฟงั (Listening) ทักษะการคาดเดานนั้ เป็นทักษะที่สำคัญในการฟัง ในทกุ วันน้ี สถานการณ์ ผูพ้ ูดและ
เบาะแสล้วนชว่ ยทำใหเ้ ราตีความสารทถี่ ูกพูดออกมา การเน้นใหผ้ ู้เรยี นฟังเสียงของภาษานัน้ โดยเฉพาะสามารถเพม่ิ
ทักษะการฟังได้ วิธกี ารท่ีทำใหผ้ ู้เรียนได้ฝึกฝนการฟงั คือให้พยายามทำความเขา้ ใจคำพูดของคนท่ีมีที่มาหลากหลาย
การฟังที่เขม้ ขน้ น้จี ะช่วยให้ผูเ้ รียนไดเ้ ขา้ ใจสำเนยี งทใ่ี ช้และการออกเสยี งทถ่ี ูกตอ้ งได้ดีกวา่
การพูด(Speaking) ภาษานัน้ เป็นเครอื่ งมอื สำหรับการส่อื สาร พวกเราสอ่ื สารกับผู้อ่ืนเพอื่ แสดงความคิด
และเรยี นร้คู วามคิดของผู้อน่ื เชน่ เดยี วกัน วิธีการพดู และการทอ่ งจำภาษาอังกฤษในโรงเรียนประถมหลักๆ แลว้ จะ
เน้นอยู่ท่เี สียง เสียงสัมผัสและวรรณยกุ ต์ ทักษะน้สี ามารถพัฒนาได้โดยการทำความเข้าใจลกั ษณะของปริภาษา
(para-linguistic attribute) เชน่ คุณภาพของเสียง ระดับความดังของเสียง น้ำเสยี ง การปรับเสียง การออก
สำเนยี ง การออกเสยี ง เปน็ ต้น ทักษะนี้สามารถพฒั นามากขึน้ ไดจ้ ากตัวช่วยของการอภปิ รายและการสนทนา
การอา่ น(Reading) การอา่ นน้ันชว่ ยให้คุณได้พฒั นาภาษาอังกฤษในทุกๆ ด้าน กลา่ วคือ คำศัพท์ การ
สะกด ไวยากรณแ์ ละการเขยี น สิง่ เหลา่ นี้จะช่วยคุณพฒั นาไหวพรบิ ในการสร้างโครงสร้างภาษาทีถ่ ูกต้องได้ จากน้นั
สมองของคุณจะคนุ้ ชนิ กบั มันและสร้างประโยคทคี่ ล้ายๆ กันออกมาใช้ การใช้เทคนคิ การอา่ นแบบสกิมมง่ิ
(Skimming) และ การอ่านแบบสแกนน่ิง (Scanning) นั้นเป็นการอ่านอยา่ งรวดเร็วซึงมีประโยชน์อยา่ งมาก
ในขณะที่อา่ นอยู่การขดี เส้นใตเ้ นน้ คำไปดว้ ยก็ถือว่าเปน็ สิ่งทสี่ ำคญั ทักษะการอา่ นน้นี ัน้ สามารถช่วยใหผ้ ้เู รียนจับ
เน้ือหาและข้อสรุปได้ ผ้เู รยี นสามารถเรียนรู้ศัพทเ์ ทคนิคเฉพาะและคำศัพท์ใหม่ๆ ได้จากการอา่ นหนงั สือพิมพ์
บทความ หนงั สอื และนิตยสาร เปน็ ต้น
การเขียน(Writing) การเขียนทำใหผ้ ้เู รียนได้เห็นหลักฐานของความสำเรจ็ ทีเ่ ปน็ รูปประธรรมและพวกเขา
ยงั สามารถวดั ความพัฒนาของพวกเขาได้อีกด้วย ทักษะนีช้ ว่ ยให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้คำศัพท์ โครงสรา้ งและสว่ นเติม
เต็มมากยิ่งขน้ึ การทเี่ ขียนทไี่ ร้ที่ติน้ัน ผู้เรียนตอ้ งมีทักษะการเขยี นทีด่ ีและวธิ ีการเขยี นทีห่ ลากหลาย การเขียนที่
สรา้ งสรรค์และมีองคป์ ระกอบน้ันถอื วา่ มีความสำคัญมาก สิ่งท่ผี ู้เรียนควรเนน้ เมอ่ื จะเริ่มเขยี นคอื ความสอดคล้อง
และความต่อเน่ืองกนั
ด้วยการมี 4 ทกั ษะภาษาอังกฤษที่กล่าวมาแล้วผ้เู รียนสามารถพฒั นาทักษะการสื่อสารท่ีดีขน้ึ ซ่ึงเปน็ ส่งิ ท่ี
จำเป็นมากในการเรยี นร้ภู าษาองั กฤษ
4.1.2 กระบวนการพัฒนาทักษะการเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษ
กระบวนการทีใ่ ช้ในการพัฒนาทกั ษะของผเู้ รียนจะมกี ารใช้ทักษะตามทฤษฎแี ละมีการจำลองสถานการณ์
เพ่อื ให้เกดิ การฝกึ ทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษอยา่ งแท้จริง
1. เรียนภาษาอังกฤษจากส่ือรอบตวั ใชภ้ าพยนตร์ เพลง และข่าว ในการช่วยฝกึ ทักษะการฟงั และหม่นั
ฝึกฝนการฟังอย่างสม่ำเสมอ เพอ่ื ให้หูของผเู้ รยี นค้นุ เคยกบั สำเนยี งของเจา้ ของภาษา นอกจากนี้ การฟังบอ่ ย ๆ ยงั
ชว่ ยเพิ่มคลังคำศัพท์ และสำนวนภาษาท่สี ามารถนำไปใชไ้ ด้จรงิ อีกดว้ ย
2. ฝกึ ออกเสียงภาษาองั กฤษด้วยการรอ้ งเพลงและการสนทนา ชว่ ยให้ผูเ้ รยี นได้ฝึกทกั ษะการออกเสยี ง
ภาษาองั กฤษดว้ ยเ เพราะการร้องเพลงและการสนทนาจะช่วยฝึกการหัดออกเสียงแบบเพลนิ ๆ คือการกำลงั หัดพูด
ภาษาอังกฤษ
3. เรยี นคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษใหม่ ๆให้ผเู้ รียนเขียนคำศัพท์ 10 คำ ลงในกระดาษและลองอ่านออกเสียงดู
หรอื อาจทำบตั รคำศัพทเ์ พิ่มด้วย เพือ่ ให้จดจำคำศัพทต์ ่าง ๆ ไดด้ ยี ่งิ ข้ึน อยากให้ทกุ คนพยายามเรียนร้คู ำศัพท์
จดจำคำศัพท์ และใช้คำศัพท์เหลา่ นัน้ บ่อยๆ อาจลองใชค้ ำศัพท์มาพูดคุยในชีวิตประจำวัน หรอื อาจลองทำ word
map หรือ word list และเช่อื มโยงคำศัพทต์ า่ ง ๆ หรอื ลองจดจำเปน็ หมวดหม่ดู ู จะช่วยให้จดจำได้งา่ ยขึน้ อาทิ
หมวดหมู่หนงั สอื ผเู้ รยี นก็จะนึกถึงคำอ่ืน ๆ ดว้ ย อยา่ ง title, publisher, image, spine, blurb, author,
hardback และ paperback เปน็ ตน้
5. อ่านเร่ืองส้นั ภาษาองั กฤษตามระดับภาษาของผูเ้ รียนเร่ืองสนั้ ต่าง ๆ นนั้ ใชเ้ วลาไม่นานในการอา่ น
ผูเ้ รยี น จะไดท้ ้ังความสนกุ สนานและความรภู้ าษาองั กฤษ นอกจากน้ี ผู้เรียน อาจหา audiobook มาเสริมการอ่าน
ของผเู้ รียน เอง วิธีนี้จะชว่ ยทำให้การอ่านน้ันมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น พร้อมท้งั ช่วยเรือ่ งการฟังไปพร้อม ๆ กัน
กระบวนการพฒั นาทักษะการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษและกจิ กรรมขัน้ ตน้ ที่กล่าวเป็นขัน้ ตอนที่ชว่ ยในการ
พัฒนาทักษะการเรยี นรทู้ ี่ใชใ้ นการวจิ ัยและทำให้ผู้เรยี นเกิดความสนใจ มเี นื้อหาไมจ่ ำเจ ไม่เบือ่ งา่ ย สร้างแรง
กระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นมคี วามอยากรอู้ ยากเรียน
4.2 อภปิ รายผล
การพฒั นาทกั ษะท่ีสำคญั ในการเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่
1. เพื่อพฒั นาการใชท้ กั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษในชีวิตจริง
2. เพื่อพฒั นาการเรียนรภู้ าษาอังกฤษที่ถูกตอ้ งตามทักษะที่สำคัญ
3. เพื่อประเมลิ การเรยี นนรแู้ ละการนำไปใชเ้ กีย่ วกับทักษะการใช้ภาษาองั กฤษของผเู้ รียน
ผู้วิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากกลมุ่ ตวั อยา่ งนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 31 คน
ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรยี นบ้านนาคำ
เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ได้แก่
1 แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาภาษาอังกฤษโดยใช้ สถานการณ์เป็นฐานการเรยี นรู้ จำนวน 8 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง
2 แบบทดสอบวดั ทักษะด้านการ ส่ือสารภาษาอังกฤษ จำนวน 1 ชดุ คะแนนเต็ม 24 คะแนน
3 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
จำนวน 1 ชุด
ผวู้ จิ ยั ได้ดำเนนิ ตามขัน้ ตอนและนำเสนอผลการวิจยั โดยแบง่ เปน็ 2 ตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ สถานการณ์เป็นฐานการ
เรยี นรู้ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐาน การเรียนรู้ ของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ลำดบั ข้ันในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
1.เปรียบเทียบความสามารถด้านการสือ่ สารภาษาอังกฤษของนกั เรยี นกอ่ นเรียนและหลงั เรียน ดังน้ี นำคะแนน
จากกรรมการทง้ั สามคนมาหาค่าเฉลยี่ (K) แล้วนำค่าเฉล่ยี ท่ีได้มาวเิ คราะหห์ าความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียน
และหลงั เรียน ด้วยคา่ สถติ ิ Paired t-test
2.ศกึ ษาระดับความพงึ พอใจต่อการเรียนรโู้ ดยใชส้ ถานการณ์เปน็ ฐานการเรียนรู้ ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่6
ดังนี้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน และนำมาหา แลว้ นำมาแปลผล
ดงั น้ี
คา่ เฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดบั มากทีส่ ดุ
คา่ เฉลีย่ 3.51 - 4.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับมาก
คา่ เฉลย่ี 2.5 - 3.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับ ปานกลาง
คา่ เฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับ น้อย
คา่ เฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับ น้อยที่สดุ
บทท่ี 5
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาการพัฒนาทักษะที่สำคัญในการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 จำนวน
31 คน ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรยี นบา้ นนาคำ ซึ่งสรุปได้ดงั น้ี
5.1.1 ผลการศึกษาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ ของนักเรียนช้นั
ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 31 คน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบา้ นนาคำ พบว่า คะแนนทดสอบหลังเรียนสูง
กว่าก่อนเรียน มีการพัฒนาทักษะการเรียนรูท้ ี่สำคัญทั้ง4 ทักษะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับเทา่ กับ .05 และ
เมือ่ พิจารณาเกณฑ์การประเมนิ ทักษะการส่ือสาร ภาษาอังกฤษเป็นรายด้าน พบว่า ดา้ นการฟัง (X = 4.51 S.D. =
(0,62) ด้านการพูด (X = 4.49 S.D. = (0,67) ด้านการอ่าน (X = 4.47 S.D. = (0.65) และด้านการเขียน ( XT E
44.39 S.D. = 0.66)
ซึ่งสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์เน่ืองจากการเรยี นรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมท่เี ปน็
จริง ซึ่งนักเรียนมักจะพบเจอในชีวิตจริง เน้นให้นักเรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในการสื่อสาร โดยนักเรียนมี โอกาสใน
การเลอื กใชภ้ าษาให้ถกู ต้องและเหมาะสม มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือพฒั นาการเรียนรโู้ ดยการจูงใจผู้เรียน และการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ที่เน้นบริบทและนำความรู้ไปใช้มากกว่าการ จดจำ นักเรียนสามารถเรียนรู้จาก
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและการปฏิบัติ เพื่อสร้างความเข้าใจ และพัฒนาการใช้เครื่องมือทางปัญญาในการเรียนรู้
นอกจากนย้ี งั เนน้ การพฒั นาความสามารถและการลง มือปฏิบัตหิ รอื นักเรียนได้ลงไปเล่นในบทบาทของสถานการณ์
ทีถ่ ูกจดั ขึน้ ซง่ึ ถือไดว้ ่าเปน็ การเรียนรทู้ ่ี สำคญั และการลงไปแสดงในบทบาทตามสถานการณต์ ่างๆ ไม่ได้เป็นเพียง
เครอ่ื งมือสำหรับการเรยี นรู้ เทา่ นัน้ แต่ยังเปน็ การเรียนรู้ถงึ ความหมายและบริบทของการปฏิบัตดิ ้วย นกั เรยี นจะได้
ลงมอื ปฏบิ ัตใิ น การแกป้ ัญหาตามสถานการณท์ ีค่ ลา้ ยกบั สถานการณ์ในสภาพความเป็นจรงิ
ประการที่สองผู้วิจัยได้เลอื กรูปแบบภาษาและเนื้อหาที่เหมาะสมสามารถใช้ในการสื่อสา ตามสถานการณ์
ต่างๆ ซึ่งได้แก่ Giving directions (การบอกทิศทาง), At the market (ตลาด), Clothes shop (ร้านขายเสื้อผ้า),
Restaurant (ร้านอาหาร), Make an Appointment (การนัดหมาย), Cooking (การทำอาหาร), Telephone
(การพูดคุยโทรศัพท์) และ Birthday party (งานวันเกิด) ซึ่งคล้ายคลึงกับ เหตุการณ์ที่นักเรียนคุ้นเคยใน
ชีวิตประจำวัน และอาจเคยมีประสบการณ์ แต่ละกิจกรรมเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในการสื่อสาร
กับเพื่อนในชั้นเรียน และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์จริง จากรูปแบบการจัดกิจกรรมที่เน้นการ
สื่อสารและมีความหลากหลายทำให้นักเรียน มีพฤติกรรมด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษดีขึ้น ส่งผลให้เกิดมี
พัฒนาการด้านทักษะในการส่อื สารภาษาอังกฤษ
5.1.2 จากการสอบถามความพึงพอใจที่มตี ่อการเรียนรโู้ ดยใชส้ ถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ของ นักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 31 คน ปีการศึกษา 2565 ในภาพรวมของความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X =
4.39 S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเรียงลำดับค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย พบว่า ความพึง พอใจด้าน
บรรยากาศการเรียน โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้มคี ่าเฉลยี่ มากที่สุด (X = 4.42 S.D. = (0.11) รองลงมา
คือ ความพงึ พอใจด้านพัฒนาการเรียนของนักเรยี น (X = 4.40 S.D. = 0.29) และความ พงึ พอใจด้านกิจกรรมการ
เรียนการสอน (X = 4.35 S.D. = 0,41) เป็นลำดับสุดท้าย ซึ่งความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากทุกด้าน และเป็นไป
ตามสมมตุ ิฐานทไ่ี ด้ตัง้ ไว้ ปัจจยั ทสี่ ง่ ผลให้ผู้เรยี นมีความพงึ พอใจภาพรวมระดับมาก
กิจกรรมการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษโดยใช้สถานการณ์เป็นฐาน การเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ี
สนุกสาน ทำใหบ้ รรยากาศในการเรียนการสอนระหวา่ งครูกบั นักเรยี นเป็น ไปด้วยดี นกั เรยี นมจี ิตใจอารมณ์ท่ีพร้อม
ในการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเพิ่มพูนทักษะทางด้านการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษของตนเอง จากขอ้ มลู ในแบบสอบถาม ความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ การเรียนรู้โดยใชส้ ถานการณ์เป็นฐานการ
เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโกวิทธำรง พบว่า ด้านที่ได้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ
ความพึงพอใจด้านบรรยากาศ การเรียนโดยใชส้ ถานการณ์เปน็ ฐานการเรยี นรู้ นักเรียนมีความพอใจในบรรยากาศ
การเรียน เนื่องจาก การเรียนโดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้สร้างบรรยากาศที่มีความสนุกสนานทำให้
นักเรียนมีความ กระตือรือร้น และกล้าสื่อสารภาษาอังกฤษ ซึ่งสอดคล้องกับพอลลาด (Pollard, 1996) กล่าวว่า
บรรยากาศการเรียนการสอนที่ดี สภาพอารมณ์ที่ดี และการยอมรับตนเองส่งผลในทางบวกกับ ความสามารถใน
การเรียนของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีผลงานวิจัยของ อุมาพร ภูพานเพชร (2547, น.
54) ได้สนับสนุนว่า บรรยากาศที่เป็นกันเองและสนุกสนานทำให้นักเรียน ไม่รู้สึกเครยี ด หรือกดดัน ทำให้นักเรยี น
ร่วมกนั ทำกจิ กรรมโดยรู้สกึ วา่ ตนเองไมร่ ้สู ึกว่าถกู สอน จงึ ทำให้ เกดิ บรรยากาศที่เปน็ กนั เองสนกุ สนานและไม่เครียด
5.2 ข้อเสนอแนะ
1. ควรนำการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ ถานการณเ์ ปน็ ฐานการเรียนรไู้ ปใช้ในห้องเรียนให้มากขึ้น โดยเลอื กใช้ตาม
ความเหมาะสมเพ่ือเปน็ การสรา้ งบรรยากาศในหอ้ งเรียนทเี่ นน้ ใหน้ ักเรยี นเป็นผปู้ ฏบิ ตั ิ และเป็นศนู ยก์ ลางในการ
เรยี นการสอน ทำให้นักเรียนเกิดทัศนคตทิ ด่ี ี และสามารถพัฒนาพฤติกรรม การสื่อสารได้ดยี ่งิ ข้ึน อีกทงั้ จะทำให้
นักเรยี นเกดิ ความคนุ้ เคยกบั การใชภ้ าษาในการส่ือสาร และสามารถ นำบทสนทนาท่ไี ด้เรียนไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
ได้
2. กอ่ นที่จะมีการทดสอบวดั ทักษะ ครหู รอื ผู้ที่เกี่ยวข้องควรสรา้ งบรรยากาศที่สง่ เสริมให้ นักเรยี นไมเ่ กดิ
แรงกดดันจนทำให้เกิดการวิตกกังวลก่อนทดสอบหรอื ในขณะท่ีกำลงั ทดสอบ การสร้าง บรรยากาศอาจทำไดโ้ ดยไม่
มีกรรมการสอบแบบสอบต่อหนา้ (Face to face) หากแต่ใช้การบันทึก การสอบเปน็ วิดีทัศน์ แลว้ ให้กรรมการให้
คะแนนผ่านช่องทางนี้
3. การใช้สถานการณ์เปน็ ฐานการเรียนรู้อาจจะไมเ่ หมาะสมกบั การสอนภาษาอังกฤษ ในบางด้าน เชน่
การสอนหลักไวยากรณ์ เพราะการสอนหลกั ไวยากรณต์ ้องยึดหลักการอธบิ าย โครงสรา้ ง หรอื หลักการใชจ้ าก
ครูผสู้ อน ซงึ่ ต้องเน้นความจำและความเขา้ ใจของนักเรียนเปน็ อย่างมาก
5.2.1 ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยคร้ังต่อไป
1. ควรศกึ ษาผลการพฒั นาทักษะการสือ่ สาร โดยใช้สถานการณเ์ ป็นฐานการเรียนรู้กับ นักเรียนในระดบั ช้นั อ่ืน ๆ
เชน่ ระดับ ประถมศกึ ษา ระดับอาชีวศกึ ษา ระดบั อดุ มศึกษา เปน็ ต้น
2. ควรมกี ารศกึ ษาเปรียบเทียบทกั ษะการส่ือสารภาษาอังกฤษกับรูปแบบการสอนแบบอื่นๆ เชน่ การสอนโดยใช้
บทเรยี นสำเร็จรูป หรอื การสอน โดยใช้ชดุ กิจกรรม เปน็ ต้น