The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ละครตะวันตก The history of Western Drama )

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Napitchaya Cheejang, 2022-01-09 14:40:34

วิวัฒนาการละครตะวันตก :)

ละครตะวันตก The history of Western Drama )

MATTAYOM 5 TERM 2

western dramas

ละครตะวันตก

H O R W A N T EACHER PLAIPH AT O :)
G PATHU MTHANI SCH OL

1.
ABOUT

วิวัฒนาการละครตะวันตก wTheesteevronludtriaomn aosf

2.

ประเภท
ละครตะวันตก

3.

ลกะาครรนตำะเวสันนตอก

วิวัฒนาการละครตะวันตก
the evolution of western dramas




OR THE HISTORY OF WESTERN DRAMA.

วิวัฒนาการละครตะวันตก
the evolution of western dramas


OR THE HISTORY OF WESTERN DRAMA.

1. ยุคแรกเริ่ม 2. ละครตะวันตกยุคกลาง 3. ละครตะวันตก 4. ละครตะวันตกยุคปัจจุบัน
ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา

ละครสมัยกรีก ละครศาสนา ละครอิตาลี ละครเพลง

ละครสมัยโรมัน ละครไม่เกี่ยวกับศาสนา ละครอังกฤษ ละครสมัยใหม่
ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา

ยุคแรกเริ่ม

THE THEATRE OF THE PAST

ถือกำเนิดขึ้นประมาณ ประมาณ 500 ปีก่อนคริสตกาลที่

Greek

-กรีก ณ กรุงเอเธนส์ (ATHENS) -

ละครเกิดขึ้นในเทศกาลบวงสรวง

เทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus)

เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์

การบูชาเทพเจ้าองค์นี้จะกระทำกลางแจ้งโดยสร้างแทนบูชาที่เชิงเขา
มีประชาชนมาร่วมกันขับร้องเพลงและเต้นรอบๆ แท่นบูชา



มีการประกวดร้องรำทำเพลงบวงสรวงเป็นหมู่

เรียกว่าการแสดง "ดิธีแรมบ์ (Dithyramb)"

โดยกลุ่มคนที่เรียกว่า

"คอรัส (Chorus) คือ กลุ่มนักร้อง นักเต้นระบำ"

ต่อมาการเต้นการขับร้องบูชาเทพเจ้าไดโอนิซัส
ได้มีการพัฒนาเป็นการแสดงละคร

มีการแข่งขันประกวดบทละครโศกนาฏกรรม

ผู้ประพันธ์บทละครที่ชนะการประกวดคนแรก

คือ เทบีส (Thespis)

บทละครชองเขาจะไม่ซับซ้อน ซึ่งเขารับบทเป็นไดโอนิซัส
และแทนที่จะใช้คอรัส ขับลำนำเล่าเรื่องราวของไดโอนิซัส

แต่เขากับเป็นผู้แสดงคนแรกที่ออกมาร้องเดี่ยว

------- ดังนั้น -------
เทบีส (Thespis) เปรียบเสมือนคนพัฒนา

การแสดง "ดิธีแรมบ์ (Dithyramb)"
เข้าสู่ "ละครโศกนาฏกรรม"
----------------------

และเป็นที่มาของการตัวละครว่า “เทสเบียน”
ซึ่งมาจากเทบีสซึ่งเป็นตัวละครแรกของโลก

ดังนั้นละครในยุคแรกเริ่มมักเกี่ยวข้องกับ 2 ประเทศที่สำคัญ คือ

กรีกและโรมัน

ละครสมัยกรีก

"เอสคิลลัส (Aeschylus)" ละครโศกนาฏกรรมกรีก (Tragedy)

"อริสโตฟาเนส (Aristophanes)" ในช่วงแรกๆจะเป็นละครแบบโศกนาฏกรรม (tragedy) ทั้งสิ้น
บิดาละครโศกนาฏกรรมกรีก คือ "เอสคิลลัส (Aeschylus)"
นับว่าเป็นละครที่สำคัญที่สุดของกรีกเป็นการเล่าเรื่องชีวิตและความหมาย
ของเทพเจ้าไดโอนิซัส (Diony-sus) และขยายไปสู่เรื่องอื่นๆตัวละครต้องต่อสู้
กับชะตากรรมตั้งแต่ต้นเรื่องและจบเรื่องด้วยความตายหรือหายนะของตัวละคร

ละครสุขนาฏกรรมกรีก (Comedy)

ละครแนวนี้เกิดขึ้นหลังจากที่ผู้ชมเริ่มเบื่อละครแนวโศกนาฏกรรม (Tragedy)
นักประพันธ์บทละครแนวสุขนาฏกรรมกรีกที่มีชื่อเสียงคือ "อริสโตฟาเนส (Aristophanes)"
ซึ่งเขาเป็นคนช่างสังเกตเป็นนักถากถางสังคม บทละครจึงมีโครงเรื่องที่ตลกขบขันเสียสีสังคม
การแสดงยังคงมีลูกคู่ขับร้องและเต้นรำ ตัวละครเพิ่มมากขึ้นโดยไม่จำกัดจำนวนผู้แสดงเป็นชายล้วน
และจะได้รับสิทธิ์ยกเว้นไม่ต้องเป็นทหาร การแสดงละครสามารถยึดเป็นอาชีพได้และรัฐบาลก็ให้เกียรติ
ผู้แสดงละครมากเพราะถือว่าผู้แสดงเป็นทูตสันถวไมตรี

ละครสมัยโรมัน

นำละครสมัยกรีกโบราณมาปรับปรุงเพื่อแสดงใน "งานบูชาเทพจูปิเตอร์ (Jupiter) และเทพเจ้าที่ชาวโรมันนับถืออีกหลายองค์"
นอกจากจะแสดงในงานเฉลิมฉลองเทพเจ้าเหมือนละครสมัยกรีกแล้วยังเป็นงานฉลองความมั่งคั่ง และอำนาจของมนุษย์ด้วย

ละครโศกนาฏกรรมโรมัน (Tragedy)

งานละครลักษณะนี้ผู้แสดงจะต้องเป็นบุคคลที่มีความสามารถสูงสามารถพูดร้องเพลง
และเต้นรำได้อย่างมีประสิทธิภาพเน้นภาพความโหดร้ายทารุณหยาบโลนมีฉากการสู้
รบแบบนักรบโบราณมีการแสดงบนเวทีทางการฆ่ามนุษย์และฆ่าสัตว์ แสดงให้เห็นภาพ
อันน่าสยดสยอง

ละครสุขนาฏกรรมโรมัน (Comedy)

ได้นำแบบอย่างมาจากละครสุขนาฏกรรมของกรีกเนื้อเรื่องจะเน้นความสนุกสนาน
ตลกขบขันตัวละครเน้นพฤติกรรมที่เกินจริงใช้เทคนิคการสร้างอารมณ์ขันจากกิริยา
ท่าทางของตัวละครแทนคำพูด

ละครตะวันตกยุคกลาง

ละครตะวันตกในยุคกลาง

เกิดขึ้นจาก "วัดและโบสถ์"

พระจะสอนศาสนาด้วยการแสดง
ละครประกอบทำให้ชาวบ้านเข้าใจ

และสนใจในศาสนามากขึ้น
จนขยายตัวออกเป็นวงกว้างออกมา

เล่นนอกวัดโดยให้ประชาชน
เป็นผู้จัดการแสดง

มีสมาคมอาชีพที่เรียกว่า
“กิลด์” (Guild)

ละครตะวันตกยุคกลาง

ละครศาสนา ละครที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา

พัฒนามาจากการขับร้องเพลงในโบสถ์ 1 .ละครพื้นบ้าน (FOLK PLAY)
จัดแสดงโดยสมาชิกของนักบวช
และนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ กล่าวถึงวีรกรรมของวีรบุรุษการผจญภัยบทบาท
ในการแสดงเป็นการต่อสู้ด้วยการดวลดาบ
เนื้อเรื่องนำมาจากพระคัมภีร์ไบเบิล
เปลี่ยนภาษาพูดเป็นภาษาพื้นเมือง การเต้นรำเรื่องราวที่เป็นที่นิยมในสมัยนั้น เช่น โรบินฮูด
ยกตัวอย่าง เช่น บทละคร เรื่อง คนเลี้ยงแกะ
(SECOND SHEPHERD’S PLAY) 2.ละครตลกชวนหัว (FARCE PLAY)

ของเวคฟิลด์ (WAKEFIELD) ได้รับความนิยมมากที่สุดของยุค
เพราะเป็นละครเสียดสีสังคม
ตรงข้ามกับละครศาสนา

ละครศาสนา

- ภาพตัวอย่างการแสดงรื่อง คนเลี้ยงแกะ -
(Second Shepherd’s Play) ของเวคฟิลด์ (Wakefield)

ละครศาสนา

- ภาพตัวอย่างการแสดงละครศาสนาที่ถูกนำมาสร้างในปัจจุบัน
เรื่อง A christmas carol อาถรรพ์วันคริสต์มาส

ละครที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา

- ภาพตัวอย่างโรบิน ฮูด -
ละครปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกใน Piers Plowman
บทกวียุคกลางของ วิลเลียม แลงแลนด์ ซึ่งถือเป็นละครพื้นบ้าน

ละครที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา

- ภาพตัวอย่าง Charlie Chaplin และ Mr. Bean -
เป็นการแสดงละครตลกชวนหัว (Farce Play)

ที่ถูกนำมาสร้างในปัจจุบันและได้รับความนิยมมาก

ละครตะวันตก
ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา

(Renaissance)

เป็นยุคที่มีการสนใจศึกษาค้นคว้าวิทยากรใหม่ๆ ในช่วงประมาณปี ค.ศ. 1400-1650
ซึ่งศูนย์กลางกิจกรรมต่างๆ อยู่ที่

ITALY

ละครตะวันตก จะแยกตัวออกมาจากศาสนา
ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา มีเนื้อเรื่องสั้นคล้ายจำอวดของไทย

เป็นละครที่ชาวบ้านให้ความนิยมเพราะทีลักษณะตลกชวนหัวเราะ

1.ละครอิตาลี

คอมเมอเดีย เดลา เต้
(Commedia Dell’arte)

มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า "ตลกอิตาลี"
ผู้แสดงจะสวมหน้ากาก แสดงเป็นตัวละครใดตัวหนึ่งอยู่เป็นประจำ
ซึ่งเรียกละครประเภทที่เรียกว่า “Stock Charactor”

อุปรากร (Opera)

เกิดขึ้นในประเทศอิตาลีช่วงปลายศตวรรษที่ 16 ณ สถาบันฟลอเรนไทน (Florentine Academy)
ซึ่งพัฒนามาจากละครโศกนาฏกรรมของกรีก โดยผสมผสานดนตรีและการแสดงละครเข้าด้วยกัน

ละครอิตาลี : อุปรากร (OPERA)

- ภาพตัวอย่างการแสดงละครโอเปรา เรื่อง Phantom of the Opera (ปัศาจในโรงละคร) -
Version Original

ละครตะวันตก
ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยา

1.ละครอิตาลี (กล่าวไปหน้าที่แล้ว)

2.ละครอังกฤษในยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา

m Shakesp ประชาชนในอังกฤษจะนิยมดูละครกันมาก rge Bernard
ลักษณะการแสดงเริ่มเปลี่ยนรูปแบบโดยใช้ผู้หญิงรับบทเป็นนางเอกแทนเด็กผู้ชาย
นักประพันธ์บทละครที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกของอังกฤษ
คือ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare)
และจอร์จ เบอร์นาร์ดชอว์ ( George Bernard Shaw)



Willia
Geo
Shaw
eare

m Shakesp ผลงานของวิลเลียม เช็กสเปียร์
(ละครอังกฤษยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา)

Willia eare

ละครตะวันตกในยุคปัจจุบัน

ละครตะวันตกในยุคปัจจุบัน

1.ละครเพลง (Musical Comedy)

เป็นการแสดงที่มีการร้องเพลงเต้นรำในรูปแบบที่หลากหลาย
ไม่เคร่งครัดต่อระเบียบแบบแผนมาก
เหมือนการแสดงอุปรากร (Opera) และบัลเล่ต์ (ballet)
เนื้อหาของเพลงที่ขับร้องจะมีลักษณะเสียดสีสังคม
ละครเพลงที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดในสมัยนั้นได้แก่ละครเพลงเรื่อง “มายเฟร์เลดี้” (my fair lady)

ตัวอย่างภาพการแสดงละครเรื่อง
MY FAIR LADY (บุษบาริมทาง)

ละครตะวันตกในยุคปัจจุบัน

2.ละครสมัยใหม่ (modern Drama)

เกิดขึ้นในยุโรประหว่างปีค.ศ. 1870- 1879

ละครที่มุ่งแสดงปัญหาของสังคมตามสถานการณ์ความเป็นจริง
ทดแทนนิยามที่ฟุ้งเฟ้อไร้สาระ ดีเด่นในเชิงศิลปะและวรรณกรรม โดยมี

Henrik Ibsen

เ ฮ น ริค อิ บ เ ซ่ น

นักประพันธ์ละครชาวนอร์เวย์เป็นผู้ปฏิรูปการละครสมัยใหม่
(บิดาแห่งละครสมัยใหม่)

แนวละครที่บุกเบิกละครสมัยใหม่มี 2 แนวคือ

1. ละครแนวเรียลลิสม์หรือสัจนิยม (Realism)

ละครที่พยายามมองชีวิตโดยความเป็นกลางและสะท้อนออกมาในรูปแบบของละครตามความเป็นจริง
โดยไม่เสริมแต่งหรือบิดเบือนเนื้อเรื่องของละครแนวสัจนิยมจะเน้นเติมดาวในชีวิตประจำวันของผู้คน
โดยหลีกเลี่ยงเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และหลีกเลี่ยงเรื่องราวที่บิดเบือนความจริง

2. ละครแนวเนเชอร์รัลลิสม์ หรือธรรมชาตินิยม (Naturalism)


เกิดขึ้นในเวลาใกล้เคียงกันและมีความหมายคล้ายกับละครแนวสัจนิยม คือ มีวัตถุประสงค์ที่จะแสดงความเป็น
จริงของชีวิตด้วยเหตุผลที่ว่าชีวิตจริงจะพบได้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 ศิลปะต้องสำเร็จด้วยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์พฤติกรรมทั้งปวงของมนุษย์มีผลมาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

ตัวละครทุกตัวจะดูเหมือนมีชีวิตจริงๆ ไม่รับรู้ว่ามีผู้ชมจ้องดูอยู่ เทคนิคนี้ เรียกว่า "ฝาที่ 4" (Fourth Wall)
หมายถึง ตัวละครอยู่ในบ้าน ซึ่งมีผนังสี่ด้าน ผู้ชมกาลังมองจาก ด้านที่สี่คือ ด้านหน้าเวที

ละครตะวันตกในยุคปัจจุบัน

3.) ละครแนวเอปิค หรือมหากาพย์ (Epic Theatre)

เป็นละครเพื่อสังคมที่มีแนวคิดในการกระตุ้นจิตสำนึกทางสังคม
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ชมละครมองเห็นปัญหาของสังคมและนำไปสู่
การปฏิรูปสังคมจุดสำคัญคือต้องการให้ผู้ชมเกิดความคิดใคร่ครวญ
ไตร่ตรองและตระหนักในความถูกต้องเหมาะสมเพื่อนำไปแก้ไขสังคมให้ดีขึ้น

Bertolt Brecht

แ บ ร โ ท ส ท์ เ บ ร ช ท์

เป็นผู้ให้กำเนิดละครแนวเอปิค


Click to View FlipBook Version