The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thai logistics, 2020-09-03 00:15:15

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

a) มีสอดคล้องกบั นโยบายคุณภาพ
b) สามารถวัดได้
c) มคี วามเกี่ยวข้องกบั ข้อกาํ หนดท่ีประยุกต์ใช้
d) มีความเกย่ี วขอ้ งกับความสอดคลอ้ งขอ้ กาํ หนดของการบรกิ ารและเพอ่ื เพิม่ ระดับความพงึ

พอใจลกู ค้า
e) มกี ารตดิ ตาม
f) มกี ารสอื่ สาร
g) มกี ารปรบั ปรงุ ตามความเหมาะสม
บรษิ ัทคงรักษาเอกสารขอ้ มลู ของวัตถุประสงคค์ ณุ ภาพ

ตัวอยา่ งวตั ถปุ ระสงคค์ ุณภาพ

นโยบาย/ ดชั นีช้ีวัด KPI เปา้ หมาย ระยะเวลา หนว่ ยงานที่ Action Plan
วตั ถุประสงค/์ วดั ผล รับผิดชอบ
ความเสีย่ ง
จาํ นวนเทยี่ วตอ่ ไมต่ า่ํ กวา่ 3,150 เทย่ี วต่อ ทุกเดือน Operator/ แผนเพ่มิ เท่ียว
นยั สาํ คัญ เดือน เดอื น ทกุ เดือน ขนสง่ ขนส่ง
ทกุ เดอื น
มงุ่ มันใหบ้ ริการ จํานวนการวางตู้ ไมต่ ํา่ กวา่ 90% ต่อเดือน ทกุ เดอื น Operator/ แผนเพิม่ จาํ นวนตู้
เชา่ พืน้ ทีว่ างแทงก์ เช่า ทกุ เดือน ลานตู้ ลาน
95% ของจํานวนครงั้ ที่ ทกุ เดือน
เคมีและขนส่ง % การสง่ สนิ คา้ จดั สง่ ทัง้ หมด Operator/ แผนจัดสง่ ตรง
แทงก์เคมี ตรงเวลา ขนส่ง เวลา
สินคา้ เสียหายไม่เกนิ
ส่งสนิ ค้าได้ตรง จาํ นวนครง้ั สินคา้ 100,000 หน่วยตอ่ เดอื น Operator/ แผนลดสนิ ค้า
เวลา เสยี หาย ขนสง่ เสยี หาย
ไมม่ อี ุบตั เิ หตเุ กิดขน้ึ
สนิ ค้าท่ีส่งไม่ จํานวนครัง้ เกดิ Safety แผนลดอบุ ตั ิเหตุ
เสยี หาย อบุ ัติเหตุ ไมต่ า่ํ กว่า 80%ต่อเดอื น
Operator/ แผนเพ่มิ ความพงึ
ไมม่ อี ุบตั ิเหตจุ าก % ความพึงพอใจ ลานตู้ พอใจบรกิ าร
การทาํ งาน ลกู คา้

เพิม่ ความพงึ พอใจ
ลกู คา้

 ตัอวย่างการวางแผนเพื่อใหบ้ รรลุตามวัตถุประสงคค์ ุณภาพ บรษิ ทั ไดพ้ จิ ารณา
a) ส่ิงทตี่ อ้ งดาํ เนินการ
b) ทรพั ยากรที่จาํ เป็น
c) ผูร้ ับผิดชอบ
d) กรอบเวลาแล้วเสรจ็
e) วธิ กี ารประเมนิ ผล

49

ตวั อยา่ งการวางแผนงานวตั ถปุ ระสงค์

 ตัวอยา่ งการวางแผนเปลยี่ นแปลง
บรษิ ัท ธุรกจิ โลจสิ ติกสไ์ ทย จาํ กดั ไดพ้ จิ ารณาถงึ ความจาํ เป็นในการเปลีย่ นแปลงระบบบริหาร

คณุ ภาพการเปล่ียนแปลงจะตอ้ งดําเนินการภายในแผนงาน บรษิ ัทได้พิจารณา
a) วตั ถปุ ระสงคข์ องการเปลยี่ นแปลงและผลท่อี าจตามมา
b) ความครบถ้วนของระบบบรหิ ารคุณภาพ
c) ความเพยี งพอของทรพั ยากร
d) การกาํ หนดและหมนุ เวียนของความรบั ผดิ ชอบและอํานาจ
ในกรณที มี่ ีการเปลี่ยนแปลง บริษัท ได้มีการระบุเหตุการณ์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงจากปัจจัย

ภายในและ ปัจจัยภายนอก หรืออื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อระบบคุณภาพ พร้อมคณะกรรมการ ISO มีการวางแผนการ
เปล่ียนแปลงตามลําดบั เหตุการณด์ ังต่อไปน้ี

1. ระบเุ หตกุ ารณท์ ี่มกี ารเปลี่ยนแปลง
2. พจิ ารณาผลกระทบที่มีโอกาสเกดิ ขึน้
3. ประชุมคณะกรรมการ ISO กาํ หนดวัตถุประสงคข์ องการเปลย่ี นแปลงและผลทอี่ าจตามมา

และระดมสมองหาทางดาํ เนนิ การ
4. กําหนดมาตรการภายใน แผนการรองรับการเปลี่ยนแปลง
5. นําเสนอผู้บรหิ ารระดับสงู เพื่อกหวนมาตรการและอนุมัติการใชท้ รพั ยากร
6. ดําเนนิ การตามแผนการเปลยี่ นแปลง

50

7. สรุปผลการเปลยี่ นแปลงตามวัตถปุ ระสงค์พรอ้ มทหวนเอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งและจดั ทําให้
ทนั สมัย

6.2.1.7 การสนับสนุน
 ตัวอย่างทรัพยากร
o ข้อกําหนดทว่ั ไป
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จํากัด ได้พิจารณากําหนดและจัดให้มีทรัพยากรที่จําเป็น

สําหรับการจัดทาํ นําไปการปฏิบตั คิ งรกั ษาไว้ และปรับปรุงอย่างตอ่ เน่ือง ในระบบบริหารคุณภาพบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์
ไทย จาํ กัด ได้พจิ ารณา

a) ความสามารถ และขอ้ จาํ กดั ของทรพั ยากรภายในองคก์ รทม่ี อี ยู่
b) ความจาํ เป็นในการเลอื กใชผ้ ู้ใหก้ ารบรกิ ารภายนอก

o บคุ ลากร
บรษิ ัท ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด ได้พิจารณาและจดั หาบุคลากรอยา่ งเพยี พอเพ่ือให้เกิด

ประสิทธผิ ลของการดําเนนิ งานในระบบบริหารคุณภาพ และสําหรับการดําเนินงาน และควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ใน
ระบบบริหารคณุ ภาพ

o โครงสร้างพ้นื ฐาน
บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด ไดพ้ ิจารณาจดั หา และคงรกั ษาไว้ซง่ึ โครงสร้างพ้นื ฐาน

สาํ หรบั การดาํ เนินกระบวนการเพอ่ื ใหบ้ รรลุไดต้ ามข้อกาํ หนดการให้บรกิ าร
หมายเหตุ โครงสรา้ งพ้ืนฐาน หมายรวมถึง

a) อาคาร และระบบสาธารณปู โภคทเ่ี กยี่ วข้อง
b) อุปกรณ์ ท้ังแบบฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์
c) ทรพั ยากรในการสง่ ข้อมลู
d) เทคโนโลยใี นการส่อื สารและสารสนเทศ

o สภาพแวดลอ้ มในการดําเนนิ กระบวนการ
บริษัท ธุรกจิ โลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กัด ไดพ้ ิจารณา จัดหา และคงรกั ษา สภาพแวดล้อมทจี่ ําเปน็

สาํ หรับการดาํ เนนิ กระบวนการ และเพอ่ื ให้บรรลุข้อกําหนดของการบรกิ ารและการบรกิ าร
หมายเหตุ สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม สามารถรวมถงึ ความหลากหลายของคน และสภาพกายภาพ ไดแ้ ก่

a) ดา้ นสงั คม (เช่น ไม่มีการแบ่งแยก, มคี วามสงบสุข, ไม่มีการผชิญหนา้ )
b) ดา้ นจติ ใจ (เช่น การลดความเครียด, การป้องกนั ความเมื่อยล้า, การรกั ษาระดบั อารมณ)์
c) ด้านกายภาพ (เชน่ อุณหภูม,ิ ความรอ้ น, ความขนึ้ . แสงสวา่ ง, การถ่ายเท, สขุ ลักษณะ,

เสียง)
หมายเหต:ุ ปจั จยั เหล่านอ้ี าจแตกตา่ งกนั ไดต้ ามลักษณะการบรกิ ารและการบรกิ าร

51

ตวั อยา่ งอปุ กรณป์ ระจํารถขนส่ง

o ทรพั ยากรในการตรวจติดตามและตรวจวดั
บรษิ ัท ธุรกจิ โลจสิ ติกไทย จํากัด มีการประยุกตใ์ ช้การใช้ทรัพยากรในการตรวจติดตาม

และตรวจวดั รวมถึงกิจกรรมการทวนสอบและสอบเทยี บ
o ความรู้ขององคก์ ร
บรษิ ทั ธุรกจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด ไดพ้ จิ ารณากําหนด ความรู้ท่ีจําเป็นสําหรับการดําเนิน

กระบวนการและเพือ่ ให้บรรลถุ งึ ขอ้ กาํ หนดการบรกิ ารและการบริการ ความรเู้ หล่าน้ีต้องได้รับการจดั เกบ็ และมีครบถว้ นตาม
ขอบเขตอย่างเพยี งพอ เมื่อเกดิ การเปล่ยี นแปลงความต้องการและแนวโน้ม บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จํากัดได้ทบทวน
ความรู้ในปจั จุบนั และพจิ ารณาวิธีการทาํ ให้ได้มาหรอื เข้าถงึ ความรสู้ ว่ นเพิ่มเติม และให้มคี วามทันสมยั

 ตัวอย่างความสามารถ
บริษทั ธุรกิจโลจสิ ติกส์ไทย จํากดั ได้
a) กําหนดความสามารถที่จําเป็นของบุคลากรที่ทํางานภายใต้การดําเนินการที่มีผลต่อ

สมรรถนะดา้ นคุณภาพและประสทิ ธผิ ลในระบบบรหิ ารคุณภาพ
b) มั่นใจว่าบุคลากรเหล่าน้ีมีความสามารถ บนพ้ืนฐานการศึกษา การฝึกอบรม หรือ

ประสบการณ์
c) อในกรณที ่ีทาํ ได้ ต้องดําเนินการเพ่ือได้มาท่ีซ่ึงความสามารถที่จําเป็น และการประเมิน

ประสทิ ธผิ ลของการดาํ เนนิ การดงั กลา่ ว
d) จดั เก็บหลักฐานท่แี สดงถึงความสามารถเป็นเอกสารขอ้ มูล

หมายเหตุ การดําเนินการทใ่ี ชส้ ามารถรวมถึง ยกตวั อย่าง การจัดฝึกอบรม การเป็นพี่เลย้ี งหรือการมอบหมายงาน
ใหก้ ับพนกั งานปจั จบุ นั หรอื การวา่ จังหรือทาํ สญั ญากบั ผูช้ ํานาญ งานนัน้ ๆ

 ตวั อยา่ งความตระหนัก
บคุ ลาการทท่ี าํ งานภายไต้การควบคมุ ของบริษทั ธุรกจิ โลจสิ ตกิ สไทย จาํ กัด มคี วามตระหนกั ในเรื่อง
a) นโยบายคณุ ภาพ
b) วตั ถุประสงคค์ ุณภาพที่เก่ยี วขอ้ ง

52

c) การดาํ เนนิ งานทงี่ ผลต่อประสทิ ธผิ ลของระบบการบรหิ ารคุณภาพรวมถงึ ผลทไี่ ดข้ องการ
ปรับปรุงสมรรถนะ

d) ผลทต่ี ามมาของการดาํ เนินการทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดของระบบบริหารคุณภาพ

 ตวั อยา่ งการสื่อสาร
บริษทั ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กัด ไดพ้ จิ ารณาการส่ือภายใน และสอ่ื สารภายนอก ที่เกย่ี วข้องกับ

ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ โดยพจิ ารณา
a) จะสอ่ื สารอะไรบา้ ง
b) จะส่อื สารเมือ่ ไหร่
c) จะสื่อสารใหใ้ ครบา้ ง
d) จะสือ่ สารอยา่ งไร
e) สอ่ื สารโดยใคร

หมายเหต:ุ การวางแผนการสื่อสารของ บรษิ ทั ธุรกิจโลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กดั มีการทบทวนอยา่ งน้อยปลี ะ 1 คร้งั

ตวั อย่างคณะกรรมการ ISO หรือทกุ ครัง้ ท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงตามหัวข้อต่อไปนี้ ดงั ตอ่ ไปนี้

หัวขอ้ ส่อื สาร เวลาท่ีตอ้ งสื่อสาร ผรู้ บั สาร วธิ กี ารส่ือสาร ผูร้ บั ผดิ ชอบ
ภายใน ภายนอก

นโยบายคณุ ภาพ ทุกคร้ังทจี่ ัดทําหรือ พนักงานทุก ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง เอกสารตดิ ประกาศ คณะกรรมการ
ทบทวนปลี ะ 1 ครั้ง คน ISO

หน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบ ทุกครัง้ ที่จัดทาํ หรือ พนกั งานทุก - เอกสารติด ฝา่ ยบรหิ าร
ประกาศ ทรัพยากรมนษุ ย์
และอาํ นาจ เปลย่ี นแปลง คน

วัตถุประสงคค์ ุณภาพ ทุกคร้งั ทจ่ี ัดทาํ หรือ พนักงานทุก - เอกสารติดประกาศ คณะกรรมการ
ISO
ทบทวนปลี ะ 1 คร้ัง คน

สถานะของเอกสาร ทุกครงั้ ท่จี ดั ทาํ และมี พนักงานท่ี - ตราประทบั เอกสาร เจ้าหน้าที่ควบคมุ
ควบคมุ การแกไ้ ขเอกสาร เกยี่ วขอ้ ง เอกสาร DCC

ผลการประเมนิ

สมรรถนะของ ทกุ เดอื น พนักงานที่ - เอกสารและเอกสาร คณะกรรมการ
กระบวนการ (KPIs เกี่ยวขอ้ ง
ติดประกาศ ISO

Result)

แผนการทําตรวจสอบ

ภายใน (Internal ตามแผนตรวจประจาํ ปี พนกั งานทุก - เอกสาร เจ้าหนา้ ท่คี วบคมุ
Audit)/กาํ หนดการ สว่ น เอกสาร

Audit

53

 ตวั อย่างเอกสารขอ้ มูล
o ทัว่ ไป
ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพของ บริษทั ธรุ กจิ โลจิสตกิ ส์ไทย จาํ กัดประกอบด้วย
a) เอกสารข้อมูลทก่ี ําหนดโดยมาตรฐานนานาชาติ ISO9001:2015
b) เอกสารขอ้ มลู ทจี่ าํ เป็นสาํ หรับการดําเนนิ งานใหป้ ระสทิ ธิผลในระบบบริหารงานคุณภาพ
ของบรษิ ทั

o การจดั ทําและการปรับปรงุ
เมอื่ มีการจดั ทาํ และปรบั ปรงุ เอกสารขอ้ มูลของบริษัท บรษิ ทั ได้
a) มกี ารชบ้ี ง่ และคําอธิบาย (เชน่ ชือ่ เอกสาร วันทจี่ ัดทาํ ผู้จัดทาํ หรือหมายเลขเอกสาร)
b) มกี ารกาํ หนดรปู แบบ (เช่นภาษา รุ่นซอฟต์แวร์ รปู ภาพ) และส่อื ท่ีใช้ (เชน่ กระดาษ
ข้อมูล อิเล็กทรอนกิ ส)์
c) มีการทบทวนและอนมุ ัติ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ

o การควบคุมเอกสารข้อมูล
เอกสารขอ้ มลู ทีจ่ าํ เปน็ ในระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพ และมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้

ไดร้ ับการควบคมุ เพือ่ ให้มั่นใจว่า
a) มีเพียงพอและเหมาะสมในการใชง้ าน ตามความจําเป็นในแต่ละกระบวนการ
และขน้ั ตอน
b) ได้รับการปอ้ งกนั อย่างเหมาะสม (เชน่ เสีย่ งต่อการถูกเปิดเผย นําไปใช้อย่างไม่
ถูกต้อง หรอื ไมค่ รบถ้วน)

o สาํ หรับการควบคมุ เอกสารข้อมลู บรษิ ทั ไดด้ าํ เนินกจิ กรรมต่อไปน้ี
a) มีการแจกจ่าย การเข้าใช้ การค้นหา และ การนําไปใช้
b) มกี ารจัดเก็บและการป้องกัน รวมถึงการดูแลรักษาใหเ้ นอื้ หาอ่านได้ง่าย
c) มคี วบคมุ การเปลี่ยนแปลง (เชน่ การระบุฉบบั ที่ของการแกไ้ ข)
d) มีการกําหนดเวลาจดั เกบ็ และการทาํ ลาย

เอกสารข้อมูลภายนอกที่จําเป็นสําหรับการวางแผนและการปฏิบัติของระบบบริหาร
คณุ ภาพไดร้ บั การช้บี ่งและควบคุมตามความเหมาะสม เอกสารข้อมลู ใชเ้ ป็นหลกั ฐานที่แสดงถึงความสอดคล้องต้องได้รับการ
ปอ้ งกนั จากการแกไ้ ขโดยไมต่ ้ังใจ

54

ตัวอย่างโครงสร้างเอกสารและการกาํ หนดรหัสเอกสาร ISO9001:2015
1. โครงสรา้ งของเอกสาร

เอกสารที่เกยี่ วขอ้ งกบั ระบบคณุ ภาพทจี่ ะต้องทาํ การควบคมุ แบง่ เป็นประเภทต่าง ๆ ดังน้ี

เอกสารระดบั ที่ 1

เอกสารระดบั ที่ 2

เอกสารระดับที่ 3

เอกสารระดบั ท่ี 4

เอกสารระดบั ท1่ี ได้แก่ คูม่ ือ (Manual)
เอกสารระดบั ท่ี 2 ได้แก่ ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน (Procedure Manual)
เอกสารระดบั ท่ี 3 ไดแ้ ก่ วธิ ีปฏิบตั ิงาน (Work Instruction)
เอกสารระดับท่ี 4 ไดแ้ ก่ แบบฟอร์ม (Form) เอกสารสนับสนนุ (Support Document)

2. รปู แบบเอกสาร
2.1 คูม่ ือ (Manual)
เอกสารค่มู ือจะเป็นเอกสารทเ่ี ขยี นถึงนโยบาย โครงสรา้ งขององคก์ ร หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบท่ี

มีตอ่ ระบบเพื่อใหเ้ ป็นไปตามระบบมาตรฐานสากล โดยจะอ้างองิ ถึงระเบยี บปฏิบัตงิ านในการจัดทาํ คู่มือซง่ึ จะทําการเรียง
หวั ขอ้ ตามข้อกาํ หนดมาตรฐาน

2.2 ระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure Manual)
เอกสารระเบยี บปฏบิ ัติงานจะเป็นเอกสารทบ่ี อกถงึ กจิ กรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ระบบภายในบริษทั

ทําให้ทราบวา่ ใครทาํ อะไร เม่ือไร ทาํ ทใี่ ด เพ่อื ให้บรรลผุ ลตามนโยบายทีก่ าํ หนดไวใ้ นคมู่ ือรูปแบบของระเบียบปฏิบตั งิ านจะ
เปน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี

 วัตถุประสงค์ (Objective)
 ขอบเขต (Scope)
 หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ (Responsibilities)
 เอกสารอา้ งองิ (Reference Documents)
 คําจํากดั ความ (Definitions)
 ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน (Procedure)
 การเก็บบนั ทกึ (Control of Record)
โดยเอกสารดังกลา่ วจะมหี น้าปกตามมาตรฐานของบรษิ ัท

55

2.3 วธิ ปี ฏิบตั งิ าน (Work Instruction)
เอกสารวธิ ีปฏิบัตงิ านเป็นเอกสารทอี่ ธบิ ายรายละเอยี ดของงานนนั้ ๆ ว่าทาํ อยา่ งไร ซ่ึงอาจจะ

เปน็ การอธบิ ายเพม่ิ เตมิ จากระเบียบปฏิบัติงาน รูปแบบของวิธีปฏิบัติงานจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้
อาจจะเป็นเอกสารรูปภาพหรือภาพเคลอ่ื นไหวก็ได้ แตะตอ้ งบง่ บอกถงึ ชอื่ รหสั เอกสาร วันทีม่ ีผลบงั คบั ใช้ สถานะ การ
แก้ไข และผทู้ บทวนอนุมัติ เป็นอยา่ งนอ้ ย

2.4 เอกสารสนับสนนุ (Support Document)
แบง่ ออกได้ 3 ประเภท ดงั น้ี
2.4.1 มาตรฐานข้อกาํ หนด เปน็ มาตรฐานทใ่ี ช้เป็นเกณฑ์ในการควบคมุ คณุ ภาพหรือ

การปฏิบัตงิ าน
2.4.2 เอกสารจากภายนอกเป็นเอกสารทีร่ บั มาจากหนว่ ยงานเกย่ี วซ้องหรอื แหล่งอื่นๆ

ทีจ่ ะเขา้ มามีส่วนเกีย่ วขอ้ งกับระบบเชน่ มาตรฐาน ISO กฎหมาย ขอ้ กาํ หนดลกู ค้าโดยทร่ี ูปแบบของเอกสารดงั กลา่ วจะไม่
แน่นอนตายตวั ขนึ้ อยกู่ ัดวามหมาะสมในการใช้งานแตล่ ะประถก แตจ่ ะตอ้ งงอยา่ งชัดเจนและมกี รควบคุมตามความ
เหมาะสม

2.4.3 แบบฟอรม์ (Form)
แบบฟอร์มเปน็ เอกสารท่ีใชใ้ นการบนั ทกึ เก็บขอ้ มูล หรือใชใ้ นการปฏิบัติงาน

อ่นื ๆ โดยที่รูปแบบของแบบฟอรม์ จะไม่ตายตัว ขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมในการใชง้ านแต่ละประเภท แต่จะต้องบ่งบอกถึง
ชอ่ื ของแบบฟอรม์ นั้น รหสั เอกสาร สถานะ การแก้ไข เปน็ อย่างนอ้ ย

3. การกําหนดรหสั เอกสาร
เมอ่ื มกี ารจัดทาํ เอกสารใหม่ พนักงานควบคมุ เอกสารจะทาํ การกาํ หนดรหสั เอกสาร ดงั ตอ่ ไปนี้

รหัส AA -BB -CC- DD
AA หมายถงึ ประเภทของอกสาร โดยทจี่ ะมรี หสั ต่าง ๆ ดงั น้ี
QM = คูม่ ือคุณภาพ (Quality Manual)
PM = ระเบยี บการปฏิบตั ิงาน (Procedure Manual)
WI = วธิ ีปฏิบตั ิงาน (Work Instruction)
SD = เอกสารสนับสนนุ (Supports Document)
FM = แบบฟอร์ม (Form)
BB หมายถงึ ชื่อเอกสารแตล่ ะหนว่ ยงาน โดยที่จะมรี หัสตา่ ง ๆ ดงั น้ี
MR = เอกสารทใ่ี ช้ทว่ั ไปรบั ผดิ ชอบโดยฝา่ ยบรหิ าร (Management)
DC = การควบคมุ เอกสาร (Document Control)
OP = ฝา่ ยปฏิบัติการ (Operation)
HR = งานบคุ คล
MA = งานซ่อมบาํ รงุ

56

PC = งานจดั ซอื้ /จดั จา้ ง
MK = งานประสานงานขาย
SA = งานความปลอดภัย
CC หมายถงึ ลาํ ดบั ทีข่ องเอกสารแตล่ ะประภทในแต่ละหน่วยงาน
หมายเหตุ การกาํ หนดเอกสารระดับ WI SD FM จะใช้รหสั AA-BBCC-DD
AA หมายถึง ประเภทของเอกสาร
BB หมายถงึ ชอ่ื เอกสารแต่ละหนว่ ยงาน
CC หมายถงึ ลาํ ดบั ทข่ี องเอกสารแตล่ ะประเภทในแตล่ ะหน่วยงาน
DD หมายถงึ ลาํ ดบั ของ WI SD FM ท่เี กีย่ วขอ้ ง
เชน่ ทะเบียนรายช่ือเอกสาร (FM-D01-02 เป็นแบบฟอร์มท่ีอ้างอิงมาจากระเบียบปฏิบัติการ
ควบคมุ เอกสารและขอ้ มลู ฉบับท่ี 1 เปน็ แบบฟอร์มลาํ ดับที่ 2

3.1 การแสดงสถานะของเอกสาร ทาํ ได้ 2 วธิ ดี ังนี้
1. ระบไุ วใ้ นชอ่ งของการแก้ไขครง้ั ที่ ในบันทกึ การแกไ้ ขเอกสาร
2. ระบุต่อจากรหสั เอกสาร ดงั น้ี

Rev xx
Rev = สถานะ การแก้ไขเอกสาร (Revision Number)
xx = ลาํ ดบั ครง้ั ที่มีการแก้ไขเอกสาร โดยเริ่มจาก 00 เมอื่ ใช้คร้ังแรก

6.2.1.8 การปฏิบตั ิงาน
 ตวั อย่างการวางแผนและการควบคุม การปฏบิ ตั งิ าน
บรษิ ทั ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จาํ กดั ได้ดําเนินการวางแผน ปฏิบตั ิ และควบคุม กระบวนการต่าง ๆ

(ดูข้อ 4.4) ทีจ่ าํ เปน็ เพอ่ื ให้บรรลุข้อกาํ หนดการจดั ตรยี มการบรกิ าร และดําเนินกิจกรรมทีถ่ ูกระบุไวใ้ นข้อกาํ หนด 6 โดย
a) พิจารณาขอ้ กําหนดของการผลติ และการบริการ
b) จัดทาํ เกณฑ์สาํ หรบั
1) กระบวนการ
2) การยอมรับการผลิต และการบริการ
c) กําหนดทรัพยากรที่จาํ เป็นเพ่ือให้บรรลุความสอดคลอ้ งต่อขอ้ กําหนดของการบริการ และการบริการ
d) ดาํ เนนิ การควบคมุ กระบวนการตามเกณฑ์
e) กําหนด คงไวแ้ ละจดั เก็บเอกสารขอ้ มลู ทีจ่ าํ เป็นตามขอบเขต
1) เช่ือม่นั วา่ กระบวนการสามารถดาํ เนนิ การไดต้ ามแผน
2) แสดงถงึ การบริการและการบรกิ ารมีความสอดคล้องตามข้อกาํ หนด

57

ผลท่ไี ดจ้ ากการวางแผนมคี วามเหมาะสมกบั การดําเนินการของ บริษทั ธุรกจิ โลจิสติกส์ ไทย จํากดั
บรษิ ัท ธรุ กิจโลจติ ิกสไ์ ทย จํากัด ไดค้ วบคมุ การเปลี่ยนแปลงทเี่ กิดข้นึ ในการวางแผน และทบทวน

ผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ จากการเปล่ียนแปลงทีไ่ มต่ งั้ ใจ ดําเนนิ การเพ่อื ลดผลกระทบทางลบตามความเหมาะสม
บรษิ ัท ธุรกิจโลจสิ ตกิ ไทย จํากดั ม่นั ใจว่ากระบวนการท่ดี าํ เนินการโดยผู้ให้การบริการภายนอก

ได้รับการควบคมุ ตามระบบบริหารคณุ ภาพ

 ตวั อย่างการพิจารณาข้อกําหนดสําหรบั การบริการ
o การสือ่ สารกับลูกค้า
บริษทั ธุรกิจโลจสิ ตกิ ส์ไทย จํากัต มกี ารสอื่ สารกับลกู คา้ มตี ังนี้
a) จัดเตรียมขอ้ มูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การบรกิ าร
b) ข้อมลู เพมิ่ เตมิ สัญญาหรอื คาํ สง่ั ซอ้ื รวมถงึ การเปลยี่ นแปลง
c) การรบั ข้อมูลปอ้ นกลบั จากลกู ด้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรกิ าร รวมถงึ ข้อรอ้ งเรยี นจาก
ลูกคา้ การดูแลทรพั ยส์ นิ ลูกคา้
d) ข้อกาํ หนดเฉพาะกรณีเกิดเหตฉุ ุกเฉิน ถา้ เกีย่ วขอ้ ง

o การพจิ ารณาขอ้ กาํ หนดที่เก่ียวขอ้ งกบั การบรกิ าร
เมอื่ มกี ารพิจารณาขอ้ กาํ หนดของการบรกิ ารเพอ่ื นาํ เสนอต่อ ลกู คา้ บรษิ ัท มันใจวา่
a) มกี ารระบขุ ้อกาํ หนดของการบรกิ าร ประกอบด้วย
1) ขอ้ กาํ หนดของกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง
2) ข้อพิจารณาทจี่ ําเป็นของบริษทั
b) การดาํ เนนิ การตอบสนองตอ่ ขอ้ รอ้ งเรียนในการบริการ ท่ไี ดม้ กี ารเสนอแนะไว้

o การทบทวนข้อกําหนดทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การบริการ
บริษทั มน่ั ใจว่ามีความสามารถทจี่ ะสง่ มอบการบรกิ ารทเี่ สนอต่อลกู ค้าได้ บริษัทได้ทบทวน

ก่อนท่จี ะยนื ยันการสง่ มอบต่อลูกคา้ ซง่ึ รวมถึง
a) ขอ้ กําหนดทรี่ ะบุโดย ลกู ค้ารวมถงึ ขอ้ กาํ หนดในการสง่ มอบ และกจิ กรรมหลงั สง่ มอบ
b) ข้อกาํ หนดทล่ี ูกด้ไม่ได้ระบุ แตจ่ าํ เป็นต่อการใชง้ าน กรณีท่ที ราบ
c) ขอ้ กําหนดทร่ี ะบุโดย บรษิ ทั
d) ข้อกําหนดดน้ กฎหมายอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการบริการ
e) ขอ้ กําหนดในสญั ญาจา้ งหรอื คาํ สงั่ ซอื้ ซง่ึ แตกต่างท่ีระบไุ วก้ อ่ นหนา้
บริษทั มัน่ ใจว่าขอ้ กําหนดทเ่ี ปล่ียนแปลงในสญั ญาจ้างหรอื คําสงั่ ซอ้ื ไดร้ บั การดาํ เนนิ การ
แก้ไข

58

บรษิ ทั ไดจ้ ดั เกบ็ เอกสารขอ้ มลู เหลา่ น้ี
a) ผลของการทบทวน
b) ข้อมูลใหม่ของการบรกิ าร

o การเปลีย่ นแปลงขอ้ กาํ หนดของการบรกิ าร
มีการจดั ทาํ เอกสารข้อมูลผลการทบทวนขอ้ กาํ หนดการบรกิ าร และเหล่าน้ีไม่ว่าจะข้อมูล

ใหม่หรือข้อมูลที่เปลย่ี นแปลง
เม่อื ข้อมูลการบรกิ ารมีการเปลย่ี นแปลง บรษิ ัทมั่นใจว่าเอกสารข้อมูลทเี่ ก่ยี วขอ้ งไดร้ บั การ

แก้ไขและพนักงานที่เก่ียวขอ้ งตระหนกั ถงึ ขอ้ มูลดงั กล่าว

 ตวั อยา่ งการออกแบบและการพัฒนาบริการ
ไม่ได้มีการประยุกต์ใช้ เน่ืองจาก การให้บริการเช่าพ้ืนที่วางแทงก์เคมี และขนส่งแทงก์เคมีเป็น

ธุรกจิ การดาํ เนนิ งานตามสัญญาวา่ จ้างทล่ี กู ค้าเปน็ เปน็ ผกู้ าํ หนด จงึ ไมม่ กี จิ กรรมการออกแบบและการพฒั นาการให้บริการ

 ตวั อยา่ งการควบคมุ ผใู้ หก้ ารบรกิ ารภายนอก
o ทวั่ ไป
บรษิ ทั ธรุ กิจโลจสิ ติกส์ไทย จํากดั มน่ั ใจว่าสนิ คา้ และการบรกิ ารท่ไี ดร้ ับจากผู้ให้การบริการ

ภายนอก ในกระบวนการ ผลติ ภณั ฑแ์ ละการบริการ มคี วามสอดคลอ้ งกบั ข้อกาํ หนด
บริษัท ระบกุ ารควบคุมกบั ผู้ใหบ้ รกิ ารภายนอกในกระบวนการ ผลติ ภัณฑ์ และการบรกิ าร

ในกรณดี ังน้ี
a) ผลติ ภัณฑแ์ ละการบริการ จากผใู้ หก้ ารบรกิ ารภายนอกท่เี ปน็ ส่นหนึ่งของการบริการที่

บรษิ ทั ดําเนนิ งาน (อุปกรณ์ / สญั ญาณอินเทอรเ์ น็ต)
b) ทัง้ หมดหรอื บางส่วนของกระบวนการดําเนินการผู้ให้การบริการภายนอกที่บริษัทได้

ตดั สนิ ใจ (ผู้รับเหมา) ถ้ามี
c) กระบวนการส่งมอบข้อมลู โดยผสู้ ่งมอบภายนอก (สัญญาณโทรศัพท์) บริษทั จดั ทาํ และ

ประยุกต์ใช้เกณฑ์ในการประเมิน คดั เลือก เฝ้าติดตามสมรรถนะและประเมินซ้ําของผู้ให้การบริการภายนอก โดยอยู่บน
พน้ื ฐานความสามารถของการส่งมอบกระบวนการหรอื ผลติ ภัณฑ์และการบรกิ ารตามข้อกาํ หนดท่เี ก่ยี วขอ้ ง บริษัท จัดเก็บ
เอกสารขัอมลู ของกิจกรรมเหลา่ นแ้ี ละการดาํ เนนิ การท่ีจาํ เปน็ จากผลการประเมนิ ทพี่ บ

ลกู ค้า บริษัทได้ o ชนดิ และขอบเขตของการควบคมุ
คณุ ภาพ บรษิ ทั มัน่ ใจไดว้ ่าผูใ้ หบ้ รกิ ารภายนอก จะไม่สง่ ผลตอ่ ความสามารถในการสง่ มอบใหก้ ับ

a) ม่ันใจวา่ กระบวนการของผู้ใหบ้ รกิ ารภายนอกอยภู่ ายใต้การควบคุมของระบบบริหาร

b) ระบทุ งั้ การควบคมุ ท่ใี ช้กับผ้ใู หบ้ รกิ ารภายนอกและใช้กบั ผลจากการดาํ เนนิ การ

59

c) พจิ ารณาถงึ
1) แนวโน้มผลกระทบทอ่ี าจจากกระบวนการใหบ้ ริการภายนอกตอ่ ความสามารถทจี่ ะ
กระทบต่อความสอดคลอ้ งกับข้อกาํ หนดลูกคา้ และขอ้ กาํ หนดกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
2) ประสทิ ธผิ ลของการควบคุมท่ีดํานินการโดยผ้ใู ห้บรกิ ารภายนอก

d) พิจารณาการทวนสอบ หรอื กิจกรรมอ่นื ๆ ท่จี าํ เป็นเพ่ือให้มั่นใจว่าผู้ใหบ้ ริการภายนอก
สง่ มอบสอดคล้องกบั ข้อกาํ หนด

o ข้อมูลสําหรับผู้ให้บรกิ ารภายนอก
บริษทั มนั่ ใจว่าข้อกาํ หนดก่อนหน้านี้ไดม้ กี ารสือ่ สารใหส้ าํ หรับผู้ใหบ้ รกิ ารภายนอกเพยี งพอ
โดยบรษิ ทั ได้ส่อื สารข้อกําหนดให้กับผูใ้ หบ้ รกิ ารภายนอกสําหรบั
a) กระบวนการ ผลิตภณั ฑแ์ ละการบรกิ ารทีจ่ ะดาํ เนนิ การให้
b) การอนมุ ัติสาํ หรับ
1) การบรกิ าร
2) วธิ กี าร, กระบวนการ และอุปกรณ์
3) การตรวจปลอ่ ยการบริการ
c) ความสามารถ รวมทง้ั คณุ สมบตั ทิ ีจ่ าํ เปน็ ของบคุ ลากร
d) การปฏสิ มั พันธก์ ับการดาํ เนินการขององคก์ รของผใู้ ห้การบริการภายนอก
e) การควบคุมและการฝาตดิ ตามสมรรถนะของผู้ใหก้ ารบริการภายนอกโดยบริษทั

 ตัวอย่างการบริการ
o ควบคุมการบรกิ าร
บรษิ ทั ธุรกจิ โลจสิ ติกสไ์ ทย จาํ กดั ได้ ดาํ เนนิ การควบคมุ การบรกิ าร ใหอ้ ย่ใู นเงอื่ นไขทีค่ วบคมุ
a) ความเพยี งพอของเอกสารขอ้ มลู ทรี่ ะบถุ งึ
1) คุณลักษณะของบรกิ ารทส่ี ่งมอบ หรอื กจิ กรรมทีด่ าํ เนนิ การ
2) ผลทจี่ ะบรรลุ
b) ความเพยี งพอและเหมาะสมของทรพั ยากร
c) ดาํ เนินกจิ กรรมการตรวจตดิ ตามในขัน้ ตอนท่เี หมาะสม เพ่ือทวนสอบวา่ ข้อมูลการดาํ เนนิ
กิจกรรมเป็นไปตามเกณฑก์ ารควบคุมการบรกิ าร และเกณฑก์ ารยอมรับการบริการ
d) การใชโ้ ครสรา้ งพื้นฐานและสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมในการดําเนนิ กระบวนการ
e) ระบุความสามารถและคณุ สมบตั ิที่เกี่ยวขอ้ งของบคุ ลากร
f) ดาํ เนนิ กิจกรรมการรบั รอง และการรับรองซ้าํ ตามชว่ งเวลา เพอ่ื พจิ ารณาการบรรลุผลตาม
แผนการบริการเมอื่ ผลการตรวจสอบไมส่ ามารถหวนสอบไดใ้ นขัน้ ตอนยอ่ ยของการบริการ
g) ดําเนนิ กจิ กรรมเพอ่ื ป้องกันข้อผดิ พลาดจากบคุ ลากร (ถา้ ม)ี
h) มีการดําเนนิ กจิ กรรมการตรวจติดตาม

60

ตัวอย่าง การตดิ ตัง้ แผน่ สะทอ้ นแสง

o การชีบ้ ่งและการสอบกลับ
บริษทั ธรุ กจิ โลจิสติกสไ์ ทย จาํ กัด ไดเ้ ลอื กใช้เกณฑท์ ่ีเหมาะสมในการระบผุ ลลพั ธจ์ าก

กระบวนการเมอื่ บริษทั ต้องการความม่นั ใจวา่ การใหบ้ ริการเปน็ ไปตามขอ้ กําหนด
บริษทั ได้ ระบสุ ถานะของผลลพั ธ์ ภายใต้ข้อกําหนดการตรวจตดิ ตาม

o ทรัพย์สนิ ทเี่ ปน็ ของลกู ดหรือผูใ้ ห้การบริการภายนอก
บรษิ ัท ธุรกจิ โลจิสตกิ ส์ไทย จํากัด ได้ดแู ลทรพั ย์สนิ ท่เี ป็นของลูกด้ในขณะที่อยู่ภายใต้การ

จดั เก็บในบริษทั หรือมกี ารใช้งาน บรษิ ัทระบุ ทวนสอบ ปอ้ งกนั และดแู ลรกั ษาทรพั ย์สินของลูกค้าเพื่อใช้ในการบริก าร ถ้า
ทรพั ย์สนิ ใด ๆ ของถูกคําเกดิ การสูญหาย เสียหาย หรือพบว่าไมเ่ หมาะสมในการใช้งาน บริษทั จะดําเนนิ การแจ้งลูกค้าใหท้ าง
และจดั ทาํ เปน็ เอกสารข้อมลู ไว้
หมายเหตุ ทรพั ย์สินของถกู คา้ อาจรวมถึงชน้ิ สว่ นย่อย เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ สถานท่ี ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาและขอ้ มลู สว่ นบุคคล

61

o การดูแลรักษา
บรษิ ทั ธุรกิจโลจิตกิ ส์ไทย จาํ กัด ได้ ดูแลรกั ษา ผลจากกระบวนการในขณะดําเนนิ การ

บรกิ าร ตามขอบเขตท่ีจาํ เปน็ เพ่ือให้มนั่ ใจว่ายังมคี วามสอดคลอ้ งกับขอ้ กาํ หนด
หมายเหตุ การดูแลรกั ษารวมถงึ การชีบ้ ง่ การขนยา้ ย การบรรจุ การจัดเก็บ การสง่ ผา่ น และการปอ้ งกัน

o กิจกรรมหลงั การใหบ้ ริการ
บริษัท ธุรกิจโลจิติกไทย จํากัด ได้ปฏิบัติให้สอดคล้องกับข้อกําหนดสําหรับกิจกรรมห

สังการใหบ้ รกิ ารซึ่งสมั พันธ์กับการบริการในการพจิ ารณาขอบเขตของกิจกรรมหลงั การบรกิ ารที่เปน็ ขอ้ กําหนดไว้ บรษิ ัท ได้
พิจารณา

a) กฎหมายและข้อกําหนดท่เี กยี่ วขอ้ ง
b) แนวโนม้ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนซง่ึ สมั พนั ธก์ ับการบริการ
c) ข้อกําหนดของลูกคา้
d) ข้อมลู ยอ้ นกลับจากลูกคา้

o ควบคุมของการเปลยี่ นแปลง
บริษัท ธรุ กิจโลจิสติกส์ไทย จํากัด ได้ทบทวนและควบคุมการเปล่ียนแปลงสําหรับการ

บรกิ ารตามขอบเขตท่ีจําเป็นเพือ่ ใหม้ น่ั ใจว่ายังมีความสอดคลอ้ งกบั ข้อกาํ หนดอยา่ งต่อเนือ่ ง บรษิ ัทได้จัดทําเอกสารข้อมูลท่ี
อธิบายถงึ ผลการทบทวนการเปลี่ยนแปลงบุคคลท่มี อี ํานาจหน้าท่ใี นการเปลีย่ นแปลงและกิจกรรมท่ีดาํ เนนิ การทีจ่ ําเปน็ จาก
ผลการทบทวนเหลา่ นนั้

 ตัวอยา่ งการตรวจติดตามการบริการขนส่งรถบรรทกุ
บริษทั ธุรกิจโลจสิ ตกิ สไทย จํากัด ได้ดําเนนิ ตามแผนงานท่กี าํ หนตไว้ทวนสอบการบริการมคี วาม

สอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนด
บริษทั ได้ ดาํ เนินการจัดทาํ เอกสารข้อมลู การตวจปล่อยการบรกิ ารเอกสารข้อมูลประกอบดว้ ย
a) หลักฐานแสดงความสอดคลอ้ งเทียบกบั เกณฑก์ ารยอมรับ
b) การสบื กลบั ไปยงั ผ้มู ีอาํ นาจในการตรวจปล่อย

62

63

 ตวั อย่างการควบคมุ ผลลพั ธ์ ที่ไม่ไปเป็นตามข้อกําหนด
บริษัท ธุรกจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด มนั่ ใจว่าผลลพั ธ์ทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกับขอ้ กาํ หนดได้รบั การชี้บ่งและ

ป้องกันไมใ่ ห้นาํ ไปใชห้ รือส่งมอบโดยไม่ไดต้ ั้งใจ
บริษัท ได้ ดําเนนิ การแก้ไขทีเ่ หมาะสกับลกั ษณะของสิง่ ที่ไม่เป็นไปตามข้อกําหนดและผลกระทบ

ของการบรกิ าร
บริษทั ได้ ดําเนนิ การกับผลจากกระบวนการทม่ี เ่ ป็นไปตามขอ้ กําหนด สินค้าและการบริการด้วย

วิธีการอย่างใดอย่างหน่ึงหรือมากกว่าดังนี้
a) การแก้ไข
b) การคดั แยก จัดเกบ็ ในพนื้ ท,่ี ส่งคืน หรอื การหยดุ ใช้ชั่วคราว ของผลติ ภณั ฑ์และการบริการ
c) แจง้ ใหล้ ูกคา้ ทราบ
d) ได้รบั การอนมุ ตั ิผ่อนผนั การใชง้ าน
เม่อื มีการแก้ขผลการดาํ เนินการ ต้องมีการทวนสอบความสอดคล้องกบั ข้อกําหนด
8.7.2 บรษิ ัท ได้ มกี ารจดั เกบ็ เอกสารข้อมูลดงั นี้
a) รายละเอียดความไมส่ อดคล้อง
b) รายละเอียดการดาํ เนนิ การ
c) รายละเอยี ดการขอผ่อนผนั ทไ่ี ดด้ าํ เนนิ การ
d) การระบุผ้รู ับผิดชอบในการตัดสนิ ใจดาํ เนินการกับความไม่สอดคล้อง

อ้างองิ ระเบียบปฏิบตั ิองค์กรควบคุมบรกิ ารพน้ื ทีว่ างแทงกเ์ คมี และขนสง่ แทงกเ์ คมี PM-OP-01

6.2.1.9 การประเมินสมรรถนะ
 ตวั อยา่ งการติดตาม ตรวจวดั วเิ คราะห์ และประเมนิ
o ทัว่ ไป
บริษัท ธรุ กิจโลจิสตกิ ส์ไทย จาํ กัด ได้พิจารณา
a) จุดทส่ี าํ คญั ในการตรวจติดตามและตรวจวัด
b) วิธกี ารในการตรวจติดตาม ตรวจวดั วิเคราะห์และประเมินทีจ่ าํ เปน็ เพือ่ ให้ม่ันใจถึงผลที่
ถูกตอ้ ง
c) ทําการติดตามและตรวจวดั ตามชว่ งเวลาท่กี าํ หนด
d) จะทําการวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ผลการตดิ ตามและ ตรวจวดั ตามชว่ งเวลาทกี่ ําหนด
บรษิ ัท ได้ทํา การประเมนิ สมรรถนะคุณภาพและประสิทธผิ ลของระบบบรหิ ารคณุ ภาพ
บริษทั ได้ เก็บรกั ษาเอกสารขม้ ูลทจี่ าํ เป็น ในฐานะหลักฐานของผลจากการดาํ เนินการ

64

 ความพึงพอใจลูกคา้
บริษัท ธรุ กิจโลจิสติกส์โหย จํากัด ได้ฝ้าติดตามข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับระดับการรับรู้ของลูกค้าท่ี

ลกู คา้ ต้องการและ ความคาดหวังของลูกคไ้ ด้รบั การเตมิ เต็ม บรษิ ัท ได้ กําหนดวธิ กี ารเพ่อื ทจี่ ะใหไ้ ดข้ ้อมูลเหล่านี้มาติดตาม
และทบทวน

 ตวั อยา่ งการวิเคราะห์และประเมินผล
บริษัท ธุรกิจโลจสิ ติกสไ์ ทย จาํ กัด ไดด้ าํ เนินการวิเคราะห์และประเมินผล ข้อมูลและผลที่ได้จาก

การตรวจติดตามและตรวจวัด ผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะหจ์ ะนาํ ไปใช้ประเมิน
a) ความสอดคลอ้ งการบริการและการบรกิ าร
b) ระดบั ความพงึ พอใจลกู ค้า
c) สมรรถนะและประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารคณุ ภาพ
d) ประสทิ ธผิ ลของแผนงาน
e) ประสทิ ธิผลของการดาํ เนินการะบุความเสีย่ งและโอกาส
f) สมรรถนะของผู้ให้การบรกิ ารภายนอก
g) ความจาํ เปน็ ในการปรับปรงุ ระบบบรหิ ารคุณภาพ

หมายเหตุ วิธกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลรวมถึงการใช้วธิ ีทางสถติ ิ

 ตัวอย่างการตรวจติดตามภายใน
บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ไทย จาํ กัด ได้ดาํ เนนิ การตรวจตดิ ตามภายใน ตามชว่ งเวลาทว่ี างแผนไว้

เพอ่ื ให้มีข้อมลู ของระบบบรหิ ารคุณภาพ
a) มคี วามสอดคล้องต่อ
1) ขอ้ กําหนดองค์กรสําหรบั ระบบบรหิ ารคุณภาพ
2) ข้อกาํ หนดมาตรฐานนานาชาติ ISO9001
b) การปฏิบัตแิ ละคงรักษาไวอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิผล

o ตวั อยา่ ง บรษิ ทั ธรุ กิจโลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัดได้
a) วางแผน จัดทํา นําไปปฏิบัติ และคงรกั ษาไว้ ตารางการตรวจติดตาม รวมถึงความถ่ี

วิธีการ ผู้รบั ผิดชอบขอ้ กําหนดในการวางแผน และการรายงานซึ่งจะพิจารณาจากวัตถุประสงค์คุณภาพความสําคัญของ
กระบวนการที่เกี่ยวขอ้ ง การเปลี่ยนแปลงทส่ี ่งผลต่อองคก์ ร และผลการตรวจติดตามครง้ั ทีผ่ า่ นมา

b) กาํ หนดเกณฑก์ ารตรวจติดตามและขอบเขตในแต่ละการตรวจติดตาม
c) การเลือกผตู้ รวจติดตามและการตรวจติดตาม ต้องให้มั่นใจว่าตรงตามวัตถุประสงค์
และมคี วามเปน็ กลางในขณะตรวจติดตาม
d) มน่ั ใจวา่ ผลการตรวจตดิ ตามได้ถกู รายงานไปยังผู้บรหิ ารหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง
e) ดาํ เนนิ การแกไ้ ขและปฏิบัตกิ ารแกไ้ ขโดยมใิ หล้ า่ ช้า

65

f) จดั เก็บเอกสารข้อมลู การตรวจติดตามไว้เปน็ หลกั ฐาน เพ่อื แสดงการดาํ เนนิ การตรวจ
ติดตามและ แสดงถึงผลการตรวจติดตาม

 ตัวอย่างการทบทวนโดยฝ่ายบรหิ าร
o ทว่ั ไป
ผบู้ ริหารสงู สดุ ทําการทบทวนระบบบรหิ ารคุณภาพขององคก์ ร ตามช่วงเวลาท่วี างแผนไว้

เพือ่ ให้มั่นใจวา่ มีความเหมาะสมอย่างตอ่ เนือ่ ง มคี วามพอเพียง มีประสทิ ธผิ ล แลมคี วามสอดคลอ้ งกับทศิ ทางกลยทุ ธข์ อง
บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ติกส์ไทย จาํ กดั

o ปัจจัยนาํ เข้าการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การทบทวนโดยฝ่ายบรหิ าร ไดร้ บั การวางแผนและดําเนินการ โดยคาํ นึงถึง
a) สถานะของการดําเนินการจากการทบทวนในครงั้ ท่ีผา่ นมา
b) ประเดน็ การเปลย่ี นแปลงภายในและภายนอกทีเ่ กยี่ วข้องกบั ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ
c) ข้อมูลสมรรถนะและประสทิ ธผิ ลระบบบริหารคณุ ภาพ รวมถงึ แนวโนม้ ข้อมูลจาก
1) ความพงึ พอใจของลกู คา้ และ ขอ้ มลู ตอบกลบั จาก ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียท่ี
เกย่ี วข้อง
2) ขอบเขตทไี่ ดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ด้านคุณภาพ
3) สมรรถนะของกระบวนการ และ ความสอดคลอ้ งของการบรหิ ารและการ
บริการ
4) ความไมส่ อดคล้องตามขอ้ กาํ หนต และ การปฏิบตั กิ ารแก้ไข
5) ผลจากการเฝา้ ติดตามและตรวจวดั
6) ผลการตรวจตดิ ตาม
7) สมรรถนะของผใู้ หก้ ารบริการภายนอก
d) ความเพยี งพอของทรพั ยากร
e) ประสิทธิผลการดาํ เนินการเพอ่ื ระบุความเสย่ี งและโอกาส
f) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

o ปัจจัยนําออกจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ผลจากการทบทวนโดยฝา่ ยบรหิ ารต้องรวมถึงการตดั สนิ ใจและการดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั
a) โอกาสในการปรบั ปรงุ
b) ความจาํ เปน็ ในการปรบั เปลีย่ นระบบบรหิ ารคุณภาพ
c) ทรพั ยากรท่จี าํ เปน็

บริษทั ไดค้ งไว้ซ่งึ เอกสารขอ้ มูลท่ีแสดงถงึ หลกั ฐานของผลลพั ธจ์ ากการทบทวนฝา่ ยบริหาร

66

6.2.1.10 การปรับปรงุ
 ทวั่ ไป
บริษทั ธุรกจิ โลจิติกสไ์ ทย จํากัด ได้พิจารณาและเลอื กโอกาสในการปรับปรงุ และดําเนินกจิ กรรม

ที่จาํ เป็นเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามข้อกําหนดลกู ค้าและยกระดับความพึงพอใจลูกคา้ ซงึ่ ประกอบดว้ ย
a) การปรบั ปรงุ การบรหิ ารและการบริการ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับความต้องการที่จะเกิดข้ึนใน
อนาคตและ ความคาดหวงั
b) การแกไ้ ข ปอ้ งกนั หรอื ลดผลกระทบท่ไี ม่พึงประสงค์
c) การปรบั ปรุงสมรรถนะและประสิทธผิ ล ของระบบบริหารคณุ ภาพ

 ตวั อย่างสง่ิ ทไ่ี มเ่ ป็นไปตามข้อกําหนดและการปฏิบัตกิ ารแก้ไข
เมอื่ พบสงิ่ ที่ไม่เปน็ ไปตามข้อกาํ หนด รวมถึงที่เกดิ ข้อรอ้ งเรยี น บรษิ ทั ธุรกจิ โลจิสตกิ ส์ไทย จาํ กัด ได้
a) ตอบสนองต่อสิง่ ท่ีไม่เป็นไปตามขอ้ กําหนด ตามความเหมาะสมดงั น้ี
1) ทําการควบคมุ และแก้ไข
2) ดําเนนิ การจดั การกับผลทีต่ ามมา
b) ประเมนิ ความจําเปน็ ในการปฏบิ ตั กิ ารสาํ หรับกาํ จัดสาเหตขุ องสงิ่ ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามข้อกาํ หนด
เพ่อื ปอ้ งกันไม่ให้เกิดข้ึนซํา้ หรอื เกิดขึ้นในบรเิ วณอนื่ ๆ โดย
1) ทบทวนและวเิ คราะหส์ ง่ิ ที่ไม่เปน็ ไปตามขอ้ กําหนดที่พบ
2) พิจารณาสาเหตขุ องสง่ิ ท่ีไมเ่ ปน็ ไปตามข้อกาํ หนดทพ่ี บ
3) พิจารณาสงิ่ ทไ่ี ม่เปน็ ไปตามขอ้ กาํ หนดท่ีใกล้เคยี งกัน หรอื มีโอกาสเกิดขึ้น
c) คาํ เนินการปฏิบตั กิ ารตามความจาํ เปน็
d) ทบทวนประสิทธผิ ลของการปฏิบตั กิ ารแก้ไข
e) ปรับปรุงรายการความเสยี่ งและโอกาสในชว่ งการวางแผน ตามความเหมาะสม
f) ปรับเปล่ียนระบบบริหารคุณภาพ ตามความเหมาะสม

การปฏบิ ัตกิ ารแกไ้ ขจะตอ้ งเหมาะกับผลกระทบของสงิ่ ที่ไมเ่ ปน็ ไปตามข้อกาํ หนดทพ่ี บ
 บรษิ ัท ไดจ้ ัดทาํ เอกสารข้อมลู เพอ่ื แสดงหลักฐานของ
a) สภาพของสงิ่ ทไี่ มเ่ ป็นไปตามข้อกาํ หนดและการปฏบิ ัติการที่เก่ียวขอ้ ง
b) ผลการปฏิบตั ิการแกไ้ ขใด ๆ
 ตวั อย่างการปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
บริษทั ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด ไดด้ าํ เนินการปรับปรงุ อย่างต่อเนื่องอย่างเหมาะสม เพียงพอ

และมปี ระสทิ ธิผลตอ่ ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ
บริษัท ได้พจิ ารณาผลลัพธ์จากการวเิ คราะห์และการประเมิน และผลจากการทบทวนโดยฝ่าย

บริหารเพ่ือพจิ ารณาความจาํ เปน็ หรอื โอกาส ที่ใชร้ ะบุเป็นส่วนหน่ึงของการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง

67

ตารางสรุปความสัมพนั ธ์ระหวา่ งข้อกาํ หนด เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง และหน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบ

ข้อกาํ หนด เอกสาร หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
4.1
4.2 QM-01 คมู่ ือคณุ ภาพ ฝา่ ยบริหาร/ทกุ หนว่ ยงาน
4.3
5.1 QM-01 คมู่ อื คณุ ภาพ ฝา่ ยบรหิ าร/ทกุ หน่วยงาน
5.2
5.3 QM-01 คมู่ ือคณุ ภาพ ฝา่ ยบรหิ าร/ทกุ หน่วยงาน
6.1
6.2 QM-01 ค่มู ือคณุ ภาพ ฝา่ ยบรหิ าร/ทุกหน่วยงาน
6.3
7.1.1 QM-01 คูม่ ือคุณภาพ ฝ่ายบรหิ าร/ทกุ หน่วยงาน
7.1.2
7.1.3 QM-01 คู่มือคุณภาพ/JD ฝา่ ยบริหาร/ทุกหนว่ ยงาน

7.1.4 QM-01 คมู่ อื คุณภาพ ฝ่ายบรหิ าร/ทกุ หนว่ ยงาน

7.1.5 PM-MR-01 ความรบั ผิดชอบดา้ นการบรหิ าร ฝา่ ยบรหิ าร/ทกุ หนว่ ยงาน

7.1.6 PM-MR-01 ความรบั ผดิ ชอบดา้ นการบรหิ าร ฝ่ายบริหาร/ทกุ หนว่ ยงาน
7.2
-- -
7.3
PM-HR-01 การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
7.4
7.5 PM-MA-01 การซอ่ มบํารุง ฝา่ ยขนสง่

8.1 PM-SA-01 การบริหารงานชวี อนามัยและความปลอดภัย งานความปลอดภัย

8.2 PM-OP-01 เร่อื งการควบคุมกระบวนการใหเ้ ช่าพ้นื ที่วางแทงก์ ฝา่ ยขนส่ง
8.3 เคมีและขนส่งแทงก์เคมี

8.4 PM-OP-01 เรื่องการควบคมุ กระบวนการให้เช่าพืน้ ที่วางแทงก์ ฝา่ ยขนสง่
เคมแี ละขนส่งแทงกเ์ คมี
8.5.1
PM-HR-01 การบริหารทรพั ยากรมนุษย์ งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
8.5.2
PM-HR-01 การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ งานบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์

PM-OP-01 เรอ่ื งการควบตุมกระบวนการให้เชา่ พืน้ ที่วางแทงก์ Operation
เคมีและขนส่งแทงก์เคมี

QM-01 คมู่ ือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร/ทุกหนว่ ยงาน

PM-DC-01 การควบคุมเอกสารและข้อมูล งานควบคุมเอกสารขอ้ มลู

เร่ืองการควบคมุ กระบวนการให้เช่าพน้ื ที่วางแทงก์ ฝ่ายขนส่ง
เคมีและขนส่งแทงก์เคมี

PM-MK-01 การประสานงานขายงานบรกิ าร งานบรหิ ารงานขาย

-- -

PM-OP-01 เรือ่ งการควบคุมกระบวนการใหเ้ ชา่ พ้ืนที่วางแทงก์ ฝ่ายขนส่ง
เคมแี ละขนส่งแทงก์เคมี

PM-OP-01 เรอ่ื งการควบคุมกระบวนการใหเ้ ชา่ พ้ืนทว่ี างแทงก์ ฝา่ ยขนสง่
เคมีและขนสง่ แทงกเ์ คมี

PM-OP-01 เรื่องการควบคมุ กระบวนการให้เชา่ พื้นทวี่ างแทงก์ ฝ่ายขนสง่

68

ข้อกําหนด PM-OP-01 เอกสาร หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ
เคมีและขนสง่ แทงกเ์ คมี
8.5.3 PM-OP-01 เรอ่ื งการควบคมุ กระบวนการใหเ้ ชา่ พนื้ ที่วางแทงก์ ฝ่ายขนสง่
เคมีและขนสง่ แทงกเ์ คมี
8.5.4 PM-OP-01 เร่อื งการควบคุมกระบวนการใหเ้ ชา่ พื้นทวี่ างแทงก์ ฝ่ายขนสง่
เคมแี ละขนสง่ แทงก์เคมี
8.5.5 PM-MK-01 เรอ่ื งการควบคุมกระบวนการให้เช่าพื้นทว่ี างแทงก์ ฝ่ายขนส่ง
8.5.6 เคมีและขนส่งแทงก์เคมี งานบรหิ ารงานขาย
8.6 PM-OP-01 การประสานงานขายงานบรกิ าร
เร่อื งการควบคมุ กระบวนการใหเ้ ช่าพน้ื ที่วางแทงก์ ฝ่ายขนสง่
8.7 PM-OP-01 เคมแี ละขนส่งแทงกเ์ คมี
เรอ่ื งการควบคุมกระบวนการให้เช่าพนื้ ที่วางแทงก์ ฝา่ ยขนสง่
9.1 PM-MK-01 เคมแี ละขนสง่ แทงกเ์ คมี งานบรหิ ารงานขาย
9.2 PM-MR-01 การประสานงานขายงานบรกิ าร ฝ่ายบริหาร/ทกุ หนว่ ยงาน
9.3 PM-MR-02 ความรับผดิ ชอบดา้ นการบรหิ าร ฝ่ายบริหาร/ทุกหน่วยงาน
10.1 PM-MR-01 การตรวจติดตามคณุ ภาพภายใน ฝ่ายบริหาร/ทุกหนว่ ยงาน
10.2 ความรับผดิ ชอบดา้ นการบรหิ าร
10.3 - -
PM-MR-03 - ฝา่ ยบรหิ าร/ทกุ หน่วยงาน
PM-MR-01 การปฏิบัตกิ ารแกไ้ ข ฝา่ ยบริหาร/ทกุ หน่วยงาน
ความรับผิดชอบดา้ นการบรหิ าร

69

เอกสารอ้างองิ และเอกสารอื่นๆ ที่นา่ สนใจในการพัฒนาธุรกจิ ให้บรกิ ารโลจิสตกิ ส์

1) สํานกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, 2561.การบริหาร ระบบโลจิสติกส์. (ระบบ
ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.sme.go.th/upload/ mod download/03-001 การบริหารระบบ
โลจสิ ตกิ ส์ PDF. (17 สงิ หาคม 2561)

2) Logistics Performance Index 2018. 2018. World Bank. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา
https://loi.Worldbank.org/internationa/globa/2018. (17 สิงหาคม 2561)

3) What is Logistics Management? Definition & Importance in Supply Chain. 2559
Academy for International Modern Studies (AIMS). [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า
https://www.youtube.com/watch?v=4-QU7WiVxh8. (17 สิงหาคม 2561)

4) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2561, ธรุ กิจบริการ: โลจิสตกิ ส์ [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า
https://www.dtn.go.th/files/94/Media/Mk/ Logis29-05-55.pdf. (17 สิงหาคม 2561)

5) สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2561, แผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนา
ระบบโลจสิ ติกส์ของประเทศไทย ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ.2560 - 2564) [ระบบออนไลน์].
http://www.nesdb.go.th/ewt_d_link.php?nid=6923. (17 สิงหาคม 2561)

6) CLECAT European Association for Forwarding, Transport, Logistics and Customs
Services. 2561. Logistics Best Practice Guide. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า
https://www.clecat.org/media/srO04osust091104c ecatbpgV.1.0.pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

7) PLS Logistics Services. 2561. Logistics Management Best Practices. [ระบบออนไลน์].
แหล่งท่ีมา https://www.logisticsmgmt.com/ wp Content/pls wp best practices 092915.pdf. (17
สิงหาคม 2561)

8) British International Fridge Association. 2561. Good Practices for Sustainable
logistics. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า https://bifa.org/ media/3777747/best-practice-for-
environmental-management-andenvironmental-policy.pdf (17 สงิ หาคม 2561)

9) สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 2561 รายงานโลจสิ ติกส์ของประเทศ
ไทยประจาํ ปี 2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt du link.php?nid=6097.
(17 สิงหาคม 2561)

10) สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ 2561, รายงานโลจิสตกิ สข์ อง
ประเทศไทยประจาํ ปี 2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่มี า http://www.nesdb.go.th/ewt du
link.php?nid=6854. (17 สิงหาคม 2561)

70

11) ศูนยว์ ิจยั กสิกรไทย. 2561. E-Commerce แรงไมต่ ก ดนั โลจิสติกส์โต. [ระบบออนไลน์].
แหลง่ ที่มาhttps://www.kasikornbank.com/th/business/sme/
KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/E-Commerce_Logistic. pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

12) PricewaterhouseCoopers. 2561. Shifting patterns: The future of logistics Industry.
[ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า https://www.pwC.com/gx/en/ transportation-logistics/pdf/the-future-of-
the-logistics-industry.pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

13) Martin Christopher. 2561. Logistics & Supply Chain Management, Fourth Edition,
Financial Times Prentice Hal. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.mim.ac.mw/books/Christopher's Logistics and Supply Chain Management Creating
Value Adding networks.pdf. (17 สิงหาคม 2561)

14) The Chartered Institute of Logistics and Transport (UK). 2561. Green Logistics:
Improving the environmental sustainability of logistics. [SSUU ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า
https://s3.amazonaws.com/academia.edu.
documents/35553891/0749456787.pdf?AWSAccessKeyld=AKIAIWOWYYGZ2
Y53UL3A&Expires=1534405828&Signature=K2SQ%2F%2B6FkmapsQEnkelNa
3CCqpg%3D&response-content-disposition=inline%3B filename%3DGreen_ Logistics Improving
the Environmen.pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

15) สํานกั โลจสิ ตกิ สก์ ารคา้ กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก. 2561. คมู่ อื การประกอบ ธรุ กจิ โลจิสตกิ สใ์ น
สปป.ลาว. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทีม่ า http://aec.utcc.ac.th/ wp-content/uploads/2016/08/Doing
Business-in-LAOS.pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

16) ศูนย์พฒั นาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสาํ นกั งาน สง่ เสรมิ การคา้ ใน
ตา่ งประเทศ ณ นครโฮจิมินห.์ 2561. ธรุ กิจโลจสิ ตกิ สข์ องเวยี ดนาม. [ระบบออนไลน]์ .
แหลง่ ท่ีมา http://www.ditp.go.th/contents attach/ 200480/200480.pdf. (17 สงิ หาคม 2561)

17) กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน, 2561. การพัฒนาธรุ กจิ โลจิสตกิ ส์เพ่ือเขา้ ส่ปู ระชาคม
เศรษฐกิจอาเซยี น. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งที่มา www.dsd. go.th/webdp/Region/Download Km/1503.
(17 สงิ หาคม 2561)

18) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน, 2561. หลักสตู รและเอกสาร ประกอบการฝกึ อบรม
หลักสตู รโลจิสติกส.์ [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า
http://www.dsd.go.th/DSD/TrainingOcc?document_type=3&page=1. (17 สงิ หาคม 2561)

71


Click to View FlipBook Version