The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thai logistics, 2020-09-03 00:15:15

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

คู่มือการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO9001_ 2563

¤‹ÁÙ ×Í

¡ÒþѲ¹Ò¸ÃØ ¡¨Ô ãËŒºÃÔ¡ÒÃâŨÔʵ¡Ô Êʏ Ù‹Áҵðҹ ISO 9001

LOGISTICS

cloud service
LOGISTICS

บทนํา

ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ เป็นหนึ่งในธุรกิจบริการท่ีอยู่ภายใต้กรอบ AFAS (ASEAN Framework
Agreement on Services: AFAS) ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ซึ่งในสภาวการณท์ ่กี ารแข่งขันภายใต้ระบบ
การคา้ เสรีทวีความเข้มข้นมากขึน้ และ ประเทศไทยเองกม็ กี ารเชือ่ มโยงการค้ากบั ประเทศเพื่อนบ้านเพ่ิมขึ้นอย่าง
ต่อเนือ่ งน้นั ภาคธรุ กิจจําเปน็ ท่ีจะต้องปรบั ตวั เพอ่ื ให้ธรุ กจิ สามารถอย่รู อดและสามารถแขง่ ขันกับ ธรุ กจิ ตา่ งชาติได้
โดยเฉพาะดา้ นการบริหารจดั การองค์กร กระบวนการใหบ้ ริการแกล่ ูกค้า รวมทั้งความรทู้ างด้านเทคโนโลยีในการ
เพิ่มประสิทธภิ าพการบริการ เปน็ ตน้

กรมพฒั นาธรุ กิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญและตระหนัก ถึงการเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งและความสาํ เรจ็ ใหก้ บั ภาคธรุ กิจ จึงได้ดาํ เนินโครงการ พฒั นาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน
ISO 9001 ภายใต้โครงการพฒั นาศกั ยภาพผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ไทยรองรับการขยายตัวภาคการค้าและบริการ
ปีงบประมาณ 2563 เพื่อพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้มีระบบการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสากล เป็นที่น่าเช่ือถือและได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศ และ
ต่างประเทศ รวมถึงไดจ้ ดั ทาํ คู่มือเล่มน้ีขึ้น เพ่ือเป็นแนวทางสําหรับธุรกิจ ให้บริการโลจิสติกส์ที่ต้องการพัฒนา
ระบบบรหิ ารงานขององคก์ รสมู่ าตรฐาน ISO 9001 ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น และเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา
ระบบการจัดการและขอรับการรับรองมาตรฐานสากลดังกล่าวต่อไป โดยเนื้อหาในคู่มือเล่มน้ีประกอบด้วย
การส่งเสริมธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ระบบมาตรฐาน ISO 9001 กับธุรกิจ
ให้บริการโลจสิ ตกิ ส์ และแนวทางการพัฒนาธุรกจิ ให้บรกิ ารโลจิสตกิ สเ์ พ่ือการพัฒนาองคก์ รส่มู าตรฐาน ISO 9001

สิงหาคม 2563

สารบญั 2
5
บทท่ี 1 การส่งเสรมิ และพัฒนาธุรกจิ ให้บรกิ ารโลจสิ ติกส์ของกรมพัฒนาธุรกิจการคา้ 14
บทที่ 2 ระบบมาตรฐาน ISO 9001 ธรุ กิจให้บรกิ ารโลจิสตกิ ส์
บทที่ 3 การประเมนิ ตนเอง (Self-assessment) เพ่ือการพัฒนาองคก์ ร 18
24
ส่มู าตรฐาน ISO 9001 36
บทที่ 4 แนวทางการพฒั นาธรุ กจิ ใหบ้ รกิ ารโลจสิ ติกส์
บทที่ 5 แนวโนม้ และการประยุกต์เทคโนโลยเี กีย่ วกบั ธุรกิจบรกิ ารโลจสิ ตกิ สใ์ นอนาคต
บทที่ 6 การพัฒนาธุรกจิ ใหบ้ ริการโลจิสตกิ สใ์ หไ้ ดก้ ารรับรองตามมาตรฐาน ISO9001

1

บทท่ี 1 การส่งเสริมและพฒั นาธุรกิจให้บรกิ ารโลจิสติกส์ของกรมพฒั นาธุรกจิ การค้า

1.1 ความเปน็ มา

การใหบ้ ริการโลจสิ ตกิ ส์เปน็ กระบวนการทส่ี ําคัญท่ีจะช่วยเพิ่มประสทิ ธภิ าพ การทํางาน และมบี ทบาท
สาํ คัญตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ เพราะธุรกิจให้บริการโลจสิ ตกิ ส์หมายรวมถงึ ธรุ กิจให้บริการขนส่งและ
ขนถ่ายสินค้า บรกิ ารคลังสินคา้ ธุรกิจตัวแทนของพิธกี ารทางศลุ กากร และธุรกจิ รับจดั การขนส่งระหว่างประเทศ
ครอบคลุมการเคลือ่ นย้ายสินคา้ และบริการ การเก็บสินค้า การบริการให้กับธุรกิจการค้า การผลิต การส่งออก
และการบรกิ ารทุกประเภท ดังนั้น ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ จึงมีความสําคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
สามารถเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน และเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ธุรกิจอ่ืนๆ อันจะก่อให้เกิดการ
ขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และเพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ประเทศ

ธรุ กิจให้บริการโลจิสตกิ สเ์ ปน็ สาขาธุรกจิ ที่ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ให้ความสําคัญ โดยเป็น
1 ใน 5 สาขาบริการทเ่ี ร่งรดั เปิดเสรี ภายใต้กรอบความตกลงการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework
Agreement on Services: AFAS) จึงถือได้ว่าธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์เป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง ซึ่งธุรกิจ
ให้บริการโลจสิ ตกิ สข์ องไทยส่วนใหญ่เป็นธรุ กิจขนาดกลางและขนาดเล็กท่ยี ังตอ้ งพัฒนาศกั ยภาพ ให้ได้มาตรฐาน
และยังขาดความสามารถในการดาํ เนนิ กจิ กรรมการตลาดเชงิ รกุ ทง้ั ในและต่างประเทศ ไม่สามารถตอบสนองต่อ
การเปลยี่ นแปลง ขาดการนําเทคโนโลยีและนวตั กรรมใหม่ไปใชใ้ นการประกอบธุรกิจ และเข้าไม่ถึงแหล่งเงินทุน
ส่งผลให้ธุรกิจไทยยังไม่สามารถแขง่ ขันกบั ธุรกิจต่างชาติซึง่ ได้เปรยี บด้านเงนิ ทุนและเทคโนโลยี

จากความสําคญั และข้อจํากดั ทางการแข่งขันของธุรกจิ ให้บริการโลจิสติกส์ ข้างต้น กรมพัฒนาธุรกิจ
การค้า กระทรวงพาณิชยไ์ ด้ตระหนักถึงภารกิจที่สําคญั ทจี่ ะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความสําเร็จให้กับธุรกิจ
ให้บริการโลจิสตกิ ส์ กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ จึงไดม้ ีการจดั ทาํ โครงการพฒั นาธรุ กจิ ใหบ้ รกิ ารโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน
ISO 9001 มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตัง้ แต่ปี 2553 เพ่อื กระตนุ้ ใหผ้ ู้ประกอบธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ตระหนัก ถึงโอกาส
และความสาํ คัญของการนําระบบการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากลมาปรับใช้ในองค์กร โดยมีจุดมุ่งหมายให้
ธุรกจิ ให้บริการโลจิสตกิ ส์ไทย มีประสทิ ธิภาพสงู ยิ่งข้นึ สามารถสร้างความเชอื่ มั่นในคณุ ภาพการบริการ ให้เป็นท่ี
ยอมรบั ในระดบั สากล โดยในปี 2563 กรมพัฒนาธรุ กิจการค้า ได้จดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์
สมู่ าตรฐาน ISO 9001 ภายใต้โครงการพฒั นาศักยภาพผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยรองรับการขยายตัวภาคการค้า
และบรกิ าร ปีงบประมาณ 2563 ขึ้น เพื่อผลักดันให้ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ มีมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับ
และเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน โดยมีวัตถุประสงค์ แนวทาง การดําเนินงาน และผลท่ีคาดว่าจะได้รับ
ดงั ต่อไปนี้

2

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
1) เพื่อพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ให้มีระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

ISO 9001: 2015
2) เพอ่ื ใหธ้ รุ กิจให้บริการโลจิสตกิ ส์ เปน็ ที่น่าเชอ่ื ถือและได้รบั การยอมรับ จากผู้ใชบ้ ริการ
3) เพือ่ ให้ธรุ กิจให้บริการโลจสิ ติกส์ มีขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในระดับสากล

1.3 แนวทางการดาํ เนนิ งาน
1) ประเมินวเิ คราะหศ์ ักยภาพธุรกิจใหบ้ ริการโลจสิ ตกิ ส์พรอ้ มทง้ั คัดเลือกธุรกจิ ท่ีมีศกั ยภาพ เพ่ือเข้ารับ

การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน ISO 9001
2) ใหค้ ําปรึกษาแนะนําเชิงปฏิบตั กิ ารพร้อมท้ังให้คําปรึกษาแนะนําการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการ

ปฏิบัตงิ านจรงิ ณ สถานประกอบการ
3) สร้าง พัฒนา และปรับปรุงระบบการบริหารจัดการแก่ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ ทําให้ธุรกิจ

ให้บรกิ ารโลจสิ ตกิ ส์ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐาน ISO 9001
4) ตรวจประเมนิ ผลการพัฒนาธรุ กิจตามเกณฑม์ าตรฐาน ISO 9001

1.4 ประโยชน์ที่ผปู้ ระกอบการจะไดร้ บั
สามารถนําระบบมาตรฐานสากล ISO 9001 มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ เพ่ือที่จะ

ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อพนักงาน ตอ่ องคก์ ร รวมทั้งลกู ค้า ดงั นี้

1.4.1 ประโยชนต์ อ่ พนักงาน
• มสี ว่ นรว่ มในการดําเนนิ งานของระบบคณุ ภาพ
• มจี ิตสํานกึ ในเร่ืองคุณภาพมากขึ้น
• การปฏิบตั งิ านมรี ะบบ และมีขอบเขตที่ชดั เจน
• พฒั นาการทํางานเปน็ ทีมหรือเป็นกลุม่

1.4.2 ประโยชนต์ อ่ องคก์ ร
• พฒั นาองคก์ ร การบริหารงาน ตลอดจนการบรหิ ารใหเ้ ปน็ ไปอย่างมีระบบ และมี
ประสิทธิภาพ
• เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั รองรับการเปิดเสรีภาคบรกิ ารโลจิสตกิ ส์
• ขจัดปญั หาข้อโต้แย้ง และการกดี กนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ
• ทาํ ใหภ้ าพลักษณข์ ององค์กรดีขนึ้
• ช่วยประหยดั ต้นทนุ ในการดาํ เนนิ งานซ่ึงเกดิ จากการทาํ งานอยา่ งมรี ะบบ มีประสิทธิภาพ
มากข้ึน

3

1.4.3 ประโยชนต์ ่อลูกค้า
• ช่วยใหม้ นั่ ใจในผลิตภัณฑ์ หรอื บรกิ าร

4

บทที่ 2 ระบบมาตรฐาน ISO 9001 กับธุรกิจใหบ้ ริการโลจิสติกส์

การบรหิ ารจดั การโลจิสตกิ ส์ เปน็ กระบวนการทาํ งานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การวางแผน การดําเนินการ
และการควบคมุ การทาํ งานขององคก์ ร รวมทัง้ การบริหาร จดั การขอ้ มูลและธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้เกดิ
การเคล่ือนย้ายการจัดเก็บ การรวบรวม การกระจายสินค้าวัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ และการบริการให้มี
ประสิทธภิ าพ และประสิทธิผลสูงสดุ โดยคาํ นึงถึงความต้องการและความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสําคัญ โดยใน
ปจั จบุ ันถือว่าการบรหิ ารจัดการโลจสิ ติกส์เปน็ กระบวนการย่อยหนง่ึ ในการจัดการสินค้า และบริการตลอดสายของ
โซ่อปุ ทาน (Supply Chain Management)

การบริหารจดั การโลจสิ ติกส์มีความเก่ียวข้องกับบุคคลต้ังแต่ผู้ผลิต วัตถุดิบ โรงงานแปรรูป ผู้ค้าส่ง
ผูค้ า้ ปลีก จนถงึ ผบู้ รโิ ภคในขณะที่กจิ กรรมหลกั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกม็ ี หลากหลาย เช่น การขนสง่ การบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั
การสง่ั ซอ้ื การบริหารขอ้ มูล และ กิจกรรมดา้ นการเงนิ นอกจากน้ี ยังมีกิจกรรมเสริมอื่นๆ อีก ได้แก่ การบริหาร
คลังสินคา้ การดแู ลสนิ ค้า การจัดซ้อื การบรรจุหบี หอ่ และรวมถงึ การบรหิ ารความต้องการของลูกค้า นอกจากน้ี
กระบวนการของระบบโลจิสติกส์ยังเกดิ ขนึ้ ผ่านธุรกิจให้บริการ นําส่งสินค้า และบริการ ผ่านรูปแบบขนส่งต่างๆ
โดยมีผใู้ ห้บรกิ ารธุรกิจเฉพาะด้าน (Service Provider) ของแต่ละกิจกรรมเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน มี
โครงสรา้ งพ้นื ฐานของระบบ คอื เครือข่ายการขนส่ง การคมนาคม ส่ือสารข้อมูลและการเงิน มีปัจจัยกํากับและ
สนบั สนุน คอื กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และขอบเขตมีความครอบคลุมท้ังภาครัฐ และเอกชนท้ังระดับท้องถิ่นใน
ประเทศจนถึงระดับโลก ท้ังหมดน้ีเพ่ือนําไปสู่การสร้างความพอใจสูงสุดกับลูกค้าโดยการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธภิ าพ

การนาํ มาตรฐาน ISO 9001 มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ นอกจากจะทําให้องค์กรมี
กระบวนการบริการทม่ี ีประสิทธภิ าพ ดําเนนิ กิจกรรมอยา่ งเปน็ ระบบ สร้างการยอมรับของลูกค้าขององค์กรแล้ว
ยังจะสง่ ผลต่อธรุ กจิ อ่ืนๆ ที่มคี วามตอ่ เนื่องกัน ตลอดห่วงโซ่ด้วย ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในภาพรวม
ของประเทศตอ่ ไป

2.1 ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001
ISO 9000 Series Standard คือ ชุดมาตรฐานสากลที่เกี่ยวกับการบริหารงานคุณภาพ (Quality

Management) มาตรฐานเหล่าน้ใี ห้ขอ้ แนะนําและเป็นเครื่องมือ แก่องค์กรที่มีความต้องการท่ีจะทําให้มั่นใจว่า
สินค้าและบริการมีความสอดคล้องกับ ข้อกําหนดของลูกค้าอย่างสมํ่าเสมอ ISO 9000 Family ประกอบด้วย
มาตรฐานสากลตา่ งๆ ได้แก่

• มาตรฐานสากล ISO 9000 ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ: หลักการพื้นฐานและ คําศพั ท์
• มาตรฐานสากล ISO 9001 ระบบบริหารคุณภาพ: ข้อกาํ หนด
• มาตรฐานสากล ISO 9004 ระบบบริหารคุณภาพ: แนวทางสาํ หรับปรบั ปรงุ สมรรถนะ
• มาตรฐานสากล ISO 19011 แนวทางการตรวจประเมินระบบบรหิ ารจดั การ

5

มาตรฐาน ISO 9001 จัดทาํ ข้ึนโดย International Standardization and Organization (ISO) ซ่ึง
เป็นองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานเป็นหน่วยงานระดับสากล ท่ีจัดทํามาตรฐานแบบสมัครใจ
(Voluntary standards) ต่างๆ เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ธรุ กจิ ทุกประเภทได้นาํ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนาการผลิต การสง่
มอบสนิ ค้าและบรกิ าร ทม่ี ีประสิทธภิ าพ อีกท้ังยังสง่ เสริมให้การค้าระหว่างประเทศเป็นไปได้ง่ายขึ้น ข้อกําหนด
ระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO9001 ประกาศใช้คร้งั แรกเมื่อปี 1987 แต่ยังไม่เป็นท่ีแพร่หลายในไทยนักต่อมามีการ
ปรับเปลี่ยนรายละเอียดของข้อกําหนดอีก 4 คร้ัง ในปี 1994 ปี 2000 ปี 2008 และคร้ังล่าสุดได้ปรับเป็น
ISO9001:2015 เมือ่ เดือนกนั ยายน 2558

หลักการของการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management Principle: QMP) ที่ทําให้การบริหารระบบ
คณุ ภาพประสบผลสาํ เรจ็ ประกอบดว้ ยหลกั การ 7 ประการดงั น้ี

หลักการที่ 1: ให้ความสาํ คัญแก่ลูกค้า (Customer Focus)
องค์กรต้องพง่ึ พิงลูกค้าเพอื่ ความอยรู่ อด ดังนั้นจึงควรทําความเข้าใจความต้องการของลูกค้าท้ังในส่วนปัจจุบัน
และอนาคต และทาํ ใหบ้ รรลุความต้องการ เหล่าน้ัน รวมถงึ การพยายามทีจ่ ะทาํ ใหไ้ ดเ้ กินความคาดหวงั ของลกู คา้

หลกั การท่ี 2: ความเป็นผู้นํา (Leadership)
ผูน้ าํ เป็นผู้กาํ หนดความเป็นเอกภาพของวตั ถุประสงคแ์ ละทิศทางขององคก์ ร
ผู้นําต้องเป็นผู้สร้างและธํารงไว้ซ่ึงปัจจัยเกื้อหนุนภายในท่ีสนับสนุนให้ทุกคนสามารถ มีส่วนร่วมและส่งเสริม
การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ขององค์กรด้วย

หลักการท่ี 3: การมีส่วนร่วมของบคุ ลากร (Engagement of people)
พนกั งานทุกระดับถือเป็นหัวใจสําคัญขององค์กรและการให้ความร่วมมืออยา่ งเต็มท่แี ละเต็มความสามารถของ
พนักงานทุกคน ย่อมก่อให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่องคก์ ร

หลกั การท่ี 4: การบรหิ ารเชงิ กระบวนการ (Process approach)
ผลลัพธท์ ่ตี อ้ งการสามารถบรรลุได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพกต็ อ่ เมอ่ื ทรพั ยากร และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องได้รับการ
บริหารจดั การอยา่ งเป็นกระบวนการ

หลักการที่ 5: การปรบั ปรงุ อย่างต่อเนอื่ ง (Improvement)
การปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนอื่ งควรไดร้ บั การกาํ หนดให้เป็นวัตถุประสงคถ์ าวร ขององค์กร

หลักการที่ 6: การตดั สินบนพ้นื ฐานของหลกั ฐาน (Evidence-based decision making)
การตัดสนิ ใจทีท่ รงประสทิ ธภิ าพ ควรดําเนินการบนพ้ืนฐานของหลักฐาน

หลกั การที่ 7: การบรหิ ารจดั การความสัมพนั ธ์เพ่ือประโยชนร์ ว่ มกัน (Relationship
management)
องค์กรและผู้สง่ มอบต่างตอ้ งพึ่งพาอาศัยกัน และการมคี วามสัมพนั ธใ์ นเชงิ ผู้เกื้อกูลผลประโยชนจ์ ะชว่ ยส่งเสริม
ความสามารถในการสรา้ งคุณค่าของทั้งสองฝา่ ย

6

หลักการของการบรหิ ารงานคุณภาพ 7 ประการ

ISO 9001 มีขอ้ กําหนดพืน้ ฐานสาํ หรบั ระบบการจัดการคุณภาพ (Quality management System:
QMS) ซึง่ องค์กรต้องดาํ เนินการใหส้ อดคลอ้ งกับขอ้ กาํ หนด ดงั กลา่ ว เพื่อให้การส่งมอบสนิ คา้ หรือบริการเป็นที่พึง
พอใจของลูกค้า และเป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ และขอ้ บงั คบั ตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้อง รูปแบบของมาตรฐาน ISO
9001 ถูกพัฒนาขึ้นใหส้ ามารถใชไ้ ดใ้ นทกุ ประเภทธุรกจิ ดว้ ยเน้อื หาท่งี า่ ยตอ่ การนําไปใชง้ าน ซง่ึ องค์กรท่ีนําระบบ
มาใช้สามารถขอรบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9001 กบั หน่วยงานตรวจประเมิน (Certification Body: CB) เพื่อ
แสดงว่าระบบบรหิ ารคณุ ภาพมคี วามสอดคล้องกับขอ้ กําหนดของมาตรฐาน ISO 9001

โครงสร้างข้อกําหนดมาตรฐาน ISO9001:2015 ประกอบไปดว้ ยข้อกาํ หนด 10 ข้อ โดยขอ้ กําหนด
ทอ่ี งค์กรต้องนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ คอื ข้อกําหนดที่ 4 ถึง ขอ้ กําหนดท่ี 10

ISO 9001: 2015
1. ขอบขา่ ย (scope)
2. เอกสารอา้ งองิ (Normative Reference)
3. นยิ ามและคาํ ศัพท์ (Terms and definitions)
4. บริบทขององค์กร (Context of organization)
5. การนําองคก์ ร (Leadership)
6. การวางแผน (Planning)
7. การสนบั สนนุ (Support)
8. การปฏบิ ัตกิ าร (Operation)

7

ISO 9001: 2015
9. การประเมนิ สมรรถนะ (Performance Evaluation)
10. การปรบั ปรงุ (Improvement)

รายละเอียดโดยสรุปของแต่ละข้อกําหนด ISO9001:2015 ท่ีองคก์ รตอ้ งจัดทาํ มีดังนี้
1. ขอบขา่ ย (Scope)
ขอ้ กาํ หนดนีใ้ ช้เฉพาะกับระบบบริหารคณุ ภาพขององคก์ ร

• องค์กรต้องแสดงถึงความสามารถในการส่งมอบสินค้าหรือบริการท่ีตรงกับข้อกําหนดของลูกค้า
กฎหมาย/ข้อบังคบั

• องค์กรต้องมุ่งมน่ั ทีจ่ ะยกระดับความพึงพอใจลูกคา้

2. เอกสารอา้ งอิง (Normative Reference)
• มาตรฐานนอี้ า้ งองิ จาก ISO 9001:2015 หลกั การและคําศัพท์

3. นิยามและคาํ ศัพท์ (Terms and Definitions)
• อา้ งองิ ตาม ISO 9001:2015 หลักการและคาํ ศพั ท์

4. บรบิ ทขององคก์ ร (Context of organization) องคก์ รต้องดําเนินการ โดยสรปุ ดังนี้
• กําหนดประเด็นภายในและประเด็นภายนอก (External and Internal issues) ท่ีเก่ียวข้องกับ

วตั ถุประสงค์ และทิศทางเชงิ กลยุทธ์ รวมถึงการสง่ ผลกระทบต่อความสามารถในการบรรลุผลของระบบบริหาร
คุณภาพ (QMS) ท้งั นอ้ี งค์กรจะตอ้ งติดตาม ทบทวนข้อมูลประเดน็ ภายในและประเด็นภายนอกน้นั

• กําหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Interested Parties) รวมถึงข้อกําหนด ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่
เกย่ี วขอ้ งกับ QMS ทัง้ นอ้ี งคก์ รจะตอ้ งตดิ ตาม ทบทวนข้อมูล ของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี และข้อกาํ หนดทีเ่ ก่ยี วข้องน้นั

• ระบุขอบเขต (Boundaries) และขอบข่าย (Scope) ในการจัดทํา QMS ขององค์กร โดยจะต้อง
คาํ นึงถงึ ปัจจัยภายในและปจั จัยภายนอก ข้อกําหนดของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังผลิตภัณฑ์ หรือ
บริการขององค์กร

• ประยุกตใ์ ชข้ อ้ กาํ หนดท้งั หมดตามมาตรฐาน ISO9001 ท่สี ามารถประยุกต์ ใช้ได้ ภายใต้ Scope ที่
กําหนด และจัดทําเป็นเอกสารข้อมูล (Documented information) โดย Scope ต้องระบุถึงผลิตภัณฑ์หรือ
บริการท่ีเก่ียวข้อง กรณีที่มีข้อกําหนดที่ไม่ถูกนํามา ประยุกต์ใช้ ต้องอธิบายเหตุผล ซ่ึงการละเว้นข้อกําหนด
ดงั กล่าวตอ้ งไม่สง่ ผลกระทบต่อความสามารถหรือความรับผิดชอบขององคก์ รทีม่ ีต่อความสอดคลอ้ งตอ่ ข้อกําหนด
ของผลิตภัณฑ์หรอื บรกิ าร

• จดั ทาํ นาํ ไปปฏิบัติ คงรักษา และปรับปรุง QMS รวมถึงกระบวนการ ที่จําเป็นแต่ละกระบวนการ
เพื่อให้สอดคลอ้ งกับขอ้ กาํ หนด

8

5. การนาํ องค์กร (Leadership) ผู้บริหารระดับสูงต้องแสดงให้เห็นถึงการนํา องค์กรและความมุ่งม่ัน โดยมี
รายละเอียด สรุปดังนี้

• แสดงใหเ้ ห็นถงึ การนาํ องค์กรและความม่งุ มัน่ โดยการแสดงถึงความรับผิด ชอบต่อประสิทธิผลของ
QMS การจัดทํานโยบายคุณภาพ และวัตถุประสงค์คุณภาพ ที่สอดคล้องกับทิศทางเชิงกลยุทธ์และบริบทของ
องคก์ ร

• แสดงถึงภาวะผู้นํา และความมุ่งม่ันในการมุ่งเน้นลูกค้า โดยทําให้ม่ันใจว่า ข้อกําหนดของลูกค้า
กฎหมาย และข้อกาํ หนดอื่นๆ ที่เกย่ี วข้องได้รบั การพจิ ารณา เพ่ือมงุ่ เน้นความพึงพอใจของลกู ค้าอย่างสํมา่ เสมอ

• จัดทาํ ทบทวน และธํารงรักษานโยบายคณุ ภาพ และสือ่ สารนโยบายคุณภาพนน้ั
• กาํ หนดบทบาท ความรบั ผิดชอบ และอํานาจหนา้ ท่ีของหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องภายในองคก์ ร

6. การวางแผน (Planning) องคก์ รต้องดําเนนิ การ โดยสรุปดังน้ี
• ระบคุ วามเสี่ยงและโอกาส โดยคํานงึ ถงึ ประเด็นปจั จัยภายนอกและปจั จยั ภายใน และผู้มีส่วนได้เสีย

ต่อ QMS เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ตามท่ตี อ้ งการ ปอ้ งกัน หรอื ลดผลกระทบท่ไี มพ่ ึงปรารถนา
• จัดทําวตั ถปุ ระสงค์คุณภาพ (Quality Objective) ตามสายงาน ระดับ และกระบวนการต่างๆ ที่

เก่ยี วข้อง โดยวัตถุประสงค์คุณภาพดังกล่าวต้องสอดคล้องกับ นโยบายคุณภาพ สามารถวัดได้ สอดคล้องกับ
ขอ้ กําหนดที่ประยกุ ต์ใช้ ความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการ และการเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า ต้อง
ได้รบั การตดิ ตาม ไดร้ ับการสอ่ื สาร และปรบั ปรุงตามความเหมาะสม

7. การสนับสนุน (Support) องคก์ รต้องดําเนนิ การ โดยสรปุ ดงั น้ี
• กําหนดและจัดหาทรัพยากรท่ีจําเป็นเพ่ือให้สอดคล้องกับข้อกําหนด ประกอบด้วยบุคลากร

โครงสร้างพ้นื ฐาน และสภาพแวดลอ้ มสาํ หรบั การปฏบิ ตั ิการ
• จัดหาเครื่องมือในการตรวจติดตาม และการวัดทม่ี คี วามถกู ต้องและมคี วาม น่าเชื่อถือ
• กําหนดความรูท้ จ่ี ําเปน็ สาํ หรับการปฏิบัติในแต่ละกระบวนการ และต่อการบรรลุความสอดคล้อง

ของผลิตภัณฑ์และบรกิ าร
• กาํ หนดความสามารถท่ีจําเปน็ ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อผลการดําเนินงานด้านคุณภาพ

บนพ้ืนฐานของการศึกษา การฝึกอบรม หรือประสบการณ์ที่เหมาะสม และต้องดําเนินการเพ่ือให้ได้มาซึ่ง
ความสามารถทีจ่ ําเปน็ และมกี ารประเมนิ ประสทิ ธิผลของการดําเนินการดังกล่าว และจะต้องเก็บหลักฐานของ
ความสามารถนน้ั เป็นเอกสารขอ้ มูล

• บุคลากรท่ีอยู่ภายใต้ระบบบริหารคุณภาพขององค์กร ต้องตระหนักถึง นโยบายคุณภาพ
วตั ถุประสงค์คณุ ภาพ การมสี ว่ นร่วมของประสทิ ธิผลของระบบบริหาร คณุ ภาพ และผลของความไม่สอดคล้องกับ
ขอ้ กําหนดของระบบบรหิ ารคุณภาพ

• กําหนดการสอ่ื สารท้ังภายในและภายนอกที่เก่ียวข้องกับ QMS รวมถึง ประเด็นที่ต้องการส่ือสาร
ระยะเวลา บุคคลท่จี ะสือ่ สาร และวิธีการในการส่อื สาร

9

• ตอ้ งควบคุมเอกสารข้อมลู ทีจ่ ําเปน็ ตามขอ้ กาํ หนด และเอกสารข้อมูล ท่ีจําเป็นที่กําหนดโดยองค์กร
โดยเอกสารข้อมูลดังกล่าวจะต้องได้รับการบ่งช้ี กําหนดรูปแบบ มีการทบทวนและอนุมัติอย่างเหมาะสมและ
เพยี งพอ

• ต้องควบคมุ เอกสารข้อมลู ทม่ี าจากภายนอกที่จําเป็นต้องใช้ในการวางแผน และการปฏิบัติการใน
QMS ด้วยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมดว้ ย

8. การปฏิบัตกิ าร (Operation) องค์กรตอ้ งดําเนินการ โดยสรุปดังน้ี
• วางแผน นาํ ไปปฏบิ ตั ิ และควบคมุ กระบวนการตามทไ่ี ด้ระบุไว้ โดยต้อง กําหนดข้อกําหนดสําหรับ

ผลติ ภณั ฑ์และบรกิ าร จัดทาํ เกณฑ์สาํ หรับกระบวนการและ การยอมรับผลิตภณั ฑ์และบรกิ าร กาํ หนดทรัพยากรท่ี
จําเปน็ ควบคุมกระบวนการ ให้สอดคล้องกบั เกณฑ์

• ดําเนนิ การจัดทํากระบวนการสําหรับการส่ือสารกับลูกค้า กระบวนการในการกําหนดข้อกําหนด
สาํ หรบั ผลติ ภัณฑท์ ่นี าํ ไปเสนอลกู ค้า และทาํ การทบทวนขอ้ กาํ หนดท่เี ก่ียวกบั ผลติ ภัณฑ์และบรกิ าร

• จัดทาํ นาํ ไปปฏิบัติ และธํารงรกั ษาไวซ้ ึง่ กระบวนการออกแบบและพัฒนา ที่เหมาะสมต่อผลิตภัณฑ์
และบริการ ประกอบด้วย การวางแผน การกําหนดข้อมูลสําหรับการออกแบบและพัฒนา การควบคุม
กระบวนการออกแบบและพัฒนาผลผลิต และการเปล่ยี นแปลงการออกแบบและพัฒนา

• ควบคุมการจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการจากภายนอก เพ่ือให้ผู้จัดหา ภายนอกสามารถส่งมอบ
ผลิตภัณฑ์และบรกิ ารตามท่อี งคก์ รต้องการ และสอดคล้องกบั ขอ้ กาํ หนด โดยตอ้ งมีการประเมนิ คัดเลือก ติดตาม
ผล และประเมนิ ซ้าํ และตอ้ งเก็บ รกั ษาผลการดําเนินการดังกลา่ ว

• กระบวนการทําให้เกิดผลิตภัณฑ์และบริการ ประกอบด้วยการควบคุมกระบวนการผลิตและการ
ใหบ้ รกิ าร การชบี้ ง่ และการสอบกลับได้ การจัดการกับทรัพย์สินของลูกค้าหรือผู้จัดหาภายนอกที่อยู่ภายใต้การ
ควบคมุ ขององคก์ ร การดแู ลรกั ษา ผลจากกระบวนการในขณะดําเนินการผลติ หรือใหบ้ ริการตามขอบเขตที่จําเป็น
กิจกรรมหลังการส่งมอบทเี่ กย่ี วขอ้ ง การควบคมุ การเปลยี่ นแปลงทีไ่ มไ่ ดว้ างแผนไว้

• กําหนดการตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการที่เหมาะสม และได้รับการอนุญาตจากผู้มีอํานาจท่ี
เหมาะสม

• ในการควบคุมผลผลิตของกระบวนการ ตอ้ งมีการชบ้ี ่งและควบคุมผลผลติ หรอื บริการทีไ่ ม่สอดคลอ้ ง
กบั ข้อกําหนด เปน็ การปอ้ งกันการนาํ ไปใชห้ รอื สง่ มอบ โดยไม่ต้ังใจ และทําการทวนสอบ การแก้ไขให้เหมาะสม
กบั กระบวนการ ผลติ ภณั ฑ์ และบรกิ ารท่ีได้สอดคลอ้ งนั้น

9. การประเมนิ สมรรถนะ (Performance Evaluation) องค์กรตอ้ งดําเนนิ การ โดยสรปุ ดังนี้
• การตรวจติดตาม การวดั การวิเคราะห์ และการประเมินผล โดยการกําหนดสิ่งที่จําเป็นต้องติดตาม

ตรวจและการวัด วิธกี ารในการดาํ เนินการเวลา และผลลัพธ์ทีไ่ ดต้ ้องถกู นาํ ไปวเิ คราะหแ์ ละประเมินผล

10

• ดําเนินการตรวจประเมินภายในเพอ่ื ให้ม่นั ใจวา่ มีการปฏิบตั สิ อดคล้องกับข้อกําหนดขององค์กรตาม
ระบบบริหารคุณภาพ และขอ้ กาํ หนดท่ีเกีย่ วข้อง โดยต้องมกี ารจดั ทาํ แผนการตรวจ โปรแกรมการตรวจประเมิน
ความถ่ี วธิ ีการ ผู้รับผดิ ชอบ และรายงานผลการตรวจประเมินภายใน

• ทําการทบทวนระบบบริหารคุณภาพตามช่วงเวลาท่ีกําหนดเพื่อให้ม่ันใจ ว่ายังมีความเหมาะสม
เพยี งพอ และสอดคลอ้ งกบั ทศิ ทางกลยุทธข์ ององคก์ ร
10. การปรบั ปรงุ (Improvement) องค์กรต้องดําเนินการ โดยสรุปดังน้ี

• กาํ หนดและเลือกโอกาสสาํ หรับการปรับปรุงระบบ และนําไปปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนด และ
สร้างความพึงพอใจของลกู คา้

• ดาํ เนนิ การจัดการ แกไ้ ข ทบทวน หาสาเหตุส่ิงท่ีไม่เป็นไปตามข้อกําหนด และทบทวนประสิทธิผลของ
การแกไ้ ขท่ีไดด้ ําเนนิ การ และอาจจําเป็นตอ้ งทาํ การปรบั ปรุงระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีมีอยู่

• ปรับปรุงอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อให้มั่นใจว่าระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่มอี ยูม่ ีเพียงพอ และยังคงมปี ระสิทธิผลอยู่

ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 : 2015
2.2 หลกั การใชเ้ ครื่องหมายรบั รองมาตรฐาน ISO 9001

องคก์ รท่ผี า่ นการตรวจประเมนิ และได้รับการรบั รองมาตรฐานสากล ISO 9001 จากหนว่ ยตรวจ
ประเมินเปน็ ที่เรียบรอ้ ยแลว้ สามารถประชาสมั พันธถ์ งึ ความสําเรจ็ ได้ โดยการแสดงเคร่ืองหมายรับรองให้เหน็ ว่า
ผา่ นการตรวจประเมิน ดงั ต่อไปนี้

11

• องค์กรระหว่างประเทศด้านการมาตรฐาน หรือ International Organization for
Standardization - ISO) ทําหน้าท่ีจัดทํามาตรฐาน ISO 9001 แต่ไม่ทําหน้าที่ตรวจประเมินเพื่อให้การรับรอง
มาตรฐาน ISO 9001 ฉะนั้น ห้ามใช้โลโก้ขององค์กรระหว่าง ประเทศด้านการมาตรฐาน (ISO) เพ่ือแสดงว่า
หน่วยงานได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9001

• ห้ามใช้คําว่า “ISO Certified” หรือ “ISO Certification” แต่ให้ใช้คําว่า “ISO 9001
Certified” หรือ “ISO 9001 Certification”

• องค์กรไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานสากล ISO 9001 จากหนว่ ยรบั รอง มาตรฐาน (CB) ใดให้ใช้
โลโกข้ องหนว่ ยรับรองน้ันแสดงว่าองค์กรไดร้ ับการรับรองมาตรฐาน

• รปู แบบ และขนาดของเคร่ืองหมายรับรอง (Logo) ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ CB
กาํ หนด

• สนิ ค้า (Product) หรอื บรกิ าร (Service) ขององค์กร ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 แต่
สิ่งทีไ่ ด้รับการรบั รองคือกระบวนการทํางาน (Process) ตามมาตรฐาน ISO 9001 ภายใต้ขอบเขต (Scope) ท่ี
ระบุไว้ในใบรับรอง (Certificate) เทา่ น้ัน

12

• สามารถนําเครื่องหมายรับรอง ไปแสดงบนเอกสาร และสื่อต่างๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ถึงการ
ได้รบั การรบั รองมาตรฐานได้ (หวั จดหมาย นามบตั ร)

• ไม่สามารถนาํ เครือ่ งหมายรับรอง ไปใช้แสดงบนยานพาหนะขององคก์ ร และ/หรือ บนธงต่างๆ ของ
องคก์ ร และ/หรือ บนผลิตภัณฑ์ และ/หรือบนบรรจุภัณฑ์

• ต้องไมท่ าํ ใหเ้ ข้าใจผดิ ว่าเป็นการรบั รองคุณภาพผลิตภัณฑ์หรือบริการ

13

บทที่ 3 การประเมินตนเอง (Self-assessment) เพอ่ื การพฒั นาองคก์ รส่มู าตรฐาน ISO 9001

การประเมินตนเองหรือ Self assessment เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ผู้ประกอบธุรกิจให้บริการ
โลจสิ ตกิ ส์ สามารถนาํ มาใช้ในการประเมินตนเองในด้านต่าง ๆ เพือ่ ให้ทราบถึงจดุ แขง็ จดุ ออ่ นภายในองคก์ รซ่ึงจะ
นําไปสูก่ ารวางแผน และปรบั ปรุงการดาํ เนนิ งานทางธุรกิจให้บรรลุเปา้ หมายทว่ี างไว้

สําหรบั ธุรกจิ ใหบ้ รกิ ารโลจสิ ติกสใ์ ดทตี่ อ้ งการจะพัฒนาระบบการจัดการธุรกิจ สู่มาตรฐาน ISO 9001
สามารถนําหลกั การประเมนิ ตนเองมาใชใ้ นการประเมิน ความพรอ้ มเบอ้ื งตน้ เพือ่ การพฒั นาสมู่ าตรฐาน ISO 9001
ได้เช่นกนั โดยสามารถนาํ ไปใช้ในการพจิ ารณาว่าหน่วยงานมีการดําเนินงานดา้ นการบริหารคุณภาพอยู่ในระดบั ใด
เมือ่ เทียบกบั ข้อกําหนดของมาตรฐาน มสี ิง่ ใดทตี่ อ้ งดาํ เนนิ การจดั ทาํ เพม่ิ เตมิ หรอื ไม่ และนาํ ผลจากการประเมินไป
วางแผนในการดําเนนิ การพฒั นาระบบบรหิ ารงาน เพื่อกา้ วส่มู าตรฐาน ISO 9001 ตอ่ ไป

อยา่ งไรกต็ ามในการประเมนิ ตนเองเพ่ือก้าวสู่มาตรฐาน ISO 9001 ให้มี ประสิทธิผลนั้น ไม่ใช่หน้าท่ี
ของหนว่ ยงานใดหน่วยงานหนึ่ง หรอื บุคคลใดบุคคลหนงึ่ เท่านั้น ควรเกิดจากความรว่ มระดมความคิดเห็นจากทุก
สว่ นทีเ่ กี่ยวข้อง ตงั้ แตร่ ะดบั ผูบ้ ริหาร และทมี งานจากทุกหนว่ ยงานเพือ่ ร่วมกันพจิ ารณา รายการประเมินตนเองน้ี
จดั ทําขึน้ เพ่อื ใหธ้ ุรกิจให้บรกิ ารโลจสิ ติกสท์ ส่ี นใจท่ีจะพัฒนาสมู่ าตรฐาน ISO9001 นําไปใช้ ในการพิจารณาตอบ
คาํ ถามวา่ องค์กรมคี วามพรอ้ มในเร่อื งตา่ งๆ ในเบ้อื งตน้ เพยี งใด เพอื่ นําไปประกอบการตัดสินใจหรือวางแผนการ
ดําเนนิ การตอ่ ไปทัง้ นี้ในข้ันตอน การจดั ทาํ ระบบตามข้อกาํ หนดของ ISO 9001 ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์จะต้อง
ศึกษา ขอ้ กาํ หนดโดยละเอียดอีกคร้งั รวมถงึ ข้อกาํ หนดทางด้านกฎหมายทเี่ กีย่ วข้อง ตลอดจนข้อกาํ หนดที่องค์กร
กาํ หนดขนึ้ เอง เพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ ระบบที่จัดทําข้ึนสอดคล้องกับข้อกําหนด ของ ISO 9001 กฎหมาย และระเบียบ
ตา่ งๆ อกี ด้วย

รายการคาํ ถามประเมินตนเองเพอื่ พฒั นาระบบการบรหิ ารสมู่ าตรฐานสากล ISO 9001:2015

รายการคําถาม ผลการประเมนิ
มี มบี างสว่ น ไมม่ ี

บรบิ ทองค์กร (Context of the organization)

1. กําหนดประเดน็ ภายนอกและภายใน (External and

Internal Issues) ทเี่ กี่ยวข้องกบั วัตถุประสงคข์ ององค์กร

เพอ่ื บรรลุความพงึ พอใจของลกู คา้ และทิศทางกลยทุ ธ์

ขององค์กร

2. มีวธิ ีการในการทบทวนและเฝา้ ตดิ ตามประเดน็

ภายนอกและภายในอย่างสม่าํ เสมอ

3. กาํ หนดความต้องการและความคาดหวงั ของผ้มู ี

14

รายการคําถาม มี ผลการประเมิน
มีบางสว่ น ไม่มี
สว่ นได้ส่วนเสีย (Interested parties) ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับ
ระบบบริหารคณุ ภาพ

4. ขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ (Scope)
ทก่ี ําหนดขน้ึ ไดพ้ ิจารณาถึงประเดน็ ภายในและภายนอก ผูม้ สี ่วน
ได้เสีย และผลิตภณั ฑ์หรอื บรกิ าร

5. ระบบบริหารคณุ ภาพขององคก์ ร (QMS) รวมถึง
กระบวนการท่ีจาํ เปน็ (Process needed) และการปฏสิ มั พันธ์
ระหวา่ งกระบวนการตา่ งๆ ได้ถกู จดั ทําขน้ึ

6. กาํ หนดเกณฑ์ วธิ กี าร (รวมถงึ การตรวจตดิ ตาม ตรวจวดั
และตัวชีว้ ดั สมรรถนะของกระบวนการ) ท่ีจาํ เปน็ การมอบหมาย
ผรู้ ับผิดชอบ เพ่ือใหม้ น่ั ใจว่าการควบคุมกระบวนการเกิด
ประสิทธิผล
ความรบั ผดิ ชอบของฝ่ายบริหาร (Management Responsibility)

7. ผูบ้ รหิ ารระดับสงู แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความรับผดิ ชอบ
ในประสิทธิผลของระบบ QMS

8. จัดทํานโยบาย และวัตถุประสงคค์ ณุ ภาพ
ทสี่ อดคล้องกับทิศทางกลยทุ ธข์ ององคก์ ร และได้ถูก
สือ่ สารภายในองคก์ ร

9. วัตถปุ ระสงค์คุณภาพทจี่ ดั ทําขึ้น ไดข้ ยายผลลงไปสูท่ ุก
สว่ นงานทุกระดบั ทเี่ กีย่ วข้อง

10. ขอ้ กาํ หนดของ QMS ไดน้ ําไปประยุกตใ์ ชใ้ น
กระบวนการตา่ งๆ ขององค์กร

11. ขอ้ กาํ หนดของลกู ค้า กฏหมายและขอ้ กําหนดอืน่ ๆที่
เกี่ยวขอ้ ง ได้จัดทําขนึ้ อยา่ งครบถว้ น และสือ่ สารตลอดทงั้ องค์กร

12. ระบุความเส่ยี งและโอกาสท่ีมผี ลกระทบตอ่ ความ
สอดคลอ้ งของผลติ ภณั ฑห์ รือบรกิ าร

15

รายการคําถาม ผลการประเมนิ
มี มีบางส่วน ไมม่ ี
13. กําหนดอํานาจหนา้ ที่และความรับผิดชอบของหนว่ ยงาน
ท่ีเก่ยี วขอ้ ง และมีการสื่อสารเพือ่ ให้เขา้ ใจถงึ หน้าทแ่ี ละความ
รับผิดชอบน้นั
การวางแผน (Planning)

14. ในการวางแผนสาํ หรบั QMS มกี ารพจิ ารณาความเสี่ยงและ
โอกาศทีอ่ งคก์ รระบไุ ว้ เพอื่ ใหม้ ั่นใจว่าระบบ QMS สามารถบรรลตุ าม
ผลลพั ธข์ ององคก์ ร

15. องคก์ รมกี ารดาํ เนนิ การเพอื่ รบั มอื กบั ความเสีย่ งและโอกาศใน
ระบบ QMS

16. วางแผนการเปลีย่ นแปลง โดยพิจารณาถงึ ความจาํ เป็น
การสนบั สนนุ (Support)

17. กาํ หนดและจดั ให้มีทรัพยากรทจี่ ําเป็นสําหรบั การจัดทํา การ
นาํ ไปปฏบิ ัติ คงรกั ษาไว้ และการปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (เช่น คน
โครงสรา้ งพ้นื ฐาน และสภาพแวดล้อมในการดาํ เนินการ)

18. มเี ครอ่ื งมือในการตรวจตดิ ตาม และการวดั ท่มี ีความถกู ต้องและ
นา่ เชื่อถอื

19. กําหนดความรู้ทจี่ ําเปน็ ของบคุ ลากร (Knowledge
necessary) ของบุคลากร สาํ หรบั การปฏบิ ตั ิการในแตล่ ะ
กระบวนการ

20. กาํ หนดความสามารถทจ่ี ําเป็นของบุคลากรท่ีปฏิบตั งิ านท่ีมผี ล
ตอ่ การดําเนนิ งาน ประกอบดว้ ย การศกึ ษา การฝกึ อบรม และ
ประสบการณ์

21. จดั ทาํ เอกสารข้อมลู (Documented Information)
หลกั ฐานของความสามารถทีก่ ําหนดขน้ึ ตามข้อ 20
การปฏิบัตงิ าน (Operation)

22. ปฏิบัติและควบคุมกระบวนการตา่ งๆตามแผนงานท่วี างไว้
เพื่อใหบ้ รรลตุ ามขอ้ กาํ หนดของลกู ค้า

23. มกี ารพิจารณาขอ้ กาํ หนดสาํ หรับผลิตภัณฑห์ รอื บรกิ าร โดยมี
วิธกี ารสื่อสาร การพจิ ารณาขอ้ กาํ หนดและการทบทวนข้อกาํ หนด
สําหรบั ผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ าร

16

รายการคาํ ถาม มี ผลการประเมนิ
มีบางสว่ น ไมม่ ี
24. จดั ทาํ กระบวนการออกแบบและพฒั นา และนาํ ไปปฏบิ ตั ิ (กรณีมกี าร
ออกแบบและพฒั นา)
25. มวี ธิ กี ารควบคมุ การจัดหาผลิตภัณฑ์/บรกิ ารจากภายนอก เพอื่ ใหผ้ ู้
จดั หาภายนอกสามารถสง่ มอบผลิตภณั ฑ์และบรกิ ารตามที่องค์กร
ตอ้ งการ และสอดคลอ้ งกบั ข้อกาํ หนด ประกอบด้วยเกณฑ์สาํ หรับการ
ประเมณิ การคัดเลือก การเฝา้ ติดตามสมรรถนะ และการประเมิน

26. กาํ หนดวิธีการตรวจปลอ่ ยผลติ ภัณฑ์/บรกิ ารทเ่ี หมาะสม

27. มวี ิธีการช้บี งเพอ่ื ตรวจสอบยอ้ นกลับระหว่างกระบวนการ เช่น
Job Number

28. มวี ธิ กี ารดูแลทรพั ยส์ ินของลกู ค้าหรอื ผสู้ ง่ มอบภายนอกที่ใชใ้ น
การผลิตหรือการบริการ

29. มีวิธีการดาํ เนินการกบั ผลติ ภัณฑห์ รือบริการที่ไม่สอดคลอ้ งกบั
ข้อกาํ หนด เพอื่ ป้องกันไมใ่ หน้ าํ ไปใช้หรอื สง่ มอบโดยไมไ่ ดต้ ัง้ ใจ
การประเมณิ สมรรถนะ (Performance Evaluation)

30. กําหนดสิง่ ทจี่ าํ เป็นต้องตรวจติดตาม และตรวจวัดวิธีการในการ
ดําเนินการ เวลา และผลลพั ธท์ ีต่ อ้ งถกู นาํ ไปวิเคราะหแ์ ละประเมินผล

31. มวี ธิ กี ารเฝ้าติดตามการรับร้ขู องลกู ค้า

32. มีการดาํ เนนิ การการตรวจติดตามภายใน
(Internal Audit)

33. มีการทบทวนโดยฝา่ ยบริหาร
(Management Review)

การปรบั ปรงุ (Improvement)

34. กําหนดและเลอื กโอกาสสาํ หรบั การปรบั ปรงุ ระบบ และนําไป
ปฏิบัติ เพ่ือให้เปน็ ไปตามข้อกําหนด ของลูกคา้

35. มีกระบวนการที่เหมาะสมสําหรับการจัดการสงิ่ ท่ี ไมเ่ ปน็ ไปตาม
ขอ้ กําหนด (Nonconformities)

36. ดําเนนิ การปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่อื งทเี่ หมาะสมเพอ่ื ให้มั่นใจวา่ ระบบ
ทม่ี ีอยมู่ เี พยี งพอ และยงั คงมปี ระสทิ ธผิ ลอยู่

17

บทท่ี 4 แนวทางการพัฒนาธรุ กิจให้บรกิ ารโลจิสตกิ ส์

“โลจิสติกส์” ตามคํานิยามของ Council of Logistics Management (CLM) คือ “ส่วนหนึ่งของ
กระบวนการโซ่อุปทาน โดยทําการวางแผนเพื่อนําไปปฏิบัติ และทําการควบคุม การไหลเวียนของสินค้า การ
บริการและข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากจุดเริ่มต้นไปจนถึงจุดที่มีการบริโภค
เพอ่ื ทจี่ ะบรรลุ ถงึ ความต้องการของลกู คา้ ” โดยในอกี นยิ ามหนึ่งทีใ่ ช้โดย Institute of Logistics and Transport
คอื “การวางตาํ แหน่งของทรพั ยากรอยา่ งมีความสมั พนั ธก์ บั เวลา หรือ การจดั การกลยุทธ์ของโซ่อปุ ทานโดยรวม”
และ “โซอ่ ุปทาน” คือ “อนกุ รมของ เหตกุ ารณ์ ท่มี ุ่งม่นั ในการสรา้ งความพงึ พอใจให้กบั ลกู ค้า ซึ่งจะรวมเอา การ
จดั หา การผลติ การกระจายสนิ ค้า และการกําจดั ทิ้ง รวมถงึ กจิ กรรมท่ีเกี่ยวขอ้ ง เชน่ การขนส่ง การจัดเก็บ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ” ปัจจุบันตามการจัดอันดับ Logistic Performance Index โดย World Bank ปี 2018
ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 32 จาก 160 ประเทศทั่วโลก ซึ่งเพ่ือให้ธุรกิจบริการโลจิสติกส์สามารถเพิ่มขีด
ความสามารถและ เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้มากข้ึน ประเทศไทยได้มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระบบโลจิสตกิ ส์ของประเทศไทย ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซ่ึงมีเป้าหมาย ให้ประเทศไทยสามารถยกระดับ
ระบบโลจิสติกส์ของประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลาง ทางการค้า การบริการ การลงทุนในภูมิภาค โดยผ่านการ
ดาํ เนินงานตาม 3 ยุทธศาสตร์ หลักได้แก่ 1) การพัฒนาเพม่ิ มลู ค่าระบบห่วงโซ่อุปทาน 2) การพัฒนาโครงสร้าง
พ้ืนฐาน และสิ่งอํานวยความสะดวก และ 3) การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนด้านโลจิสติกส์ โดยจาก การทบทวน
วรรณกรรมน้ันการดําเนินธุรกิจโลจิสตกิ ส์ทีด่ ีและการพัฒนาธรุ กิจโลจิตส์ เพ่ือให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถใน
การแขง่ ขนั สามารถสรปุ ได้ดงั ต่อไปนี้

4.1 การดาํ เนนิ ธุรกิจใหบ้ ริการโลจสิ ติกส์ตามหลกั Seven R's ของโลจิสติกส์
หลัก Seven R's เปน็ หลักการทีน่ ยิ มใช้มากทีส่ ดุ ในการบริหาร การดําเนินธุรกิจโลจิสติกส์ ซึง่ ประกอบ

ไปดว้ ย
(1) Right Product – การจดั สง่ ตวั ผลติ ภัณฑ์ท่ีถูกต้อง
(2) Right Quantity - การจัดส่งผลิตภัณฑ์ในจาํ นวนทถ่ี ูกตอ้ ง
(3) Right Condition - การจดั สง่ ผลิตภณั ฑใ์ นสภาพทีเ่ หมาะสม
(4) Right Place – การดาํ เนนิ การจัดส่งสนิ คา้ ทถี่ ูกจดุ หมาย
(5) Right Time - มกี ารดําเนินการจัดส่งสินคา้ ภายในกาํ หนดเวลา
(6) Right Customer - มกี ารจัดส่งสินค้าไปยงั ลูกค้าทีถ่ กู ตอ้ ง
(7) Right Price- มีราคาในการจัดส่งท่เี หมาะสม

18

4.2 การใช้วิธแี บบผสมผสานลักษณะในการดําเนินการการให้บริการธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ส์
ในการดาํ เนนิ ธุรกิจโลจสิ ติกส์น้นั ควรมกี ารบูรณาการลักษณะการดําเนินธุรกิจโลจิสติกส์ (Logistics

Function) ในรปู แบบตา่ งๆร่วมกัน เพื่อใหเ้ กิดประสิทธภิ าพในการขนส่งและความพึงพอใจต่อลูกค้ามากที่สุด ซึ่ง
ลกั ษณะของธุรกจิ โลจสิ ติกส์สามารถ แบ่งได้เปน็ 4 ลกั ษณะ (Logistics Functions) ประกอบไปด้วย

(1) Transportation (การขนส่ง) - ทางอากาศ ทางรถไฟ ทางถนน ทางน้ํา และทางท่อ ซ่ึงการ
เลือกลกั ษณะการขนสง่ ในวธิ ีการต่างๆ เหล่านใ้ี หเ้ หมาะสมนัน้ จะเปน็ การสรา้ งความพงึ พอใจลกู ค้าพงึ พอใจ

(2) Warehousing (คลังสินค้า) - สินค้าท่ีถูกเก็บไว้ในคลังก่อนการส่งต่อ ซ่ึงจะเป็นจากการเก็บ
สินค้าหลงั จากไดร้ ับมา (Receiving) การเกบ็ รกั ษา (Storing) การเก็บสินค้าก่อนขนส่งต่อ (Shipping) ระหว่าง
ผ้ผู ลติ และผกู้ ระจายสินค้า

(3) 3&4 PL Logistics - Third Party Logistics 3PLs เปน็ การ บริหารจดั การธุรกิจให้บริการโลจิ
สตกิ ส์ท่ีมากกวา่ 1 บริการ ส่วน Forth Party Logistics 4PLs นัน้ จะเป็นผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นโลจสิ ติกส์โดยทําหน้าที่
เป็นผู้รับจ้างทั่วไป (General Contractor) ที่จะดูแลภาพรวมการให้บริการด้านโลจิสติกส์ในลักษณะต่างๆ
ทัง้ หมด โดยทําหนา้ ที่เปน็ ผูบ้ รหิ ารจัดการ

(4) Reverse Logistics - โลจสิ ตกิ ส์ยอ้ นกลับ เปน็ การจดั การสินค้าที่ ส่งคืน (Return) นาํ กลบั มาใช้
ใหม่ (Reuse) การนาํ มารไี ซเคลิ เพือ่ นาํ กลับมาใช้ (Recycling) และการนําไปทงิ้ (Disposal) ซ่ึงจะเป็นการจดั การ
ของในทางย้อนกลับจากลกู ค้า (customer) ไปสผู่ ้จู ดั สง่ (supplier)

4.3 คณุ คา่ ทางโลจิสติกสท์ ่ีสง่ ใหก้ บั ลูกค้า (Logistics Value Proposition)
ผทู้ ี่ทําหน้าทบ่ี รหิ ารจัดการโลจิสติกส์น้ัน ควรมีความสามารถที่จะพิจารณา ถึงความสมดุลระหว่าง

ราคาทคี่ ดิ ในการใหบ้ ริการโลจิสตกิ สก์ บั ลูกค้า กับระดับการบริการทล่ี ูกคา้ พึงจะไดร้ ับ ซงึ่ เป็นการบริหารจัดการทํา
ธรุ กจิ โลจสิ ติกสน์ น้ั เปน็ การพจิ ารณา แบบบรู ณาการรว่ มกันระหวา่ งการสามารถตอบสนองความพึงพอใจให้ลูกค้า
ในขณะทร่ี าคารวมแลว้ จะอย่ทู ่รี ะดับน้อยที่สุด (Achieve customer satisfaction at the lowest total cost)
ซ่ึงการให้บริการที่ลูกคา้ พงึ พอใจ และการทําให้ราคาในการบรกิ ารนอ้ ยลงน้ัน เป็นหัวใจหลักใน Logistics Value
Proposition

4.4 เปา้ หมายและกลยุทธข์ องโลจิสติกส์ (Logistics Goals and Strategies)
โลจิสติกส์นั้นมีเป้าหมายร่วมกันระหว่างการบริหารจัดการซัพพลายเชน( supply chain

management) เพ่ือท่ีจะให้ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ซึ่งเป้าหมายของการบริหารจัดการโลจิสติกส์
(Logistics goals) ทผ่ี ู้เชีย่ วชาญ มคี วามเห็นพ้องตอ้ งกันนัน้ มีดังต่อไปน้ี

(1) Rapid Response Capability - ความสามารถในการตอบสนอง ทร่ี วดเรว็ ต่อการเปลยี่ นแปลง
ของตลาดและการเปล่ียนแปลงในการส่ังซ้อื ของลูกคา้

(2) Minimize variances in logistics service - การลดความแปรผนั ตา่ งๆ ในการให้บริการโลจิ
สติกส์

19

(3) Minimize inventories to reduce cost – การลดจาํ นวนของคงคลัง สนิ คา้ เพ่ือลดค่าใชจ้ ่าย
(4) Consolidate product movement by grouping shipment - จัดเรียง รวบรวมสินค้าท่ี
จะจัดสง่ โดยการจัดเป็นกลุม่ สินค้าตามทีจ่ ะจัดสง่
(5) Maintain high quality and engage in continuously improvement - การรักษาไว้ซ่ึง
คุณภาพการให้บรกิ ารท่ีสงู และการปรับปรุงการใหบ้ ริการอย่างตอ่ เนื่อง
(6) Support entire product life-cycle and Reverse logistics supply chain - การให้
การสนบั สนุนตลอดอายุของผลติ ภณั ฑแ์ ละการย้อนกลบั ของห่วงโซ่อปุ ทานโลจิสติกส์
ซงึ่ การท่ีจะทาํ ให้กลยุทธข์ องการให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics strategy) มีประสิทธิภาพน้ันขึ้นอยู่กับยุทธวิธี
ดังต่อไปน้ี

 Coordinating functions - การประสานงานระหว่างการจัดการด้าน การขนส่ง
คลังสนิ คา้ การบรรจหุ ีบหอ่ ผลิตภณั ฑ์ เป็นตน้ เพ่ือท่จี ะสร้างคณุ ค่ามากทส่ี ดุ ใหแ้ ก่ลกู ค้า

 Integrating the supply chain – ทาํ การบูรณาการหว่ งโซ่อปุ ทาน

 Substituting information for inventory - การแทนท่ีด้วยข้อมูล สําหรับสินค้าคง
คลัง ซงึ่ ประกอบดว้ ยข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
• Select the right location – การมีสถานท่ีต้ังที่เหมาะสม ท้ังน้ี จะพิจารณาได้จาก

การดทู างการจัดสง่ และการสง่ ย้อนกลบั ของโลจสิ ติกส์ พจิ ารณาคู่ไปกบั แผนทตี่ ามจดุ ที่ต้ังตา่ งๆในแผนที่ ว่าจุดใด
จะทําให้ประสทิ ธภิ าพในการดําเนนิ ธุรกิจสงู สุด

• Develop an effective export import strategy - พฒั นากลยทุ ธ์ ของการนําเข้า
และส่งออกใหไ้ ด้ผลดีที่สดุ โดยพจิ ารณาจากปริมาณของท่จี ะทําการนําเข้า และส่งออก และพจิ ารณาว่าตาํ แหนง่ ท่ี
เปน็ ตําแหน่งทด่ี ีและเหมาะสมทางกลยทุ ธ์สําหรับ เปน็ จุดวางคลงั สนิ ค้า

• Select warehouse location - เลือกจุดที่จะเป็นตําแหน่งสําหรับ คลังสินค้า ซ่ึงจะ
พิจารณาจากตําแหนง่ ของคลงั สินค้าและตลาดทม่ี ีตามตําแหน่งตา่ งๆ ในแผนท่ี และดาํ เนนิ การจัดตง้ั คลังสินค้าใน
จดุ ที่ไดผ้ ลดีทสี่ ุด

• Select transportation modes and carriers - ทําการเลือกวิธีการในการขนส่ง
และผู้สง่ โดยทาํ การเลอื กโดยผสมผสานวธิ กี ารในการขนสง่ ท่จี ะมปี ระสิทธภิ าพสงู ที่สดุ ในการเช่ือมโยงระหว่างผู้
จาํ หนา่ ย ผูผ้ ลิต คลังสนิ คา้ ผู้กระจายสนิ ค้า และลกู ค้า

• Select the right number of partners - เลือกจํานวนหุ้นส่วน อย่างเหมาะสม
โดยการเลือกจํานวนท่ีเหมาะสมของ Firm, Freight Forwarder, 3PL และ 4PL เพ่ือจะใช้ในการจัดการโลจิ
สตกิ ส์แบบไปข้างหน้าและย้อนกลับ (Forward & Reverse Logistics)

• Develop stage of the art information Systems – ซึ่งจะเป็นการลดค่าใช้จ่าย
สนิ คา้ คงคลงั โดยเป็นการตดิ ตามอยา่ งถกู ตอ้ งและรวดเรว็ ผ่านขอ้ มูล ความต้องการสินค้าและตําแหน่งท่ีต้ังของ
สนิ คา้

20

• Physical inventory can be replaced - สนิ ค้าคงคลังที่มีอยู่จริง สามารถถูกแทน
ได้ดว้ ย

o Improve communication - การปรับปรุงการสื่อสารโดยการคุยกับผู้
ผลติ สนิ คา้ และหารอื แผนกับผู้ผลิตสินคา้

o Collaborate with suppliers – ทํางานร่วมกับผูผ้ ลติ สนิ คา้ ใชเ้ ครอ่ื งมอื
ตา่ งๆ เพื่อใหเ้ กดิ การปรับปรุงอย่างตอ่ เนื่อง และแบง่ ปันขอ้ มลู ที่ได้จากแนวโนม้ ทส่ี ังเกตเหน็

๐ Track Inventory Precisely - ติดตามสินค้าคงคลังอย่างเที่ยงตรง ซึ่ง
สามารถทาํ ไดโ้ ดยการใช้ GPS และ Bar Code systems

๐ Keep inventory in transit – ทําให้สินค้าคงคลังน้ันอยู่ในการส่งผ่าน
(transit) เชน่ การใชท้ ่าเปล่ียนถา่ ยสินคา้ (Cross docking)

๐ Use postponement Centers - การใช้ศูนย์การชะลอเวลา หลีกเลี่ยง
การเตมิ คลังสนิ คา้ ดว้ ยการปะปนทีผ่ ิดของสนิ ค้าสําเร็จรปู โดยการตั้งศูนย์การชะลอเวลา เพ่ือชะลอเวลากลุ่มของ
ผลติ ภัณฑ์จนกระทั่งไดร้ ับการสั่งสินค้าจรงิ

๐ Mix Shipment to match need – ผสมการสง่ มอบให้เข้ากันกับความ
ต้องการ จับค่กู ารสง่ ให้เทีย่ งตรงกบั ความต้องการของลูกค้า โดยการผสมความแตกตา่ งของรหสั ของสินค้า (Stock
keeping units, SKUS) บนแทน่ วางสินค้าตัวเดยี วกัน โดย การผสมแทน่ วางสินคา้ จากผู้ผลิตสนิ ค้าตา่ งๆ

o Don't wait in line at Customs – อย่ารอคิวที่ศุลกากร เพื่อจะเป็น
การลดเวลาท่ีศลุ กากรใหท้ ําการนําสนิ คา้ ออก (Clearing freight) ขณะทส่ี นิ คา้ กําลังเดิน ทางอยู่ทางน้ําหรือทาง
อากาศ

 Reducing supply chain partners to an effective minimum number - ลด
จาํ นวนหุน้ สว่ นในหว่ งโซอ่ ุปทานใหม้ จี ํานวนน้อยทมี่ ปี ระสิทธิภาพเน่ืองจาก การมหี นุ้ ส่วนที่
มีจํานวนมากน้ันจะทําให้การบริหารจัดการยากและมีค่าใช้จ่ายท่ีสูง ซ่ึงการลดจํานวน
หนุ้ ส่วนใหม้ ปี รมิ าณทีเ่ หมาะสมนัน้ จะทาํ ใหล้ ดคา่ ใชจ้ า่ ยในด้านการดําเนินการ (operating
Cost) เวลาทีท่ มี ใชใ้ นการทาํ ตามความตอ้ งการของลูกค้าให้เป็นจริงข้ึนมา (Cycle time)
และ ตน้ ทนุ การเกบ็ รกั ษาสินค้าคงคลงั (inventory holding Cost)

 Risk pooling - การรวมความเสีย่ ง การลดความไม่แนน่ อนหรือ เพื่อลดผลกระทบที่จะ
เกิดข้ึน โดยการรวมศนู ย์เพือ่ ให้ความแปรปรวนชดเชยกนั เอง โดยท่ัวไปแลว้ ผูผ้ ลติ และผคู้ า้
ปลีกน้ันจะประสบกับความแปรปรวนกับความต้องการสินค้า ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่าน้ัน
สามารถดึงมารวมกันได้สําหรับประเภทของสินค้าคงคลังท่ีคล้ายกันในคลังสินค้าท่ีเป็น
ศูนย์กลาง เพ่ือท่ีจะผ่อนภาระโดยรวมในการท่ีต้องมีสินค้าคงคลังไว้สําหรับ แต่ละ
ผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างซ่ึงในการดําเนินการน้ีจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายของการเก็บรักษา
(Storage Cost) และ การไม่มีของในคลงั สนิ ค้า (Stock out risk)

21

 Flow of goods and information - การมีผังงานของสินค้า และข้อมูล โดยระบบ
ภายในของบรษิ ัทนัน้ ควรมีการบูรณาการร่วมกันและมีการทํางานร่วมกันระหว่างแผนก
ต่างๆ เช่น แผนกจัดซอ้ื (purchasing) แผนกการขนสง่ (Logistics) แผนกการควบคมุ การ
ผลติ (Production Control) แผนกวจิ ัยและพัฒนา (R&D) แผนกการตลาดและการขาย
(Marketing and sales) แผนกการกระจายสินคา้ (Distribution) รวมถงึ การจดั แนวและ
การบรู ณาการรว่ มกนั ตลอดทง้ั ห่วงโซ่อุปทาน โดยข้อมูลของลูกค้าจะมาจากทางใบสั่งซื้อ
ของลูกคา้ กิจกรรมทางการตลาด และ การคาดการณใ์ นอนาคต

4.5 การพัฒนาทรพั ยากรบุคคลดา้ นโลจสิ ตกิ ส์
เพื่อใหบ้ ริษทั ทด่ี ําเนนิ ธรุ กจิ ด้านโลจิสติกส์และประเทศสามารถเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน

ทางธุรกิจและเพ่ือเป็นการพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนน้ัน การพัฒนา
บุคคลากรด้านโลจิสติกส์นั้นเป็นหนึ่งในส่ิงที่สําคัญท่ีบริษัทควรดําเนินการให้การสนับสนุนในการให้ความรู้แก่
บุคลากร ของบริษัท ซึ่งนอกจากโครงการอบรมเพื่อยกระดับการบริหารจัดการธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่
มาตรฐาน ISO ทจี่ ัดโดยกรมธรุ กิจการค้า กระทรวงพาณิชย์แลว้ นั้น ในประเทศไทยหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ยังมี
หลกั สูตรการอบรมอืน่ ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ ในการพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลด้านโลจสิ ติกส์ อาทิ

(1) Q Mark มาตรฐานคุณภาพและบรกิ ารขนส่งด้วยรถบรรทุก (กรมการขนส่งทางบก)
(2) การพฒั นาผูข้ ับขีร่ ถบรรทกุ เพื่อการประหยัดพลังงานในธุรกิจขนส่ง สินค้า (ภายใต้โครงการการ
พัฒนาผขู้ บั ข่รี ถบรรทุกเพอื่ การประหยัดพลงั งานในธุรกิจ ขนส่งสินค้า โดยการทํา MOU ระหว่างกรมการขนส่ง
ทางบก และกรมพัฒนาพลงั งาน ทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน)
(3) ระบบการบรรจุภณั ฑส์ าํ หรบั โลจสิ ตกิ ส์ (กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน)
(4) พืน้ ฐานระบบไฮโดรลกิ สแ์ ละการใชง้ านในขบวนการโลจิสติกส์ (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน)
(5) พนกั งานควบคมุ เครอื่ งจกั รรถยก (กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน)
(6) การวางแผนขบวนการผลิต (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน)
(7) การวางแผนกลยุทธส์ ําหรบั โลจสิ ติกส์ (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน)
(8) การพฒั นาโลจิสติกต์ในประเทศไทย (กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน)
(9) การบาํ รุงรักษาเครือ่ งยนต์เบือ้ งต้นดา้ นโลจิสติกส์ (กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน)
(10) การบริหารจัดการระบบโลจสิ ตกิ สแ์ ละโซ่อปุ ทาน (กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน)
(11) การบรหิ ารโลจิสตกิ สแ์ ละงบประมาณ (กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน)
(12) การบรหิ ารตน้ ทุนขนส่งและการประกันภัย กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน)
(13) การบรหิ ารความสมั พนั ธ์กับผูข้ าย (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน)
(14) การบริหารการขนส่งอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
(15) การซอ่ มเคร่ืองยนตค์ อมมอนเรลเพ่อื การขนส่ง (กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน)

22

(16) การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ (กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน)
(17) การจดั การคลงั สนิ ค้ายุคใหมอ่ ย่างมีประสทิ ธิภาพ (กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน)
(18) การจดั การคลงั สินค้า (กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน)
(19) การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน)
(20) Logistic & Supply Chain Management กับการบรหิ ารสนิ คา้ คงคลงั (กรมพฒั นาฝีมอื
แรงงาน)
(21) การบรหิ ารจัดการระบบโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทาน (กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน)
(22) การจดั การสินคา้ คงคลงั และคลังสนิ คา้ (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
(23) การวางแผนความตอ้ งการ และการวางแผนการผลติ (กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน)
(24) การปรับปรงุ ขั้นตอนกระบวนการทาํ งาน (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน)
(25) การควบคมุ คณุ ภาพสนิ ค้าและบริการ (กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน)
(26) การลดความสญู เสียในวงจรการผลิต (กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน)
(27) การใช้และบาํ รงุ รกั ษารถยก (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
(28) เทคนคิ การขบั รถยนต(์ รถบรรทุก) (กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน)
(29) เทคนิคการขับรถยนต์ (รถโดยสารสาธารณะ) (กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน)
(30) พนักงานขบั รถยนต์ (รถโดยสารสาธารณะ) (กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน)
(31) พนกั งานขับรถยนต(์ รถบรรทกุ ) (กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน)
(32) คนประจาํ เรือพาณชิ ย์(ฝา่ ยเดนิ เรือ) (กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน)
(33) คนประจาํ เรอื พาณชิ ย์(ฝ่ายชา่ งกลเรือ) (กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน)

23

บทท่ี 5 แนวโนม้ และการประยกุ ต์เทคโนโลยีเก่ยี วกับธุรกิจบรกิ ารโลจิสติกสใ์ นอนาคต

แนวโน้มเทคโนโลยีโลจสิ ตกิ สท์ ีน่ ่าจับตามองในปี 2019 คงปฏิเสธไม่ได้ว่าในปจั จุบนั เทคโนโลยเี ขา้ มามี

สว่ นรว่ มธรุ กิจทุกประเภท ทกุ อตุ สาหกรรม รวมถึงห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ตั้งแต่มีการปรับเปลี่ยนครั้ง
ใหญ่เพือ่ ให้เขา้ กับ ยุคดจิ ติ อล โลจิสติกส์ (Logstics) ซึ่งกค็ ือระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการให้ไปถึงมือ

ผู้บรโิ ภคการเปล่ียนแปลงไปมากเช่นกัน เพราะโลจสิ ติกสเ์ ปรยี บเสมือนเป็นพนื้ ฐานและฟันเฟืองขับเคลื่อนของทุก

อุตสาหกรรม โดยเหตผุ ลหลักท่ตี อ้ งนาํ Information Technology (IT) เข้ามาใชใ้ นธรุ กจิ บรกิ ารโลจิสตกิ ส์ คอื

(1) โลจิสตกิ ส์ต้องการความรวดเรว็ ในการขนสง่ อยา่ งถกู ต้องแมน่ ยํา
(2) ระบบโลจิสตกิ สต์ ้องมกี ารแลกเปลี่ยนข้อมลู กนั ตลอดเวลา
(3) สารสนเทศทถี่ กู ตอ้ งและทนั เวลาจะชว่ ยกจิ การลดระดับสนิ ด้คงคลังได้
(4) จะช่วยเรือ่ งการปรับเส้นทางและตารางเวลาขนส่งใหเ้ หมาะสม
(5) ช่วยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบริการแกล่ ูกค้า
(6) สามารถชว่ ยลดค่าแรงงานในการบริหารโลจสิ ติกสไ์ ด้
(7) ชว่ ยเพิ่มอัตราการใชป้ ระโยชนจ์ ากปริมาตรในคลงั สนิ ค้าได้
(8) โลจสิ ติกส์ตอ้ งการความรวดเร็วในการขนส่งอยา่ งถูกต้องแม่นยํา
(9) ระบบโลจิสตกิ ส์ตอ้ งมกี ารแลกเปลี่ยนข้อมูลกนั ตลอดเวลา
(10) สารสนเทศทถี่ ูกตอ้ งและทันเวลาจะชว่ ยกิจการลดระดับสนิ ค้าคงคลงั ได้
(11) จะช่วยเรื่องการปรบั เส้นทางและตารางเวลาขนสง่ ให้เหมาะสม
(12) ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรกิ ารแกล่ ูกคา้
(13) สามารถช่วยลดคา่ แรงงานในการบริหารโลจิสติกส์ได้
(14) ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชนจ์ ากปริมาตรในคลังสินค้าได้

5.1 แนวโน้มเทคโนโลยโี ลจสิ ติกส์ในอนาคต มรี ายละเอียดดังนี้

(1) Internet of Things (IoT) อินเทอร์เน็ตของทกุ ส่ิง

(2) Big Data Analytics การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญพ่ อ่ื การตัดสนิ ใจ

(3) Artificial Intelligence (AI) ปญั ญาประดษิ ฐ์

(4) Robotics ห่นุ ยนต์

(5) Autonomous Vehicles ยานพาหนะไรค้ นขับ

(6) Drone อากาศยานไรค้ นขับ

(7) 5G Network เครอื ขา่ ยการเชื่อมต่ออจั ฉริยะ

(8) Blockchain ระบบโครงข่ายในการเกบ็ บญั ชีธุรกรรมออนไลน์

(9) Grey Logistics โลจิสตกิ สเ์ พอ่ื สังคมสูงวัย

24

5.1.1 อินเทอร์เน็ตของทุกสิ่ง (Internet of Things: IoT) เช่ือมต่ออุปกรณ์และเคร่ืองมือเข้ากับ
อินเทอร์เน็ตและอาศยั การแลกเปลย่ี นข้อมูลระหว่างกันในการดําเนินการในกระบวนการโลจิสติกส์ ผู้ให้บริการโล
จิสตกิ ส์สามารถใช้ขอ้ มูลจากการเชอ่ื มโยงอปุ กรณ์ต่าง ๆ มาสร้างฐานข้อมูลเชิงลึกสําหรับการวิเคราะห์และวาง
แผนการดําเนินการทจ่ี ะนําไปสู่การเปล่ียนแปลงและการแก้ปัญหาใหมๆ่ เพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพและความโปร่งใส
ในการขนสง่ สนิ ค้า

การใช้งาน IoT ในกระบวนการโลจิสตกิ ส์ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องจากสามารถ
ทําให้ค่าใช้จ่ายโดยรวมลดลง เพิม่ ความปลอดภัย มีความแมน่ ยํา และไดม้ าตรฐาน ซ่ึงการพัฒนาเครือข่าย ระยะ
ต่อไปจะมตี ้นทนุ ค่าอุปกรณ์ท่ลี ดลงอย่างตอ่ เนอื่ งทําให้ผใู้ ห้บริการโลจิสตสิ มโี อกาสนาํ IoT มาปรับใช้ในการดําเนิน
ธุรกจิ ใหม่ ๆ ไดม้ ากข้ึน ตัวอยา่ งเชน่

 การตรวจสอบการขนส่งและสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้อง ตัวยการเก็บข้อมูลการ
เคลอ่ื นไหวของสินค้าระบบจะสามารถรายงานสถานการณ์จดั สง่ สินค้ให้กับผู้ประกอบการ
ในการวางแผนเส้นทางการขนส่ง การจัดการพนักงาน ตําแหน่งการจัดเก็บสินค้าใน
คลังสินค้าผ่านระบบ Radio Frequency Identification (RFID) และ Global
Positioning System (GPS)

 การเพิ่มความโปร่งใสของคลังสินค้า โดยการติดแท็กข้อมูลในสินค้าแต่ละพาเลท
(Pallet) และสามารถส่งข้อมูลสภาพและตําแหน่งปัจจุบัน ทําให้มองเห็นภาพรวม
วิเคราะห์ปรับปรุงวางแผนการบริหารจัดการ และควบคุมดูแลสินค้ าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยงั สามารถพิมความสะดวกและความปลอดภัยของพนักงานใน
การปฏิบตั งิ าน ในคลังสินค้าไดด้ ียิ่งขึน้

 การขนส่งอัจฉริยะ สามารถพิมความคุ้มค่าในการขนส่ง โดยรถบรรทุกอัจฉริยะที่เป็น
นวัตกรรมใหม่ ท่เี ร่ิมนาํ มาใช้ ในรถบรรทกุ อาทิ ระบบ Telematics ให้สามารถรวบรวม
ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเดนิ ทางวางแผนเส้นทางและเวลาขนส่ง ให้มีความยืดหยุ่น ซ่ึงจะทําให้
เกดิ การใชท้ รัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

5.1.1.1 ประโยชน์
 เพมิ่ ความโปรง่ ใสและความนา่ เชอื่ ถือของการขนสง่
 ประสิทธภิ าพในการดาํ เนินงานท่ี มากขึ้นและลดตน้ ทนุ
 ปรับปรงุ คุณภาพการให้บรกิ ารเพิม่ ความปลอดภยั ในการดําเนนิ งาน
 ลกู ค้าสามารถกาํ หนดรูปแบบ วธิ ีการจดั ส่งไดเ้ องอย่างยดึ หยนุ่

25

5.1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อการตัดสินใจ (Big Data Analytics) ระบบ Big Data
Analytics สามารถช่วยเพ่ิมศักยภาพในกระบวนการผลิต เพิ่มความเข้าใจในความต้องการ ของลูกค้าจาก
ประสบการณท์ ่ีผ่านมา ลดความเสี่ยงและสร้างรูปแบบธุรกจิ ใหม่ ๆ ในการดาํ เนนิ กระบวนการด้านโลจิสติกส์ท่ีจะ
ชว่ ยสร้างมลู ค่าเพิม่ อย่างมหาศาล

Big Data จะเป็นศูนย์รวมหลักของข้อมูลที่จะมีบทบาทในการสร้างให้เห็นภาพรวมสถานการณ์ใน
ปจั จุบัน สําหรบั นําไปวเิ คราะห์เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู เชิงลึกเก่ียวกับรปู แบบความสัมพนั ธข์ องข้อมลู ใหม่ ๆ และแนวโน้ม
การดาํ เนินงานต่าง ๆ และใชป้ ระกอบในการตดั สนิ ใจให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด ดังน้ัน Big Data ไม่ใด้เป็นเพียง
ขอ้ มลู ทม่ี ขี นาดใหญแ่ ตส่ ่งิ ทีเ่ ปน็ หวั ใจสําหรบั การประยุกต์ใช้ Big Data นั้นคอื ต้องสามารถนาํ ขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์
ในการค้นหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้หลากหลายกว่าการใช้ข้อมูลปกติ
โดยทว่ั ไป

 การเลือกเสน้ ทางการขนสง่ ท่ีเหมาะสม จากข้อมูลสถานการณ์ สภาพอากาศ การจราจร และ
ปัจจยั อนื่ ๆ ที่ไดเ้ ช่อื มโยงมายงั ระบบฐานขอ้ มลู ทาํ ให้เกิดการบริหารจดั การ การขนส่งสินค้ไปยัง
ปลายทางในลักษณะแบบเวลาจริง (Real-time) ท่ีมีประสิทธิภาพสูง ผ่านการวิเคราะห์จาก
ความสัมพนั ธ์ของข้อมูล ซ่ึงทําใหส้ ามารถกําหนดระยะเวลาการขนส่งได้อย่างแม่นยําและการ
บรรจุสินคเ้ ข้าสู่พาหนะขนสง่ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้ึน

 การประมาณการท่แี มน่ ยาํ กระบวนการโลจิสติกส์ท่ีครอบคลมุ ตลอดห่วงโซ่อุปทานจําเป็นต้อง
อาศัยการคาดการณ์กําลังการผลิตและแรงงานผ่านการวิเคราะห์จากระบบข้อมูล Big data
สามารถช่วยเพิม่ ประสิทธภิ าพในการวางแผนและการใช้ทรพั ยากร รวมทงั้ สามารถลดตน้ ทนุ ที่ไม่
จําเป็นในหว่ งโซอ่ ปุ ทานได้

 การบรหิ ารจดั การความเสี่ยงของโซ่อุปทาน โดยการประเมินสภาพปัจจุบันด้วยข้อมูลท่ีมีอยู่
เพ่ือลดความเสีย่ งดว้ ยการตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมนิ ผลจากขอ้ มูลทเี่ ชื่อมโยง ตลอดจนมี
ระบบแจ้งเตือนเหตุการณ์ต่าง ๆ ระหว่างกระบวนการขนส่ง อันเน่ืองมาจากเหตุการณ์ที่ไม่
คาดคิด อาทิ อุบตั เิ หตทุ ่เี กิดขึ้น ความแออดั ของปลายทางที่จะไปส่ง เช่น ท่าเรือ ด่านศุลกากร
เป็นตนั

5.1.2.1 ประโยชน์

 มองเหน็ ภาพรวมและสามารถควบคมุ กระบวนการตลอดโซอ่ ุปทาน
 โอกาสทางธรุ กิจใหม่ ๆ ทใ่ี หบ้ ริการผ่านการเชือ่ มตอ่ ขอ้ มลู
 ความพึงพอใจของลูกค้าทเี่ พ่ิมข้ึน

26

5.1.3 ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ปญั ญาประดิษฐ์ (AI) เป็นเทคโนโลยที ี่เข้ามา
เปล่ยี นวิธีกรดําเนนิ ธรุ กจิ การใหบ้ ริการด้านโลจสิ ตสิ ใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้าสนบั สนุนระบบ
อัตโนมตั ิใหส้ ามารถคาดการณเ์ หตุการณใ์ นอนาคต โดย AI เปน็ ศาสตรแ์ หง่ การสรา้ งและฝกึ เคร่อื งจักรให้สามารถ
ทาํ สิ่งต่าง ๆ ทเี่ กนิ ขดี ความสามารถของมนษุ ย์ สามารถเรยี นรู้ ได้ดว้ ยตวั เองดว้ ยเทคนิค Machine Learing และ
Deep Learning ทําใหส้ ามารถวางแผนคดิ วเิ คราะหส์ ่ิงตา่ ง ๆ ด้วยเหตุและผลจนสามารถตอบโต้การสกนได้เป็น
อย่างดีดังท่ีเห็นในโปรแกรม ChatBot ที่ใช้อย่างแพร่หลายในการติดต่อกับลูกค้า และ AlphaGo ระบบ
ปญั ญาประดษิ ฐ์ท่ีพฒั นาโดย Google DeepMind ที่สามารถเอาชนะมนุษย์มือโปรในการแข่งขันหมากล้อมเป็น
คร้งั แรกของโลก ซ่ึงนบั เปน็ ก้าวสําคญั ในการปรบั ใช้ AI กบั กระบวนการท่ีซบั ซอ้ นมากข้ึน โดยในอนาคตระบ ม จะ
มคี วามสมารณละความเชย่ี วชาญในลักษณะเตียวกบั มนุษยต์ ลอดจนจะชว่ ยใหผ้ ปู้ ระกอบการปรับการดําเนินธรุ กิจ
เชงิ รุกและสามารถคาดการณค์ วามเปลีย่ นแปลงในห่วงโซอ่ ปุ ทานได้ โดยที IoT จะเป็นส่ิงสําคัญที่จะส่งต่อข้อมูล
ให้ระบบ AI ซ่ึงในปัจจุบันมีประสิทธิภาพ การเข้าถึงและค่าใช้จ่ายมีทิศทางที่เอ้ือต่อการใช้ระบบ AI ขึ้นตัว
ประสิทธิภาพทส่ี งู ขึน้ ของระบบข้อมูลขนาดใหญ่และระบบอัลกอริทึม การเช่ือมต่อบน Cloud ที่แพร่หลาย และ
พลังการประมวลผลทส่ี งู ข้ึน มตี ัวอย่างการใช้งาน ดงั นี้

 ยกระดบั การให้บริการลูกค้า ข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภคจะช่วยให้ระบบ AI
สามารถเรียนรคู้ วามชอบของลูกค้าแต่ละรายได้ ซง่ึ เป็นปัจจัยที่ช่วยสร้างความพอใจและ
เพิ่มยอดขายให้บริษัท โดยมีการนํามาปรับใช้อย่างแพร่หลายในแพลตฟอร์ม
E-Commerce และการโฆษณาสนิ ค้าออนไลน์

 การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของสํานักงาน การนําระบบ ม มาใช้เป็นโอกาสที่สําคัญ
ในการปรับปรุงการทํางานภายใน อาทิ การบัญชี การเงนิ ทรพั ยากรบคุ คล และ ระบบไอ
ที โดยท่ีระบบ AI จะช่วยงานท่สี ําคญั ของสาํ นักงานได้ เช่น การสร้างท่ีอยู่ของลูกค้าโดย
อัตโนมตั จิ ากข้อมลู ท่ีไดร้ ับการปรับปรุงล่าสดุ เพอ่ื เพิม่ ประสิทธิภาพในการจดั สง่ สนิ คา้

 ปรับกระบวนการทํางานด้วยห่นุ ยนต์ ระบบ มีความสามารถจดจาํ การเหน็ ภาพบรบิ ท การ
พูด การคิดในกระบวนการทํางานและนํามาวิเคราะห์ และสั่งการได้อย่างรวดเร็วด้วย
ความสามารถของระบบ จึงสามารถลดกระบวนกาทํางานท่ีใช้แรงงานสูงได้ เช่น การ
จัดเรียงวัสดุ การจดั การและการตรวจสอบสินค้า

5.1.31 ประโยชน์

 สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันผ่านการตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลและสามารถ
คาดการณไ์ ด้จากระบบ AI

 ลดตน้ ทนุ ตัวยกระบวนการที่มปี ระสทิ ธภิ าพสูง
 เพิม่ ความพงึ พอใจของลูกคา้ ผา่ นการปรับการให้บริการโดยใชร้ ะบบ AI

27

5.1.4 หุ่นยนต์ (Robotics) การพัฒนาระบบอัตโนมัติโดยการนําหุ่นยนต์เข้ามาช่วยดําเนินงานใน
กระบวนการโลจิสติกส์ได้รับการยอมรับ ในวงกว้างมากข้ึน เน่ืองจากความก้าวหนทางเทคโนโลยีท่ีรวดเร็ว
ประกอบกับการยินยอมท่ีจะจ่ายในราคาที่สูงข้ึนเพื่อยกระดับการบริการทําให้การใช้หุ่นยนต์ในกระบวนการ
ทาํ งานจึงมคี วามสาํ คัญทจี่ ะเป็นซอ่ งทางทาํ ให้ธรุ กิจเติบโตข้ึนในอนาคตอันใกล้

Robotics คือระบบจักรกลท่ีมีรูปแบบการทํางานท้ังในลักษณะที่ถูกควบคุมโดยมนุษย์และการใช้
ระบบ AI ในการควบคุมและสง่ั การ หรืออาจจะใช้ท้ังสองระบบควบคู่กัน Robotics เหล่าน้ี มีความสามารถใน
การดําเนินการในหลายระดับตั้งแต่กระบวนการพื้นฐานท่ีทําประจําทดแทนแรงงานมนุษย์ จนกระท่ังงานที่มี
ความชับซอ้ นหลายขั้นตอน สามารถปรับตวั ได้ตามสภาพแวดลอ้ มและวิเคราะห์และการตัดสินใจได้โดยไม่ต้องมี
การควบคมุ จากมนษุ ย์เช่น การใช้หุ่นยนตใ์ นคลังสินคา้ รถยนต์ท่ีเป็นอิสระหรือรถยนต์ท่ีไร้คนขับ มีรายละเอียด
ดงั น้ี

 รองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาด การเติบโตของตลาด E-Commerce ทําให้ผู้ให้
บริการโลจิสติกสต์ ้องมีการดําเนินธรุ กิจทเ่ี รว็ ข้ึนและมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น เริ่มตั้งแต่การ
ประมวลผลคาํ สั่งซ้ือของแต่ละบคุ คลจนถงึ การนําส่งสินคําถึงมือลูกค้า ดังน้ัน การทํางาน
ตัวยการนําหุ่นยนต์เขา้ มาช่วยจะทาํ ให้เกิดความรวดเร็วและมีความยึดหยุ่นเปล่ียนแปลง
ไปตามความตอ้ งการได้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในคลงั เก็บสนิ ค้าระบบอตั โนมัติท่ีต้องการความ
ถูกต้องแม่นยําจงึ จะเป็นการเพม่ิ ศักยภาพของธุรกิจได้มากขึ้นอย่างชัดเจน

 การพฒั นาส่คู ลังสินค้าอตั โนมัติ การใช้ห่นุ ยนต์ (Warehose robot) จัดการกจิ กรรมต่าง
ๆ ของคลังสนิ คา้ เชน่ การจัดเรยี งสนิ ค้าบนพาเลท (Pallet) การคล่ือนย้ายสินค้าขึ้น/ลง
จากรถบรรทกุ การบรรจหุ บี ห่อ และ การควบคมุ ระบบต่าง ๆ จะชว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพใน
การบริหารจัดการทรัพยากร ให้เหมาะสมกับอุปสงค์ของลูกค้าในขณะน้ัน สามารถ
เคลอ่ื นย้ายหนุ่ ยนต์ให้ไปช่วยในโรงงานที่มีความต้องการสูงกว่าได้ ซ่ึงอุตสาหกรรมยาน
ยนต์เป็นอตุ สาหกรรมท่มี ีศกั ยภาพในการปรบั ใช้คลังสินค้อัตโนมัติในการเก็บชิ้นส่วนยาน
ยนต์ และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ รวมถึงการบริหารจัดการเบิกอุปกรณ์ส่งไปประกอบรถยนต์และ
การขนสง่ รถยนต์ท่ีประกอบเสร็จแล้วส่ลู ูกคา้ โดยจะเป็นอุตสาหกรรมท่ีนําระบบหุ่นยนต์
เต็มรูปแบบเข้ามาใช้มากขึ้นในอนาคต

5.1.4.1 ประโยชน์

 เพิ่มความรวดเร็วและความยดึ หยุ่นในการตอบสนองความตอ้ งการของตลาด
 ทําให้แรงงานมีสุขภาพและความปลอดภัยที่ดขี ึน้
 เปิดโอกาสใหแ้ รงงานทกั ษะเฉพาะได้พฒั นาทักษะอยา่ งเต็มศกั ยภาพ

28

5.1.5 ยานพาหนะไรค้ นขบั (Autonomous Vehicles) การพฒั นายานพาหนะไร้คนขับมีแนวโน้ม
ใกล้จะสําเร็จจากการพฒั นาของเทคโนโลยี AI และระบบเซ็นเซอรซ์ ึ่งมีบทบาทสําคัญในการพลิกโฉมรูปแบบการ
ขนส่งตลอดทง้ั หว่ งโซ่อุปทาน เพ่มิ ประสทิ ธิภาพด้านพลงั าน แกป้ ัญหาการขาดแคลนแรงงาน ตลอดจนยกระดับ
ความปลอดภยั ในการขนสง่ สนิ คา้

Autonomous Vehicles หรือยานพาหนะไร้คนชับเป็นเทคโนโลยีหุ่นยนต์ข้ันสูง (Advance
Robotics) ปจั จุบันเทคโนโลยีน้สี ่วนใหญจ่ ะถกู ใช้งานเพ่อื เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บ ยกขน และคัดแยกใน
คลังสินค้าเปน็ หลักในรูปแบบของ Automated Guided Vehicle (AGV) ซ่ึงแนวโน้มการพัฒนาในข้ันต่อไปคือ
การปรบั ใชย้ านพาหนะไรค้ นชับในการขนสง่ สินคา้ แต่ยังคงตดิ อุปสรรคในเชิงกฎหมายและการยอมรับของสังคม
ในต้านความปลอดภยั มตี ัวอย่างดังน้ี

 Self Driving Truck เป็นนวัตกรรมทางโลจิสติกส์ที่จะกลายเป็นสิ่งจําเป็นสําหรับการ
ขนส่งสนิ ค้า และผูใ้ หบ้ ริการโลจิสตกิ ส์ในอนาคต ซง่ึ บริษทั ขนาดใหญ่ ในอตุ สาหกรรมยาน
ยนต์ ได้แก่ Scania Daimler Volvo บริษัทยานยนต์เกิดใหม่อย่าง Tesla และบริษัท
เทคโนโลยที ีเ่ ร่งพฒั นาเทคโนโลยรี ถบรรทกุ ไรค้ นขบั ให้สามารถใชง้ านได้จริง

 Platooning สําหรบั ในยุโรปได้มกี ารทดลองไข้ขบวนรถบรรทกุ ไร้คนขับท่ีมีคนขับรถนําช
บวนวง่ิ ขา้ มประเทศรูปแบบคลา้ ยกับการเดินแถวของทหาร โดยเช่ือมตอ่ กนั ผ่านเทคโนโลยี
5G โดยรถนําสามารถออกคําส่ังไปยังรถในขบวนให้ปฏิบัติตามหากพบสิ่งผิดปกติ
นอกจากนยี้ ังมีระบบ Senor Fusion ทเี่ ปน็ เรดาร์และกล้องติดต้ังกับตัวรถเพื่อวิเคราะห์
สภาพแวดลอ้ ระหว่างการขนสง่ ได้มากกว่าสายตาและการรับรู้ของมนุษย์ พร้อมระบบ AI
ในรถทสี่ ามารถพฒั นาให้ประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึนผ่าน การเรียนรู้ อย่างไรก็ตามเทคโนโลยี
ขบวนรถบรรทุกไรค้ นชับนเ้ี หมาะกับการว่งิ บนทางเฉพาะสําหรบั รถบรรทุกหรือถนนหลวง
ทีก่ ารจราจรไม่พลุกพลา่ นมากกวา่ การว่งิ ในเมอื ง

5.1.5.1 ประโยชน์

 ลดอตั ราการเกิดอุบัติหตุบนท้องถนนทม่ี ีสาเหตุจากความผิดพลาดของมนุษย์
 แกป้ ัญหาการชาดแคลนพนักงานขบั รถบรรทุกได้
 ลดต้นทนุ ค้นพลังงานและแรงงาน พร้อมทั้งเพิ่มความนําเช่ือถือในการบริการตลอด 24

ชว่ั โมง

5.1.6 อากาศยานไร้คนขบั (Drone) อากาศยานไรค้ นขบั จะเขา้ มาช่วยในการจัดส่งแบบถึงมือผู้รับ
(Last Mile Delivery) พร้อมทัง้ สามารถใชใ้ นการตรวจสอบคลงั สนิ คา้ ได้อย่างรวดเร็ว ลดขอ้ จาํ กัดด้านพ้ืนท่ีการ
จดั ส่งสนิ คแ้ ละตนั ทนุ การขนสง่ ในระยะยาวเมื่อเปรยี บเทียบกบั การจัดสง่ ดว้ ยรถบรรทุก

อากาศยานไรค้ นขับเป็นพาหนะที่ทํางานอัตโนมตั ิหรือสามารถควบคุมการทาํ งานได้จากระยะไกลซงึ่
เปน็ เหคโนโลยที เี่ ร่มิ ถกู นาํ มาใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย การใชง้ านของโดรนไมไ่ ด้จาํ กดั อยู่ในด้านบันเทิงและสันทนาการ

29

เท่านัน้ แตย่ งั ได้รับการพฒั นาให้สามารถใชป้ ระโยชน์ในอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ เช่น ด้านการเกษตรเพ่ือหว่านเมล็ด
พนั ธุ์ ฉีดพน่ ปุ๋ยและสารเคมี อตุ สาหกรรมขนสง่ และโลจสิ ติกสน์ ับเป็นอุตสาหกรรมกลุ่มแรกท่ีได้นําเทคโนโลยีโด
รนเข้ามาเพม่ิ ศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการขนสง่ สินคา้ ซงึ่ จะพลิกโฉมการขนส่งสินค้าให้สะดวกและรวดเร็ว
มากข้ึน มีตัวอย่างดังนี้

 Last Mile Delivery การใช้โดรนจดั สง่ สินค้าทางอากาศมีตนั ทุนต่าํ กว่าและจัดส่งสินค้า
ได้รวดเรว็ กวา่ การจัดส่งสินค้าทางถนน รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีโดรน จะช่วย
ผปู้ ระกอบการสามารถแกป้ ญั หาขาดแคลแรงงานภาคชนส่ง พร้อมปรับภาคธุรกิจให้เน้น
การขบั เคลอื่ นด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมากขึน้ บริษัท DHL เป็นบรษิ ัทหนึง่ ทไ่ี ดท้ าํ
การพัฒนาโดรนส่งสนิ คาํ โดยผ้ชู บั รกิ ารวางสินค้าที่ต้องการสง่ ไว้ที่ DHL Sky Port ซง่ึ เป็น
จดุ ท่ีโดรนจะรับและส่งสินคท้ ําการขนึ้ บนิ และลงจอดอัตโนมัติ ท้งั น้ีได้ทดสอบการส่งสินค้า
ในพน้ื ทีท่ ่ีเป็นภเู ขามีสภาพหนาวเย็นและมหี มิ ะ โดยใช้วลาเพียง 8 นาทีในการส่งสินค้าถึง
จุดหมาย เรว็ กว่าการจัดสง่ โดยรถยนตใ์ นระยะ ทางเดียวกนั ท่ใี ช้เวลาถงึ 30 นาที

 ประเทศจนี คือผนู้ ํา ประเทศจีนนับว่าเปน็ ประเทศทีม่ ีความก้าวหน้าของเทคโนโลยอี ากาศ
ยานไรค้ นขับมากท่สี ดุ โดยมีบริษัททเ่ี กีย่ วขอ้ งกับโดรนกว่า 2,000 บริษัท ท้ังเป็นผู้ผลิตโค
รนและผลติ ขน้ึ สว่ นและอปุ กรณท์ เ่ี ก่ียวข้อง ซึ่งมสี ว่ นแบ่งทางการตลาดท่ัวโลกกว่าร้อยละ
70 ทั้งน้ีบริษัท e-Commerce ของจีนท้ัง JD Group และ Alibaba ได้ทําการวิจัยและ
พฒั นาโดรน รวมถึงเร่ิมแขง่ ขันกันด้วยการนส่งสนิ ค้าด้วยโดรนในพื้นท่หี า่ งไกล

5.1.6.1 ประโยชน์

 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและความยืดหย่นุ ในการจัดสง่ สนิ คา้
 ลดความเสย่ี งจากอุบัตเิ หตุในพื้นท่ีอนั ตราย
 ชว่ ยในการตรวจสอบลาดตระเวนคลังสนิ ค้าและเส้นทางการขนสง่

5.1.7 เครือข่ายการเช่ือมต่ออัจฉริยะ (5G Network) เครือข่าย 5G จะเข้ามาช่วยให้อุปกรณ์
เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการเช่อื มตอ่ กันอย่างท่ัวถงึ ผา่ น LPWAN และ ดาวเทียมวงโคจรขนาดตํ่า ช่วยสนับสนุนการ
จัดสง่ สนิ คแ้ ละกรตรวจสอบยอ้ นกลับที่สมบรู ณแ์ ละเปน็ รปู ธรรมมากข้ึน

5G เป็นเทคโนโลยีด้นการสื่อสารยศใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นต่อยอดจากระบบ 5G โดยเฉพาะด้าน
ประสิทธิภาพการใชพ้ ลังงานและความเร็วในการสง่ ข้อมลู สามารถลดตน้ ทนุ และเพ่ิมความแม่นยําในการติดตาม
และตรวจสอบสถานะของพัสดุการขนส่ง ซ่ึงระบบ 5G จะทําให้การเชื่อมต่อ 1 ล้านอุปกรณ์ IoT ต่อกิโลเมตร
เปน็ ไปได้ ช่วยส่งเสรมิ เทศโนโลยที ่ีตอ้ งใชข้ อ้ มลู แบบ Realtime มีตวั อย่างดังน้ี

 Low-Power Wide Area Network (LPWAN) คอื การส่ือสารไร้สายแบบวงกว้างที่ใช้
พลังงานตาํ่ ออกแบบเพื่อใช้ส่ือสารระหว่างเคร่ืองจักร (M2M) และ IoT มีจุดเด่นในเร่ือง
ของการประหยดั พลงั งานในการสื่อสาร ในระยะไกลข้ึน โดยมีค่าใช้จ่ายที่ตํ่ากว่าการใช้

30

เครือข่ายมือถืออีกด้วย ปัจจุบันความต้องการใช้ LPWAN มีเพิ่มข้ึน เน่ืองจากเป็น
เทคโนโลยีท่ีเหมาะกับ ประเภทที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเป็นส่วนประกอบของ
E- Commerce Application และ การบริหารเมืองทีต่ อ้ งมกี ารสง่ ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์
เชือ่ มตอ่ เปน็ จํานวนมาก เพม่ิ ความสามารถในการตรวจสอบย้อนกลับและความโปรง่ ใส
 ดาวเทยี มวงโคจรตํา่ (Low Orbit-Satellites) ถือเป็นโครงข่ายหลักในการสร้างความ
ครอบคลุมของระบบโครงข่าย 5G ทั่วโลก ซ่งึ เป็นสิ่งสาํ คัญสาํ หรบั การดําเนินงานด้านโลจิ
สติกสใ์ นพนื้ ทีห่ ่างไกล ดาวเทยี มวงโคจรตํา่ สามารถติดต้ัง และ เปิดการงานเครือข่ายท่ีมี
ประสิทธิภาพสงู ไดท้ นั ที ในขณะทก่ี ารก่อสร้างโครงสร้างพนื้ ฐานด้านการสือ่ สารในปัจจุบัน
ตอ้ งใชเ้ วลานาน ท้งั นเี้ จ้าของเทคโนโลยี โดยเฉพาะดาวเทียมอาจได้รับผลกระทบด้านการ
แขง่ ขนั ทสี่ ูงข้ึน อาจมีการผกู ขาดและกีดกันในเชิงราคาเพอื่ รักษาความไดเ้ ปรียบ

5.1.7.1 ประโยชน์

 เช่ือมต่อกระบวนการโลจสิ ตกิ ส์ครบวงจร (End-to-End) ท่ัวโลก
 แบตเตอรป่ี ระหยัดพลังงานสาํ หรบั อุปกรณ์ IoT สามารถเร่งการตรวจสอบและติดตามใน

การขนส่ง
 การเช่ือมตอ่ ทีค่ รอบคลุมท่วั ถงึ ช่วยเพม่ิ ขดี ความสามารถและส่งเสรมิ ทางธุรกิจ

5.1.8 ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ (Blockchain) เป็นระบบฐานข้อมูล
สําหรบั การยืนยนั ตวั ตน ท่ีพฒั นาต่อยอดจาก Bitcoin ในจดั การธุรกรรมและ บันทึกความเป็นเจ้าของสินทรัพย์
ได้โดยไมต่ ้องอาศัยคนกลางทําให้ธรุ กรรมมคี วามโปรง่ ใสและตรวจสอบง่ายย่งิ ข้นึ คณุ สมบตั คิ นความปลอดภัย ทํา
ใหเ้ ทคโนโลยีน้ีถกู นาํ มาใช้ในการตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินเป็นอันดับแรกและถูกยกให้เป็นเทคโนโลยีที่จะ
เปลีย่ นรปู แบบการดําเนินธุรกจิ โดยเฉพาะในการค้าขายระดบั โลกท่ีหว่ งโซ่อุปทานมีความชบั ซ้อน ซึง่ มแี นวโน้มใน
การพัฒนา ดงั นี้

 รูปแบบการค้าโลกที่ถูกและเร็วขึ้น ด้วยระบบฐานข้อมูลบล็อคเชน ผู้เล่นในห่วงโซ่
อุปทานสามารถตรวจสอบข้อมูลสําคัญ เช่น สถานะการขนส่งสินค้และกระบวนการ
ศุลกากรพร้อมจ่ายเงินแบบอัตโนมัติผ่านระบบ Smart Contact เม่ือสินคําส่งมาถึง
ดงั เช่นตวั อยา่ งความรว่ มมอื ระหว่าง Maersk และ IBM ทง้ั น้ี ปัจจัยสําคญั คือผเู้ ลน่ ทุกคน
ตอ้ งใชร้ ะบบบลอ็ กเชนดว้ ย

 เพิ่มความสามารถในการตรวจสอบย้อนกลับและความโปร่งใส หลายบริษัทได้เร่ิม
พัฒนาระบบสําหรับตรวจสอบแหล่งท่ีมาสินค้าและกระบวนการผลิต โดยบริษัท
Everledger กาลังพฒั นาระบบตรวจสอบเพชรแทนทใ่ี บรบั รองของผ้ผู ลิต ผ่านการบันทึก
ขอ้ มูลรายละเอยี ดพิศษของเพชรแต่ละเมด็ กว่า 40 จุด ในรูปแบบDigital ID

 ความสนใจจากรัฐบาล ภาครัฐบาลเริ่มให้ความสนใจในการปรับใช้เทคโนโลยีน้ีในการ
ดําเนนิ การภาครัฐท่ีต้องบูรณาการข้อมูลจากหน่วยงาน เช่น ระบบศุลกากรในประเทศ

31

เกาหลีใต้ ระบบการจดั การตัวตนในประเทศเอสโตเนีย โดยส่วนใหญ่เป็นการร่วมมือกับ
บรษิ ัทเอกชนรายใหญ่ในการพฒั นา

5.1.8.1 ประโยชน์

 สรา้ งความโปรง่ ใสตลอดห่วงโซอ่ ปุ ทาน
 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพของการทาํ ธุรกรรมและกระบวนการภาครฐั
 รูปแบบธรุ กจิ ใหมท่ ี่จะเกดิ ขน้ึ เช่น บริการรบั ตรวจสอบสินคา้

5.1.9 โลจิสตกิ ส์เพื่อสงั คมสูงวยั (Grey Logistics) การปรับโครงสรา้ งประชากรสู่สังคมสูงวัยส่งผล
ให้เกิดการใหบ้ รกิ ารโลจิสตกิ สร์ ูปแบบใหม่ ๆ เพ่ือรองรับสังคมสูงวัย อาทิ การส่งยา และ เวชภัณฑ์ถึงบ้าน การ
พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สแ์ บบครบวงจรเพอื่ ให้บริการสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุ และการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้ามามี
สว่ นรว่ มในการให้บริการโลจสิ ตกิ ส์ ปจั จบุ ันประเทศไทยกําลงั ก้าวเขา้ ส่สู ังคมสูงวัย โดยในปี 2564 จะมีประชากร
สูงวัยร้อยละ 20 และมจี ํานวนเพิม่ ขึ้นอยา่ งต่อเนอ่ื ง ซง่ึ คาคว่าในปี 2579 จะมีประชากรสูงวัย สูงขึ้นถึงร้อยละ
30 ในขณะทป่ี ระชากรวยั เดก็ และวยั ทาํ งานลดลง ท้ังน้ี การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ส่งผลให้
ธรุ กิจทเี่ กี่ยวข้องกบั การดูแลผ้สู ูงอายโุ ดยเฉพาะการให้บริการถึงท่ีบ้านทั้งในพื้นท่ีเมืองและพื้นท่ีห่างไกล รวมท้ัง
การใหบ้ รกิ ารพิเศษเพือ่ ตอบสนองความต้องการของผู้สูงอายุ อาทิ การชนส่งยาท่ีต้องควบคุมอุณหภูมิถึงบ้านมี
ความจําเปน็ มากขนึ้ ดงั นน้ั ธุรกจิ ให้บริการโลจิสติกส์จําเป็นต้องมีการปรับรูปแบบการให้บริการท่ีเหมาะสมเพ่ือ
ตอบสนองต่อความตอ้ งการดงั กลา่ ว

 การให้บริการสุขภาพตรงถึงผู้ป่วย แนวโน้มการส่ังซ้ือยาและเวชภัณฑ์และบริการทาง
การแพทย์ออนไลน์เติบโตสูงข้ึน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุท่ีสามารถสั่งซื้อสินค้และ
บริการสําหรับชีวิตประจําวันผ่านทางออนไลน์ได้ ทําให้การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่
ควบคมุ ความเยน็ เพ่อื ส่งยาหรือเวชภัณฑ์ถงึ ผปู้ ่วยหรอื ผู้สงู อายุมคี วามจาํ เปน็ มากขน้ึ

 การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ชวงสุดท้ายแบบเพ่ิมมูลค่า เป็นการเพ่มิ รูปแบบการให้บริการให้ครบ
วงจรมากย่ิงขึ้นนอกเหนือ จากการจัดส่งสินค้า โดยการให้บริการเสริมครอบคลุมถึงการ
บรกิ ารทําความสะอาด การซอ่ มแซมส่ิงของหรือเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า การใหค้ วามชว่ ยเหลือทาง
เทคโนโลยี รวมทงั้ บริการตรวจสขุ ภาพเบื้องตัน นอกจากน้ี ในอนาคตการเดิมวัตถุดิบและ
อา หารในตู้เย็นหรือย า ในกล่อง ย าสา มารถ ดํา เนินกา รได้อัต โ นมัติผ่ านมือถือเพีย ง แ ค่
ลงทะเบียนรูปแบบการจดั ส่งสินค้าทตี่ ้องการไว้

 แรงงานสูงวัย ประชากรวยั แรงงานมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมผู้สูงอายุท่ี
ยงั มศี กั ยภาพใหม้ าทาํ งานในอุตสาหกรรมโลจิสตกิ ส์จะสามารถบรรเทาปัญหาดังกล่าวได้
นอกจากน้กี ารนําประสบการณ์ของผู้สูงอายุมาถ่ายทอดให้กับคนรุ่นใหม่ผ่านการทํางาน
รว่ มกนั จะเป็นอกี เครอื่ งมือหนึง่ ในการพัฒนาทรัพยากรบคุ คลได้อย่างประสทิ ธิภาพ

32

5.1.9.1 ประโยชน์
 โอกาสทางธรุ กจิ ใหม่ ๆ จากการให้บรกิ าร โลจสิ ติกส์ที่เพม่ิ มูลคา่
 การเตบิ โตของการซ้ือสนิ ค้าออนไลนข์ องกลุ่มผู้สูงอายุจะช่วยเพิ่มปริมาณและตารางการ
ขนส่งในเส้นทางเฉพาะ

5.2 ตวั อยา่ งการประยุกดใ์ ชเ้ ทคโนโลยีด้านบรกิ ารโลจสิ ติกส์
เทคโนโลยี Connected GPS, Logistics Cloud และ Big Data กําลังจะเข้ามาเปล่ียนโฉมหน้า

อุตสาหกรรมการขนส่งทางถนนคร้ังสาํ คญั โดยเทคโนโลยีเหล่านี้ไม่เพียงแต่ช่วยแก้ไขปัญหาดั้งเดิมในการขนส่ง
เช่น ความปลอดภยั การตรงต่อเวลา แต่ยังชว่ ยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ใหแ้ ก่ผูป้ ระกอบการ โดยการ
เก็บรวบรวมขอ้ มลู เพ่อื นาํ ไปสกู่ ารวิเคราะห์และการวางแผนการขนส่งใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ข้ึนในอนาคต

ผูป้ ระกอบการขนสง่ ไทยมีแนวโน้มที่จะนําเทคโนโลยี Connected GPS, Logstics Cloud และ Big
Data analysis มาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพการขนส่งโดยมือพิจารณาถึงปัจจัยผลักดัน 3 ประการ ได้แก่
ประโยชน์ ความซบั ซอ้ นของเทคโนโลยี และการยอมรับจากผู้ใช้งาน พบว่า เทคโนโลยีทั้ง 3 ประเทศ สามารถ
ตอบโจทย์ความต้องกรของผู้ประกอบการไทยได้ในรูปแบบท่ีแตกต่างกัน อีกทั้งเทคโนโลยีเหล่านี้ยังเสริม
ความสามารถซงึ่ กนั และกัน

ในระยะเรม่ิ ต้น Connected GPS จะมบี ทบาทช่วยใหผ้ ู้ประกอบการสามารถติดตามข้อมูลการขนส่ง
สินค้าได้อย่างวดเร็ว โดย Conneted GPS เป็นนวัตกรรมท่ีได้จากความเร็วในการส่งข้อมูลที่เพ่ิมข้ึน ทําให้
ผ้ปู ระกอบการสามารถมองเห็นรถขนส่งได้แบบ real-time ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาที่สะสมมานานในอุตสาหกรรม
เช่น การขบั ออกนอกเสน้ ทาง การใช้ความเรว็ เกินกําหนด การเบกิ ค่านํ้ามันเกินอัตรา เปน็ ต้น

จากกรณีศึกษาของบริษัท DHL ประเทศไทย พบว่า การติดตั้ง Connected GPS ทําให้บริษัท
สามารถลดการใช้เช้อื เพลิงได้เกอื บ 49 อีกท้ังเทคโนโลยี Connected GPS น้ันมีความซับช้อนไม่มากนัก มีเพียง
อปุ กรณ์สง่ สญั ญาณและการแสดงผลเทา่ น้นั จงึ ทาํ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ และคนขับสามารถรับใช้เทคโนโลยีได้อย่าง

33

รวดเร็ว ทั้งนี้จากประโยชน์ข้างต้น กรมการขนส่งทางบกจึงได้ออกกฎข้อบังคับให้รถบรทุกและรถโดยสาร
สาธารณะทุกคันต้องติดตั้งระบบ Connected GPS ภายในปี 2563 ซึ่งปัจจัยสนับสนุนสําคัญในการเร่งใช้
เทคโนโลยดี งั กลา่ วอกี ดว้ ย
5.3 ตวั อยา่ งการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีด้านบริการโลจิสติกส์ยคุ Social Commerce

ปัจจบุ นั ระบบ E-Logistic บนแพลตฟอรม์ ออนไลน์ กําลังไดร้ บั ความนิยมอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคที่
ตอ้ งการส่งมอบสนิ ค้าอยา่ งความรวดเร็ว ใช้งานได้ง่าย และสะดวก โดยเฉพาะอย่างย่ิงระบบบริการจองขนส่ง
ออนไลนท์ ่ีเป็นแอปพลิเคชั่นทีอ่ ินเตอรเ์ ฟซ สามารถเชอ่ื มต่อทุกระบบขนส่งมาไว้ในระบบเดียว โดยช่วยให้การใช้
บริการขนส่ง สามารถเลือกจองขนส่งไดต้ ามที่ตอ้ งการและสามารถเปรยี บเทยี บราคาคา่ จดั สง่ สนิ ค้า การชําระเงิน
ออนไลน์ไดง้ ่ายผ่านบัตรเครดติ และบัตรเดบิต ออกหมายเลขพัสดุ และพิมพ์ใบปะหน้าพัสดุได้จากระบบได้ทันที
รวมถึงการติดตามสถานะพัสดุผ่านระบบด้วย ทําให้ควบคุมค่าใช้จ่ายและวางแผนค่าขนส่งล่วงหน้าได้อย่าง
งา่ ยดายนอกจากน้ียังมีบริการรบั ของถึงบ้าน หรอื ไมต่ อ้ งรบั คิวเข้าแถว ส่งผลดีในการประหยัดเวลาในการจัดส่ง
สินค้าไดส้ ูงถงึ 60% และประหยัดค่าใช้จา่ ยในการขนสง่ ไดถ้ ึง 20%

บริษัท ชิปป๊อบ จํากัด (Shippop Co., Ltd) บริษัทประเภท Start-up สัญชาติไทยเป็นอีกตัวอย่าง
หนึ่งของผู้ให้บริการดา้ นระบบโลจสิ ตกิ สค์ รบวงจร ที่รรบรวมบริษัทขนส่งมาไว้ในระบบเดียว เพื่อให้ง่ายต่อการ
เชอื่ มต่อและเลอื กใช้บรกิ ารทหี่ ลากหลาย ทางเลอื กใหม่ของผ้ปู ระกอบการในยคุ Social Commerce ท่ไี ด้รบั การ
สนับสนุนหลักจากบริษัท อฟี รา สตรกั เจอร์ จํากดั (E-frastructure Inc.) ประเทศไทย และ บริษทั อีโลจิส จํากัด
(E-logist Co., Ltd) ประเทศญี่ปุ่น เปิดให้บริการต้นระบบโลจิสติกส์ครบวงจรบนแพลตฟอร์มออนไลน์โดยทํา
หน้าที่เป็น Shiping Gateway ท่ีมี API (Application Programming Interface) สามารถเช่ือมโยงทุกระบบ
ขนส่งมาไวใ้ นระบบเดยี ว พร้อมเช่ือมต่อกับMarketplace หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้ทันทีและมากที่สุดในประเทศ
ไทย โดยมีการร่วมมือกับพันธมิตรด้านการขนส่ง อาทิ ไปรษณีย์ไทย, SCG Yamato Express, Ninja Van,
LALAMOVE, SKOOTAR, Alpha Fast, Kerry Express, SG Express, Sendit และ Niko’s Logistics

34

35

บทท่ี 6 การพัฒนาธุรกิจใหบ้ ริการโลจสิ ตกิ สใ์ หไ้ ดก้ ารรบั รองตามมาตรฐาน ISO9001

การพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ให้ได้การรับรองตามมาตรฐาน ISO 9001 โดยได้จัดทําระบบ
ทํางาน และเอกสารตา่ งๆ เพื่อพัฒนาระบบการทาํ งาน ดงั ต่อไปน้ี

6.1 ข้ันตอนการดําเนนิ งานสรู่ ะบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001:2015
การท่อี งคก์ รจะไดร้ บั การรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 ต้องดาํ เนนิ การเป็นข้นั ตอน

ดังน้ี

6.1.1 ขน้ั ตอนที่ 1 การเตรียมการและศึกษา
ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 เป็นระบบซงึ่ ทุกหน่วยงานในองค์กรจะต้องมีส่วนร่วม

ในการนาํ เอาระบบไปประยุกต์ใช้ในองค์กรบุคลากรทุกคนจึงมีความสําคัญต่อความสําเร็จของระบบโดยฉพาะ
อย่างย่ิงผู้บริหารระดับสูงด้องมีความมุ่งมั่นในการนําระ บบมาใช้ในองค์กร และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
โดยกิจกรรมต่างๆ ที่ผบู้ รหิ ารตอ้ งเตรียมและดาํ เนนิ การดงั นี้

 แต่งตงั้ คณะกรรมการดาํ เนินการ ISO 9001:2015
 จัดต้ังผปู้ ระสานงานคุณภาพหรือตวั แทนฝ่ายบริหารตน้ คุณภาพ (Quality Management

Representative: QMR)
 จัดต้งั ทาํ งานในหนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ (Working Team)
 จดั งบประมาณสําหรบั ค่าใชจ้ ่ายทีจ่ ะเกิดขึ้น
 จดั ใหม้ ีการศกึ ษา ฝึกอบรมและเรียนรู้ ทงั้ ความรดู้ ้านมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO

9001:2015 และความร้ใู นหน้าท่ที ่ีได้รับมอบหมาย

6.1.2 ขั้นตอนท่ี 2 การทบทวนสถานะระบบงานปัจจุบนั
องค์กรต้องตรวจสอบเพื่อประเมินสถานะปัจจุบันขององค์กร โดยเทียบกับข้อกําหนดของ

มาตรฐาน ISO 9001:2015 เพ่ือจะได้ทราบว่าสภาพการดําเนินงานปังจุบันน้ันมีความสอดคล้องกับข้อกําหนด
อย่างไรบ้างมีการดาํ เนนิ การเป็นกระบวนการหรอื ไม่ ถ้าไมส่ อดดองควรปขับปรุงให้สอดคล้องกับข้อกําหนด โดย
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึน้ อาจมดี งั น้ี

 กาํ หนดนโยบายคุณภาพ ซง่ึ สามารถนําไปปฏิบัติทําใหส้ าํ เรจ็ และประเมินคา่ ได้
 จดั ทําวตั ถุประสงค์คณุ ภาพ
 กาํ หนดขอบเขตของหน่วยงานหรือกระบวนการตามผงั องค์กรใหช้ ดั เจน
 วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบข้อกําหนด เพอ่ื ตรวจสอบสิง่ ทีม่ ีอยกู่ ับสงิ่ ท่ีขาตไป

36

 จดั ทาํ แผนการดําเนินงานท่ีแสดงถงึ ข้นั ตอน กิจกรรม ระยะเวลา และผรู้ ับผดิ ชอบ

6.1.3 ข้นั ตอนท่ี 3 การจดั ทําเอกสารระบบบรหิ ารงานคุณภาพ
 จัดทําเอกสารระบบคณุ ภาพ ดงั หัวข้อต่อไปนี้
 นโยบายคณุ ภาพ (Quality Policy) และวัตถปุ ระสงค์คุณภาพ (Quality Objectives)
 ผงั โครงสร้างองค์กร (Organization Chart)
 กําหนดอํานาจหน้าท่ีความรับผิดชอบ (Job Description/Job Specifrcation)
 คมู่ ือคณุ ภาพ ระเบยี บปฏิบตั ิงาน วิธปี ฏบิ ัตงิ าน และเอกสารสนบั สนนุ
 ตรวจสอบ ทบทวน และอนุมัติเอกสารกอ่ นนําไปใช้

6.1.4 ขั้นตอนที่ 4 การปฏบิ ตั งิ านตามระบบบรหิ ารคุณภาพ
การนําระบบบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติน้ันเรียกว่า "การติดตั้งระบบบริหารคุณภาพ" คือ

องคก์ รจะตอ้ งนาํ เอาเอกสารระบบบริหางานคณุ ภาพทไี่ ดจ้ ดั ทําขึ้นไปใช้จรงิ ให้เกดิ ประสทิ ธิผล โดยมชี น้ั ตอนต่าง ๆ
ดงั นี้

 สอน และฝึกอบรมพนักงาน จัดให้มีการฝึกอบรม หรือประชุม ช้ีแจง ทําความเข้าใจกับ
ผู้ปฏิบตั ิงานที่เกย่ี วข้องทุกสว่ นให้ทราบรายละเอียดข้อกําหนด ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่
เก่ียวข้อง และเหตุผลท่ีต้องปฏิบัติตามเอกสารต่าง ๆ ในระบบคุณภาพ รวมท้ังปลุก
จติ สํานกึ บุคลากรให้เชอ่ื มน่ั ในระบบคุณภาพและซกั ซอ้ มความเข้าใจในการปฏิบัติงานตาม
ระบบ

 ประกาศใช้ระบบบริหารงานคุณภาพ ประกาศใช้เอกสารทั้งหมด หรือบางสว่ นที่พร้อมเพื่อ
ทดลองปฏบิ ัติจะได้ทราบถึงปัญหาและข้อขัดข้องตา่ งๆ สําหรับนําไปปรับปรุงต่อไป

 บันทึกผลการปฏิบัติงาน หลังจากที่ได้ปฏิบัติตามที่เขียนเอกสารไว้ ผู้ปฏิบัติจะต้องแจ้ง
หัวหน้าหนว่ ยงานถงึ ผลการดําเนินงานตามเอกสารทง้ั ในแง่ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
รวมทง้ั ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ แก้ไขเอกสาร

 ปรับปรงุ แก้ไขถ้าจําเปน็ หากจําเปน็ อาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเอกสารให้สามารถนําไป
ปฏิบัติได้จริงและมีประสทิ ธิผล

6.1.5 ขัน้ ตอนที่ 5 การตรวจติดตามคณุ ภาพภายใน
มกี ารคดั เลอื กพนกั งานเป็นทีมตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal Quality Auditor) โดย

คัดเลือกจากหลายหน่วยงานในองคก์ ร เพราะการตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในต้องตรวจทุกหน่วยงานบคุ คลที่เป็น
ผ้ตู รวจตอ้ งมีความเปน็ อิสระจากหนว่ ยงานท่ตี นไปตรวจ คือไม่ตวจหน่วยงานที่ต้นสังกัดอยู่หลักสูตรท่ีอบรมอาจ
อบรมโดย QMR หรอื ทปี่ รกึ ษาผมู้ ปี ระสบการณ์อย่างดแี ล้ว หรืออาจส่งทีมตรวจติดตามคุณภาพภายในไปอบรม

37

หลกั สตู รการเป็นผู้ตรวจติดตามคุณภาพภายในจากหน่วยงานภายนอกก็ได้จะต้องมีการตรวจติดตามคุณภาพ
ภายในตามแผนทีว่ างไวเ้ พ่ือให้ทราบว่ระบบบริหารคุณภาพเป็นไปตามกระบวนการการจดั ทาํ ผลติ ภัณฑ์ที่วางแผน
ไว้ และสอดคล้องกบั ขอ้ กําหนดของมาตรฐานสากลฉบบั นี้ และกบั ขอ้ กําหนดระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีองค์กรจัดทํา
ขึ้น และระบบบรหิ ารคณุ ภาพดาํ เนินอย่างมปี ระสทิ ธิผลหรอื ไม่ถ้าทาํ การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในแล้วพบว่ามี
ขอ้ บกพร่อง ทมี ตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายในจะต้องรีบแจ้งต่อผู้รบั ผดิ ชอบโดยเร็ว โดยออกใบให้มีการปฏิบัติการ
แก้ไข (Corrective Action Request: CAR) ผู้รับผิดชอบต้องประเมินลักษณะของข้อบกพร่อง และดําเนิน
มาตรการป้องกนั และแก้ไขปรบั ปรุงทนั ที

6.1.6 ขั้นตอนที่ 6 การตรวจประเมนิ และให้การรับรองโดยสถาบันให้การรบั รอง
เมื่อองค์กรดําเนินการจัดระบบคุณภาพ และพัฒนาจนได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว เพื่อแสดงขีด

ความสามารถขององค์กร ตลอดจนบง่ บอกถงึ ความสาํ เรจ็ อย่างแท้จรงิ ของการนาํ ระบบการบริหารงานคุณภาพไป
ใช้ โดยการขอรับการรับรองจากหนว่ ยรับรอง (Certification Body: CB)

6.2 ตวั อย่างการประยกุ ตใ์ ช้ข้อกาํ หนดระบบ ISO9001:2015 กบั ธุรกิจบริการโลจิสตกิ ส์
ธรุ กิจบริการโลจิสติกสท์ ่ีมคี วามประสงค์จะขอรบั รองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ต้องศึกษา

เนอ้ื หาข้อกําหนดของระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001:2015 ฉบับล่าสุดตามท่ี International Organization for
Standardiztion ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2558 นํามาพัฒนางานและปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ
ขอ้ กําหนด 10 ขอ้ ซ่ึงข้อท่ี 1 ถงึ ข้อที่ 3 เปน็ คําอธิบายขอบเขต เอกสารอา้ งอิง และบทนิยาม และข้อท่ี 4 ถึงข้อที่
10 เป็นข้อกาํ หนดทหี่ น่วยงานท่จี ะขอรับรองหรือได้รบั การรบั รองแล้ว ตอ้ งยึดถอื เปน็ หลกั ในการดาํ เนินงาน ดังน้ี

ตัวอยา่ งการกําหนดขอบข่ายรับรองระบบ ISO9001:2015

ชอ่ื : บริษทั ธรุ กจิ โลจสิ ติกส์ไทย จํากัด

ขอบข่ายขอรับรองระบบ : ใหบ้ รกิ ารเชา่ พืน้ ที่วางแทงก์เคมีและขนสง่ แทงก์เคมี

ที่ต้งั : เลขท่ี 99 ถนนบางนาตราด ตาํ บลบางพลใี หญ่ อาํ เภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ

6.2.1 ตัวอยา่ งการจดั ทําเอกสารตามขอ้ กกาํ หนด ISO 9001:2015
6.2.1.1 ขอบเขต (Scope)

มาตรฐานสากลฉบับน้รี ะบุขอ้ กาํ หนดสาํ หรบั ระบบบริหารคณุ ภาพ
a) ต้องแสดงให้เห็นถงึ ความสามารถในการผลติ สนิ ด้หรือการบรกิ ารทีส่ อดคลอ้ งกับข้อกําหนด
ของลูกค้าหรือ ผรู้ ับบรกิ าร กฎระเบียบ และข้อกาํ หนดของมาตรฐานสาลกลฉบบั นีท้ ีป่ ระยุกต์ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
b) มีเป้าหมายเพ่ือเพ่ิมความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้รับบริการจากการประยุกต์ใช้ระบบ
บริหารคุณภาพทีม่ ีประสทิ ธผิ ล ปรบั ปรุงกระบวนการปฏิบัตงิ านอยา่ งเหมาะสมและต่อเนื่อง รวมท้ังรับรองความ
สอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ กาํ หนดของลูกคา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ าร กฎระเบยี บ และข้อกาํ หนดของมาตรฐานสากลฉบบั น้ี

38

ขอ้ กําหนดท้งั หมดของมาตรฐานสากลฉบับน้ีเป็นขอ้ กาํ หนดทั่วไป และมีเจตนาเพื่อประยุกต์ใช้
ไดส้ ําหรบั องค์กรใด ๆ โดยไม่คาํ นงึ ถงึ ประเภท ขนาด ผลติ ภณั ฑ์ หรอื บรกิ าร
หมายเหตุ 1 มาตรฐานสากลฉบับน้ี คําว่า “ผลิตภัณฑ์ (Product)” หรือ “บริการ (Service)” ใช้สําหรับสินค้า
หรือบริการสําหรับลูกค้าหรอื ผรู้ ับบริการทัว่ ไป
หมายเหตุ 2 ขอ้ กาํ หนดขององคก์ รและกฎระเบยี บทางราชการ ถอื วา่ เปน็ ขอ้ กําหนดตามกฎหมาย

6.2.1.2 เอกสารอา้ งองิ (Normative References)
เอกสารทงั้ หมดหรอื บางส่วนซ่ึงอ้างอิงถึงในมาตรฐานสากลฉบับนี้และเป็นส่ิงจําเป็นในการ

ประยกุ ต์ใช้ ใหร้ ะบเุ ฉพาะฉบบั ทีพ่ ิมพ์ กรณที ่ไี มไ่ ด้ระบุวัน เดอื น และปที ่พี ิมพ์ถือว่าเป็นเอกสารอ้างอิงฉบับล่าสุด
รวมถงึ กรณีมีการเปล่ยี นแปลง

6.2.1.3 คําศพั ท์และคาํ จํากดั ความ (Terms and Definitions)
สาํ หรับวตั ถุประสงคข์ องมาตรฐานสากลฉบับนี้ให้นําคําศัพทแ์ ละ คาํ จาํ กดั ความทีก่ ําหนดไวใ้ น

ISO9001:2015 มาประยุกต์ใช้
6.2.1.4 บริบทองคก์ ร
 ความเข้าใจองคก์ รและบริบทขององคก์ ร
บรษิ ัท ธรุ กิจโลจิสติกส์ไทย จํากัด พิจารณากําหนดประเด็นท้ังภายใน และภายนอกท่ีมี

ความเก่ียวข้องกับวตั ถุประสงค์ และกลยทุ ธ์ และการส่งผลกระทบต่อความสามารถในการบรรลุผล ตามเจตนา
ของระบบบรหิ ารคณุ ภาพบริษัท ไดต้ ดิ ตามและทบทวนขอ้ มลู จากประเดน็ ภายในและภายนอก อย่างน้อยปีละ 1
คร้งั หรอื ทกุ คร้ังท่มี กี ารเปลี่ยนแปลง
หมายเหตุ 1 ประเดน็ หมายรวมถึงปจั จยั ดา้ นบวก และด้านลบหรือเงอ่ื นไขสําหรบั พิจารณา
หมายเหตุ 2 บรบิ ทของประเดน็ ภายนอกอาจรวมถึง ประเด็นทม่ี าจากกฎหมาย เทคโนโลยี แขง่ ขนั การตลาด
วัฒนธรรม สงั คม และสภาพเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะในระดับนานาชาติ ระดบั ประเทศ ระดบั ภมู ิภาค หรอื ระดบั ทอ้ งถน่ิ
หมายเหตุ 3 บริบทประเดน็ ภายในอาจรวมถงึ ประเด็นทเ่ี กี่ยวข้องกับค่านิยม วัฒนธรรม ความรู้ และสมรรถนะ
ขององค์กร

39

ตวั อย่างการจดั ทําบริบทองคก์ ร ประเดน็ ภายใน/ภายนอก และผลกระทบทางบวกและลบ

จุดประสงค์ขององค์กร (วสิ ัยทัศน์)
เปน็ ผู้นาํ ให้บริการเช่าพนื้ ทวี่ างแทงก์เคมี และขนส่งแทงกเ์ คมที ่ีมีระบบมาตรฐานสากล และความปลอดภัยใน

การขนส่งแทงค์เคมี ในพน้ื ท่ีภาคนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวนั ออกอันดับที่หน่งึ

กลยทุ ธข์ ององค์กร (วธิ ีการทท่ี าํ ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ หรือเรียกอกี อย่างว่า ภารกิจ) ได้แก่
1. จัดหารถขนสง่ แทงค์เคมีให้เพียงพอตอ่ ความต้องการ
2. พัฒนาพนกั งานขบั รถแทงคเ์ คมี ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถในการขนส่งสินค้าทป่ี ลอดภยั
3. มีระบบติดตาม GPS ในการตดิ ตามเส้นทางการขนส่งสนิ ด้ และติดตามพฤตกิ รรมของพนักงานขบั รถใหข้ ับรถได้

อย่างปลอดภัย
4. มกี ารบาํ รุงรักษารถขนส่งแทงคเ์ คมี และลานตใู้ หอ้ ยใู่ นสภาพปกติใชง้ านได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
5. ควบคมุ ความปลอดภัยในการขนสง่ สนิ ดแ้ ทงค์เคมี และลานตู้

ผลลัพธ์ตามที่คาดหวงั ไว้ขององค์กร (เป้าประสงคข์ ององคก์ ร) ได้แก่
1. สง่ สนิ คา้ ได้ตรงเวลาตามกาํ หนด
2. สินคา้ ทสี่ ่งไม่เสยี หาย
3. สินคา้ ได้รับการดแู ลรักษาตามขอ้ กาํ หนดของลูกคา้
4. ไมม่ อี บุ ัตเิ หตจุ ากการขนสง่ สนิ คา้

ปัจจยั ภายใน (Internal Factors) จุดแขง็ (Strengths)
สิ่ ง ท่ี อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ก า ร ค ว บ คุ ม ข อ ง อ ง ค์ ก ร ที่ 1. พนักงานมีทักษะทด่ี ีในการขนสง่ แทงกเ์ คมี
2. องค์กรมีการความสมั พนั ธ์ทด่ี กี ับลกู คา้
เกี่ยวข้องกับจุดประสงค์ และกลยุทธ์ ขององค์ก ร
เฉพาะท่ีสง่ ผลกระทบต่อความสามารถขององค์กร ใน จดุ ออ่ น (Weaknesses)
การบรรลผุ ลลัพธต์ ามที่คาดหวังไว้ ไดแ้ ก่ 1. พนักงานใหมข่ าดทักษะในการทํางานทีด่ ี
1. คน เชน่ ความรู้ ทักษะ ทัศนคตทิ ี่เก่ยี วกบั การทาํ งาน 2. การซ่อมบาํ รงุ รกั ษายงั ไม่เป็นไปตามแผนการบาํ รงุ รกั ษา
3. เวลาการขนสง่ สินไดไ้ ม่เปน็ ไปตามแผนทําใหส้ ญู เสียเวลา
อตั รากาํ ลงั คน การขนสง่ สนิ คา้
2. รถขนสง่ เชน่ จาํ นวนเพยี งพอ สภาพปลอดภัยพรอ้ ม

ใชง้ าน
3. เครื่องมอื อปุ กรณ์ (GPS รถโฟคลิฟท์ ตู้คอนเทน

เนอร)์ เช่น จํานวนเพยี งพอ สภาพปลอดภยั พรอ้ มใช้
งาน
4. ระบบงาน (ขั้นตอนการทาํ งาน วิธีการทาํ งาน
โปรแกรมควบคุมการขนสง่ ) เช่น งา่ ย สะดวก ต่อ

40

การใชง้ าน และสามารถทํางานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง โอกาส (Opportunities)
5. ทําเล ทต่ี ้งั สํานกั งาน เชน่ สะดวกตอ่ การเดินทาง 1. มีโอกาสในการขยายธรุ กจิ การขนสง่ ใหก้ ับบรษิ ทั กลมุ่ เคมใี น
มาบตาพดุ
ปัจจยั ภายนอก (External Factors)
สิง่ ที่ไม่อยภู่ ายใต้การควบคมุ ขององค์กรท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั อปุ สรรค (Threats)
จุดประสงค์ และกลยทุ ธ์ขององคก์ ร เฉพาะทส่ี ง่ ผล 1. คู่แข่งในธุรกิจเดยี วกันเพม่ิ ข้นึ
กระทบต่อความสามารถขององคก์ ร ในการบรรลผุ ล 2. เศรษฐกจิ มภี าวะชะลอตวั ทําใหล้ กู ค้าลดลง
ลัพธต์ ามท่คี าดหวงั ไว้ ได้แก่ 3. กฎหมายเกี่ยวกับการขนสง่ ในการต่อพ่วง ในการตดิ ตง้ั
1. สภาพเศรษฐกิจ อุปกรณเ์ พมิ่ ทาํ ใหต้ น้ ทุนเพมิ่ และการตอ่ ใบขบั ข่ีประเภท 4
2. กฎหมาย กฎระเบยี บ การขนสง่ สารเคมอี ันตราย
3. เทคโนโลยี เชน่ ระบบ GPS 4. ไฟดบั ทาํ ใหไ้ ม่สามารถทาํ งานได้
4. สภาพการแข่งขนั เชน่ การเปดิ AEC
5. ตน้ ทนุ เชอ้ื เพลิง

 ตวั อยา่ งความเข้าใจความตอ้ งการและความคาดหวงั ของผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง
เนือ่ งดว้ ยผลกระทบหรือแนวโน้มผลกระทบต่อความสามารถของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย

จํากดั ในการจะรกั ษาความสามารถในการใหบ้ ริการ เป็นไปตามข้อกาํ หนดของลกู คา้ และข้อกําหนดทางกฎหมาย บรษิ ัทได้
พจิ ารณา

a) ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ท่เี กี่ยวข้องกับระบบรหิ ารคณุ ภาพ
b) ข้อกําหนดของผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ระบบบรหิ ารคุณภาพ
บรษิ ัท ธรุ กิจโลจสิ ติกส์ไทย จํากดั ไดต้ ดิ ตามและทบทวนข้อมูลของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและขอ้ กาํ หนดท่เี กยี่ วข้อง
เหลา่ นั้นอยา่ งน้อยปลิ ะ 1 ครั้งหรอื ทุกครั้งที่มีการเปล่ียนแปลง

ตวั อยา่ งการประเมนิ ความเขา้ ใจความต้องการและความคาดหวงั ของผมู้ สี ่วนเกย่ี วขอ้ ง

ผูท้ ่ีมสี ่วนไดเ้ สยี ความต้องการ(ข้อกาํ หนด) ความคาดหวงั

ผบู้ รหิ าร 1. สามารถปฏบิ ัตงิ านตามขอ้ ตกลง ความพึงพอใจของลกู คา้ และความเชือ่ มั่นจาก

ลกู ค้าทีม่ กี บั บริษทั

คาดหวังในการบรหิ ารทรพั ยากรในการ

ปฏบิ ัตงิ านใหม้ ีประสิทธิภาพ

พนกั งาน 1. รายไดท้ ม่ี ่นั คง ความมั่นคงในอาชพี

2. การทาํ งานท่ีราบร่ืนไม่มอี ปุ สรรค การเพ่มิ ทกั ษะและการเตบิ โตในหนา้ ท่กี ารงาน

ลกู คา้ 1. สิ่งสินคา้ ไดต้ รงเวลาตามกาํ หนด การดาํ เนนิ การตามท่ลี ูกคา้ รอ้ งขอไดอ้ ยา่ ง

2. สินค้าทส่ี ่งไมเ่ สยี หาย สม่ําเสมอ และมีการปรบั ปรงุ ตามทรี่ อ้ งขอ

3. สินค้าไดร้ บั การดูแลรักษาตาม อยา่ งต่อเน่อื ง

41

ข้อกาํ หนดของลกู คา้ การสรา้ งความสัมพนั ธ์และการใชบ้ รกิ ารใน
ผู้ให้บริการจากภายนอก 1. ต้องการใหบ้ รกิ ารจากทางบริษัท ระยะยาว
การให้ข้อมลู เชิงวิเคราะหแ์ ละการใหค้ ําแนะนาํ
ผู้ขายสินคา้ /ผู้ใหบ้ รกิ าร 1. การสอื่ สารทคี่ รบถว้ น ต่างๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การใหบ้ ริการ
2. ระบบงานทีม่ ีประสทิ ธิภาพ
3. สภาพแวดล้อมทปี่ ลอดภยั

 ตัวอย่างการพจิ ารณาขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ
บรษิ ทั ธุรกจิ โลจสิ ติกส์ไทย จาํ กัด กําหนดขอบเขตและการประยกใชข้ องระบบการบรหิ ารคุณภาพเพื่อ

ระบขุ อบเขตของการใช้งานเมอ่ื พจิ ารณาขอบเขตการประยกุ ตใ์ ช้ บริษทั ธุรกิจโลจิสตกิ ส์ไทย จํากดั ไดพ้ จิ ารณาถงึ
a) ประเดน็ ภายในและภายนอก อา้ งองิ ในขอ้ กาหนด 4.1
b) ข้อกําหนดที่เก่ียวข้องกับผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียโดย อ้างองิ ในข้อกาหนด 4.2
c) การบรกิ ารขององค์กร

กรณีที่ขอบเขตการดาํ เนนิ การครอบคลมุ ตามขอ้ กําหนดสากลฉบบั นบ้ี รษิ ทั ธรุ กิจโลจสิ ตกิ ส์ไทย
จํากัดได้นํามาเป็นสว่ นหน่ึงในการประยุกต์ใชด้ ้วย

ขอบเขตของระบบบรหิ ารคณุ ภาพของบริษทั ธุรกิจโลจิสตกิ ส์ไทย จํากดั ได้มกี ารระบไุ ว้และอยู่ในรูป
เอกสาร ขอ้ มูล ขอบเขตไดร้ ะบถุ ึงลักษณะของการบริการ และระบุข้อละเว้นข้อกําหนดท่ีไม่ประยุกต์ใช้ในระบบบริหาร
คุณภาพ

ความสอดคล้องของข้อกําหนดฉบับน้ีจะถูกประยุกต์ใช้ทั้งหมด เวันแต่กรณีท่ีข้อกําหนดที่ไม่ถูก
ประยุกต์ใช้เหล่าน้ันไม่ส่งผลต่อความสามารถละความรับผิดชอบของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จํากัด ที่มีต่อความ
สอดคล้องต่อขอ้ กําหนดของการบรกิ ารและความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร

 ตัวอย่างระบบบริหารคณุ ภาพขององค์กร
บริษัท ธุรกจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กดั ไดจ้ ดั ทาํ นาํ ไปปฏบิ ตั ิ คงรักษา และปรับปรุงอย่างต่อเนื่องใน

ระบบบริหารคุณภาพ รวมถึงกระบวนการทจ่ี ําเป็น และการปฏสิ ัมพนั ธต์ อ่ กัน เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลฉบับน้ี
บริษัทได้พิจารณากระบวนการทีจ่ าํ เปน็ ตอ่ การดําเนนิ การของระบบบริหารคณุ ภาพและการประยกุ ต์ใชท้ วั่ ทง้ั องค์กรโดย

a) พจิ ารณาปัจจัยนําเขา้ และปจั จัยนําออกท่ีคาดหวงั ของแตล่ ะกระบวนการ
b) พจิ ารณาลําดับและการปฏสิ มั พนั ธต์ อ่ กนั ของกระบวนการเหลา่ นี้
c) พิจารณาและประยุกต์ใช้เกณฑ์ วิธีการ (รวมทั้งการตรวจติดตาม ตรวจวัด และตัวชี้วัด

สมรรถนะของกระบวนการ) ที่จําเป็นเพ่ือให้มั่นใจว่าการควบคุมกระบวนการเกิด
ประสทิ ธิผล
d) พจิ ารณาทรพั ยากรท่จี าํ เปน็ ต่อกระบวนการให้พอเพียง
e) ระบุความรบั ผิดชอบและอาํ นาจในแต่ละกระบวนการ
f) ระบุปจั จยั ความเสี่ยงและโอกาสตามข้อกาํ หนด 6.1

42

g) ประเมนิ กระบวนการ และดาํ เนนิ การเปลีย่ นตามความจําเป็นเพ่ือให้มั่นใจว่ากระบวนการ
บรรลุ ผลลัพธ์ทีค่ าดหวงั

h) ปรับปรุงกระบวนการและระบบบรหิ ารคุณภาพ
บริษทั ธรุ กิจโลจสิ ติกส์ไทย จาํ กดั ได้

a) คงรักษาไวซ้ ึ่งเอกสารข้อมูลทส่ี นบั สนนุ กระบวนการดาํ เนินงาน
b) จัดเก็บเอกสารขอ้ มลู เพื่อให้เชอ่ื มั่นวา่ กระบวนการเปน็ ไปตามแผนงานที่กาํ หนดไว้

ตวั อยา่ งผงั กระบวนการธรุ กจิ

6.2.1.5 การเป็นผ้นู าํ
 ตัวอย่างการเป็นผ้นู ําและความมงุ่ มนั่
o ขอ้ กําหนดทว่ั ไป
ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของบริษทั ธุรกจิ โลจสิ ติกสไทย จํากดั ได้แสดงใหเ้ หน็ ภาวะผู้นําและความ

ม่งุ มั่นตอ่ ระบบบรหิ ารคณุ ภาพโดย
a. รับผดิ ชอบในประสิทธผิ ลของระบบบรหิ ารคณุ ภาพ
b. ม่นั ใจว่ามกี ารจัดทํานโยบายคุณภาพและวัตถุประสงค์คุณภาพ สําหรับระบบบริหาร

คณุ ภาพ และสอดคล้องกับบริบทและทิศทางกลยุทธข์ องบริษัท ธรุ กจิ โลจิสตกิ สไ์ ทย จํากัด
c. มีการนาํ ขอ้ กาํ หนดระบบบรหิ ารคณุ ภาพประยกุ ต์ใช้ในกระบวนการของบรษิ ัท ธรุ กจิ โลจิ

สตกิ ส์ไทย จํากดั
d. สง่ เสริมการม่งุ นนั กระบวนการและการคิดบนพื้นฐานความเสีย่ ง
e. มีทรพั ยากรทีจ่ าํ เปน็ สําหรบั ระบบการจดั การคุณภาพเพียงพอ

43

f. สือ่ สารความสําคญั ของการบรหิ ารคุณภาพท่มี ปี ระสิทธผิ ล และความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนด
ของระบบบรหิ ารคณุ ภาพ

g. ระบบการจัดการคณุ ภาพบรรลไุ ด้ตามความตัง้ ใจ
h. สร้างการมีส่วนรว่ ม กําหนดแนวทาง และสนับสนนุ พนักงานดาํ เนินกิจกรรมในระบบบริหาร

คุณภาพอย่างมปี ระสิทธิผล
i. ส่งเสรมิ การปรับปรงุ
j. สนบั สนนุ บทบาทอ่นื ๆ ในการบริหาร เพ่อื แสดงให้เหน็ ถงึ ภาวะผู้นําในสว่ นงานท่รี บั ผดิ ชอบ

ตัวอยา่ งการประกาศแตง่ ตงั้ คณะทํางาน

คําสั่งแตง่ ตงั้ คณะทาํ งาน

เร่อื ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารระบบ ISO 9001:2015

เพ่อื ใหก้ ารดาํ เนนิ งาน ตามระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001:2015 บรษิ ัท ธุรกจิ โลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กัด เปน็ ไป

อย่างมีประสิทธิภาพ จงึ ขอแต่งตง้ั คณะจดั ทาํ ระบบ ISO 9001:2015 ดงั นี้

1. นายxxx xxx ตาํ แหนง่ กรรมการผจู้ ัดการ

2. นางสาวxxx xxx ตําแหน่งผ้จู ดั การท่ัวไป

3. นายxxx xxx ตาํ แหน่งเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั / QMR

4. นางสาวxxx xxx ตาํ แหนง่ เจา้ หน้าที่ Admin/DC

5. นางสาวxxx xxx ตําแหน่งผจู้ ัดการฝา่ ยบัญชีและจดั ซ้ือ

6. นางสาวxxx xxx ตาํ แหน่งผ้จู ดั การฝา่ ยบคุ คล

7. นางสาวxxx xxx ตาํ แหน่งหัวหน้าแผนกขนสง่

8. นายxxx xxx ตาํ แหนง่ หวั หนา้ แผนก TOP LIFT

ให้คณะจัดทําระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ดังกล่าว มีหนา้ ทแี่ ละอาํ นาจดงั ต่อไปนี้
1. ศึกษามาตรฐานระบบ ISO 9001:2015 รวมถึง กฎระเบียบ ทเ่ี กี่ยวข้องขอ้ กาํ หนดตา่ ง ๆ
2. ทบทวนสถานะปัจจบุ นั และจดั ทําแผนการดาํ เนนิ งานมาตรฐานระบบ IS09001:2015
3. ออกแบบและจัดทาํ เอกสาร ทต่ี อ้ งใชใ้ นการดาํ เนินงานตามระบบบริหารงานคณุ ภาพ
4. ดําเนินงานตามแผนงานและบรหิ ารผลงานใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงค์คุณภาพ
5. รายงานสมรรถนะและโอกาสในการปรบั ปรงุ ของระบบต่อฝ่ายบรหิ าร
6. สง่ เสริมความตระหนกั ของพนักงานในการทาํ งานภายใต้ระบบบริหารคุณภาพ
7. รว่ มวางแผนรองรบั การเปลย่ี นแปลงหากมกี ารเปลีย่ นแปลงทสี่ ง่ ผลกระทบต่อระบบบรหิ ารคุณภาพ

ท้ังนีม้ ผี ลตงั้ แตว่ ันท่ี 15 มนี าคม 2563 เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันท่ี 15 มนี าคม 2563 เป็นต้นไป
.....................................................
(นายxxxx xxxx)
กรรมการผ้จู ดั การ

44

o ตวั อย่างการมงุ่ เน้นลูกค้า
ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของ บริษทั ธุรกจิ โลจสิ ติกสไ์ ทย จาํ กัด ได้แสดงภาวะผนู้ ําและความมุ่งม่นั ใน

การมงุ่ เนน้ ลูกคา้ โดยทาํ ให้มนั่ ใจว่า
a) ข้อกาํ หนดลกู คา้ กฎหมายและขอ้ กําหนดอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ไดร้ ับการพจิ ารณา ทําความเข้าใจ
และมคี วามครบถว้ น
b) ความเส่ยี งและโอกาสทส่ี ง่ ผลต่อความสอดคลอ้ งของการบริการและความสามารถทท่ี าํ ให้
ลูกคา้ พงึ พอใจได้รับการพิจารณาและระบไุ ว้
c) มุ่งเนน้ การเพ่มิ ความพงึ พอใจของลกู คา้ อยา่ งสมํ่าเสมอ

 ตวั อย่างนโยบาย
o การจดั ทํานโยบายคณุ ภาพ
ผบู้ รหิ ารระดับสงู ของ บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ติกสไทย จาํ กดั ไดจ้ ดั ทํานาํ ไปปฏบิ ตั ิ คงรกั ษาไว้

นโยบายคณุ ภาพซ่ึง
a) เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละบรบิ ทขององค์กรและสนบั สนุนทศิ ทางกลยุทธข์ องบรษิ ัท
b) เป็นกรอบในการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคค์ ุณภาพ
c) แสดงถงึ ความมุง่ มนั่ ในการบรรลตุ ามข้อกาํ หนดทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
d) แสดงถงึ ความมุง่ มัน่ ทจี่ ะปรบั ปรุงอยา่ งตอ่ เนอ่ื งของระบบบรหิ ารคุณภาพ

ตัวอยา่ งนโยบายคณุ ภาพอ้างอิงตามข้อท่ี 3 นโยบายคณุ ภาพในคู่มอื คณุ ภาพ

บริษัท ธรุ กิจโลจสิ ติกส์ไทย จาํ กัด มคี วามมงุ่ มน่ั ในการประยกุ ตก์ ารดําเนนิ งานในขอบเขตการใหบ้ รกิ ารเชา่ พ้นื ทว่ี างแทงก์เคมแี ละ

ขนสง่ แทงก์เคมี ให้สอดคลอ้ งกบั ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ ISO 9001:2015 และมีการพฒั นาปรบั ปรงุ อย่างต่อเนอ่ื ง เพ่ือสร้างความพึงพอใจแก่ผทู้ ่มี ี

ส่วนเกย่ี วขอ้ ง จึงได้มกี ารกําหนดกลยุทธ์ทิศทางในการบริหารระบบคุณภาพดงั ตอ่ ไปนี้

"มงุ่ มนั่ ใหบ้ รกิ ารพน้ื ทวี่ างแทงกเ์ คมแี ละขนสง่ แทงก์เคมี ทมี่ มี าตรฐานสากล รวดเรว็ ปลอดภยั เพอ่ื ความพงึ พอใจของลกู คา้ "

บรษิ ทั มุง่ ม่ันนาํ ระบบบรหิ ารคุณภาพ ISO 9001 มาประยกุ ตใ์ ช้ในองค์กรเพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารงานและเกดิ ความ

เช่ือมั่นจากผใู้ ชบ้ รกิ าร

บริษัทมุง่ มน่ั สรา้ งผลงานด้านความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการเพอื่ ให้ผ้วู ่าจ้างเชื่อมน่ั ในการทาํ งานของบริษัท

บรษิ ทั มุ่งมัน่ พัฒนาพนักงานอยา่ งต่อเนอ่ื งและสง่ เสรมิ แรงจงู ใจในการทาํ งานเพ่ือเพม่ิ ทักษะการทํางานและสรา้ งความมน่ั คงในอาชีพ

บรษิ ัทมุ่งม่ันดแู ลรักษาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคตา่ งๆใหม้ คี วามพรอ้ มในการทาํ งานเพื่อให้การ
0
ทํางานมีประสิทธภิ าพ

บริษทั มงุ่ มนั่ บรหิ ารกระบวนการทาํ งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพเพื่อตอบสนองลกู คา้ ไดร้ วดเรว็

ทั้งนี้ บริษทั ธุรกิจโลจิสตกิ สไ์ ทย จํากัด จะพจิ ารณากรอบวัตถุประสงคค์ ุณภาพทส่ี อดคลอ้ งกบั นโยบายคุณภาพดงั กลา่ ว พรอ้ มทง้ั

วางแผนรองรับเพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์คณุ ภาพและวางแผนรองรับการเปลย่ี นแปลงหากมกี ารเปลีย่ นแปลงที่ส่งผลกับระบบบริหารคุณภาพ

โดยมีการสอ่ื สารให้เป็นที่เขา้ ใจ และนาํ ไปปฏบิ ัติไดภ้ ายในบริษทั และมกี ารสอื่ สารกับผู้ที่เก่ียวข้องกบั บรษิ ทั รบั ทราบตอ่ ไป

ประกาศวนั ท่ี 25 มนี าคม 2563

.........................................................

(นายxxx xxx)

กรรมการผจู้ ดั การ

45

o การสอื่ สารนโยบายคุณภาพ
นโยบายคณุ ภาพได้

a) จัดทําและอยูใ่ นรูปแบบเอกสารข้อมลู
b) ส่ือสารภายในองคก์ รใหเ้ ขา้ ใจ และนําไปปฏบิ ัติไดภ้ ายในบรษิ ัท ธุรกิจโลจิสตกิ สไ์ ทย จาํ กดั
c) มีความสอดคล้องกบั ผู้ที่มสี ่วนไดส้ ่วนเสียท่ีเกย่ี วข้องกบั บรษิ ทั ธุรกิจโลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กัด

6.2.1.5 บทบาท ความรับผดิ ขอบ และอํานาจหนา้ ที่
ผบู้ ริหารสงู สุดของ บรษิ ทั ธุรกิจโลจิสตกิ สไ์ ทย จาํ กดั มั่นใจว่า มกี ารกําหนดสอ่ื สารให้เขา้ ใจถึง

ความรับผิดชอบและอาํ นาจหน้าทีข่ องหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งภายใน บริษัท ธรุ กจิ โลจิสติกส์ไทย จํากัด
ผ้บู ริหารสูงสดุ ไดก้ ําหนดความรบั ผดิ ขอบและอํานาจเพอ่ื

a) ม่นั ใจวระบบบริหารคุณภาพสอดลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดของมาตรฐานนานาชาตฉิ บบั นี้
b) ม่นั ใจวา่ กระบวนการสามารถสง่ มอบปัจงัยนาํ ออกไตต้ ามความคาดหวงั
c) มกี ารรายงานสมรรถนะโอกาสในการปรบั ปรงุ และขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ (ดูขอ้ 10.1)
ระบบบรหิ ารคณุ ภาพใหผ้ บู้ รหิ ารสงู สดุ
d) มน่ั ใจว่ามีการสง่ เสริมการมุ่งเน้นลกู คา้ ทัว่ ทงั้ บริษัท ธุรกจิ โลจสิ ติกส์ไทย จาํ กัด
e) มนั่ ใจว่าระบบบรหิ ารคณุ ภาพไดร้ กั ารคงรักษาไวด้ ครบถว้ น กรณีทเี่ กดิ การปล่ยี นแปลงในระบบ
บรหิ ารคุณภาพทไ่ี ดม้ ีการวางแผนและดาํ เนินการ

6.2.1.6 การวางแผน
 ตวั อย่างการดําเนนิ การเพอ่ื ระบุความเส่ยี งและโอกาส
o การวางแผนสาํ หรบั ระบบการจัดการคณุ ภาพ
บรษิ ทั ธรุ กจิ โลจิสตกิ ส์ไทย จํากัด ได้พจิ ารณาประเดน็ ท่รี ะบุในข้อ 4.1 และ ข้อกําหนดต่าง

ๆ ซ่งึ สามารถอ้างอิงจากข้อ 4.2 และการพจิ ารณาความเสย่ี งและโอกาสที่จาํ เป็นทจี่ ะต้องระบเุ พือ่
a) ให้ม่นั ใจวา่ ระบบบรหิ ารคุณภาพจะสามารถบรรลตุ ามผลลพั ธข์ องบริษทั ธุรกจิ โลจสิ ติกส์ไทย
จํากัดได้
b) เพมิ่ ผลกระทบท่ตี ้องการ
c) ปกปอ้ งกนั หรือ ลดผลกระทบที่ไมต่ อ้ งการ
d) บรรลผุ ลการปรบั ปรงุ

 ตัวอย่างการระบุความเสีย่ งและโอกาส
บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ ส์ไทย จาํ กัด วางแผนสาํ หรบั
a) การดาํ เนินการเพอ่ื ระบุความเสย่ี งและโอกาสเหลา่ นี้
b) วธิ ีการทจ่ี ะ
1) ควบรวมและประยกุ ต์ใช้กจิ กรรมในกระบวนการของระบบบรหิ ารคณุ ภาพ (ดูขอ้ 4.4)

46

2) ประเมนิ ประสิทธิผลของกิจกรรมเหลา่ นี้

ตัวอย่างการระบุความเสีย่ งและโอกาสของบริษทั ธุรกจิ โลจิสตกิ สไ์ ทย จาํ กดั

มีการดําเนินการอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง โดยคณะกรรมการ ISO9001:2015 หรือทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนแปลง

ตามเกณฑก์ ารประเมินดังตอ่ ไปน้ี

หวั ขอ้ ประเมิน คะแนน
321

L1 มีมาตรการวบคมุ ความ ไมม่ กี ารควบคมุ /ตอ้ ง มี แตไ่ ม่มี มปี ระสทิ ธภิ าพ/
เส่ยี งเปน็ รปู แบบเอกสาร ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพ/ การปฏบิ ตั ติ ามเอกสาร
(ระเบยี บปฏิบตั ิวธิ ีการ) ปฏบิ ัตไิ มส่ มํา่ เสมอ

โอกาสเกดิ L2 มกี ารปอ้ งกันความเส่ยี ง ณ ไมม่ /ี ต้องปรับปรงุ มี แตไ่ ม่มี มปี ระสิทธภิ าพ/
(Likelihood) พน้ื ที่ทาํ งาน (มเี ครื่องมือ ประสทิ ธภิ าพควร ยอมรับได้
อุปกรณ์ โปรแกรม หรอื
อปุ กรณ์ทดทดแทน) ปรบั ปรุง

L3 มคี วามถี่ในการเกิดปญั หา ทกุ ปี นาน ๆ คร้ัง ไมเ่ คยเกดิ
ในการทาํ งาน (เช่นงานมี (มากกวา่ 1 ปี)
ปัญหา การร้องเรยี น)

C1 การตรวจสอบและแกไ้ ข ตรวจสอบแก้ไขยาก/ ตรวจสอบแก้ไขปาน ตรวจสอบแก้ไขงา่ ย
เม่อื พบปญั หา ใชเ้ วลามากหรือ กลาง/ใช้เวลา หรอื มี ทนั ท/ี ไมม่ คี ่าใชจ้ ่าย
มคี ่าใช้จา่ ยสูง คา่ ใช้จา่ ยปานกลาง

ผลกระทบ/ความ C2 ระดบั ปัญหาทม่ี ผี ลในการ รุนแรงสง่ ผลถึง ปานกลางส่งผลถงึ นอ้ ย/แก้ไขไดใ้ น
รุนแรง ทาํ งาน หน่วยงานถดั ไปทาํ ให้ หนว่ ยงานถดั ไปบ้างทํา หน่วยงาน
ทาํ งานหยุดชะงกั หรือ
(Consequences) C3 ผลกระทบตอ่ ลูกค้า ให้งานลา่ ช้า เฉพาะภายในบริษทั
สง่ ผลถงึ ลกู ค้า
อาจส่งผลบา้ ง
สง่ ผลกับลูกค้าโดยตรง (เล็กนอ้ ย)

C4 ขอ้ กาํ หนด(สัญญาการ ผิดขอ้ กาํ หนดเป็นสว่ น ผิดขอ้ กาํ หนดบ้าง เปน็ ถูกต้องขอ้ กําหนด/
ทํางาน) หรอื กฎหมายท่ี
เกย่ี วข้อง ใหญ่ สว่ นนอ้ ย ไม่เป็นข้อกาํ หนด

การคาํ นวณคะแนน
คะแนนโอกาสเกิด L = L1 + L2 + L3
คะแนนความรุนแรง C = C1 + C2 + C3 + C4
ผลรวม = LC

47

ระดบั นัยสําคญั ระดับนยั สาํ คญั ตัวยอ่ พิจารณาความเส่ยี ง/การควบคมุ
ชว่ งคะแนน ต่ํา
L ยอมรบั ความเสย่ี ง
นอ้ ยกวา่ 36 คะแนน ปานกลาง แตต่ ้องตดิ ตามอยา่ งสมํา่ เสมอ

37-60 สงู ทบทวนหรือควบคมุ การปฏิบตั ทิ ี่มคี วามเสย่ี ง

61-84 สงู มาก M (ทบทวน/อบรม มาตรการเดมิ ที่มอี ยู่ ปรับปรุงตาม

85 ความจาํ เปน็ )

วางแผนการบรหิ ารความเสยี่ ง

H (ความเสยี่ งที่เป็นโอกาสจัดทาํ แผนงานบรหิ ารคุณภาพ

ความเส่ียงเพือ่ พจิ ารณาการปอ้ งกนั )

ความเส่ียงสงู ท่ีต้องแกไ้ ขทนั ที

VH (ความเสี่ยงทเ่ี ปน็ อปุ สรรค ต้องรอ้ งขอให้มกี ารแกไ้ ข

(CAR) เพอื่ พจิ ารณาการแก้ไขและการป้องกนั )

ตวั อยา่ งแบบฟอร์มประเมินความเส่ยี งองคก์ ร

 ตวั อย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ และการวางแผนเพื่อใหบ้ รรลุ
บริษัท ธรุ กจิ โลจสิ ตกิ สไ์ ทย จาํ กัด ได้จดั ทาํ วัตถุประสงคค์ ณุ ภาพ ขยายผลลงไปในทกุ สว่ นงาน

ทุกระดับและกระบวนการท่จี าํ เปน็ ในระบบบริหารคุณภาพ โดยวัตถุประสงคค์ ณุ ภาพ

48


Click to View FlipBook Version