The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน

ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน

สว่ นสาํ คัญของวงจรไฟฟาคือการต่อโหลดใชง้ าน โหลดทีนํามา
ต่อใชง้ านในวงจรไฟฟาสามารถต่อได้เปน 3 แบบด้วยกัน
ได้แก่

วงจรไฟฟาแบบอนกุ รม

(SERIES ELECTRICAL CIRCUIT)

วงจรไฟฟาแบบขนาน
(PARALLEL ELECTRICAL CIRCUIT)

วงจรไฟฟาแบบผสม
(SERIES - PARALLEL ELECTRICAL CIRCUIT)

การต่อแบบอนุกรม

การต่อวงจรแบบอนกุ รม เปนการนาํ เอาเครอื ง
ใชไ้ ฟฟาหรอื โหลดหลาย ๆ อันมาต่อเรยี ง

กันไปเหมอื นลกู โซ่ กล่าวคือ ปลายของเครอื งใช้
ไฟฟาตัวที 1 นาํ ไปต่อกับต้นของเครอื งใชไ้ ฟฟาตัวที
2 และต่อเรยี งกันไปเรอื ย ๆ จนหมด แล้วนาํ ไปต่อ
เขา้ กับแหล่งกําเนดิ การต่อวงจรแบบอนกุ รมจะมี
ทางเดนิ ของกระแสไฟฟาไดท้ างเดยี วเท่านนั ถ้าเกิด
เครอื งใชไ้ ฟฟาตัวใดตัวหนงึ เปดวงจรหรอื ขาดจะ
ทําใหว้ งจรทังหมดไมท่ ํางาน

ตัวอยา่ ง

การต่อวงจรแบบอนกุ รม

คณุ สมบตั ิการต่อวงจรแบบอนกุ รม

กระแสไฟฟาจะไหลเท่ากันตลอดวงจร
แรงดันไฟฟาตกครอ่ มสว่ นต่างๆของ
วงจรเมอื นาํ มารวมกันแล้วจะเท่ากับ
แรงดันไฟฟาทีแหล่งกําเนดิ

ความต้านทานรวมของวงจรจะมคี ่า
เท่ากับผลรวมของความต้านทาน

แต่ละตัวของวงจรรวมกัน

การต่อแบบขนาน

การต่อวงจรแบบขนานเปนการนาํ เอาต้นของเครอื ง
ใชไ้ ฟฟาทกุ ๆด้านต่อรวมกันและต่อเขา้ กับแหล่ง
กําเนดิ ทีจุดหนงึ นาํ ปลายสายของทกุ ๆ ด้านมาต่อ
รวมกันและนาํ ไปต่อกับแหล่งกําเนดิ อีกจุดหนงึ ที
เหลือ ซงึ เมอื เครอื งใชไ้ ฟฟาแต่ละอันต่อเรยี บรอ้ ย
แล้วจะกลายเปนวงจรยอ่ ย กระแสไฟฟาทีไหลจะ
สามารถไหลได้หลายทาง ขนึ อยูก่ ับตัวของเครอื งใช้
ไฟฟาทีนาํ มามาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมเี ครอื ง
ใชไ้ ฟฟาตัวหนงึ ขาดหรอื เปดวงจรเครอื งใชไ้ ฟฟาที
เหลือก็ยงั สามารถทํางานได้ในบา้ นเรอื นทีอยูอ่ าศัย
ปจจุบนั จะเปนการต่อวงจรแบบนีทังสนิ

ตัวอยา่ ง

การต่อวงจรแบบขนาน

คณุ สมบตั ิการต่อวงจรแบบขนาน

กระแสไฟฟารวมของวงจรขนานจะมคี ่า
เท่ากับกระแสไฟฟายอ่ ยทีไหลในแต่ละ

สาขาของวงจรรวมกัน
แรงดันไฟฟาตกครอ่ มสว่ นต่าง ๆ
ของวงจรจะเท่ากับแรงดันไฟฟาที

แหล่งกําเนดิ ในวงจร
ความต้านทานรวมของวงจร จะมคี ่า
นอ้ ยกวา่ ความต้านทานตัวทีนอ้ ยทีสดุ

ทีต่ออยูใ่ นวงจร

การต่อแบบผสม

การต่อวงจรแบบผสมเปนวงจรทีนาํ เอาวธิ กี ารต่อ
แบบอนกุ รมและวธิ กี ารต่อแบบขนานมารวมให้เปน
วงจรเดียวกันซงึ สามารถแบง่ ตามลักษณะของการ

ต่อได้ 2 ลักษณะ ดังนี
วงจรผสมแบบอนกุ รม-ขนาน เปนการนาํ เครอื งใช้
ไฟฟาหรอื โหลดไปต่อกันอยา่ งอนกุ รมก่อนแล้วจงึ นาํ

ไปต่อกันแบบขนานอีกครงั หนงึ
วงจรผสมแบบขนาน-อนกุ รม เปนการนาํ เครอื งใช้
ไฟฟาหรอื โหลดไปต่อกันอยา่ งขนานก่อนแล้วจงึ นาํ

ไปต่อกันแบบอนกุ รมอีกครงั หนงึ

ตัวอยา่ ง

การต่อวงจรแบบผสม

คณุ สมบตั ิการต่อวงจรแบบผสม

เปนการนาํ คณุ สมบตั ิของวงจรอนกุ รมและ
คณุ สมบตั ิของวงจรขนานมารวมกัน หมายความวา่
ถ้าตําแหนง่ ทีมกี ารต่อแบบอนกุ รม ก็เอาคณุ สมบตั ิ
ของวงจรการต่อแบบอนกุ รมมาพจิ ารณาตําแหนง่
ใดทีมกี ารต่อแบบขนานก็เอาคณุ สมบตั ิของวงจร

การต่อแบบขนานมาพจิ ารณาไปทีละขนั ตอน

คํานวณค่าไฟฟาในบา้ น

เราต้องรูอ้ ัตราค่าไฟฟาของ
เครอื งใชไ้ ฟฟาแต่ละชนดิ นนั

โดยสงั เกตได้จากกําลัง
ไฟฟาทีมหี นว่ ยเปนวตั ต์ ยงิ
เครอื งใชไ้ ฟฟาทีมจี าํ นวน
วตั ต์มาก ก็หมายความวา่ จะ

ใชไ้ ฟฟามากขนึ ไปด้วย

สงิ ทีต้องรูก้ ่อนการคํานวณค่าไฟฟา

นาํ มาคํานวณค่าใช้
ไฟฟาด้วยสตู ร

เปดใชง้ านประมาณ สาํ รวจวา่ ภายในทีอยู่
เดือนละกีชวั โมง อาศัยนนั มเี ครอื งใช้
ไฟฟาประเภทไหนบา้ ง

หาค่าพลังงานทีเราใชไ้ ป

ก่อนทีเราจะคิดค่าไฟออกมา ก็ต้องหาค่าพลังงานไฟฟาทีเราใชไ้ ปก่อน
โดยพลังงานไฟฟาทีเราใชไ้ ปนนั หาได้จาก

“กําลังไฟฟาของเครอื งใชไ้ ฟฟา” คณู ด้วย “เวลาทีเราใชเ้ ครอื งใชไ้ ฟฟา”
หรอื สามารถเขยี นเปนสมการได้วา่

W=Pxt

ตัวอยา่ ง

วนดิ าเปดเครอื งปรบั อากาศในห้องนอนทีใชไ้ ฟฟากําลัง 1,400 วตั ต์ เปน
เวลา 8 ชวั โมง ค่าไฟฟาหนว่ ยละ 2.50 บาท วนดิ าจะเสยี ค่าไฟฟาเท่าไร

จากสตู ร W = P x t

เมอื ใชก้ ําลังไฟ 1,400 วตั ต์ , เวลา 8 ชวั โมง

แทนค่า W = 1,400 x 8 = 1.2 หน่วย
1,000

ดังนนั จะต้องเสยี ค่าไฟ = 1.2 X 2.50 = 28 บาท

ตัวอยา่ ง

วารุณีใชเ้ ครอื งใชไ้ ฟฟาต่อเดือนทกุ วนั คือ
- หลอดไฟ 100 วตั ต์ จาํ นวน 5 หลอด เปดวนั ละ 6 ชวั โมง
- ต้เู ยน็ 120 วตั ต์ เปดวนั ละ 24 ชวั โมง
- โทรทัศน์ 180 วตั ต์ จาํ นวน 2 เครอื ง เปดวนั ละ 5 ชวั โมง
- เตารดี ไฟฟา 850 วตั ต์ ใชว้ นั ละ 2 ชวั โมง

ในเดือนเมษายน จะเสยี เงินค่าไฟฟาเท่าไร ถ้าค่าไฟฟา
หนว่ ยละ 3.50 บาท

เฉลยตัวอยา่ ง

ตัวอยา่ ง

หมอ้ หงุ ขา้ วไฟฟาใชก้ ําลังไฟฟา 800 วตั ต์ ถ้าใชห้ มอ้ หงุ
ขา้ วนีนาน 1 ชวั โมง จะสนิ เปลืองพลังงานไฟฟาเท่าไร

เฉลยตัวอยา่ ง

ตัวอยา่ ง

พดั ลมตังพนื 75 วตั ต์ 4 ตัว ถ้าเปดพรอ้ มกันจะใชก้ ําลัง
ไฟฟารวมกันกีกิโลวตั ต์ และถ้าเปดอยูน่ าน 5 ชวั โมง จะสนิ

เปลืองพลังงานไฟฟากีหนว่ ย

เฉลยตัวอยา่ ง

สตู รทีใชใ้ นการคํานวณ

กําลังไฟฟา (วตั ต์ ) X จาํ นวนเครอื งใชไ้ ฟฟา
1000 X จาํ นวนชวั โมงทีใชใ้ น 1 วนั

จะได้ จาํ นวนหนว่ ยต่อวนั (ยูนติ )

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

หลอดไฟขนาด 50 วตั ต์จาํ นวน 10 ดวงเปดใชง้ านวนั ละประมาณ 6 ชวั โมง

50 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 10 ดวง
1000 X 6 ชวั โมง

จะได้ 3 หนว่ ย/วนั (เดือนละ 90 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

ไมโครเวฟขนาด 600 วตั ต์จาํ นวนหนงึ เครอื ง เปดใชง้ านวนั ละ 30 นาที

600 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 1 เครอื ง
1000 X 0.5 ชวั โมง

จะได้ 0.3 หนว่ ย/วนั (เดือนละ 9 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

ต้เู ยน็ ขนาด 125 วตั ต์หนงึ ต้เู ปดใชง้ านตลอด 24 ชวั โมง

125 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 1 ตู้
1000 X 24 ชวั โมง

จะได้ 3 หนว่ ย/วนั (เดือนละ 90 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

แอรข์ นาด 2000 วตั ต์ จาํ นวน 2 เครอื งเปดใชง้ านวนั ละ 6 ชวั โมง

2000 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 2 เครอื ง
1000 X 6 ชวั โมง

จะได้ 24 หนว่ ย/วนั (เดือนละ 720 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

เตาอบ ขนาด 850 วตั ต์จาํ นวน 1 เครอื ง เปดวนั ละ 30 นาที

850 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 1 เครอื ง
1000 X 0.5 ชวั โมง

จะได้ 0.425 หนว่ ย/วนั (0.425X30วนั )
(เดือนละ 12.75 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

เครอื งชงกาแฟขนาดเล็ก 100 วตั ต์ จาํ นวน 1 เครอื ง เปด 1 ชวั โมง

100 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 1 เครอื ง
1000 X 1 ชวั โมง

จะได้ 0.1 หนว่ ย/วนั (0.1X30วนั )(เดือนละ 3 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

ทีวี ขนาด 300 วตั ต์ จาํ นวน 1 เครอื ง เปดใชง้ านวนั ละ 5 ชวั โมง

300 วตั ต์ X มจี าํ นวนทังหมด 1 เครอื ง
1000 X 5 ชวั โมง

จะได้ 1.5 หนว่ ย/วนั (1.5X30 วนั )(เดือนละ 45 หนว่ ย)

ยกตัวอยา่ ง

คํานวณค่าไฟบา้ นพกั A ซงึ มเี ครอื งใชไ้ ฟฟาทังหมด 9 ชนดิ

สรุปได้วา่ บา้ นพกั A จะใชไ้ ฟฟาทังหมด 969.75 หนว่ ยต่อเดือน

90+9+90+720+12.75+3+45 = 969.75

อัตราค่าไฟฟาประเภทบา้ นอยูอ่ าศัย ซงึ มผี ใู้ ชไ้ ฟฟาจาํ นวนมาก
แบง่ ออกเปน 2 ประเภท

1.1 ประเภทมกี ารใชพ้ ลังงานไฟฟาไมเ่ กิน 150 หนว่ ยต่อเดือนมอี ัตราดังต่อ
ไปนี (ไมร่ วมภาษีมูลค่าเพมิ )

อัตราค่าไฟฟาประเภทบา้ นอยูอ่ าศัย ซงึ มผี ใู้ ชไ้ ฟฟาจาํ นวนมาก
แบง่ ออกเปน 2 ประเภท

1.2 ประเภทปรมิ าณการใชไ้ ฟฟาเกินกวา่ 150 หนว่ ยต่อเดือนมอี ัตราดังต่อไปนี
(ไมร่ วมภาษีมูลค่าเพมิ )

ตัวอยา่ งการคิดค่าไฟฟา

สมมติวา่ เปนผใู้ ชไ้ ฟฟาประเภท 1.2 ใชไ้ ฟฟาไป 990 หนว่ ย

35 หนว่ ยแรก คิดราคา 85.21 บาท
115 หนว่ ยต่อไป = 115X1.1236 = 129.21 บาท
250 หนว่ ยต่อไป = 250X2.1329 = 533.22 บาท
สว่ นทีเกินกวา่ 400หนว่ ย = 990-400

=590X2.4226 = 1,429.33 บาท

รวมเปนเงิน 2,176.97 บาท

ตัวอยา่ งการคิดค่าไฟฟา

คํานวณค่า FT โดยดไู ด้จากใบแจง้ หนี/ใบเสรจ็ รบั เงิน
หรอื สอบถามจากการไฟฟานครหลวง

ตัวอยา่ ง ค่า FT ม.ิ ย. 2541 หนว่ ยละ 5.45 สต.
990 หนว่ ย X0.05045 บาท = 499.46 บาท
รวมเงิน 2,176.97 + 499.46 = 2,676.43 บาท
ภาษีมูลค่าเพมิ 10% = 2.676.43 X 7/100 = 187.35 บาท
รวมเปนเงิน 2,676.43 + 187.35 = 2,863.78 บาท

ค่าไฟฟาทีเรยี กเก็บ 2,863.75 บาท

หมายเหตุ

กรณีทีคํานวณค่าไฟฟาแล้วเศษสตางค์ที
คํานวณได้มคี ่าตํากวา่ 12.50 สตางค์ กฟน.
จะทําการปดเศษลงให้เต็มจาํ นวนทกุ ๆ 25
สตางค์ และถ้าเศษสตางค์มคี ่าเท่ากับหรอื
มากกวา่ 12.50 สตางค์ กฟน. จะปดเศษขนึ

เต้มจาํ นวนทกุ ๆ 25 สตางค์


Click to View FlipBook Version