Journal of the Association of Researchers Vol.22 No.2 May - August 2017 13
บทความรบั เชญิ
9 ตามรอยบาท ศาสตร์พระราชา
พลเอก เดชา ปญุ ญบาล 1
บทน�ำ คือ แนวคดิ และปรัชญา “พระราชดำ� รัส” คอื คำ� ส่ังสอน ตัก
เตอื น ใหส้ ติ “พระราชกรณยี กจิ ” คือ หลักการทรงงาน และ
ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เป็นดินแดนท่ีมีสถาบัน “พระราชจริยวตั ร” ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา
พระมหากษัตริย์อยู่คู่กับประวัติศาสตร์ชาติมาอย่างยาวนาน ภูมพิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ 9 ตลอดระยะเวลา 70 ปี ทผี่ ่านมา
เมื่อใดกต็ ามทป่ี ระเทศชาติมวี ิกฤติ พระราชากค็ ิดหาทางแก้ ซงึ่ ปวงพสกนกิ รชาวไทย ได้น้อมน�ำมาเป็นแบบอย่างที่ดีใน
ปญั หาไวใ้ หเ้ สมอๆ เพอื่ นำ� ประเทศชาตพิ ฒั นาไปสคู่ วามเจรญิ การประพฤติตน รวมทัง้ รัฐบาลและขา้ ราชการไดน้ ้อมน�ำไป
รุง่ เรืองทัดเทยี มกบั นานาชาติ “…การพฒั นาประเทศจ�ำเปน็ ประยุกต์ใชใ้ นการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อสร้างชาติ
ต้องท�ำตามล�ำดับข้นั ต้องสรา้ งพน้ื ฐาน คือ ความพอมี พอกนิ และพัฒนาประเทศ อย่างสมดลุ และย่ังยืน
พอใช้ ของประชาชนเป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและ
อุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือได้พื้นฐาน ศาสตร์พระราชาสูก่ ารพฒั นาอย่างยัง่ ยืน
มั่นคงพรอ้ มพอควรและปฏิบตั ิได้แลว้ จงึ คอ่ ยสร้างค่อยเสริม
ความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงขึ้นโดยล�ำดับต่อ ศาสตร์พระราชา คือ การน้อมน�ำพระบรมราโชวาท
ไป หากมงุ่ แตจ่ ะทมุ่ เทสรา้ งความเจรญิ ยกฐานะทางเศรษฐกจิ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทีพ่ ระราชทาน
ขน้ึ ไดร้ วดเรว็ แตป่ ระการเดยี ว โดยไมใ่ หแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารสมั พนั ธ์ แก่ปวงชนชาวไทย มาก�ำหนดเป็นหลักในการปฏิบัติ เป็น
กบั สภาวะของประเทศ และของประชาชนโดยสอดคลอ้ งดว้ ย “ศาสตร์ของแผ่นดิน” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
จะเกิดความไมส่ มดลุ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ได้ ซ่ึงอาจกลายเป็นความ มีพระราชด�ำรัส เมอ่ื ปี 2554 ว่า [1] “เปา้ หมายในการพัฒนา
ยุ่งยากล้มเหลวในที่สุด…” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 คือ
รัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชด�ำรัส หลักปรัชญา ‘การพัฒนาที่ย่ังยืน’ เพื่อปรับปรุงชวี ติ ความเป็นอยูข่ อง
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ครง้ั แรกในงานพระราชทานปรญิ ญาบตั ร คน โดยไมท่ ำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ ม ให้คนมีความสุข โดยตอ้ งค�ำนงึ
ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมอ่ื วนั พุธที่ 18 กรกฎาคม เร่ืองสภาพภูมิศาสตร์ ความเช่ือทางศาสนา เช้ือชาติ และภูมิ
2517 จากกระแสพระราชด�ำรัสฯ ดังกล่าว พระราชาเห็น หลงั ทางเศรษฐกจิ สังคม แม้ว่าวธิ ีการพฒั นามีหลากหลาย
อะไร ? ก่อนบอกประชาชน พระบรมราโชวาทของพระบาท แตท่ ส่ี �ำคญั คือ นกั พฒั นาจะตอ้ งมีความรัก ความห่วงใย
สมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดลุ ยเดช หรอื ที่เราเรียกว่า ความรับผิดชอบ และการเคารพในเพื่อนมนุษย์ จะเห็นได้
“ศาสตร์พระราชา” น้ันครอบคลุมท้ัง “พระราชด�ำริ” วา่ การพฒั นาเกยี่ วขอ้ งกบั มนษุ ยชาติ และเปน็ เรอื่ งของจติ ใจ”
1ประธานชมรม ก้าวตามรอยบาท ศาสตร์พระราชา
กบั มนุษยชาติ และเป็นเรื่องของจิตใจ”
14 วารสาร สมาคมนักวจิ ัย ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2560
3
เมื่อ 28โตอชุลาาคนามยก2เร5มัฐื่อ5ม9น๒ต๘พรลีไตดเุลอ้เาชกคอ่ื ปมรโ๒ยะง๕ย๕“ุทศ๙ธา์ พสจตลันรเทอ์พกรรป์โะอระาชยชาุทา”ธ์ จในโันดเทรยือ่รส์โงอหรชลุปาักขปนอรางัชยญ“กรศาัฐขามอสนงตเตศรรรแ์ ี ษไหดฐ่ง้กพลิจร่าพะวอใรเนพารชียางาย”(กS[า3E]รPท-สี่ ำ� คญั ดังน้ี :-
นายกรัฐมนตรี ไSดuก้f“fiลศcา่าieสวnตใcนรy์พรราEะยcรoกาnชาoราmสู่ก“yาศรPาปhสฏilติบoรัตso์พอิ pยร่าhะงyรย)าง่ั กยชนืั าบ”สเ่กูป[๒]า้ ารในหกมารา1พย.ัฒกโนคาารรเงศพกรัษาฒฐรกฝนิจนาสหู่ยทคุลี่ ยไวทั่ งงยยแจื ลนานกด(ฟS์ ๔Dาก.G๐ฟs-รSา้ วuลมsงทtภaั้งiกnผู าaารbผleา่ นทงุ่ นา สมู่ หานที
ปฏบิ ตั อิ ยา่ งยงั่ ยDนื e”vพeัฒ[l2oน]pาใmปนรeกะnาเtทรGศพoเฒัพaื่อlน)กปา้าเรวศะเขรส้าษบสฐคู่สกวังาคจิ มสสโยู่ ลาคุกเรไทจ็ทั้งใยในนแรกละานดรับดสภร์ าู้มงิภคา วคา มแลตะระใหนวนรธิ ะักีทดแ�ำับลฝโะลนกกหารเลพยวื่องนมม้อรอี ับมยนในู่า3พระรขดะนั้ รับาตหชอนดน่ึงารัสคโดอื ย
4.0 รวมทั้งการพสรัฒุปขนขอองาองปง“รคศะ์พาเรสทะตบศราเแ์ พทหสื่อ่งมพกเร้าดะว็จรพเาขรช้าะาสเ”จู่ส[้า๓ังอ] คยทู่หม่ีสัวโาลคภกัญูมทิพดั้งลนใอน้ีด:-ุลยเด ช ที่ให้ “ขปัน้ รตะชอานชทน่ีเ1ป็ นศกูน่อยก์กวลนาง”คือขอกงกาารรดดั แปรสภาพอากาศ
รข“ะอปดงรอับะงชภคาูม์พชิภรนาะเคบปา็นแท๑ลศส.ะูนพปโมคยรัฒใเระก์ดนนงโล็จรยากวพาะชาิธมงนรดทีราฝ”์จเะับาปนาฝเโข็นจกนหลแอก้าหลกนาองลวรวกยงวเพทาพงหู่ ัฒาจมรื่องวัาพีอนในกยาภัฒฟก้ออู่ มู๓านายมริพก่าาขนดงฟลั้นาแ�ำมา้อเตทพนาลดอ้จินเรงนลุรปงภะิงาย็นูผรคนใเาแาอืหดโชน้มดชผดีคยวา่ ทไว�ทำนมารีใ่ทา่ใมหัสหงงุ่ อ้น้เยกาู่ดิดคีกสขกหวินมู่ ึ้รานรดหมะอื ีสาขรบกนู่ัดเัฐวอ้บทแบนนยื้ีาอ้งลเง“ใมนบกฆฯพนาใพ้ืนนรอณทเขันี่กฯปณิดเรปะเมชน็นพาฆนั้ลกชเ”นาอเมรกพีสปชอ่ืวรักนกะนรยรวุ่�ทำะมไธตอ์แนุ้จลนันใะห้�ำทไดหม้ร้์ วรลือออาากกาาศศชชน้ื ้ืนไหเขล้พาสาู่
ในการดำ� เนนิ งาน โดยไมขใ่ ห้ันเ้ตกอดิ นคทวี่ า๑มกข่อดั กแวยนง้ ใคนือพกนื้ าทร่ีดปัดรแะปชราสชภนาพอา กา ศหรือกข้อั้นนตเมอฆนในทข่ี 2ณ ะเนลั้นี้ยงเพใื่อหก้อร้วะนตุ้นใหค้มือวลการดัดแปรสภาพ
มสี ว่ นรว่ ม และไอดา้ปกราศะชโยืน้ ชไหนล์จพาากขก้ึนาสรเู่ บพอ้ื ัฒงบนนาออนั ยเ่าปง็นแกทารจ้ ชรักงิ นใาหไอม้ นี ้าหรอืออาากกาาศศชเ้นืพเือ่ขทา้ ส�ำกู่ ใรหะ้เบมวฆนเจ“รกิญารขเ้นึกดิจเนมมฆขี”นาดใหญ่หนาแนน่ และ
ความอยู่ดกี ินดี รฐั บาล ขฯน้ั พตณอนฯทพ่ี ๒ลเลอี้ยกงปใหระ้อย้วนุทธค์ ือจนักาทรรด์โัดอแชปารสภาพอร้อากมาทศ่ีจะเพตอ่ื กทลางใมห้เามเปฆเ็นจฝริญนขึ้นจนมีขนาดใหญ่
นายกรฐั มนตรีไดห้เนชาื่อแมนโ่นยงแล“ะศพารสอ้ ตมรทพ์จ่ี ะรตะกรลางชมา”เป็นในฝนเรือ่ งหลกั ขัน้ ตอนที่ 3 โจมตี คอื การดัดแปรสภาพอากาศที่
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอขเพัน้ ตยี องน(SทE่ี ๓P -โจSมuตfีfiคcือieกnาcรyดดัEแcปoรnสoภmาพyอากาจศะทก่จี ระะกรตะุ้นตในุ้ หให้เม้เม็ดด็ ลละะอออองงเเมมฆฆปปะะททะชะนชกนันกแันลแ้วล้วรวมตัวเข้าด้วย
Ptใaนhiกinloาasรboสlpรeh้าyงD)คeกวvรขาับeวนมเมlาปตoตด้าัวใรpหหเะขmญมห้า่ตดาeนก้วยnักยลกtกงแาสันลGรู่เบพะจoือ้นกฒัaงมาลlนีขร)่านางยปแาทอดลร่ียมใ้วะงั่หเรกสยญับดินืบ่ขเใปึ้นคน(น็ SวรขฝDาะณนมGดะตสsัเบกด-�ำลSหียงเuวนรมกs็าจ่ึง-ันสกู่เป็เป้าเกข็นหกก้ึนันมดิ าาเเรยบจปลน้ือ็นดมงแฝบีขรนนงนตไาหกดลเลพใพหง่ือามญขใาหึ้นข่สเ้เึ้นบเู่มปอ้ื็ดขา้งนบหณ�้ำนมะมาเีขเดยพนยี อื่ าวใดกหใ้เนั มหก็ดญเ็นป่ต้าน็มกกีลางรสลู่เบด้ือแรงลงไ่าหงลแพล้วา
4
ฝายแม้วเป็นการJoใuชr้วnัสaดl ุธoรf รthมeชาAตsิทsoี่หciาaงt่าioยnในoทf ้อRงeถseิ่นaเrชch่นeกrs้อนหVoินl.2แ2ลNะoไ.2มM้ aเyพ-ื่อAกug่อuเsปt 2็น0ฝ17ายขว1า5ง
2.รฝ่อางยนช้ะาลหอรคือวหาม้วชย่มุ เลช็ื้นก (CๆheทckาหDนam้าท) ี่กหักรอื กฝราะยแแสม้วน้าไว้ให6้ไ. หกาลรชใช้า้นลำ�้งดแไี ลละ่นใ้ำ� หเส้นีย้าสามารถซึม ลงใต้ผิวดินสร้าง
เ ชค่น วากม้อฝชนาุ่มยหแชินมแ้ืน้วลใเะนปไ็นบมก้ราเิ เวรพใณช่ือ้วกนัส่อนั้ ดเปุธอ็นรีกรฝมทาชยง้ั าขยตวังิทาชงี่ห่วรา่อยงง่าดนยกั �้ำในตหทะรือ้อกหงอถ้วนิ่นยดินแ แลม ะ่นท�้ำรเาจกยา้ารพไใรมชะ้นใ่ หย�้ำาไ้ดหสีไล่ลง่นเลข้�ำง้าเสสไูแ่ียปหเไปลล็น่่งนกน้�ำา้าเรสเนบีย�ำื้อตนงา�้ำลมคา่คุณงลภอางพในดีจเขาตก
เลก็ ๆ ทำ� หนา้ ทกี่ กั กระแสนำ�้ ไวใ้ หไ้ หลชา้ ลงและใหน้ ำ�้ สามารถ กรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล ไดแ้ ก่ คลองบางเขน คลองบางซื่อ
ซึมลงใต้ผิวดินสร้างความชุ่มชื้นในบริเวณน้ัน อีกท้ังยังช่วย คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์ และคลองบางลำ� พู เพอ่ื ช่วยลด
ดัก๓ต.ะกหอญนดา้ ินแแฝลกะทราย ไม่ให้ไหลลงสู่แหลง่ นำ้� เบอื้ งล่าง ปัญหาความเน่าเสียของน้�ำในคลองต่างๆ คล้ายกับการ
3. หญา้ แฝกการปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดับ เพ่ือช่วยช“นะช้�ำลลกั องโคครวหกาา”มกนชค้�ำุ่มอื ขช้ึนื้นปสดิไูงวแก้ใล็เปนะิดเดปปินดิ รนะโ้�ำตดใูนหย�้ำ้ไรดาจ้ใกหังขห้นอว้�ำะดงตหีเขาญม้าไเ้าปวลไแลาฝน่น�้ำก�้ำขเจสน้ึ ะีย-
ข ยายกอารอปกลดกู ้าหนญขา้ แา้ ฝงเกปต็นามวแงนเสวรน้ ะผดบั่าศเพูนอ่ืยช์กว่ ลยชาะงลไมอค่เกวานิ ม๕๐คเรซ้นั นต้�ำทิเมะเตลรลงแกลเ็ ปะดิ จปะรแะตทถู งา่ ลยงนไ�ำ้ปเสเยี ปอ็นอกแจนาวกลคลึกอใตงได้ปินดว้ ย๑-
เชปุ่ม๓น็ ชว้ืนงเไมเสวตน้้ในรผดา่ แศินลนู โย้วดก์สยลารานางกไกมขันเ่อกเงนิปห็น5ญ0แ้าเแนซฝวนกกตาเิจมแะตพขรยงแาดลยูดะอจซอะับกแดคท้าวงนลาขงมไ้าปชงุ่มชื้น7.ใหกงัแ้ หกนั ่ผนวิ ำ้� ดชนิ ยั พฒั นา
เป็นแนวลึกใต้ดิน 1-3 เมตร แล้วสานกนั เปน็ แนวกำ� แพงดูด กังหนั น้ำ� ชัยพัฒนา หรือ เคร่อื งกลเตมิ อากาศท่ีผิวนำ้�
ซบั ความชมุ่ ช้นื ให้แกผ่ ิวดนิ หมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอย เปน็ กงั หนั นำ้� เพอื่ บำ� บดั นำ�้ เสยี ดว้ ยวธิ กี าร
4. ทฤษฎใี หม่
เป็นการสร้างแหล่งน�้ำขนาดเล็กบนผิวดินในพื้นท่ี เตมิ อากาศ ทำ� งานโดย การหมนุ ปน่ั เพอ่ื เตมิ อากาศใหน้ ำ้� เสยี
สการ๔ระเ.เกกทษ็บฤตนษร�้ำขฎใอหใี งห้สเกมาษม่ ตารรถกใรชโ้ทด�ำยกแาบร่งเทก่ีดษินตสร�ำไหด้รตับลใอชด้ขปุดีแเปล็นะ กลายเปน็ นำ�้ ดี สามารถประยกุ ตใ์ ชบ้ ำ� บดั นำ�้ เสยี จากการอปุ โภค
ของประชาชน น�้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมท้ังเพ่ิม
สามารถเลย้ี งเปปล็นาไกปาพรรส้อมรๆ้างกแนั หลน่งอนกจ้าาขกน้ีบาดรเิ เวลณ็กขบอบนสผริวะดินอในอกพซ้ืนเิ จทนี่กใาหรก้ เบั กบษอ่ เตพราะขเอลย้ีงงเสกตั ษวน์ตำ้�รทการงการโเดกยษแตรบ่ใงชบ้ทำ� ่ีดบินดั
ยังสสาามหารรับถใใชช้ปข้ ลุดูกเพปืช็นผสักรสะวนเกค็บรวั นไ้าดใ้อหกี ้สดาว้ มยารถใช้ทาการเกษตนเค�้รำรไเื่อสดงียต้กทลลหี่เอกมดิดนุ ปชจีแ้าาแลกบะชบุสมทาช่นุ มนลาแอรลยถเะพเอลือ่ ุต้ียชสง่วปายหเลตกามิ รไอปรอมพกลซรัเิกอ้จษนมณทๆ่ีผะิวเนปก�ำ้ ็ันน
5.นโคอรกงจกากรแนก้ีบ้มรลเิ งิ วณขอบสระยงั สามารถใชป้ ลูกพชื ผกั สวนครัว ไดอ้ ีกด้วย
หลักการของโครงการ คอื เมือ่ เกิดน้�ำท่วมกข็ ุดคลอง 8. การบำ� บัดน�ำ้ เสียโดยใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์
ชักนำ�้ ให้ไหลมารวมกนั เกบ็ ไว้ ในแหลง่ พกั น้ำ� แล้วจึงคอ่ ยทำ� การบำ� บดั นำ�้ เสยี ดว้ ยจลุ นิ ทรยี ส์ ามารถทำ� ได้ 2 วธิ ี คอื
การระบายลงสทู่ ะเลผา่ นทางประตรู ะบายนำ้� ในชว่ งทปี่ รมิ าณ วิธที ่ี 1 การใช้นำ้� หมกั ชวี ภาพ โดย การใช้น�้ำหมัก
นำ�้ ๕ท.ะเโลคลรดงลกงาขรณแะกเ้มดยีลวิงกนั กส็ ามารถสูบน�ำ้ ออกจากคลองท่ี ชีวภาพปรมิ าณ 1 ต่อ 500 ส่วนราดลงในน้ำ� ทง้ิ จากครวั เรือน
ไเปห็นลลแงกมม้ าลไงิดลเ้ รหงอ่ืสลยทู่ ักๆะกเแลาลตระลขเอมอดอื่ งเใวโดลคการต็ งามกเพทาื่อร่ีรทะดค่นี บั�ำ้ือนจาำ�้เกมทตะ่ืออเเลนกขบิดน้ึ นนสจงู้ากะทไวดา่่ว้ มกชต็ขล่วุดายคดยสล่อดอยฟสงาชลราักม์ ยปนศ้าอสุใินตัหทว้ไ์รหหียรล์สอื มโารรางใงรนาวนแมอหตกุลสัน่งานหเ้�ำกกน็บรอรไมกวจ้เพาในกอื่ ในแห้ี หจ้ นลุ ล�้ำิน่งหทพมรักักีย์
ระนด้ับานแ�้ำลใ้นวคจลึงอคง่อท่ีเยปท็นแากก้มาลริงรกะ็ใหบ้ปาิดยปลระงตสูรู่ทะบะาเยลนผ�้ำ่กาั้นนไทม่ างปชีวรภะาตพูรยะังบสามยานร้าถในน�ำไชป่วใงชท้ได่ีป้ดรีใิมนากณารนป้ราับทสะภเาลพลนด�้ำลในง
ใหข้นณำ�้ ทะะเเดลไียหวลกยันอ้ นกก็สลาับมเาขรา้ มถาสูบน้าออกจากคลองท่ีเป็นแกบ้ม่อลปิงรละงมสงู่ททัง้ะบเอ่ลเตลลี้ยงอกดุง้ แเวลละปาลาเไพด่ือ้เปท็นี่นอ้ายจา่ งาดกี ตอนบนจะ
16 วารสาร สมาคมนกั วิจยั ปที ี่ 22 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2560
วิธที ี่ 2 ลูกระเบิดจุลนิ ทรีย์ เปน็ การบำ� บดั และฟน้ื ฟู และเหน็ ผลเปน็ รูปธรรมแล้ว ทงั้ ในเชงิ การบรหิ ารจดั การและ
แหล่งน�้ำให้ดีข้ึนด้วย จุลินทรีย์เช่นเดียวกับการใช้น�้ำหมัก ผลประกอบการทดี่ ขี นึ้ เปน็ ลำ� ดบั ซงึ่ บทเรยี นจากประเทศไทย
ประกอบดว้ ย โคลนจากทอ้ งนำ�้ 50 กโิ ลกรมั , รา้ 10 กโิ ลกรมั , นี้จะถูกน�ำเสนอสู่ท่ีประชุมแห่งองค์การสหประชาชาติ
ปุ๋ยอนิ ทรยี ์เมด็ หรอื ผง 50 กโิ ลกรมั และน้ำ� หมกั ชวี ภาพทีห่ มกั เป็นต�ำราแห่งการพัฒนาอย่างยั่งยืนท่ีเกิดผลสัมฤทธ์ิและ
จนได้ที่แล้ว 3 เดือนขน้ึ ไป โดยนำ� ทุกอยา่ งมาผสมเขา้ ดว้ ยกัน เปน็ ตวั อย่างท่ดี ีสกู่ ารขยายผลในระดบั นานาชาติ
จนสามารถปั้นเป็นก้อนขนาดเท่าลูกเปตอง น�ำไปผ่ึงไว้ในท่ี นอกจากนัน้ นายคาเมายงั อธบิ ายหลกั การเศรษฐกจิ
ร่ม จนแห้งสามารถน�ำไปบ�ำบัดน�้ำได้โดยใช้ในอัตราส่วน 5 พอเพยี งไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจ โดยเขากลา่ ววา่ หวั ใจสำ� คญั คอื หลกั
กโิ ลกรมั ตอ่ นำ�้ 1 ลา้ นลิตร หรือ 25 กโิ ลกรัมต่อพ้ืนที่ 1 ไร่ 5 ประการไดแ้ ก่ ความพอประมาณ มเี หตุผล มภี มู ิคมุ้ กนั มี
ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับสภาพน้�ำที่เน่าเสีย ในบริบทของท้องถิ่นน้ัน ความรู้ และคณุ ธรรม สำ� หรบั คนไทยแลว้ คำ� วา่ “พอประมาณ”
ปัจจุบันได้มีการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริ มาปฏิบัติเพ่ือให้ คือ การไม่ละโมบจนเกินไปซึ่งเป็นเรื่องที่สอดคล้องกับการ
เปน็ ไปตาม “แผนพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียงทอ้ งถิ่น ในด้าน พัฒนาทีย่ ่ังยนื สว่ นคำ� วา่ “มเี หตผุ ล” หมายถงึ การใช้
การเกษตรและแหลง่ น�้ำ” (Local Sufficiency Economy เหตผุ ลทถี่ กู ต้องและหนักแน่น ก่อนท่จี ะตัดสนิ ใจทำ� การใดๆ
Plan : LSEP) ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นทาง โดยไม่ทำ� ลงไปดว้ ยอารมณ์ ท้ายทสี่ ดุ “การมีภูมคิ มุ้ กนั ” คือ
เดินทีม่ าถกู ทางแลว้ การมคี วามรอบคอบ ระมัดระวงั มคี วามสามารถในการปรับ
ตัวและมีการบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง แตท่ ั้งนี้ประชาชนจะ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ต้องเป็น “คนดี” และมี “ความรู้” เป็นพ้ืนฐาน เพ่ือที่จะ
สามารถประมวลใช้ความ “พอประมาณ” มีเหตผุ ล และ
“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสะท้อนภาพกับ สามารถสร้าง “ภมู ิค้มุ กัน” ได้
สงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยในปจั จบุ นั เปน็ กระจกอกี ดา้ นหนงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 เวลาทรงงาน
ของสง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในโลกในศตวรรษทผ่ี า่ นมา เรารวู้ า่ การพฒั นา จะทรงศึกษาเร่ืองนั้นอย่างลึกซึ้ง เคยมีพระราชด�ำรัสว่า
เศรษฐกจิ ในศตวรรษท่ีแลว้ เปา้ หมาย คือ เป็นไปเพ่อื ทีจ่ ะ “ในความท่ีทรงเป็นพระมหากษัตริย์นี่ ถ้าไปทรงแนะน�ำ
สรา้ งความรงุ่ โรจนข์ องผลผลิต มีความมัง่ คง่ั สดุ ท้ายมนั ไมไ่ ด้ ประชาชนผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ผิด เสียหายมาก ผิดไม่ได้
เปน็ ตามทห่ี วงั เมอื่ เราเหน็ การลม้ พงั ของเศรษฐกจิ ระลอกแลว้ เพราะฉะน้ันจะมีพระราชกระแสตลอดเวลาว่า จะท�ำอะไร
ระลอกเล่า เห็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปอย่างส้ินเชิงจากความ ตอ้ งศกึ ษาใหล้ กึ ซง้ึ ”
ล้มเหลวด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะทุกแนวคิด ทุก “ในปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมอี ยขู่ อ้ หนง่ึ เงอื่ นไข
กลยุทธ์ และนโยบายท่ีลงมือทำ� ไม่ไดค้ ิดคำ� นงึ ถงึ เรอ่ื งความ ความรู้ทางวชิ าการ ท�ำอะไรต้องรู้ลกึ อยา่ งรอบคอบ ทำ� มวั่ ๆ
ยง่ั ยนื ” ไม่ได้ ทำ� แบบไม่ร้เู รอ่ื งนไ่ี มไ่ ด้ จะเสยี หาย นอกจากเสียเวลา
นายคาเมา เอกอคั รราชทตู ถาวรประเทศเคนยา ประจำ� แล้วยงั เสียหายอกี ” แลว้ ทา่ นกก็ ลา่ วถงึ การพฒั นาวา่ สามารถ
สหประชาชาตกิ ลา่ ววา่ “ประเทศไทยโชคดีท่ีมีผู้นำ� ท่ดี ี ท่ีมอบ แบง่ ศาสตรก์ ารพัฒนาไดส้ ามศาสตร์ดว้ ยกนั
หลักและแนวทางในการประพฤติปฏิบัติอย่างพอเพียง เป็น เริ่มจากอันทห่ี น่ึง คือ ศาสตร์ชาวบ้าน ที่เราเรียกวา่
หลักปรัชญาที่ท�ำให้คนไทยมีทิศทางในการคิด และพัฒนา ภูมิปัญญาชาวบ้าน ท่านอธิบายให้ฟังว่า ประเทศเรามีอายุ
ประเทศ และมองไปท่ีเป้าหมายปลายทางท่ีมีความม่ันคง เจด็ รอ้ ยถงึ แปดรอ้ ยปีแลว้ ในชว่ ง 700 ปียังไม่มีมหาวทิ ยาลัย
และยั่งยืน ประเทศไทยจึงสามารถกอบกู้ และก้าวผ่าน ปู่ย่าตายายของเราจะท�ำอะไรก็เหมือนลองผิดลองถูก ลอง
วิกฤตการณ์ตา่ งๆ มาไดค้ ร้ังแล้วคร้ังเล่า ซง่ึ เปน็ ความสำ� เร็จ ปลูกข้าวแบบไหนดี ปลูกอ้อยแบบน้ีดีไหม สมัยโน้นไม่มีวิชา
ของคนไทย ของภาคธุรกิจ และรฐั บาลไทย ในการรู้จกั วธิ ี ปลูกอ้อยจากเมืองนอก และวิชาท่ีปู่ย่าตายายเรียนกันมา
ลงมือทำ� ที่ทำ� ให้เหน็ ผลเกดิ เป็นรปู ธรรม” เป็นวิชาท่ีเหมาะส�ำหรับพ้ืนที่นั้นๆ เหมาะส�ำหรับภาคอีสาน
เอกอคั รราชทตู ถาวรประเทศเคนยาประจำ� สหประชาชาติ ตะวันตก ตะวันออก อย่าไปดูถูกวิชาของปู่ย่าตายายท่ีเรียก
ยังเน้นย้�ำความส�ำคัญ และความจ�ำเป็นที่ภาคเอกชนควร วา่ ศาสตรช์ าวบา้ น หรอื ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น สอง ศาสตรส์ ากล
น้อมน�ำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ โดยให้ กค็ อื สงิ่ ทคี่ รไู ปเรยี นมาแลว้ มาสอนหนงั สอื ครเู กง่ กวา่ ชาวบา้ น
ยึดแบบอย่างจากองค์กรเอกชนในประเทศไทยที่ได้ลงมือท�ำ
Journal of the Association of Researchers Vol.22 No.2 May - August 2017 17
ไปเรียนศาสตรส์ ากล คือ ศาสตร์ฝรง่ั เอามาสอนในวิทยาลยั / แก้ปัญหาน้ัน ควรมองในสิ่งที่คนมักจะมองข้าม แล้วเร่ิมแก้
แลว้ ไปเตมิ ให้ลกู หลาน วธิ ีท�ำเกษตรอนิ ทรีย์ ชาวบา้ นอาจจะ ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เม่ือส�ำเร็จแล้วจึงค่อยๆ
ไม่รเู้ ร่ือง แต่ครูน่ีรเู้ รื่อง เพราะไปหาวิชาจากศาสตรส์ ากลได้ ขยับขยายแกไ้ ปเรอื่ ยๆ ทีละจุด เราสามารถเอามาประยกุ ต์
อันที่สาม ท่ีประเทศอ่ืนไม่มี คือ ศาสตร์พระราชา เป็น ใช้กับการท�ำงานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงาน
โครงการตามพระราชด�ำริ ที่มีอยู่มากมายถึง ห้าพันกว่า แตล่ ะชนิ้ แลว้ เรมิ่ ลงมอื ทำ� จากจดุ เลก็ ๆ กอ่ น คอ่ ยๆ ทำ� คอ่ ยๆ
โครงการ มที งั้ การจดั การดนิ การจดั การนำ้� การเกษตรแปรรปู แก้ไปทีละจุด งานแต่ละช้ินก็จะส�ำเร็จไปได้ตามเป้าหมาย
ส่งิ แวดลอ้ ม การปลกู ป่า ปลกู ต้นไม้ ปลกู พชื ผักสวนครัว ที่วางไว้ “ถ้าปวดหวั คดิ อะไรไมอ่ อก ก็ตอ้ งแกไ้ ขการปวดหัว
นก้ี ่อน มันไมไ่ ด้แกอ้ าการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาท่ีท�ำให้เรา
หลักการทรงงานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปวดหวั ให้ไดเ้ สยี ก่อน เพอื่ จะใหอ้ ยใู่ นสภาพทีด่ ีได…้ ”
รชั กาลท่ี 9 4. ท�ำตามล�ำดับข้นั
เรม่ิ ตน้ จากการลงมอื ทำ� ในสง่ิ ทจี่ ำ� เปน็ กอ่ น เมอ่ื ส�ำเร็จ
ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ี แล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จ�ำเป็นล�ำดับต่อไป ด้วยความรอบคอบ
นอกจากจะทรงดว้ ยทศพธิ ราชธรรมแลว้ ยงั ทรงเปน็ พระราชา และระมดั ระวัง ถ้าท�ำตามหลกั น้ีได้ งานทกุ สิ่งก็จะสำ� เร็จได้
ทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งในการดำ� เนนิ ชวี ติ และการทำ� งานแกพ่ สกนกิ ร โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเริม่ ต้นจากส่งิ ท่จี �ำเปน็
ของพระองคแ์ ละนานาประเทศอกี ดว้ ย ผคู้ นตา่ งประจักษ์ถงึ ท่ีสุดของประชาชนเสยี กอ่ น ไดแ้ ก่ สขุ ภาพสาธารณสุข จาก
พระอจั ฉรยิ ภาพของพระองค์ และมีความส�ำนึกในพระมหา- น้ันจึงเป็นเร่ืองสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน และสิ่งจ�ำเป็นใน
กรณุ าธคิ ณุ เปน็ ลน้ พน้ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ ซงึ่ แนวคดิ หรอื หลกั การ การประกอบอาชพี อาทิ ถนน แหลง่ นำ�้ เพื่อการเกษตร การ
ทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 มีความนา่ สนใจทสี่ มควรนำ� อุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีราษฎร
มาประยุกต์ใช้กับชีวิตการท�ำงานเป็นอย่างย่ิง หากท่านใด สามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ “การพัฒนา
ต้องการปฏบิ ัติตามรอยเบื้องพระยคุ ลบาท ทา่ นสามารถน�ำ ประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดบั ขน้ั ต้องสร้างพ้นื ฐาน คอื
หลกั การทรงงานของพระองคไ์ ปปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ ดงั นี้ ความพอมี พอกนิ พอใช้ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบื้องตน้
1. จะทำ� อะไรต้องศกึ ษาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ กอ่ น ใช้วธิ ีการและอปุ กรณท์ ่ปี ระหยดั แต่ถกู ต้องตามหลัก
ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจาก วชิ า เมอ่ื ไดพ้ นื้ ฐานที่มน่ั คงพรอ้ มพอสมควร สามารถปฏบิ ัติ
ขอ้ มลู เบอ้ื งต้น ทง้ั เอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหนา้ ท่ี นกั ได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันที่
วชิ าการ และราษฎรในพน้ื ทีใ่ ห้ไดร้ ายละเอยี ดที่ถกู ต้อง เพอ่ื สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวง
น�ำข้อมูลเหลา่ นัน้ ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ อยา่ งถกู ตอ้ ง รวดเร็ว รชั กาลท่ี 9 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2517
และตรงตามเปา้ หมาย
2. ระเบิดจากภายใน 5. ภูมสิ งั คม ภูมิศาสตร์ สงั คมศาสตร์
จะท�ำการใดๆ ต้องเริ่มจากคนที่เกี่ยวข้องเสียก่อน การพัฒนาใดๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของ
ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจและ บริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะ
อยากทำ� ไมใ่ ชก่ ารสงั่ ใหท้ ำ� คนไมเ่ ขา้ ใจกอ็ าจจะไมท่ ำ� กเ็ ปน็ ได้ นิสยั ใจคอคน ตลอดจนวฒั นธรรมประเพณใี นแต่ละทอ้ งถิ่นท่ี
ในการท�ำงานนัน้ อาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกนอ้ ง เพ่อื น มคี วามแตกตา่ งกนั “การพฒั นาจะตอ้ งเปน็ ไปตามภมู ปิ ระเทศ
ร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพ่ือให้ทราบถึงเป้าหมาย ทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู ปิ ระเทศทางสงั คมศาสตร์ ในสงั คมวทิ ยา
และวิธีการต่อไป คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่างอื่น
3. แก้ปญั หาจากจุดเลก็ ไม่ได้ เราต้องแนะน�ำ เข้าไปดวู า่ เขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็
ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือ อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนาน้ีก็จะเกิด
ประโยชนอ์ ยา่ งย่งิ ”
18 วารสาร สมาคมนกั วิจัย ปีท่ี 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2560
6. ทำ� งานแบบองค์รวม 11. ตอ้ งยดึ ประโยชน์ส่วนรวม
ใชว้ ิธคี ิดเพื่อการท�ำงาน โดยวธิ คี ดิ อยา่ งองค์รวม คือ ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงระลึกถึงประโยชนข์ องส่วน
การมองส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกส่ิง รวมเป็นส�ำคัญ ดังพระราชด�ำรสั ตอนหนึ่งวา่ “…ใครตอ่ ใคร
ทกุ อย่างมมี ิตเิ ชื่อมตอ่ กัน มองสง่ิ ท่ีเกดิ ข้นึ และแนวทางแกไ้ ข บอกว่า ขอใหเ้ สียสละสว่ นตวั เพ่อื สว่ นรวม อนั นฟ้ี ังจนเบ่อื
อยา่ งเชื่อมโยง อาจร�ำคาญด้วยซ�้ำว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึง
7. ไม่ติดตำ� รา ประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เร่ือยแล้ว
เมอื่ เราจะท�ำการใดนนั้ ควรท�ำงานอยา่ งยดื หยนุ่ กับ ส่วนตวั จะได้อะไร ขอใหค้ ิดว่าคนท่ใี ห้เป็น เพอื่ สว่ นรวมนน้ั
สภาพและสถานการณน์ นั้ ๆ ไม่ใช่การยึดตดิ อยู่กบั แค่ในตำ� รา มิได้ใหส้ ว่ นรวมแตอ่ ย่างเดยี ว เปน็ การใหเ้ พ่อื ตวั เองสามารถ
วิชาการ เพราะบางทคี่ วามรู้ท่วมหวั เอาตวั ไมร่ อด บางครงั้ ทจ่ี ะมีสว่ นรว่ มทจ่ี ะอาศยั ได้…”
เรายดึ ติดทฤษฎมี ากจนเกินไป จนท�ำอะไรไม่ไดเ้ ลย สงิ่ ทเ่ี รา 12. บรกิ ารท่จี ดุ เดียว
ทำ� บางครง้ั ตอ้ งโอบออ้ มตอ่ สภาพธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม สงั คม ทรงมีพระราชด�ำรมิ ากว่า 20 ปแี ล้ว ใหบ้ ริหารศนู ย์
และจิตวทิ ยาดว้ ย ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งท่ัวประเทศโดยใชห้ ลกั การ “การ
8. รจู้ ักประหยัด เรยี บง่าย ไดป้ ระโยชน์สูงสุด บรกิ ารรวมทจี่ ดุ เดียว : One Stop Service” โดยทรงเนน้
ในการพฒั นาและชว่ ยเหลอื ราษฎร ในหลวงรชั กาลท่ี เรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันด้วยการ
9 ทรงใชห้ ลกั ในการแกป้ ญั หาดว้ ยความเรยี บงา่ ยและประหยดั ปรับลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง
ราษฎรสามารถท�ำได้เอง หาไดใ้ นทอ้ งถิน่ และประยุกต์ใชส้ ง่ิ 13. ใชธ้ รรมชาติชว่ ยธรรมชาติ
ที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 9 ทรงเขา้ ใจ
หรือใช้เทคโนโลยีที่ย่งุ ยากมากนัก ดังพระราชดำ� รสั ตอนหนึง่ ถึ ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ต ้ อ ง ก า ร ใ ห ้ ป ร ะ ช า ช น ใ ก ล ้ ชิ ด กั บ
ว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตาม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด
ธรรมชาตจิ ะไดป้ ระหยดั งบประมาณ…” โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้า
9. ท�ำให้ง่าย ชว่ ยเหลือเราด้วย
ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การ 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม
พฒั นาประเทศตามแนวพระราชด�ำรไิ ปได้โดยง่าย ไมย่ ุ่งยาก ทรงน�ำความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของ
ซับซ้อนและทีส่ ำ� คญั อยา่ งยิง่ คือ สอดคลอ้ งกบั สภาพความ ธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหา
เปน็ อยู่ของประชาชนและระบบนเิ วศโดยรวม “ทำ� ให้งา่ ย” และปรบั ปรงุ สภาวะทไ่ี มป่ กตเิ ขา้ สรู่ ะบบทปี่ กติ เชน่ การบำ� บดั
10. การมสี ่วนรว่ ม น�้ำเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่ง
ทรงเปน็ นกั ประชาธปิ ไตย ทรงเปดิ โอกาสใหส้ าธารณชน สกปรกปนเป้ือนในน�้ำ
ประชาชนหรอื เจา้ หนา้ ทที่ กุ ระดบั ไดม้ ารว่ มแสดงความคดิ เหน็ 15. ปลกู ปา่ ในใจคน
“ส�ำคญั ที่สุดจะต้องหดั ทำ� ใจให้กว้างขวาง หนกั แนน่ รจู้ ักรับ การจะท�ำการใดส�ำเร็จต้องปลูกจิตส�ำนึกของคน
ฟังความคิดเห็น แม้กระท่ังความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อ่ืน เสียกอ่ น ตอ้ งใหเ้ หน็ คุณคา่ เห็นประโยชน์กบั สง่ิ ท่จี ะท�ำ….
อยา่ งฉลาดนน้ั แทจ้ รงิ คอื การระดมสตปิ ญั ญาละประสบการณ์ “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้ว
อันหลากหลายมาอ�ำนวยการปฏิบัติ บริหารงานให้ประสบ คนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและจะรักษา
ผลส�ำเร็จท่ีสมบูรณ์นั่นเอง” ตน้ ไมด้ ้วยตนเอง”
Journal of the Association of Researchers Vol.22 No.2 May - August 2017 19
16. ขาดทนุ คือกำ� ไร 22. ความเพียร
หลกั การในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 การเริ่มต้นท�ำงานหรือท�ำส่ิงใดน้ันอาจจะไม่ได้มี
ท่มี ตี ่อพสกนกิ รไทย “การให”้ และ “การเสยี สละ” เปน็ การ ความพร้อม ตอ้ งอาศยั ความอดทนและความมงุ่ มนั่ ดังเชน่
กระทำ� อนั มผี ลเปน็ ก�ำไร คือ ความอย่ดู มี ีสขุ ของราษฎร พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตรยิ ์ผูเ้ พียรพยายามแม้
17. การพึง่ พาตนเอง จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน�้ำต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตก
การพฒั นาตามแนวพระราชดำ� ริ เพอ่ื การแกไ้ ขปญั หา เปน็ อาหารปู ปลาและไมไ่ ดพ้ บกบั เทวดาทชี่ ว่ ยเหลอื มใิ หจ้ มนำ้�
ในเบ้ืองต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มีความ 23. รู้ รกั สามคั คี
แข็งแรงพอท่ีจะด�ำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อมา ก็คือ การ รู้ คอื รูป้ ญั หาและร้วู ิธีแก้ปัญหานั้น
พัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพ รัก คือ เมอื่ เรารถู้ งึ ปญั หาและวธิ ีแก้แลว้ เราต้องมคี วาม
แวดลอ้ ม และสามารถพงึ่ ตนเองไดใ้ นที่สดุ รกั ท่จี ะลงมอื ท�ำ ลงมือแก้ไขปัญหาน้นั
18. พออยพู่ อกนิ สามคั คี คือ การแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ไม่สามารถลงมอื ทำ�
ให้ประชาชนสามารถอยอู่ ยา่ ง “พออยูพ่ อกิน” ใหไ้ ด้ คนเดยี วได้ ต้องอาศยั ความรว่ มมอื รว่ มใจกนั
เสยี ก่อน แลว้ จงึ คอ่ ยขยบั ขยายใหม้ ขี ีดสมรรถนะทกี่ ้าวหนา้
ต่อไป บทสรปุ
19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทาน “ศาสตร์พระราชา” อนั เปน็ “สายใยแหง่ ความรัก
พระราชด�ำรัสชี้แนะแนวทางการด�ำเนินชีวิต ให้ด�ำเนินไป และความหว่ งใย” ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ท์ ม่ี ตี อ่ พสกนกิ ร
บน “ทางสายกลาง” เพื่อใหร้ อดพน้ และสามารถด�ำรงอยไู่ ด้ ไทยทงั้ มวล ตลอดรัชสมัย 70 ปขี องรชั กาลที่ 9 ถือวา่ นาน
อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และการ แต่มีความแปลก เพราะพระองค์ทรงอยู่กับประชาชนนาน
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยประชาชนไม่เบือ่ และยงิ่ เปน็ ความนา่ เสยี ดายทีพ่ ระองค์
ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน ทรงสน้ิ ไป จงึ เปน็ ประเด็นท่ีหาคำ� ตอบได้ว่า ระยะ 70 ปี น้นั
20. ความซ่อื สัตยส์ จุ ริต จรงิ ใจต่อกนั พระองคท์ รงปกเกล้า ปกกระหมอ่ ม แต่ไมไ่ ดป้ กครอง เพราะ
ผู้ท่มี คี วามสุจรติ และบริสทุ ธ์ใิ จ แม้จะมีความรู้นอ้ ย ก็ การปกครองเป็นเร่ืองของรัฐบาล นับตั้งแต่ข้ึนครองราชย์
ย่อมท�ำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ท่ีมีความรู้มาก พระองค์เสด็จเย่ียมเยียนราษฎรในต่างจังหวัด โดยพระองค์
แต่ไมม่ คี วามสุจริต ไมม่ คี วามบรสิ ทุ ธิใ์ จ ทรงเป็นกนั เอง ทำ� ให้ประชาชนเห็นว่าพระเจ้าแผ่นดนิ อยกู่ บั
21. ท�ำงานอยา่ งมีความสขุ ชาวบา้ นได้ อย่กู ับคนไทยได้ ส่งิ ทรี่ ัชกาลที่ 9 ทรงทำ� ปรากฏ
ทำ� งานตอ้ งมคี วามสุขดว้ ย ถา้ เราท�ำอยา่ งไมม่ คี วาม รูปธรรมท่ีชัดเจน คือ ช่วง 50 ปีหลัง กิจที่ทรงท�ำและค�ำที่
สุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการ ทรงแนะทุกอย่าง มีค�ำจ�ำกัดความที่สอดคล้อง คือ ศาสตร์
ท�ำงานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะท�ำงานโดย พระราชา ซ่ึงศาสตรน์ ั้นได้มาจากพระราชประสบการณ์ เขา้
ค�ำนึงถึงความสุขท่ีเกิดจากการได้ท�ำประโยชน์ให้กับผู้อ่ืนก็ พระทยั ในเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื ง สถานการณต์ า่ งๆ และพระราช
สามารถท�ำได้ “…ทำ� งานกับฉัน ฉนั ไมม่ ีอะไรจะให้ นอกจาก กรณียกิจ โดยสาระส�ำคัญท่ีเป็นหัวใจของศาสตร์พระราชา
การมีความสขุ ร่วมกัน ในการท�ำประโยชนใ์ หก้ บั ผ้อู ่นื …” คอื ศาสตรแ์ ห่งการพัฒนา, ศาสตร์แหง่ การครองตน เพื่อเป็น
แบบปฏิบตั ิ และตัวอย่างท่ดี ี และศาสตรแ์ ห่งการอย่รู ว่ มกนั
ในสงั คมอยา่ งสงบสขุ การทพ่ี ระองคท์ รงอยใู่ นราชสมบตั ิ 70 ปี
ทำ� ใหเ้ กดิ องคค์ วามรสู้ ำ� คญั คอื “ศาสตรพ์ ระราชา” ในศาสตร์
พระราชา มีหลกั วิชาตา่ งๆ ทั้ง สงั คมศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
ปนกันอยู่ เพราะไม่ใช่ศาสตร์ท่ีใช้สอบหรือได้รับปริญญา
แต่เป็นสิง่ ท่พี ฒั นาประเทศ หากเราไดศ้ กึ ษาศาสตร์พระราชา
เปน็ ระบบอย่างเป็นขน้ั ตอนจะทำ� ให้เกิดประโยชนม์ หาศาล
20 วารสาร สมาคมนกั วิจยั ปีท่ี 22 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2560
เอกสารอ้างองิ
[1]ศาสตร์พระราชา...ศาสตร์เพอ่ื การพัฒนาทีย่ ่งั ยนื , ห้องสมุดมัน่ พัฒนา, หนังสอื พระมหากษัตริยน์ กั พัฒนาเพือ่ ประโยชน์
สขุ สปู่ วงประชา พทุ ธศกั ราช 2554, หนา้ 28-29 http://www.manpattanalibrary.com/newsdetail.php?id...
[2]ศาสตรพ์ ระราชาสู่การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน, Thaigov, 21 ตลุ าคม 2559, http://www.thaigov.go.th/index.php/th/
program2/ite...& “ศาสตรพ์ ระราชา”, 28 ตุลาคม 2559, http://www.thaipost.net/?q=ศาสตรพ์ ระราชา
[3] ศาสตรพ์ ระราชา, งานเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางคน์ คร ศาสตรก์ ารจดั การและการ
อนุรักษ์น้�ำของพระราชา จากฟากฟ้าลงภูผา ผ่านทุ่งนาสู่มหานที, http://phetchabun.police.go.th/
uploads/File/king-s... & ศาสตร์พระราชา, วิถพี อเพียง, ศาสตรพ์ ระราชาจากภูผาสู่มหานท,ี https://sites.
google.com/site/vetherporpeanglife/h... & ศาสตรแ์ หง่ พระราชา แนวคิด ภูมิปัญญา น�ำสกู่ ารปฏิบตั ิ, หอ้ ง
สมุดม่นั พัฒนา, 15 ตุลาคม 2557, www.manpattanalibrary.com/book_detail.php?id=752
[4] “วิษณ”ุ ปาฐกถา ยกยอ่ งศาสตร์พระราชา คอื ศาสตร์แห่งแผน่ ดนิ เทดิ ทลู “ร.9” เปน็ นักคิด-นักพัฒนา http://www.
komchadluek.net/news/regional/๒๖๐๘๑๗
[5] https://th.jobsdb.com, http://www.crma.ac.th, http://umongcity.go.th