แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ จํานวนคาบรวม
วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า(รหัสวชิ า 2104-2114) 72 ชัวโมง
มาตรฐานที 1
เข้าใจส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
หน่วยที 1 ประวัติและความเป็ นมาของ จาํ นวนคาบรวม สอนครังที 1
Programmable Controller 4 ชัวโมง จาํ นวนคาบ 4 ชัวโมง
ทฤษฎี เรืองที 1 การควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
ปฏิบตั ิ ใบงานที 1 วงจร Packking machine
1. สาระสําคัญ : เวลา 4 ชัวโมง
ก่อนการเรียนรู้เกียวกบั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ นกั เรียนตอ้ งศึกษาและทาํ ความเขา้ ใจ
เกียวกบั การควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรม เบืองตน้ ก่อน ไดแ้ ก่ ชนิดของการควบคมุ ความหมายของ
การควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ประวตั ิความเป็นมาของระบบ Programmable Controller
(PLC) การพฒั นาระบบ Programmable Controller (PLC) ขอ้ ดีของระบบ Programmable Controller (PLC)
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการใชง้ านระบบ Programmable Controller (PLC) และระบบรีเลยใ์ น
การควบคุม การแบง่ ขนาดของระบบ PLC และ ตวั อยา่ งของการประยกุ ตใ์ ชง้ าน Programmable Controller
(PLC)
2. สมรรถนะประจาํ หน่วยที 1
2.1 แสดงความรู้เกียวกบั การควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรม
2.2 ปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึกควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลทีต่อวงจรไวแ้ ลว้ ไดแ้ ก่วงจร
Packking machine ตามหลกั การและกระบวนการ
2.3 ปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึ กควบคุมดว้ ยระบบ Programmable Controller (PLC) ที
ออกแบบและเขียนโปรแกรมแก่วงจร Packing machine ตามหลกั การและกระบวนการ
2.4 เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งการการเปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งการใชง้ าน
ระบบ Programmable Controller (PLC) และระบบไฟฟ้าเชิงกลในการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรม
2.5 แสดงเจคติและลกั ษณะพฤติกรรมลกั ษณะนิสยั ในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ
ซือสตั ย์ ใฝ่ รู้ มีความคิดริเริมสรา้ งสรรค์ ละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั ละเวน้ จากยาเสพติดและทาํ งานร่วมกบั
ผอู้ ืนได้
3. จดุ ประสงค์การเรียน
3.1 จดุ ประสงค์ทัวไป : ลกั ษณะทีพึงประสงค์เมือผ่านการเรียนรู้ของผ้เู รียน
3.1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจในเรืองการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรม และเขา้ ใจความ
เป็น มาของ Programmable Controller(PLC)
3.1.2 มีทกั ษะปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึ กควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและชุดฝึ ก
Programmable Controller (PLC) วงจร Packing machine
3.1.3 มีจิตพสิ ยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน อนั ไดแ้ ก่ มีความรับผิดชอบ สนใจใฝ่รู้ ซือสตั ย์ มี
คุณธรรม
3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม : ผู้เรียนมีความสามารถดงั ต่อไปนี
3.2.1 บอกความหมายของการควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ได้ ตามหลกั การ
3.2.2 จาํ แนกชนิดของการควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ได้ ตามหลกั การ
3.2.3 ทดสอบชุดฝึ กควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและชุดฝึก Programmable Controller
(PLC) วงจร Packing machine ไดถ้ ูกตอ้ ง ตามหลกั การดว้ ยความละเอียดรอบคอบ
3.2.4 เปรียบเทียบการควบคุมในระบบงานอุตสาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและ
Programmable Controller (PLC) วงจร Packing machine ไดถ้ ูกตอ้ ง ตามหลกั การ
3.2.5 แกป้ ัญหาเกิดขอ้ บกพร่องขึนระหวา่ งการปฏิบตั ิงานตามหลกั การ
3.2.6 สรุปและวิจารณผ์ ลการทดลอง ตามหลกั การ
3.2.7 แสดงใหเ้ ห็นถึงจิตพิสยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน
4. สาระการเรียนรู้
4.1ทฤษฎี เรืองการควบคุมในระบบอุตสาหกรรม ซึงประกอบไปด้วย
4.1.1 การควบคุมในระบบอตุ สาหกรรม
4.1.1 แนะนาํ Programmable Controller (PLC) ซึงเป็นอุปกรณ์ควบคุมทีสามารถ
กาํ หนดโปรแกรมการทาํ งานไดโ้ ดยการโปรแกรมซึงจะนาํ มาทดแทนการเดินสายทีมีปัญหา
4.1.2 ขอ้ ดีของ Programmable Controller (PLC) และเปรียบเทียบขอ้ ดีของ Programmable
Controller (PLC) กบั วงจรควบคุมทีใชร้ ะบบไฟฟ้าเชิงกล
4.2 ปฏิบัติ ใบงานที 1 การทดสอบวงจรควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าเชิงกลและระบบ Programmable
Controller (PLC)
เป็นทดสอบการทาํ งานของวงจร Packing machine ดว้ ยอุปกรณ์ควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและ
ระบบ Programmable Controller (PLC) ซึงในวงจรควบคุมดงั กล่าวจะมีโครงสรา้ งของวงจรควบคุม
ประกอบดว้ ย
1. อุปกรณ์อินพทุ (Limit Switch)
2. อุปกรณ์เอาทพ์ ทุ (Solenoid value)
3. อุปกรณค์ วบคุม (Auxiliary Relay,Timer,counter)
5. กจิ กรรมการเรียนการสอน
ภาคทฤษฎีใช้การสอนแบบ MIAP
5.1 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี ใชข้ นั ตอนการสอนแบบ MIAP
5.1.1 ขันนําเข้าสู่บทเรียน (ใช้ Clip Video , Youtube)
5.1.1.1 ครูชีแจงจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable
Controller (PLC)
5.1.1.2 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ส่งแบบทดสอบก่อนเรียนดงั กลา่ วคืนครู
(Kahoot)
5.1.1.3 ครูนาํ เนือหาสาระของหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller
(PLC)มาสร้างใหเ้ กิดปัญหาทีน่าสนใจหรือน่าติดตาม เพือใหน้ กั ศึกษาเกิดความสนใจและอยากคน้ หาคาํ ตอบ
ในขนั ศึกษาขอ้ มลู (Clip Video,)
5.1.2 ขันศึกษาข้อมลู
5.1.2.1 ครูอธิบายสาระการเรียนรู้ โดยใชส้ ือโสตทศั น์จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ และ
นกั เรียนใชใ้ บความรู้ โดยครูใชว้ ิธีบรรยาย, ยกตวั อยา่ งปัญหา, สาธิตวิธีการทาํ งานของวงจรการควบคุม
มอเตอร์ไฟฟ้า/อปุ กรณไ์ ฟฟ้า และถาม-ตอบ เพือใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ตามสาระการเรียนรู้ที
กาํ หนด ดงั นี (E-Book ,Facebook Group,Power point)
1) การควบคุมในระบบอุตสาหกรรม
2) การควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control)
- การควบคุมดว้ ยแรงงานจากมนุษย์ (Manually)
- การควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล (Electro Mechanically)
- การควบคุมดว้ ยตวั คอลโทรลเลอร์ (Controller)
- การควบคุมแบบศูนยก์ ลาง (Certral Control System)
3) ขอ้ เสียของการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล
4) วิธีการแกป้ ัญหาของการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล
5) ขอ้ ดีของการใช้ Programmable Controller (PLC) ในระบบงานอุตสาหกรรม
6) การเปรียบเทียบการควบคุมในระบบงานอุตสาหกรรมดว้ ยอปุ กรณ์ไฟฟ้าเชิงกลและ
ระบบ Programmable Controller (PLC)
7) การจาํ แนกประเภทของ Programmable Controller (PLC)
5.1.2.2 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
โดยมีครูแนะนาํ ชีแนะเมือผเู้ รียนมีปัญหาสงสัยเกียวกบั โจทยฝ์ ึ กหดั ทีกาํ หนดให้
5.1.2.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลย แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable
Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมากหรือมีคาํ ตอบหลากหลาย ครูทาํ การอธิบายเพิมเติม
5.1.2.4 ครูร่วมกบั นกั ศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเนือหาของหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั
Programmable Controller (PLC)
(Google Class Room,One Drive)
5.1.3 ขันพยายาม
นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller
(PLC)
(Google From)
5.1.4 ขันสําเร็จ
5.1.4.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง
แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมากหรือมีคาํ ตอบหลากหลายครู
จะทาํ การอธิบายเพิมเติม
5.1.4.2 นกั เรียนทุกคนแจง้ ผลคะแนนแบบฝึ กหดั แบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยที 1
ใหค้ รูรับทราบ เพือบนั ทึกเป็นคะแนนเกบ็ สะสมไวใ้ นบญั ชีเกบ็ คะแนนของนกั เรียน
ภาคปฏบิ ัติ : ใช้การสอนแบบ Shop lesson
5.2 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ใบงานที 1 แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
ลาํ ดบั การสอน (Step operation)
5.2.1. ขันเตรียมการสอน (Preparation step)
ครูชีแจงใบงานที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) อธิบาย
จุดประสงคก์ ารเรียน
5.2.2 ขันให้เนือหา (Presentation step)
ครูอธิบายทฤษฎีทีเกียวขอ้ งกบั การการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรมโดย
ยกตวั อยา่ งของวงจร Packing machine ทีควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและระบบ Programmable
Controller (PLC) ซึงในเนือหาจะประกอบดว้ ยการทาํ งานของวงจรกาํ ลงั และการทาํ งานของวงจรควบคุม
5.2.3. ขันพยายาม (Application step)
5.2.3.1 ครูใหน้ กั เรียนต่อวงจร Packing machine โดยควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้า
เชิงกลและระบบ Programmable Controller (PLC) โดยวิธีการเสียบสายบนแผงฝึ กตามวงจรทีครูกาํ หนด
5.24. ขันฝึ กหดั และทดสอบ (Testing & Exercising)
5.2.4.1 นกั เรียนทดลองการทาํ งานตามแบบประเมินผลการทดลองและเสนอผล
การทดลอง
5.24.2 นกั เรียนสรุปและวิจารณ์ผลการทดลองลงในใบงาน
หมายเหตุ : 1. ใช้สือแผ่นใส หรือนําเสนอเนือหาโดยสือ Power point ร่วมกบั Projector
2. Programmable Controller (PLC) ต้องถูกเขียนโปรแกรม Packing machine ไว้เรียบร้อย
โดยครูผู้สอน
6.งานทีมอบหมายหรือกจิ กรรม
6.1 ก่อนเรียน
นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller
(PLC)
6.2 ขณะเรียน
6.2.1 นกั เรียนทาํ แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
6.2.2 นกั เรียนทาํ ใบงานที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
6.2.3 นกั เรียนประเมินแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพึงประสงคใ์ นการเรียนรู้ ของ
ตนเองและผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
6.3 หลังเรียน
นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC)
7.สือการเรียนรู้
7.1 สือสิงพมิ พ์
7.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC)
พร้อมเฉลย
7.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC)
พร้อมเฉลย
7.1.3 แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) พรอ้ มเฉลย
7.1.4 ใบความรู้หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
7.1.5 ใบงานที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
7.1.6 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานดา้ นทกั ษะกระบวนการหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั
Programmable Controller(PLC)
7.1.7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพึงประสงคใ์ นการเรียนรู้ของตนเอง และ
ผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
7.2 สือโสตทัศน์
สือนาํ เสนอการเรียนรูเ้ นือหาหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
7.3 สืออุปกรณ์ / สือของจริง
ชุดฝึกปฏิบตั ิวชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้าใชป้ ระกอบการสอนภาคปฏิบตั ิ ซึง
ประกอบดว้ ย Programmable Controller(PLC) ยีหอ้ OM-ROM รุ่น C28H, Limit Switch, Solenoid value,
Auxiliary Relay, Timer และ counter
8. การประเมนิ ผล (บอกเงือนไขการประเมินผลวา่ ใหค้ ะแนนจากกิจกรรมใดบา้ ง หรือเพิมเติมเกณฑก์ าร
วดั ผลประเมินผล แบบบนั ทึกการร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน หรือชินงาน)
การประเมินผลเป็นส่วนหนึงของขบวนการเรียนการสอน โดยตอ้ งทาํ ควบคู่กบั การเรียน
การสอนเสมอ และวางเป้าหมายของการประเมินผลผเู้ รียนไวท้ ี
1. เป็นการประเมินผลเพือจดั วางตวั ผเู้ รียนใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถ
2. เป็นการประเมินผลเพือพฒั นาและปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียน
3. เป็นการพฒั นาและปรับปรุงการสอนของครูผสู้ อน
8.1 การประเมินผลด้านเนือหา
เครืองมือทีใช้ : ใชแ้ บบฝึ กหดั เป็นเครืองมือหลกั และใชก้ ารสอบปากเปลา่ เป็นเครืองมือรอง
รายการประเมิน : แบบฝึ กหดั ที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
8.2 การประเมนิ ผลด้านกระบวนการทางทักษะ
เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะกระบวนการทางทกั ษะ ใชป้ ระเมินผลขณะนกั ศึกษา
กาํ ลงั ปฏิบตั ิงานกลุ่ม โดยการปฏิบตั ิ, สอบปากเปลา่ และการสงั เกต และมีการใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ โดยมี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลประกอบ
รายการประเมิน : ใบงานที 1 แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
8.2.1 ผูส้ อนประเมินผลดา้ นกระบวนการทางทกั ษะตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ
ปฏิบตั ิงาน โดยวิธีการสักเกตุและตรวจสอบความถูกตอ้ งของวงจรตามหลกั การ
(Clip video โดยการ Up load ผา่ น Facebook Group)
8.3 การประเมนิ ผลงาน
เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลงาน ใชป้ ระเมินผลงานของนกั ศกึ ษาแต่ละกลมุ่ หรือเป็นการสรุป
การเรียนรู้ในเรืองนนั ๆ โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงานของนกั ศึกษาในการส่งผลงานในครังนนั ๆ
รายการประเมิน : ใบงานที 1 แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)
8.3.1 ผสู้ อนประเมินผลงานโดยตรวจการทาํ งานของวงจรตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ
ปฏิบตั ิงาน
8.4 การประเมนิ ผลด้านจิตพสิ ัย
เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพสิ ัยในการปฏิบตั ิงาน ใชป้ ระเมนิ ผลนกั ศึกษาตงั แต่
เริมตน้ การเรียนรู้จนกระทงั เสร็จสินกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ่วมการสังเกตจากพฤติกรรมนกั ศึกษาและมี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลประกอบ
รายการประเมิน : ใบงานที 1 แบบประเมนิ ผลสมรรถนะจิตพิสยั ในการปฏิบตั ิ
9. กจิ กรรมเสนอแนะ
กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนเก่ง คือใหเ้ ป็นผชู้ ่วยครู ใหค้ าํ แนะนาํ เพือนในการทาํ กิจกรรม
กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนอ่อน คือใหค้ าํ แนะนาํ อยา่ งใกลช้ ิดและให้ศึกษาเพิมเติม
10. บนั ทึกหลังการสอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
10.1 ผลการใช้แผนการสอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
10.2 สือการเรียนการสอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
10.3 ผลการสอนของครูผู้สอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
10.4 ผลการเรียนของนักศึกษา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารอ้างองิ
ชาญยุทธ์ นุชนงค.์ การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า. กทม. : บริษทั พฒั นาวชิ าการ(2535) จาํ กดั .
2547
บริษทั ออมร่อนตรีศกั ดิจาํ กดั . OPERATION MANUAL OMRON SYSMAC C20 C28H
P/C/ 40P . กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท, ม.ป.ป.
ผศ. อาํ นาจ วงคผ์ าสุข, ผศ. วิทยา ประยงคพ์ นั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า
วิจิตร บุญยรโรกุล. ระบบควบคุมมอเตอร์. กทม:หจก.โรงพิมพเ์ อเชีย, 2527
ไพศาล จนั ทร์ไชย.ใบงานการควบคมุ เครืองกลไฟฟ้า. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่,
ม.ป.ป.
สาคร แสนคาํ ดี.ใบงานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบืองต้น. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่
ม.ป.ป.
สุพล จริน.ใบงานวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่,
ม.ป.ป.
สุพรรณ กลุ พานิชย.์ PROGRAMMABLE CONTROLLER เทคนคิ การใช้งานเบืองต้น.
พิมพค์ รังที 2 . กทม. : โรงพิมพท์ ิพยว์ ิสุทธิ. 2533
อุทยั สุมามาลย.์ การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า. กทม.: โรงพมิ พศ์ ูนยว์ ิชาการ.2543
HAMANN PETER,STEVE WILLING. OPERTION MANUAL OMRON . TOKYO:
ม.ป.ท, 1990.