วารสาร EEC EASY มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารผลการดำาเนินงาน โครงการที่สำาคัญ ๆ ของ สำานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) หรือ อีอีซี รวมถึงสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างการมีส่วนร่วมภายในองค์กร จัดทำาโดย สำานักสื่อสารองค์กร Corporate Communications Division (CCD) สามารถติดตามข่าวสารของ อีอีซี ได้ที่ www.eeco.or.th EEC WE CAN Eastern Economic Corridor - EEC EEC EASY สารบัญ EEC มีเรื่องเล่า : 04 ข่าวสารกิจกรรมเด่น คนอีอีซี EEC in Trend : 06 เทคนิคการใช้ Google Maps แบบใหม่ ให้สนุก Cover Story : 08 เรื่องใหม่ ๆ ในอีอีซี ปี 67 1 2 3 4 5 6 EEC Knowledg : 10 เช็คพอยท์ ความยั่งยืน เพื่อการลงทุนยุคใหม่ EEC มีแชร์ : COP 28 และนัยสำาคัญต่อ EEC 12 เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ 14 EEC Playground : 16 วารสาร EEC EASY 2
บทบรรณาธิการ (EEC Editor talk) The best time for new beginnings is now. (ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุด สำาหรับการเริ่มต้นใหม่ ก็คือตอนนี้) จากปฏิทินปีใหม่ ที่กำาลังเข้าสูเดือนที่ 2 ของปี 2567 และวารสาร ่ EEC Easy ฉบับที่ 2 นี้ ก็ได้กลับมาพบกับ พี่ ๆ น้อง ๆ ชาว EEC อีกครั้ง ที่ เนื้ อหาสาระในเล่มนี้ ยังคงอัดแน่นด้วยข้อมูล ข่าวสารดี ๆ เพื่อเพิ่ มพูนความรู้ พร้อมด้วยสาระเบา ๆ ในเรื่อง แบบอินเทรนด์ ๆ รวมทังสร้างการส ้ อสารเพื่อเพิ ื่มความส่ มพันธ์ ั อันดีภายในองค์กรของเรา อันเป็ นจุดประสงค์หลักของวารสาร EEC Easy ในเล่ม EEC Easy ฉบับนี้ จะมาในแนวคิด “New” ที่ไม่เพียงต้อนรับการเข้าสู่ศักราชปี ใหม่ แต่ยังมีเรื่องราวใหม่ ๆ มาฝากกัน ทั้งความคืบหน้าต่าง ๆ ของการทำางานภายในอีอีซี ของเรา สวนคนที่ชอบขับรถแล้วหลงไปมา เราก็มีเทคนิคการใช้ ่ Google Maps แบบใหม่ ให้ไปถูกทางและสนุกยิงขึ้น นอกจากนี้ ่ ความพิเศษของวารสาร EEC Easy ฉบับนี้ ยังมีบทความดี ๆ จากเพื่อน ๆ สายงานการลงทุนและต่างประเทศ และสายงาน เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ มาฝากกันอีกด้วย มาถึงบรรทัดนี้ ก็คงไม่ช้าเกินไป ที่จะขออวยพรปี ใหม่ ให้พี่ ๆ น้อง ๆ EEC ทุกคน ขอจงมีสุขภาพแข็งแรง และมุ่งมั่น คิดจะเริมต้นทำ ่าสิ่ งใด ก็ขอให้สำาเร็จด้วยดี และเริมต้นทำ ่าได้ทันที ดังคำาที่โปรยไว้ข้างต้น แล้วกลับมาพบกับสาระดี ๆ และมานั่ง พักผ่อนในห้องนังเล่นของพวกเรา ใน EEC Easy ฉบับต่อไป ่ วารสาร EEC EASY 3
EEC มีเรื่อง เล่า บรรยายพิเศษ Knowledge Transfer สิทธิประโยชน์ลงทุน ต้องรู้ รื่นเริง บันเทิงปี ใหม่ พี่น้องชาวอีอีซี รับปี มังกรทอง ข่าวสารกิจกรรมเด่น คนอีอีซี “ “ ” ” ฤกษ์งามยามดี เปิ ดศักราชปี ใหม่ 2567 ท่านเลขาธิการ ดร.จุฬา สุขมานพ ได้บรรยายพิเศษ สร้างการรับรู้ เรื่อง สิทธิประโยชน์สำาหรับผู้ประกอบการกิจการในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ ด้วยบรรยากาศอบอุ่นสนุกสนานแต่แฝงด้วย สาระเข้มข้นตั้งแต่ ขั้นตอนการรับสิทธิประโยชน์ การจูงใจ นักลงทุนในกรอบสทธิประโยชน์ ทั ิ งรูปแบบภาษี และมิใช่ภาษี ้ แถมปิดท้ายด้วยข้อคิดดี ๆ จากท่านเลขาฯ จุฬา ให้การทำางาน ในรูปแบบ “ทีม” ที่เข้มแข็งยิ่ งขึ้น ของพวกเราชาวอีอีซี ถือเป็ นงานประจำาทุกปี ที่จะมีกิจกรรมดี ๆ ผ่อนคลาย และเติมความสุขการเข้าสู่ปี ใหม่ให้กับพวกเราคน อีอีซี และ เป็ นงานแห่งค่ำาคืนที่พี่ ๆ น้อง ๆ คนอีอีซีทุกคน จะได้ร่วม สังสรรค์กัน ภายใต้งาน EEC THANK YOU PARTY ที่ ปี 2567 นี้ มาในธี ม BLACK and GOLD เรียบหรู ลักซ์ชู ปาร์ตี้ ที่ พวกเราคนอีอีซี ได้จัดเต็มกันทุกคน การแสดงพิเศษจากน้องใหม่ในออฟฟิ ศ พร้อมกับการ แลกของขวัญ Theme “ม” และการจับรางวัล Lucky Draw ที่จะเป็ นกำาลังใจ ส่งความสุขให้พวกเราชาวอีอีซี ได้ร่วมกันฟั นฝ่ าอุ ปสรรค และมุ่ งมั่น ทำางานหนักในปี มังกรทองนี้ วารสาร EEC EASY 4
อบรมผู้บริหาร “ระบบสารบรรณ” นั้นสำาคัญ ไฉน แผนยุทธศาสตร์ อีอีซี “ เข็มทิศสำาคัญเดินหน้าองค์กร ” เพื่อให้การทำางานในระบบการจัดเก็บ ระบบรับ สงหนังส ่อื การบันทึกเอกสารสำาคัญ ๆ ทั้งภายในสำานักงานได้มี ประสทธิภาพ และเข้าสู ิ การใช้งานดิจิทัลมากยิ ่ งขึ้น โดยเฉพาะ ่ การทำางานด้านระบบสารบรรณ ให้เกิดความคล่องตัว เป็ นเครื่องมือสำาคัญช่วยให้พนักงาน จัดเก็บข้อมูลสำาคัญ ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงได้เกิดกิจกรรมอบรม การบริหารงานสารบรรณ และวิธีปฏิบัติงานทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเจ้าภาพ สำานักบริหารกิจการองค์กร ที่ได้เผยแพร่ ความรู้ดี ๆ ด้านระบบสารบรรณ ให้กับระดับผู้บริหาร ได้นำาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรของเรา ปิ ดท้ายกันด้วย งานอบรมภายในที่มีความสำาคัญเป็ น ลำาดับต้น ๆ สำาหรับงานขับเคลื่อนองค์กรของเรา นั่นคือ การอบรมเรื่อง การถ่ายทอด แผนยุทธศาสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2567 – 2569) สำานักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่งานนี้ท่านเลขาธิการ ดร.จุฬา สุขมานพ ได้เป็ นผู้บรรยาย และแชร์ความรู้ แนวคิด การจัดทำาแผนฯ ทิศทางการขับเคลื่อนในแต่ละยุทธศาสตร์ และเป้ าหมายของแผน ที่จะเป็ นเหมือนต้นทาง หรือเข็มทิศ สำาคัญ กำาหนดการต่อยอดแผนต่าง ๆ ภายในองค์กรให้มี ประสิทธิภาพยิงขึ้น ่ วารสาร EEC EASY 5
à·¤¹¤ Ô ¡ÒÃ㪌 Google ẺãËÁ ‹ ãËÊŒ ¹¡Ø Maps ถ้าคุณต้องเดินทางไปยังสถานที่ที่ไม่รู้จัก ไม่รู้เส้นทาง แต่สามารถพกตัวช่วยไปได้หนึ่งอย่าง คุณจะพกอะไรไป หากคิดอะไรไม่ออก ขอแนะนำา แผนที่ประจำาโทรศัพท์ อย่าง Google Maps ที่จะช่วยเพิ่ มความมันใจได้ ่ เพราะมีรายละเอียด สถานที่และบอกเส้นทางได้อย่างแม่นยำา (เป็ นส่วนใหญ่) ซึ่งพอลองตังใจใช้จริง ๆ นอกจากจะบอก ้ เส้นทางแล้ว ยังมีฟี เจอร์ล้ำา ๆ อีกหลายอย่าง ที่คุณอาจจะยังไม่รู้ สำาหรับ สายรีวิว สายถ่ายรูป การตังค่าโปรไฟล์ ้ จะทำาให้ผู้คนสามารถติดตามเรา และเราก็สามารถแบ่งปั น ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่นัน ๆ พร้อมกับ ควบคุมข้อมูล ้ ส่วนตัวต่าง ๆ ได้ครอบคลุมมากขึ้น และในอนาคต ก็ไม่แน่ว่าช่องทางนี้อาจจะดังขึ้นมาให้กลุ่ม คนสายรีวิว ก็เป็ นได้ นอกจากที่ผู้คนจะสามารถติดตามเราได้แล้ว เราก็สามารถติดตามคนอื่นได้เช่นกัน ซึ่งถ้าหากเรา อยากรู้ว่า แต่ละพื้นที่มีอะไรที่ไหนน่าไป หรือ อาหารร้านไหนที่ห้ามพลาดการไปติดตามคนพื้นที่ ที่ใช้ชีวิตอยู่บริเวณนัน ๆ จริง ๆ หรือคนที่มีการสร้าง ้ โปรไฟล์หรือจุดเช็กอินไว้ เป็ นอย่างดีก็จะทำาให้เรา เหมือนมีไกด์ท้องถิ่ นตัวจริง พาทัวร์กันเลยทีเดียว สร้างตัวตนบนโลกออนไลน์ รู้จักย่านแบบ “คนพื้นที่” EEC in Trend วารสาร EEC EASY 6
อีกหนึ่งฟี เจอร์ที่น่าสนใจ ของ Google Maps ก็คือ Location Sharing หรือ การบอกตำาแหน่งที่อยู่ ของตัวเราในปั จจุบันให้กับคนที่เราต้องการจะบอกได้รับรู้ เช่น เวลานัดเจอกับเพื่อนในสถานที่ที่คนพลุกพล่าน แล้วหากันไม่เจอ ก็สามารถแชร์ โลเคชันแบบแม่นยำา ให้เพื่อนได้ทันที ซึ่งเรายังสามารถกำาหนดได้ว่าจะแชร์ ให้กับใคร และเป็ นระยะเวลานานเท่าไหร่ด้วย ขณะที่เรา ก็สามารถรู้ตำาแหน่งของคนอื่น ได้เช่นกัน (หากคน ๆ นัน้ ยินยอม) Google Maps ยังมีลูกเล่นอีกเพียบ ซึ่งการพัฒนา ฟี เจอร์ ใหม่ ๆ เหล่านี้จะช่วยให้การเปิ ดแผนที่่ในแต่ละครังของเรา้ รู้สึกเหมือนได้เข้าไปอยู่ในโลกเสมือนอีกหนึ่งใบ ได้เชื่อมต่อกับผู้คน ได้รู้โลกกว้างในจุดใหม่ ๆ หรือ สถานที่ใหม่ ๆ ซึ่งไม่แน่ว่า ต่อไป ในอนาคตเรื่องราวของแผนที่ อาจไม่ใช่แค่เรื่องของทิศทางหรือ ตำาแหน่งที่อยู่ แต่จะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำาวัน ที่เราสนุกไปกับมันได้โดยที่เราไม่รู้ตัว ขอบคุณบทความ “HOW YOU CAN USE GOOGLE MAPS LIKE A SOCIAL NETWORK” โดย DAVID NIELD จาก WWW.WIRED.COM หลาย ๆ คนอาจจะ คุ้นเคยกับการไถหน้าฟี ด จากเฟซบุ๊กหรืออินสตาแกรม ซึ่่งถ้าลองเข้า Google Maps แล้วกดเลือกไปที่ Updates ก็จะพบกับหน้าฟี ด หน้าตาคล้าย ๆ กัน ที่จะคอย อัพเดตเรื่องราวของคนที่ เราติดตาม รวมถึงแนะนำา สถานที่หรือร้านอาหารที่อยู่ ใกล้ ๆ ตามที่อัลกอริธึม ของกูเกิลที่่คิดว่าคุณน่าจะสนใจ หรือว่าตามที่่ได้ตังค่าไว้ ้ ฉันอยู่นี่ เธออยู่ไหน เลื่อนฟี ดอัพเดตข้อมูล วารสาร EEC EASY 7
Cover Story เรื่องใหม่ๆ ในอีอีซี ปี 67 หนึ่งในกลไกขับเคลื่อนการลงทุน ในพื้นที่อีอีซี ของเรา หัวใจหลักก็คือ ทำาอย่างไรจึงชักชวนนักลงทุนทัวโลก่ ให้สนใจเข้ามาลงทุนโดยเฉพาะในพื้นที่เขตสงเสริมเศรษฐกิจ ่ พิเศษ ที่เป็ นเหมือนพื้นที่ ไข่แดง ของอีอีซี ที่ต้องให้เกิด การลงทุนอุตสาหกรรมเป้ าหมาย นวัตกรรมขันสูง เพื่อเพิ ้ม่ ความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ สิทธิประโยชน์ใหม่ เพื่อส่งเสริมการลงทุน จึงเป็ น เหมือน “หมัดเด็ด” ในปี 2567 นี้ ที่อีอีซี จะใช้เพื่อดึงดูด การลงทุน ประกอบด้วย สิทธิประโยชน์ การลงทุน ดึงนักลงทุนทัวโลก่ สิทธิประโยชน์สำาคัญ ๆ อาทิ - ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นเวลา 1 – 15 ปี - ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ไม่เกินร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็ นเวลา 1- 10 ปี (กรณีไม่ได้รับการยกเว้นภาษีนิติบุคคล) - ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ไม่เกินร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็ นเวลา 1 – 5 ปี (กรณีได้รับยกเว้นภาษีนิติบุคคล เป็ นเวลา ไม่เกิน 8 ปี ) - สทธินำ ิาผลขาดทุนประจำาปี ในระหว่างที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ไปหักออกจากกำาไรสุทธิที่เกิดขึ้น ภายหลังเวลา ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในเวลาไม่เกิน 5 ปี นักจาก พ้นกำาหนดเวลานัน ้ - สทธิในการหักค่าขนส ิ ง ค่าไฟฟ้า ค่าปะปาได้ 2 เท่า ของจำ ่านวน เงินที่เสียไปเป็ นค่าใช้จ่ายกิจการ อาทิ - สิทธิในการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินเฉพาะในเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ - สิทธิในการถือกรรมสิทธิ์ในห้องชุดในพื้นที่ 3 จังหวัดอีอีซี - สทธิในการนำ ิาคนต่างด้าวเข้าในราชอาณาจักร (EEC VISA) ในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ/ผู้บริหาร/ผู้ชำานาญการ/อื่น ๆ (คู่สมรส บิดา มารดา ผู้ติดตาม) โดยการได้รับสิทธิประโยชน์ ภายใต้กรอบของ อีอีซี จะมี คณะกรรมการเจรจาสทธิประโยชน์ ที่ประกอบด้วย เลขาธิการฯ อีอีซี ิ ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ทรงคุณวุฒิ ดำาเนินการเจรจา สิทธิประโยชน์กับนักลงทุน ภายใต้กรอบสิทธิประโยชน์สูงสุด ที่ประเทศจะได้รับ อาทิ ต้องเป็ นอุตสาหกรรมเป้ าหมายพิเศษ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมภายใต้ พ.ร.บ. อีอีซี แผนการลงทุนชัดเจน ให้ความสำาคัญกับห่วงโซ่อุปทาน (SUPPLY CHAIN) ของอุตสาหกรรมเป้าหมาย มูลค่าเงินลงทุนสุทธิ มีการลงทุนจริงเกิดขึ้นในพื้นที่ ใช้ทรัพยากรในประเทศ (LOCAL CONTENT) มีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ การพัฒนาสนับสนุนชุมชนพื้นที่ เป็ นต้น ด้านภาษีอากร ด้านมิใช่ภาษีอากร วารสาร EEC EASY 8
อีกเรื่องสำาคัญ ๆ ที่คนอีอีซี ควรรู้ คือ โครงการศูนย์ธุรกิจอีอีซีและ เมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ภายในรัศมี 30 กม. รอบสนามบินอู่ตะเภา ถือเป็ นส่วนหนึ่งของ การพัฒนามหานครการบินภาคตะวันออก (EEC AEROTROPOLIS) เพื่อรองรับการขยายตัว ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับ ธุ รกิ จการบิ น อุ ตสาหกรรมการบิ น และ อุตสาหกรรมเป้ าหมาย เกิดขึ้นจากการพัฒนา สนามบินอู่ตะเภา และเมืองการบิน ตลอดจน การพัฒนาพื้ นที่อีอีซี ซึ่ งคาดว่าจะทำาให้มี ประชากรเพิ่ มขึ้น 1.5 ล้านคน และมีผู้เดินทาง เข้ามาในพื้นที่ 70 ล้านคน ในปี 2580 โครงการศูนย์ธุรกิจอีอีซีและเมืองน่าอยู่ อัจฉริยะ เป็ นศูนย์กลางธุรกิจและการเงิน ระดับภูมิภาคมาตรฐานเทียบเท่าสากลในพื้นที่ อีอีซี และเป็ นเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 1 ใน 10 เมืองของโลกในปี 2580 รวมถึง มีเป้ าหมาย เป็นเมืองน่าอยู่อัจฉริยะต้นแบบสำาหรับการพัฒนา เมืองใหม่ทั่วประเทศไทย เป็ นเมืองธุ รกิจ คู่กรุงเทพฯ โดยมีแหล่งที่อยู่อาศัยสำาหรับ คนทุกกลุ่ม เช่น กลุ่มครอบครัว คนรุ่นใหม่ คนในพื้นที่ คนที่เข้ามาทำางานในพื้นที่ สตาร์ทอัพ นักลงทุน ซึ่งจะช่วยลดความหนาแน่น ไม่ให้เกิด ชุมชนแออัดในพัทยา และระยอง ตั้งเป้ าหมาย ว่าในปี 2580 จะมีประชากร โดยรวมประชากร ในพื้นที่เดิม และคนเดินทางเข้าออกพื้นที่ประมาณ 350,000 คน เป็ นการกระจายความเจริญไปสู่ ภูมิภาค ลดความแออัดของกรุงเทพฯ เป็ น กรุงเทพฯ แห่งที่ 2 สามารถดึงดูดให้ประชาชน ย้ายเข้ามาตังถิ้ นฐานในพื้นที่เพื่อแสวงหารายได้ ่ ที่เพิ่ มขึ้น แนวคิดการพัฒนาโครงการฯ มุ่ งเน้น การสร้างระบบนิเวศทางธุรกิจที่ผสมผสาน ระหว่างธรรมชาติ วิถีชีวิตของมนุษย์ นวัตกรรม เทคโนโลยี รวมถึงให้ความสำาคัญพื้นที่สีเขียว และน้ำา ใช้ต้นไม้พื้นถิ่น เพื่อแสดงอัตลักษณ์ และส่งเสริมความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม สร้างสุขภาวะที่ดีให้ผู้อยู่อาศัย ในโครงการ มีโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคครบครัน ทันสมัยระดับสากล เน้นการนำาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอัจฉริยะ เข้ามาผสมผสานในเมือง โดยใช้ระบบอัจฉริยะ ครบทัง 7 ด้าน และใช้ Smart City Data Platform ้ ในการบริหารจัดการเมือง สร้างงานรองรับ รูปแบบธุรกิจและการทำางานยุคใหม่ เช่น การนำา Cloud Computing, Big Data, อัลกอริธึม (Algorithms) และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส หรือ ์ e-commerce มาใช้ รวมถึงตำาแหน่งงานของ ประชากรยุคใหม่ เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ลดต้นทุนการทำากิจกรรมต่าง ๆ สามารถพึ่งพา ตัวเองได้ นำาไปสู่เป้ าหมายสังคมคาร์บอนต่ำา สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจ BCG และหลักการ พัฒนาอย่างยังยืน (SDG)่ การจัดวางโซนพื้นที่สำาหรับธุรกิจหลักใน โครงการ 5 ด้าน ได้แก่ ศูนย์การศึกษา วิจัย พัฒนาระดับนานาชาติ ศูนย์สำานักงานใหญ่ภูมิภาค และศูนย์ราชการ สำาคัญ ศูนย์บริการทางการเงิน ศูนย์การแพทย์แม่นยำา และการแพทย์ เพื่ออนาคต ศูนย์ธุรกิจอนาคต เช่น ดิจิทัล โลจิสติกส์ วิทยาศาสตร์การกีฬา การท่องเที่ยวและ บริการอื่น ๆ รวมทังมีที่อยู่อาศ ้ัยสำาหรับคน ทุกกลุ่มรายได้ ศูนย์ธุรกิจ อีอีซี และเมืองใหม่น่าอยู่อัจฉริยะ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษใหม่ ที่ต้องรู้จัก ประโยชน์ที่จะได้รับจากการสร้างศูนย์ ธุรกิจและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะของ อีอีซีอาทิ 1) เมืองใหม่น่าอยู่อัจฉริยะ สามารถรองรับประชากร ประมาณ 350,000 คน ภายในปี 2580 รวมทั้ง คนในพื้นที่เดิม 2) สร้างงานทางตรงไม่น้อยกว่า 200,000 ตำาแหน่ง มีแรงงานทักษะสูง มีรายได้ที่ สูงขึ้น และมีมูลค่าการจ้างงานกว่า 1.2 ล้านล้านบาท มีธุรกิจและบริการตามมาตรฐานสากล มีวิสาหกิจ เริ่ มต้น (Start-up) ประมาณ 150 - 300 กิจการ 3) จากมูลค่าการลงทุนโดยรวมประมาณ 1.34 ล้านล้านบาท จะสามารถช่วยกระตุ้นการขยายตัว ของ GDP เพิ่มขึ้ นประมาณ 2 ล้ านล้ านบาท ภายใน 10 ปี วารสาร EEC EASY 9
EEC Knowledge તç¾Í· ¤ÇÒÁ§ Ñè ¹ × à¾Í×è¡ÒÃŧ·¹Ø Â¤Ø ãËÁ ‹ CSR / ESG และ SUSTAINABILITY หากพูดถึง ความยั่งยืน ทุกคนเคยสงสัยมั้ยว่า ต่างกันอย่างไร ? CSR ESG ย่อมาจาก Corporate Social Responsibility หรื อความรั บผิ ดชอบต่ อสังคมขององค์ กร โดยเว็ บไซต์ setsustainability.com นิยาม CSR ว่า คือ การดำาเนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการใส่ใจและดูแลรักษาสังคมและสิ่ งแวดล้อมภายใต้ หลักจริยธรรม กำากับดูแลกิจการที่ดี และนำาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาบูรณาการ เพื่อนำาไปสู่การดำาเนินธุรกิจที่ประสบความ สำาเร็จอย่างยังยืน่ Environment : E สิ่งแวดล้อม Social : S สังคม Governance: G บรรษัทภิบาล เป็นแนวคิดหรือหลักเกณฑ์ในการประเมินและวัดผลความยังยืน่ ของธุรกิจที่คำาถึงถึงประเด็นสำาคัญต่าง ๆ ใน 3 มิติ ซึ่งปั จจุบัน มีสถาบันที่ให้คะแนนหรือจัดอันดับ ESG ให้กับองค์กรธุรกิจ อยู่หลายแห่ง ภายใต้กรอบหรือมาตรฐานที่แตกต่างกัน และ ด้วยความที่ ESG เป็ นแนวคิดที่มีตัวชี้วัดผลการดำาเนินงานที่เป็ น รูปธรรม ทำาให้กลายเป็ นกฎกติกาใหม่ในโลกธุรกิจและการลงทุน ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับประเทศและสากล วารสาร EEC EASY 10
คำถาม คือ 3 คำนี้ อะไรสำคัญกับนักลงทุนมากที่สุด ? Sustainability หรือ ความยั่งยืน คือ เป้ าหมายปลายทางที่ทุกภาคส่วน ต้องการให้เกิดขึ้น โดยองค์การสหประชาชาติ (UN) ได้ให้นิยามไว้ว่า “การตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปั จจุบัน โดยไม่กระทบ หรือจำากัดความสามารถในการตอบสนองความต้องการของ คนรุ่นต่อไป” ซึ่งสิ่ งนี้จะเกิดขึ้นได้ ส่วนหนึ่งต้องมาจากภาคธุรกิจ ดำาเนินงานบนพื้ นฐานความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ควบคู่ไปกับการสร้างคุณค่า ในระยะยาว (Long-term value creation) ภายใต้กรอบที่วัดผล ทังมิติเศรษฐกิจ ส้ังคม และสิ่ งแวดล้อมได้อย่างชัดเจน มองว่า Sustainability มีความสำาคัญในฐานะ เป็ นเป้ าหมายที่นักลงทุนต้องการให้พอร์ตลงทุนเติบโตอย่างยังยืน ภายใต้ความยั ่ งยืนที่จะเกิดขึ้น ่ กับสิ่งแวดล้อมและสังคม พร้อมส่งมอบอนาคตที่ดีให้กับคนรุ่นหลัง ขณะที่ ESG เป็ นองค์ประกอบสำาคัญที่นักลงทุนต้องให้ความสำาคัญที่สุด ในการพิจารณาคัดเลือกหลักทรัพย์ลงทุน เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย ส่วน CSR นั้น อาจไม่ได้เกี่ยวข้องกับตัวนักลงทุนโดยตรง แต่เกี่ยวพันกับ การดำาเนินการของธุรกิจที่นักลงทุนเข้าไปลงทุน และเป็ นข้อมูลประกอบเสริมให้นักลงทุนพิจารณา ทั้งนี้ การพิจารณาประเด็น ESG จะช่วยให้นักลงทุน ลดความเสี่ยงจากการลงทุนในธุรกิจที่มีการฟอกเขียว (Greenwashing) ซึ่งหมายถึง การที่บริษัทหรือผลิตภัณฑ์ไม่ได้ปฏิบัติ หรือปฏิบัติไม่ได้เท่ากับที่กล่าวอ้าง ภายใต้แนวทางการคำานึงถึงสิ่ งแวดล้อม สังคม แต่สื่อสารสู่สาธารณชน หรือทำาให้คนทัวไปเข้าใจผิดว่า บริษัทหรือผลิตภัณฑ์ มีความยั ่ งยืน หรือเป็ นการกล่าวอ้างเอง โดยไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานอื่น ่ ถ้าเปรียบแล้ว CSR ก็คือจุดเริ่มต้น เพราะความยั่งยืน จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าไม่เริ่มลงมือทำาก่อน ส่วน ESG เป็ นจุด คัดกรอง ที่จะเป็ นตัวบ่งบอกได้ว่า การกระทำาที่เกิดขึ้นตรงกับ หลักเกณฑ์ที่หน่วยงานกำากับระบุด้านไหน โดยที่มีเครื่องชี้วัด ผลเป็ นรูปธรรมได้ชัดเจน เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่ งที่กระทำานั้นถูกต้อง และนำาไปสู่ความยั่งยืนได้จริง ๆ ในขณะที่ Sustainability คือ จุดหมายปลายทางสุดท้ายที่เราต้องการจะไปให้ถึง ดังนั้น ทั้ง 3 คำานี้ จึงมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แยกกันไม่ขาด โดยมี บทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน ขอบคุณข้อมูลจาก : SCB วารสาร EEC EASY 11
EEC มีแชร์ COP คืออะไร? การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสญญาสหประชาชาติว่าด้วย ั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ COP (Conference of Parties) เป็ นการประชุมภาคี ด้านสิ่งแวดล้อม ระหว่างผู้แทน อย่างเป็นทางการของรัฐบาล สถาบันด้านการศกษา หน่วยงานวิจัย ึ องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ เพื่อแลกเปลี่ยนและ ร่วมหาทางออกในประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยจัดขึ้น ครั้งแรกในปี 1995 ณ นครเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และจัด ต่อเนื่องกันในทุกปีจนนำามาสูความตกลงปารีส (Paris Agreement) ่ ในการประชุม COP 21 ในปี 2015 ซึ่งประเทศสมาชิก 196 ชาติ รวมถึงประเทศไทยร่วมลงนามในรักษาการเพิมขึ้นของอุณหภูมิโลก ่ ให้ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับยุคก่อนอุตสาหกรรม COP28 ตกลงอะไรกัน? • เป็ นครั้งแรกที่มีการทบทวนสถานการณ์และการดำาเนินงาน ระดับโลก (Global Stocktake) และแสดงเจตจำานงร่วมกันในการ ควบคุมไม่ให้อุณหภูมิเพิ่ มขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส • เป็ นการประชุม COP ครังแรก ที่มีการออกเอกสารข้อตกลง ้ ร่วมกันโดยระบุถึงการ “เปลี่ยนผ่าน” จากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ที่กำาลังทำาให้โลกร้อน (Transitioning Away from All Fossil Fuels) ในระบบพลังงานของโลก• เพิ่ มกำาลังการผลิต Renewable Energy (RE) ทั่วโลกเป็ น 3 เท่า หรืออย่างน้อย 11,000 GW ภายในปี 2030 ซึ่งคิดเป็นอัตรา การเติบโตเฉลี่ ยของการลงทุนในอุ ตสาหกรรม RE ของโลก ประมาณ 16% ต่อปี• เพิ่ มอัตราของการพัฒนา Energy Efficiency เป็ น 2 เท่า ทุกปี จนถึงปี 2030 • ปฏิรูปสถาปั ตยกรรมทางการเงิน ตระหนักถึงบทบาทของ หน่วยงานจัดอันดับเครดิตเป็ นครังแรก และกำ ้ าหนดให้มีการขยาย ขนาดการให้สินเชื่อแบบเงื่อนไขผ่อนปรนและแบบให้เปล่า• ได้คำามั่นจากประเทศสมาชิกในการสนับสนุนเงินแก่กองทุน Climate Finance ต่าง ๆ รวมแล้วกว่า 85.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีการจัดตั้ง Loss and Damage Finance Fund ซึ่งได้รับ การสนับสนุนเงินทุนเบื้องต้นแล้ว 792 ล้านดอลลาร์สหรัฐ• ประกาศเจ้าภาพการจัด COP 29 ในปี 2024 และ COP 30 ในปี 2025 ได้แก่ ประเทศอาเซอร์ไบจาน และ ประเทศบราซิล ตามลำาดับ COP 28 จัดที่ไหน? นครดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ตังแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน ถึง 12 ธันวาคม 2566 ้ COP28 มีใครเข้าร่วมบ้าง? ผู้เข้าร่วมงานมากกว่า 100,000 คน ประกอบด้วย ผู้นำาประเทศหรือรัฐบาลจาก 156 ประเทศ ผู้นำาองค์กร ระหว่างประเทศจาก 22 องค์กร รัฐมนตรี 780 คน นายกเทศมนตรี 500 คน นักเรียนนักศึกษากว่า 50,000 คน รวมถึงผู้มีสวนได้ส ่วนเส่ยจากภาคสีวน่ ต่าง ๆ อาทิ ธุรกิจ ประชาสังคม เยาวชน เป็ นต้น วารสาร EEC EASY 12
บทบาทของประเทศไทยใน COP 28 พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงแวดล้อม ิ่ เป็ นผู้แทนประเทศไทยในการกล่าวถ้อยแถลงในช่วงการประชุมระดับสูง (High-Level Segment) ของการประชุม COP 28) โดยมีสาระสำาคัญ ได้แก่ • ประเทศไทยพร้อมให้ความร่วมมือในการดำาเนินการเพื่อควบคุมอุณหภูมิโลกให้ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส • ได้ปรับปรุงแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกตามเป้ าหมายการมีส่วนร่วมที่ประเทศกำาหนด ค.ศ. 2030 (Thailand’s Nationally Determined Contribution Roadmap on Mitigation 2021-2030 : NDC Roadmap) ให้ครอบคลุมทุกภาคสวนเศรษฐกิจ ซึ่งคาดว่าจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด ภายในปี ค.ศ. 2025 และจะต้องปรับเปลี่ยน ่ ระบบนิเวศเศรษฐกิจให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงที่คำานึงถึงประชาชนทุกภาคสวน่ • เร่งผลักดันพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พ.ร.บ. Climate Change) เพื่อเป็ นเครื่องมือ ในการกำากับดูแลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิมขีดความสามารถในการปรับตัวฯ โดยมีกลไกการเงิน ที่เหมาะสม ่ และเข้าถึงได้เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสูความเป็นกลางทางคาร์บอน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิ เป็นศูนย์อย่างเป็นระบบ ่ • ได้จัดทำาแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (Thailand’s National Adaptation Plan) เพื่อเป็นกรอบหลักในการสร้างภูมิคุ้มกันอย่างยังยืนให้กับประชาชน และจะสนับสนุนเป้าหมายระดับโลกด้านการปรับตัวฯ ่ • ผลักดันตัวอย่างของการปรับตัวในภาคเกษตร เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกควบคู่ กับการรักษาความมันคง่ ทางอาหาร ผ่านโครงการเพิมศ่ กยภาพการปลูกข้าวที่เท่าทันต่อภูมิอากาศ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกองทุนภูมิอากาศ ั สเขียว (Green Climate Fund : GCF) ี นัยสำาคัญต่อ EEC • ความมุ่งมั่นของนานาประเทศในการ ร่ วมกั นระดมเงิ นทุ นเพื่ อต่ อสู้กั บการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Finance) เป็นการเพิมโอกาสให้แก่ภาคเอกชน ่ ในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อใช้ในการลงทุน ด้าน Green & Low – Carbon Technologies • การเข้าถึงแหล่งพลังงานไฟฟ้ าสเขียว ี (Green Electricity) ที่เพียงพอและในราคา ที่เหมาะสมจะเป็ นปั จจัยสำาคัญในการรักษา กลุ่มนักลงทุนเดิมที่มีในพื้นที่ และการชักชวน กลุ่มนักลงทุนใหม่เข้ามาในพื้นที่ • โอกาสของการชักชวนนักลงทุนที่ เกี่ยวข้องกับ Green & Low – Carbon Technologies ได้แก่ Renewable Energy, Carbon Capture and Storage (CCS), Hydrogen, Energy Storage และ Recycling เป็ นต้น จากการที่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ต้องเร่งลงทุนในพลังงานหมุนเวียน ขอบคุณข้อมูลจาก : COP 28 the UAE Consensus https://www.cop28.com/en/news/2023/12/COP28-delivers-historic-consensus-in-Dubai-to-accelerate-climate-action คำากล่าว โดย พลตำารวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ในช่วงการประชุมระดับสูงของการประชุมรัฐ ภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 28 (COP28) วันที่ 9 ธันวาคม 2566 ณ เมืองดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ https://unfccc.int/sites/default/files/resource/THAILAND_cop28cmp18cma5_HLS_TH.pdf บทความโดย : สายงานการลงทุนและการต่างประเทศ สกพอ. วารสาร EEC EASY 13
EEC มีแชร์ เขตส ่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เครื่องยนต์พลัง SYNERGY ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ประเทศไทยต้องการเครื่องยนต์ขับเคลื่อน เศรษฐกิจตัวใหม่ที่ทรงพลัง เพื่อพาประเทศ ก้ าวสู่ ประเทศพั ฒนาแล้ ว และพั ฒนาขี ด ความสามารถเพื่อการแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เป็นต้นแบบ การพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพความพร้อมด้าน การผลิตภาคอุ ตสาหกรรม และมีโครงสร้าง พื้นฐานที่ดี โดย “เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ” เปรียบเสมือนเครื่องยนต์ตัวใหม่ที่มีลักษณะเป็ น เครื่องยนต์ “ไฮบริดจ์” ทำาหน้าที่ประสานกำาลังเสริม ศักยภาพการทำางานซึ่งกันและกัน (Synergy) ระหว่างเครื่องยนต์สันดาปและระบบขับเคลื่อน ด้วยไฟฟ้ า ซึ่งเปรียบเสมือนภารกิจในการเปลี่ยน ผ่านอุตสาหกรรมไทยไปสู่การใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมขันสูง และยกระดับพื้นที่รองรับการลงทุน ้ อุตสาหกรรมของประเทศ เมื่อโครงสร้างพื้นฐาน ต่าง ๆ พร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลง ก็พร้อมที่จะ มุ่งไปสูเครื่องยนต์ “ไฟฟ้า” ในอนาคต เพื่อการใช้ ่ พลังงานสะอาด การกำากับ ดูแล รักษาสงแวดล้อม ิ่ ควบคู่ไปกับการอยู่ร่วมกับสงคมและชุมชนโดยรอบ ั พื้นที่ อีอีซี เพื่อการเติบโตไปด้วยกันอย่างสมดุล และยั่งยืน เพิ่ มประสิทธิภาพในการแข่งขันของ ประเทศในอนาคต สายงานเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ร่วมแชร์แนวคิดมุมมองการขับเคลื่อน อีอีซี ซึ่งเข้ามาเติมเต็มโครงการอีสเทิร์นซีบอร์ดภาคจบแบบสมบูรณ์ จากการเคลื่อนย้ายฐาน การผลิตและการลงทุนของญี่ปุ่นเข้าสูประเทศไทย เมื่อ 30-40 ปี ที่ผ่านมา ซึ่งช่วยขับเคลื่อน ่ เศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตมาจนถึงปัจจุบัน แต่กระนันภายใต้บริบทการแข่งขันของโลก ้ ยุคใหม่ การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศที่รุนแรง ภูมิรัฐศาสตร์ ปัญหาสภาพแวดล้อม ของโลก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพการผลิตสูง ประเทศไทยยังคง ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ เพื่อเข้าสู่การแข่งขันในโลกยุคใหม่ ภาคอุตสาหกรรมซึ่งขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในอดีต กับสถานะการณ์ปั จจุบันที่ปั ญหา สินค้าภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศมีการแข่งขันจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ส่งผล ต่อยอดการสงออกที่ลดลง ดังนั ่ น เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ตามพระราชบัญญัติ้ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.2561 (พ.ร.บ. อีอีซี) ซึ่งมีภารกิจที่สำาคัญมุ่งเน้น การพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เพื่อการเติบโตที่สมดุล ในมิติด้านเศรษฐกิจ สงคม และสั งแวดล้อม ตามหลักการพัฒนาอย่างยั ิ่ งยืน และเปลี่ยนผ่าน ่ ภาคอุตสาหกรรมไทยไปสู่การใช้เทคโนโลยีขันสูง สร้างนวัตกรรม ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ้ การผลิตจากการใช้แรงงานคน ไปสู่กระบวนงานผลิตที่มีประสิทธิภาพใช้เครื่องจักรกล ที่ทันสมัยระบบ Automation & Robotic และกำาหนด 12 อุตสาหกรรมเป้ าหมายพิเศษ จากกลุ่มอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-Curve) และกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) วารสาร EEC EASY 14
“เขตสงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ” ่ จึงเป็ นพื้นที่เพื่อการดึงดูดเม็ดเงิน การลงทุนจากต่างประเทศ ที่ประสานการทำางานเพื่อเสริมสร้างศกยภาพั ด้านการลงทุนของประเทศไทย และทำาหน้าที่เปลี่ยนผ่านอุตสาหกรรมไทย ไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง มุ่งสู่กระบวนงานผลิตที่ใช้ พลังงานสะอาด การกำากับดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย เพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการดูแลสังคม และชุมชนโดยรอบพื้นที่ อีอีซี เพื่อการเติบโตไปด้วยกัน อย่างสมดุล และยังยืน่ เพื่อรองรับการลงทุนอุตสาหกรรมเป้ าหมายพิเศษ ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องยนต์ตัวใหม่ที่มีลักษณะเป็ นเครื่องยนต์ “ไฮบริดจ์” ทำาหน้าที่ประสานกำาลังเพื่อสร้างศักยภาพการทำางานซึ่งกันและกัน (Synergy) โดย “เขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ” เป็ นพื้นที่ที่มีความพร้อมด้านระบบสาธารณูปโภคโครงสร้างพื้นฐานรองรับการลงทุนอุตสาหกรรม เป้ าหมายพิเศษ สามารถเจรจาด้านสิทธิประโยชน์รายโครงการทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษี รวมทั้งยังมีการอำานวย ความสะดวกแก่นักลงทุนให้บริการภาครัฐ ในรูปแบบ e-service ผ่านระบบบริการ EEC OSS ในการขออนุมัติ อนุญาต ครอบคลุมกฎหมาย 8 ฉบับ (กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน การควบคุมอาคาร การจดทะเบียนเครื่องจักร โรงงาน การสาธาณสุข ทะเบียนพาณิชย์ การจัดสรรที่ดิน และกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเฉพาะเพื่อการอนุญาตให้คนต่างด้าว ตามมาตรา 54 (1) หรือ (2) อยู่ต่อในราชอาณาจักร) ซึ่งเป็นจุดเริมต้นของการบูรณาการร่วมกันระหว่าง อีอีซี หน่วยงาน ่ เจ้าของกฎหมาย และหน่วยงานท้องถิ่ นในพื้นที่ เพื่อให้บริการเบ็ดเสร็จครบวงจร ณ จุดเดียว ลดอุปสรรคและต้นทุน ในการประกอบกิจการ อำานวยความสะดวกในการลงทุนและดึงดูดเม็ดเงินการลงทุนจากทั่วโลก จึงทำาให้เขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ เป็ นกลยุทธต้นแบบที่บูรณาการการส่งเสริมการลงทุนของประเทศไว้ในพื้นที่เดียวกัน อีอีซี ยังทำาหน้าที่กำากับ ดูแล และสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อการลงทุน และการเติบโตของพื้นที่ โดยการจัดวางแผนผัง การใช้ประโยชน์ที่ดิน (แผนผัง อีอีซี) การจัดทำาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภคที่จำาเป็ นต่อระบบนิเวศน์ในการประกอบกิจการ เพื่อรองรับการเติบโต เช่น รถไฟฟ้ าเชื่อม 3 สนามบิน สนามบินอู่ตะเภา ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือมาบตาพุด นอกจากนี้ สกพอ. ยังมุ่งเน้น การจัดหาพลังงานสะอาด (Re100) สำาหรับใช้ในกระบวนงานผลิตสนค้า ิ และบริการให้ผู้ประกอบการ เพื่อสนับสนุนและเพิ่ มขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากล ส่งเสริมการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัย โครงข่าย 5G มาใช้ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมที่ทันสมัยระบบ Automation & Robotic และเชื่อมโยงในมิติการดูแลสงคมและชุมชน โดยการพัฒนา ั ระบบบรรเทาสาธารณภัยที่ได้มาตรฐานเป็ นที่ยอมรับในระดับสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และความไว้วางใจในการบริหารจัดการ และ การกำากับดูแล สงแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้กับส ิ่งคมั และชุมชนในพื้นที่ อีอีซี นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กพอ.) ยังมีอำานาจในการประกาศ กำาหนดพื้นที่ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกจัดตั้งเป็ น “เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ” บทความโดย : สายงานเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ สกพอ. วารสาร EEC EASY 15
EEC Play ground มาเล่นเกมส์จับผิดภาพ ฝึ กสมอง ฝึ กสายตา ความไว และการเป็ นคนช่างสังเกตไปในตัว ชาวอีอีซี ช่วยจับผิดรูปภาพทั้ง 2 ภาพ ว่ามีความต่างกันอย่างไร และให้วงกลมจุดที่ต่างกันให้ครบ รูปละ 5 จุด แล้วส่งคำาตอบกลับมาที่ ccd@eeco.or.th (หมดเขตส่งคำาตอบ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567) กติกา ส ่งคำาตอบที่ถูกต้อง ลุ้นรับรางวัลเก๋ ๆ ไปได้เลย! ถุงผ้า อีอีซี จำานวน 5 รางวัล กระบอกน้ำา อีอีซี จำานวน 3 รางวัล หมวก อีอีซี จำานวน 5 รางวัล วารสาร EEC EASY 16
ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 วารสาร EEC EASY 17