The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือแนวคิดนักมานุษยวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kmr2746, 2021-09-09 12:00:39

หนังสือแนวคิดนักมานุษยวิทยา

หนังสือแนวคิดนักมานุษยวิทยา

ส33277

แ น ว คิ ด
นั ก ม า นุ ษ ย วิ ท ย า

รายวิชาเพิ่มเติมหลักมานุษยวิทยาเบ้ืองตน

เรือง แนวคิดนักมานุษยวิทยา

คํานาํ

รายงานเลมนี้จัดทําข้ึนเพ่ือเปนสวนหนึ่งเปนสวนหน่ึงของวิชาเพิ่ม
เติมหลักมานุษยวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เพ่ือศึกษาและใหความ
รูเรื่อง แนวคิดของนักมานุษยวิทยาในดานตาง ๆ

คณะผูจัดทาํ หวังวารายงานเลมน้ีจะเปนประโยขนตอผูอานหรือผูท่ี
ตองการศึกษาเรื่องแนวคิดของนักมานุษยวิทยา หากมีขอผิดพลาด
ประการใดคณะผูจัดทําตองขออภัยมา ณ ท่ีนี้ดวย

คณะผูจ ดั ทาํ

-ก-

สารบญั

เรอื่ ง หนาท่ี

คํานํา ก

สารบัญ ข

บทนํา ค

มานุษยวิทยาศาสนา 1

นักมานุษยวิทยาศาสนา 2

มานุษยวิทยาเกี่ยวกับความเช่ือ 5

นักมานุษยวิทยาความเชื่อและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ 6

มานุษยวิทยาความเช่ือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสังคมไทย 12

นักมานุษยวิทยาไทย 13

มานุษยวิทยาพฤติกรรมทางการเมืองและการควบคุมทางสังคม 15

นักมานุษยวิทยาพฤติกรรมทางการเมืองและการควบคุม 16

ทางสังคม

มานุษวิทยาวัฒนธรรมศึกษาและมโนทัศนวัฒนธรรม 18

นักมานุษวิทยาวัฒนธรรมศึกษาและมโนทัศนวัฒนธรรม 19

บรรณานุกรม 22

-ข-

บทนาํ

วิชามานุษยวิทยาศาสนาในแงที่เปนศาสตรตองสามารถอธิบายใน
เชิงทฤษฎีและวิธีวิทยาได

นักมานุษยวิทยามีแนวทางการศึกษาในแบบของตัวเองที่แตกตาง
ไปจากศาสตรทางสังคมแบบอ่ืน ๆ จากความสนใจชีวิตมนุษยในดิน
แดนตาง ๆ ทําใหนักมานุษยวิทยาตองทาํ หนาที่เก็บขอมูลวัฒนธรรม
หรือท่ีรูจักในนาม “การทาํ งานภาคสนาม” โดยมีเปาหมายที่จะ
เรียนรูความคิดและการปฏิบัติท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของมนุษย

การทาํ งานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะตองเรียนรูภาษาของ
กลุมคนที่เขาไปศึกษาเพ่ือที่จะพูดคุยและสัมภาษณ รวมทั้งสังเกตสิ่ง
ตาง ๆ แบบมีสวนรวม โดยเขาไปคลุกคลีอยูอาศัยกับคนในทองถิ่น
เปนเวลานานเพ่ือท่ีจะเขาใจวิถีชีวิตของคนเหลานั้นไดราวกับเปน
คนในวัฒนธรรมเอง

-ค-

แนวคิดนักมานุษยวิทยา

มานุษย
วิทยาศาสนา

มานุษยวิทยาศาสนาเปนศาสตรตองสามารถอธิบายในเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยาได
เพ่ือที่จะอธิบายปรากฎการณทางศาสนาในมิติสังคม

เม่ือเราพูดถึง “ศาสนา” เรากําลังหมายถึงอะไรและสิ่งนี้จะสัมพันธกับศาสนา
ท่ีมนุษยนับถืออยูอยางไร อะไรท่ีสรางศาสนา ศาสนาทําอะไรใหกับมนุษย

โบรนิสโลว มาลีนอฟสกี้ (Bronislaw Malinowski)
เอดเวิรด บี ไทเลอร (Edward B. Tylor)
อี อี อีแวน พริทชารด (E. E. Evans-Pritchard)

-1-

นักมานุษยวิทยาศาสนา

ทา่ นที 1 Bronislaw Malinowski

โบรนิสโลว์ มาลนี อฟสกี
นกั มานุษยวิทยา

มาลีนอฟสกี้พยายามท่ีจะศึกษาและอธิบายคุณลักษณะทางความ
รูสึกของคนพื้นเมือง เขาศึกษาและจําแนกสิ่งท่ีเปนเวทมนต
วิทยาศาสตร และศาสนา
อธิบายวาเร่ืองทางศาสนาคือสิ่งที่เกิดขึ้นโดยปราศจากการควบคุม

ท่านที 2 Edward B. Tylor

เอดเวริ ด์ บี ไทเลอร์
นกั มานุษยวทิ ยา

ผูท่ีปูทางสําหรับการศึกษามานุษยวิทยาศาสนา
เขาต้ังสมมุติฐานวาความกาวหนาของการประดิษฐวัตถุสิ่งของทาง
วัฒนธรรม เปนผลมาจากความเชื่อทางศาสนา ผลงานที่มีชื่อเสียง
ของไทเลอรเกี่ยวกับทฤษฎีการนับถือภูตผีปศาจ บงบอกวาความ
เชื่อแบบนี้เกิดข้ึนในสังคมบุพกาลหรือเปนสังคมลําดับขั้นแรก ๆ ใน
วิวัฒนาการ

-2-

นักมานุษยวิทยาศาสนา

ทา่ นที 3 E. E. Evans-Pritchard

อี อี อีแวน พรทิ ชารด์
นักมานุษยวิทยา

พริทชารดไดโตแยงกับสมมุติฐานของนักวิชาการรุนเกา เชน
ไทเลอรซ่ึงพยายามจัดประเภทของศาสนา
พริทชารดพยายามทําลายกําแพงของความคิดคูตรงขาม ไมวา
จะเปนเรื่องความลาสมัย/ทันสมัย ผัวเดียวเมียเดียว/หลายผัว
หลายเมีย คนขาว/คนพื้นเมือง ความเช่ือภูตผี/เทพเจา

-3-

นักมานุษยวิทยาศาสนาทั้ง 3 คน
ไดใหคําอธิบายท่ีแตกตางกัน โดยแนวคิดพวกเขาท้ัง 3 คน
ทําใหเราเขาใจเก่ียวกับความแตกตางของการนับถือศาสนา

ภูตผีปศาจต้ังแตอดีตถึงปจจุบัน
และทาํ ใหเขาใจเก่ียวการศาสนามากข้ึน

-4-

แนวคิดนักมานุษยวิทยา

มานุษยวิทยา

กับการศึกษาความเชือ

ความเช่ือของผูคนลวนสัมพันธกับวัฒนธรรมในแตละพื้นท่ีตั้งถิ่นฐานอยูอาศัย
ซ่ึงในอดีต มนุษยมีการกราบไหว เคารพบูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ เพราะเชื่อวามีส่ิง
เหนือธรรมชาติท่ีมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต เพราะปรากฏการณทางธรรมชาติ
หลายอยางไมสามารถอธิบายได มนุษยจึงเกิดความกลัว ในการดําเนินชีวิต และมี
การกราบไหวบูชาอํานาจเหนือธรรมชาติเหลานั้น

โบรนิสโลว มาลีนอฟสก้ี (Bronislaw Malinowski)
อัลเฟรด แรดคลิฟฟ-บราวน (Alfred Radcliffe-Brown)
เอมีล ดูรกายม (Emile Durkheim)
เวสตัน ลา บารเร (Weston La Barre)
เมลฟอรด สปโร (Melford E. Spiro)
มีรชา เอลีอาเด (Mircea Eliade), คลิฟฟอรด เกียรทซ (Clifford Geertz), วิกเตอร เทอรเนอร (Victor Turner)
เฟลิซิตัส กูดแมน (Felicitas D. Goodman)
นูริต เบิรด-เดวิด (Nurit Bird-David)

-5-

นักมานุษยวิทยาความเชือ
และสิงศักดิสิทธิ

ทา่ นที 1 Bronislaw Malinowski

โบรนิสโลว์ มาลนี อฟสกี
นักมานุษยวิทยา

เวทมนตคาถาในสังคมชนเผามีหนาท่ีทาํ ใหมนุษยไดในส่ิงท่ี
ตองการและสามารถควบคุมธรรมชาติได เชน คาถารักษาโรค
เปนการใชไสยศาสตรตอบสนองการยังชีพของมนุษยและใชควบคุม
ส่ิงท่ีคาดเดาไมไดในธรรมชาติเพื่อทําใหมนุษยรูสึกสบายใจ

ทา่ นที 2 Alfred Radcliffe-Brown

อัลเฟรด แรดคลิฟฟ-บราวน์
นักมานุษยวทิ ยา

เขามองวา ความเชื่อไสยศาสตรและศาสนาทาํ หนาท่ีจัดระเบียบ
สังคม หลอมรวมสังคมใหเปนเอกภาพ หนาท่ีของส่ิงศักดิ์สิทธิ์จึง
ถูกแบงเปนสองดาน คือ ดานที่ตอบสนองความตองการของมนุษย
กับดานท่ีควบคุมกฎระเบียบของสังคม

-6-

นักมานุษยวิทยาความเชือ
และสิงศักดิสิทธิ

ท่านที 3 Emile Durkheim

ทา่ นที 4 เอมลี ดรู ก์ ายม์
นกั มานุษยวิทยา

อธิบายวา ความเช่ือทางศาสนาอยูตรงขามกับความเชื่อทาง
โลก ความเชื่อทางศาสนาเกี่ยวของกับความศักดิ์สิทธ์ิและอํานาจ
ท่ีมองไมเห็น ขอวิจารณตอกระบวนทัศนหนาที่นิยม คือ หนาท่ี
ของไสยศาสตรและอํานาจเหนือธรรมชาติอาจจะสงผลในทาง
ตรงกันขามกับท่ีส่ิงมนุษยคาดหวัง ฉะนั้นการทาํ หนาที่อาจไมนํา
ไปสูผลลัพธแบบที่ตองการเสมอไป

Weston La Barre

เวสตนั ลา บารเ์ ร

นกั มานุษยวทิ ยา

อธิบายวา พฤติกรรมเชิงศาสนาและความเช่ือ สะทอน
บุคลิกภาพของมนุษย โดยมองวามนุษยมีความเพอฝนหรือ
จินตนาการถึงอํานาจเหนือธรรมชาติ และปรารถนาที่จะส่ือสารกับ
สิ่งเหลาน้ันเพื่อขอความชวยเหลือ โดยอาศัยไสยศาสตรและเวท
มนตคาถาเปนเครื่องมือที่จะติดตอกับวิญญาณและเทพเจา

-7-

นักมานุษยวิทยาความเชือ
และสิงศักดิสิทธิ

ทา่ นที 5 Melford E. Spiro

ทา่ นที 6 เมลฟอรด์ สปโร
นกั มานุษยวทิ ยา

อธิบายวา ความเช่ือไสยศาสตรดาํ รงอยูใน 3 ลักษณะ คือ
ความคิด การกระทํา และการแสดงออกในระดับความคิดเปน
เรื่องของจิตคือการไตรตรองผานการคิด เปนวิธีการสรางความ
หมายใหกับการมีชีวิตและการอยูบนโลก ในระดับการแสดงออก
เปนการใชไสยศาสตรเพื่อระบายความทุกข ความกลัวและความ
สับสนในชีวิต ท้ังหมดนี้คือการมองในเชิงโครงสรางท่ีไสยศาสตร

Felicitas D. Goodman

เฟลซิ ิตัส กดู๊ แมน
นักมานุษยวิทยา

มนุษยแสดงออกในความเชื่อทางศาสนาผานความสัมพันธที่มีตอ
สภาพแวดลอมและการดํารงชีพ หากการดาํ รงชีพเปล่ียนไปวิธีการ
แสดงออกและพฤติกรรมทางศาสนายอมจะเปลี่ยนไปดวยการให
ความหมายส่ิงศักดิ์สิทธิ์ผานนิเวศวัฒนธรรมจาํ เปนตองวิเคราะห
กระบวนการคิดและการรับรูที่มนุษยมีตอส่ิงแวดลอม

-8-

นักมานุษยวิทยาความเชือ
และสิงศักดิสิทธิ

ท่านที 7 ทา่ นที 8 ท่านที 9

มรี ช์ า เอลอี าเด้ คลฟิ ฟอรด์ เกยี รท์ ซ์ วกิ เตอร์ เทอรเ์ นอร์

MIRCEA ELIADE CLIFFORD GEERTZ VICTOR TURNER

นกั มานุษยวิทยา
อธิบายวา วัตถุและการปฏิบัติทางศาสนา คือ “ระบบของสัญลักษณ” ท่ีมี
ความหมายแฝงอยู ซ่ึงมนุษยจะใชสัญลักษณเพื่อบงบอกถึงอารมณ ความรูสึก
ความปรารถนาและแรงบันดาลใจของตัวเองในการท่ีจะจัดระเบียบชีวิตและสิ่ง
ตาง ๆ รอบตัว สัญลักษณทางศาสนาจึงเปนระบบของการสรางความหมายที่ซับ
ซอน ฉะนั้น สัญลักษณของส่ิงศักด์ิสิทธิ์จึงสะทอนอารมณที่มนุษยอยากจะสราง
ความหมายใหกับตนเองและโลก ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์จึงเปน “ประสบการณ
เชิงสัญลักษณ” ท่ีทําใหมนุษยเขาใจการมีชีวิตการอยูในโลกและการอยูรวมกับ
คนอ่ืน

-9-

นักมานุษยวิทยาความเชือ
และสิงศักดิสิทธิ

ทา่ นที 10 Nurit Bird-David

นูรติ เบริ ด์ -เดวดิ
นักมานุษยวิทยา

อธิบายวา โลกทัศนที่มนุษยใชอธิบายการมีชีวิตและการอยูบน
โลก เปนเร่ืองของการสรางความจริงที่แตกตางกันในแตละ
วัฒนธรรม ดังนั้น การบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์จึงเปนโลกทัศนท่ีใชสราง
ความจริงเชนเดียวกับการทดลองทางวิทยาศาสตร การมองดู
มนุษยในสังคมชนเผากราบไหวเจาปาเจาเขาและวิญญาณ
บรรพบุรุษ จึงมิใชเร่ืองความไรเหตุผล แตเปนโลกทัศนท่ีมนุษย
มองสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติเปน “บุคคล” ที่ใหคุณและใหโทษแก
มนุษย ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในธรรมชาติจึงเปนภาพสะทอนของความรูท่ี
สอนใหมนุษยรูจักระบบศีลธรรมผานการเคารพบูชา การใหเกียรติ
ความรับผิดชอบ และการประมาณตน มนุษยจะมิใชเจานายเหนือ
ธรรมชาติ ความเช่ือเก่ียวกับวิญญาณในธรรมชาติจึงดาํ รงอยูใน
ฐานะ “ความรู” ท่ีคํ้าจุนการดาํ รงชีวิตของมนุษย ซ่ึงเรียกวา
“การแสวงหาความรูเชิงสัมพัทธ”

-10-

ความเช่ือทางศาสนาและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิมีหลายอยาง
ท่ีมนุษยกราบไหวบูชาหรือนับถือ

ไมวาจะเปนคาถาเวทมนต ความเชื่อเร่ืองไสยศาสตร
อาํ นาจเหนือธรรมชาติ

ส่ิงเหลาน้ีเปนส่ิงท่ีทาํ เพื่อใหมนุษยเกิดความสบายใจ
ในปจจุบันก็ยังมีการพึ่งพาส่ิงเหลาน้ีอยูถึงแมจะไมไดผลลัพธตาม
ที่ตองการก็ตาม แตถือเปน 1 ในที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย

-11-

แนวคิดนักมานุษยวิทยา

การศึกษาความเชือ
สิงศักดิสิทธิในสังคมไทย

ศรีศักร วัลลิโภดม
พเิ ชฐ สายพนั ธ

-12-

นักมานุษยวิทยาไทย

ท่านที 1

ศรศี ักร วลั ลิโภดม
นกั มานุษยวทิ ยา

อธิบายการนับถือผี ในสังคมไทยโดยมองวา ความเชื่อเรื่องผีทาํ
หนาที่จัดระเบียบทางสังคมและทําให คนในชุมชนทองถิ่นรูจัก
เคารพกติกาของสวนรวม

ความเช่ือส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในฐานะอัตลักษณของกลุมคน

ท่านที 2

พเิ ชฐ สายพนั ธ์

นกั มานษุ ยวทิ ยา

อธิบายสัญลักษณ "ผี" ในความเชื่อ และพิธีกรรมทางศาสนาของ
ชาวผูไทในประเทศไทยและประเทศลาว ต้ังคาํ ถามเกี่ยวกับการ
สราง “ตัวตน” ของชาวผูไท ผานวาทกรรมของนักวิชาการ ที่
ทาํ ใหเกิดการสรางภาพตัวแทนของวัฒนธรรมผูไท

-13-

ความเชื่อเร่ืองส่ิงศักดิ์สิทธิ์ในสังคมไทย
ยังเปนความเช่ือที่เช่ือมาถึงปจจุบัน
เกิดจากสิ่งท่ีหาคําตอบในเชิงวิทยาศาสตรไมได
ความเชื่อเรื่องผีในสังคมไทยทาํ ใหคนเกรงกลัวในบาปมากข้ึน
จึงกลายเปนตัวจัดระเบียบสังคมในไทยใหเปนระเบียบ

-14-

แนวคิดนักมานุษยวิทยา

มานุษยวิทยา
พฤติกรรมทางการเมือง
และการควบคุมทางสังคม

ลักษณะของระบบเครือญาติมีความสําคัญตอการเมืองในแตละสังคมมาก หาก
กลุมไหนมีจํานวนสมาชิกมากและมีอิทธิพลเหนือกลุมอื่น หัวหนาของกลุมนั้นยอม
ไดรับเลือกใหเปนหัวหนาปกครองสังคมทั้งหมด ในทํานองเดียวกันการแตงงาน
ยอมทาํ ใหกลุมอยางนอยสองกลุมรวมเขาดวยกัน กอใหเกิดพลังรวมเหนือกลุมอื่น
และอํานาจยอมมีมากข้ึน ระบบเครือญาตินี้เองที่เปนบอเกิดของการสืบมรดกทั้งใน
ดานทรัพยสิน และอาํ นาจทางการเมือง การสืบตออาํ นาจของ "ทายาท" ดังเชน
ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนตัวอยางท่ีเห็นไดชัดเจน

บาเลนเดอร (Georges Balandier)

-15-

นักมานุษยวิทยา Georges Balandier
พฤติกรรมทางการเมือง
และการควบคุมทางสังคม

ท่านที 1

บาเลนเดอร์ (ฌอรฌ์ บาลอ็ งดเี ย)
นักมานุษยวทิ ยา

ไดกลาววา "การศึกษาเก่ียวกับโครงสรางของความสัมพันธ
ทางดานสายเลือด จะทาํ ใหเห็นความสัมพันธของการใชอาํ นาจซึ่งมี
พ้ืนฐานมาจากหลักของการสืบสายโลหิต" มีตัวอยางของสังคม
จํานวนมากท่ีความสัมพันธทางดานการเมืองไดปรากฏขึ้นจาก
โครงสรางทางดานเครือญาติ
ความสัมพันธเชิงเครือญาติ แยกออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ

ความสัมพันธท่ีเกิดจากการแตงงาน การแตงงานเปนการ
สรางความสัมพันธของคนสองกลุมเขาดวยกัน
ความสัมพันธโดยทางสายเลือด ความแตกตางทาง
วัฒนธรรมทาํ ใหแตละสังคมยึดถือความสัมพันธโดยทางสาย
เลือดแตกตางกันออกไป เชน บางสังคมยึดถือเอาการ
สืบสายตระกูลฝายชายเปนหลัก บางสังคมยึดเอาฝายหญิง
เปนหลัก และบางสังคมก็ยึดสายเลือดท้ังสองฝาย

-16-

พฤติกรรมทางการเมืองและการควบคุมทางสังคม
ทําใหเกิดวัฏจักรของคนตระกูลเดิมขึ้นสืบตออาํ นาจเปนวงกลม

ไมมีการเปลี่ยนระบอบความคิดใหม ยึดติดในส่ิงเดิม
ทาํ ใหไมเกิดการพัฒนา ทาํ ใหเกิดการออนแอของสังคม
ซ่ึงเห็นตัวอยางไดชัดในหลายสังคมและประเทศบนโลก

-17-

แนวคิดนักมานุษยวิทยา

มานุษวิทยาวัฒนธรรมศึกษา
และมโนทัศน์วัฒนธรรม

แนวคิดเชิงมานุษยวิทยาของ "วัฒนธรรม" ในบางสวน สะทอนใหเห็นถึงปฏิกิริยาท่ี
มีตอสัมพันธสารหรือวาทกรรม ท่ีข้ึนอยูกับสิ่งตรงกันขามระหวาง "วัฒนธรรม"
และ "ธรรมชาติ" ตามท่ีมนุษยไดอยูอาศัยใน "สภาวะธรรมชาติ" นักมานุษยวิทยา
ไดโตเถียงวาวัฒนธรรมคือ "ธรรมชาติของมนุษย" และผูคนทั้งหลายมีความ
สามารถที่จะจําแนกประสบการณ ถอดรหัสการจําแนกในเชิงสัญลักษณ และสอน
ความเปนนามธรรมน้ันใหแกผูอื่น โดยที่มนุษยไดวัฒนธรรมมาดวยการเรียนรู ผูคน
อยูอาศัยในท่ีแตกตางกัน แตกตางดวยสิ่งลอมรอบ จึงอาจทําใหมีการพัฒนา
วัฒนธรรมออกมาตางกัน

พฒั นา กิติอาษา Pathana kitiasa
เรเนโต โรซัลโด Renato rosaldo
เดวิด เอ็ม ชไนเดอร David Murray Schneider
เอ็ดเวิรด เบอรเนทท ทีเลอร Edward Burnett Tylor

-18-

นักมานุษวิทยาวัฒนธรรม
ศึกษาและมโนทัศน์วัฒนธรรม

ทา่ นที 1 Pathana kitiasa

พฒั นา กิติอาษา
นกั มานษุ ยวทิ ยา

เขาตั้งขอสังเกตวานักมานุษยวิทยาไทย แปลความ

ethnography วาชาติพันธุนิพนธ และ ชาติพันธวรรณา เห็นวา

บทนิพนธของตนแตกตางจากบทนิพนธท่ีผลิตในศาสตรแขนงอื่น

ตรงท่ีเปนผลผลิตท่ีเกิดจากวิธีวิทยาเฉพาะตัวท่ีรวมเอาการทํางาน

ภาคสนามเปนระยะเวลานานและเทคนิควิธีการในการเขาถึง

เขาใจ และตีความปรากฏการในภาคสนามเขาเปนสวนสาํ คัญใน

ท่านที 2 การผลิตงาน Rnato Rosaldo

เรเนโต โรซัลโด
นักมานษุ ยวิทยา

ไดต้ังขอสังเกตไววา นักมานุษยวิทยาไดสูญเสียการผูกขาดมโน
ทัศนวาดวยวัฒนธรรมไปแลวและในกระบวนการดังกลาว มโน
ทัศนวัฒนธรรมเองก็ไดถูกทาํ ใหเปล่ียนแปลงไป เปนไปไมไดอีกตอ
ไปท่ีจะศึกษาวัฒนธรรมในฐานะส่ิงของ วัตถุหรือสนามแหงความ
หมายที่มีขอบเขตปดในตัวเองที่มีความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันและ
เปนแบบแผน

-19-

มานุษวิทยาวัฒนธรรมศึกษา
และมโนทัศน์วัฒนธรรม

ท่านที 3 David Murray Schneider

เดวดิ เอม็ ชไนเดอร์
นักมานษุ ยวิทยา

ชไนเดอร เสนอวา วัฒนธรรมเปนมโนทัศนที่ตางกันโดยส้ิน
เชิงจากปทัสถานตรงท่ีปทัสถานถูกสรางข้ึนเพ่ือเปนแบบแผน
สําหรับการกระทําแตวัฒนธรรมเปนท่ีบรรจุของนิยาม หลักการ
ขอเสนอ ขอสันนิษฐานและการรับรูเก่ียวกับธรรมชาติของ
จักรวาลและที่ทางของมนุษยในจักรวาล

ท่านที 4 Edward Burnett Tylor

เอด็ เวริ ด์ เบอรเ์ นทท์ ทีเลอร์

นกั มานุษยวิทยา

วัฒนธรรมหรือความศิวิไลซ พิจารณาในเชิงชาติพันธุอยาง
กวาง ๆ แลวคือ องครวมอันซับซอน ไดแกความรู ความเชื่อ
ศิลปะ วัฒนธรรม กฎหมาย จารีต และความสามารถตลอดจน
ไปถึงอุปนิสัยของมนุษยที่มีในฐานะเปนสมาชิกของสังคม

-20-

มโนทัศนทางวัฒนธรรมเปนหัวใจของการวิจัยเชิง
ชาติพันธุวรรณนา และเปนเครื่องมือทางแนวคิดสาํ หรับ

ตีความพฤติกรรมและความเชื่อของมนุษย
วัฒนธรรมครอบคลุมพฤติกรรมมนุษยในทุกแงมุม
วิถีชีวิตของมนุษย มีความแตกตางกันไปตามประเพณี

ซ่ึงสะทอนใหเห็นวามนุษยในแตละสังคม
เรียนรูความรูตาง ๆ มาไดอยางไร เก็บรักษาไวไดอยางไร

และนําออกมาใชไดอยางไร
และมีการสงผานวัฒนธรรมจากรุนสูรุน

-21-

บรรณานกุ รม

ปน แกว เหลอื งอรามศร.ี (2552). มานุษยวทิ ยาวัฒนธรรมและมโนทัศนว ัฒนธรรม.
[ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : https://www.academia.edu/17893215/. (วันที่คน ขอมูล : 13
กรกฎาคม 2564).

นฤพนธ ดว งวิเศษ. (2560). แนวคิดมานษุ ยวทิ ยากบั การศกึ ษาความเชื่อสง่ิ ศักดิ์สทิ ธใ์ิ น
สังคมไทย. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก : https://so06.tci-
thaijo.org/index.php/husojournal/article/view/76724/61652. (วนั ท่ีคนขอมูล : 15
มถิ ุนายน 2564).

ศลิ ปชยั เชาวเ จริญรัตน. (2555). ศาสนวทิ ยามานุษยวทิ ยาศาสนา. [ออนไลน]. เขา ถงึ ได
จาก : http://sinchaichao.blogspot.com/2012/12/blog-post.html. (วันท่ีคน ขอมูล : 19
มิถนุ ายน 2564).

-22-

จัดทาํ โดย

นางสาวกนกรดา แสงกําพลี ม.6/11 เลขที 13
นางสาวชนม์ชนก บวั บาน ม.6/11 เลขที 21
นางสาวกมลรตั น์ ปานสงา่ ม.6/11 เลขที 33


Click to View FlipBook Version