The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supree.pae18, 2021-04-22 23:23:20

e-book

e-book

Housekeeping Management

บทที่ 3
การเตรียมงานทาความสะอาดหอ้ งพกั แขก

นางสาวสปุ รียาภรณ์ ศรีพกั ตร์ 6121390003

การแบง่ ประเภทหอ้ งพักของโรงแรม

ประเภทหอ้ งพักของโรงแรมมดี งั น้ี

1. Single Room คือห้องพักทีม่ เี ตียงเดี่ยว (a single bed) 1 หลงั ห้อง
ประเภทนเี้ หมาะสาหรับพกั คนเดยี ว

2. Twin Room ห้องพักท่ีมีเตียงเดี่ยว 2 หลัง ส่วนใหญ่แล้วเตียงจะวาง 4. Triple Room เป็นหอ้ งพักไว้สาหรบั แขกจานวน 3 ท่าน มกั มีเตยี งขนาด
แยกกัน สาหรับแขกเพียง 2 ท่าน อาจเป็นเพ่ือน ญาติพี่น้อง หรือใครที่เรา ใหญ่ 1 หลงั และเตียงเดยี่ วอกี 1 หลัง
สามารถนอนห้องเดียวกันได้แตถ่ ้าเปน็ คูร่ ักมักจะพักห้อง double room

3. Double Room เปน็ ห้องพกั ท่มี ีเตยี งขนาดใหญ่ขน้ึ จาก Single Room 5. Quadruple Room หอ้ งพักสาหรบั แขก 4 ท่าน มกั มเี ตียงขนาดใหญ่
พักได้ 2 ทา่ น 2 หลัง

6. Studio หอ้ ง studio หมายถึงหอ้ งทีม่ ีเตียงนอน หอ้ งน่งั เล่น (parlor) 8. suite ห้อง สวีท ไม่ไดอ้ า่ นวา่ ห้องสูท อยา่ งท่ีใครหลาย ๆ คนเข้าใจ ห้อง
โต๊ะรบั ประทานอาหาร ฯลฯ อย่ใู นตัว โดยทไี่ มไ่ ดแ้ ยกห้องออกไป คานใ้ี ช้ ประเภทนรี้ าคาแพงมาก แต่ถา้ เป็นชว่ งโปรโมชัน่ หรอื ช่วงจัดรายการของทาง
บอ่ ยกับ apartment หรือ คอนโดมิเนียม โรงแรม จะมรี าคาถูกลงบ้างนิดหน่อย

7. Connecting Rooms ห้องพัก 2 หอ้ งทีส่ ามารถเดินทะลถุ งึ กนั ได้ มักมี 9. Cabana คอื หอ้ งพกั ทม่ี กั อยู่ตดิ กบั สระวา่ ยนา้ หรือใกลส้ ระว่ายน้า (pool)
ประตูตรงกลาง ระหวา่ ง 2 หอ้ งนน้ั และอย่แู ยกกับอาคารหลักของโรงแรม

ดังนั้นเมื่อเรารู้จักและสามารถจาแนกประเภทห้องพักของ การเตรียมรถเขน็ ของพนกั งานทาความสะอาดห้องพัก
โรงแรมได้แล้วน้ัน ส่ิงที่พนักงานฝ่ายบริการห้องพักต้องปฏิบัติใน และการบรรจุอุปกรณ์สาหรับทาความสะอาดใส่ใน
ข้นั ตอนต่อไปคือ การเตรียมงานทาความสะอาดห้องพักแขก โดยการ
เตรียมรถเข็นของพนักงานทาความสะอาดหอ้ งพกั และการบรรจุอุปกรณ์ รถเข็นทาความสะอาด
สาหรับทาความสะอาดใส่ในรถเข็นทาความสะอาด
มขี น้ั ตอนดังต่อไปน้ี
โดยรถเขน็ ของพนักงานทาความสะอาด เป็นส่ิงท่ีบรรจอุ ุปกรณใ์ น
การทาความสะอาดห้องพักทั้งหมด รวมท้ังเศษขยะด้วย ตลอดจนผ้า 1. นาของใช้และอุปกรณ์ทาความสะอาดทุกช้ิน ออกจากรถพร้อมล้างให้
สะอาดและผ้าที่ใช้แล้วจากห้องพักแขก ในขณะที่พนักงานทาความ สะอาด
สะอาดห้องอยู่นั้น รถเข็นจะจอดอยู่หน้าห้องพักน้ัน1 ซ่ึงแขกและบุคคล 2. นาผ้าสะอาด เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน เป็นต้น ที่
อื่นๆ ท่ีผ่านไปมาบทช้ันของห้องพักจะมองเห็นสภาพของรถเข็น เหลือจากการทางานออกมาวางคืนบนช้ันวางผ้า และนาผ้าที่ใช้แล้วใส่ลง
ตลอดเวลา ดังน้ันรถเข็นของพนักงานจะต้องได้รับการดูแลเก่ียวกับ ตะกรา้ สาหรับส่งซกั
ความสะอาดและจัดวางอุปกรณ์การทาความสะอาดพร้อมสิ่งของอื่นๆ ให้ 3. เทขยะท่ีเก็บมาจากห้องพัก พร้อมรวบรวมหนังสือพิมพืและนิตยาสาร
เป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่ตลอดเวลา ตามปกติหลักจากพนักงานทางาน ออกจากรถใหห้ มด
เสร็จในแต่ละวัน ก่อนออกเวรกลับบ้านพนักงานจะนารถเข็นมาจอดไว้ 4. เช็ดฝนุ่ ตามชัน้ วางของภายในรถให้สะอาด
บริเวณบนห้องเก็บของของแต่ละชั้น และพนักงานต้องจัดเตรียมรถใหม่ 5. ช้ันที่ว่างผ้า ในรถเข็น ควรมีกระดาษขาวสะอาดปูรองพ้ืน เพื่อกัน
เพ่ือพร้อมท่ีจะนาไปใช้ในวันรุ่งขึ้น ซึ่งการจัดเตรียมรถเข็นของพนักงาน สนิมจากรถและสิ่งสกปรกอื่นๆ (ถ้ากระดาษที่รองพ้ืนสกปรกหรือขาด ควร
ทาความสะอาดห้องพักและการบรรจุอุปกรณส์ าหรับทาความสะอาดใส่ใน เปลี่ยนใหม่)
รถเข็นทาความสะอาด จะกลา่ วในหัวขอ้ ตอ่ ไป

6. จัดวางอุปกรณ์ของใช้แขก เช่น สบู่ แซมพู หมวกอาบน้า โดย ตวั อยา่ งรถเขน็ ทาความสะอาดทีท่ าความสะอาดเรียบร้อยแลว้
แบ่งเป็นหมวดหมู่อย่างเป็นระเบียบโดยแยกออกจากอุปกรณ์ทาความ ตวั อย่างรถเขน็ ทาความสะอาดบรรจอุ ุปกรณท์ าความสะอาดเรยี บรอ้ ย
สะอาด ถ้าของใช้หมด หรือพร่องให้ใส่ หรือจดั เพ่ิมให้ครบเพียงพอในการ
ทางานในแต่ละวนั
7. น้ายาทาความสะอาดทุกชนิด ควรแบ่งใส่กระบอกฉีดให้พอต่อการ
ทางานในแต่ละวันควรเขียนป้ายบอกไว้อย่างชัดเจนว่าชนิดไหนเป็นน้ายา
อะไร ถ้าพาชนะท่ีใสส่ กปรกควรล้างทาความสะอาดใหม่ด้วย
8. จัดผ้าแต่ละประเภทใส่รถเข็น ให้มีจานวนเพียงพอ สาหรับการทางาน
ในแต่ละวัน
9. จัดวางอุปกรณท์ าความสะอาดให้เป็นระเบียบ ง่ายตอ่ การหยิบใช้
10. ถงุ ใส่ขยะและถงุ ใส่ผ้าที่ใช้แล้ว ถ้าสกปรกมากหรือมีราขน้ึ ให้เปล่ียนถุง
ใหม่หรอื สง่ ชกั ให้สะอาด
11. ไม่นาอาหารหรือขนมวางไว้ในรถ เพื่อป้องกันความสกปรกและเพ่ือ
ไมใ่ หเ้ ป็นที่อย่ขู องพวกแมลง
12. หม่นั หยอดน้ามันทล่ี อ้ รถสมอ ลอ้ จะได้ไม่ฝืดหรือตดิ ขัดเวลาเข็นรถ
13. ส่วนประกอบของรถทีเ่ ป็นดลหะควรเช็ดให้ข้ึนเงา
14. ควรใช้ผ้าทีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ และสะอาด คุมรถเพ่อื กนั ฝุ่น หลังจากเตรียม
รถเขน็ เสร็จ

ประเภทของพัสดอุ ปุ กรณ์ Par Level คือ ระดับของจานวนพัสดุอุปกรณ์ที่แผนกแม่ขา้ นควร
จะต้องมีไว้ในคงคลัง เพ่ือใช้ในการดาเนินงานในแต่ละวัน ในการ
โดยท่ัวไปแลว้ ผู้ทรี่ ับผดิ ชอบในการควบคุมดแู ลพสั ดอุ ุปกรณใ์ นแผนก พจิ ารณาจานวน Par Level ของพสั ดุอุปกรณ์จะแตกตา่ งกันระหว่าง
Recycled inventory และ Non-recycled inventory ซง่ึ การ
แม่บ้าน คือ ผู้จดั การแผนกแม่บ้าน (Executive Housekeeper) เรา พิจารณาของ Recycled inventory จาเป็นตอ้ งข้ึนอยู่กับการทางาน
ร่วมกับแผนกอ่ืนๆ ด้วย เช่น ผ้าประเภทตา่ ง ๆ ตอ้ งขึ้นอยู่กับการทางาน
สามารถแบ่งประเภทของพสั ดุอุปกรณ์หรอื inventoryในแผนกแม่บา้ น ของแผนกซักรีดด้วยว่า จะสามารถซักรีดผ้าเหล่านี้ได้รวดเร็วมากน้อย
เพยี งใดดว้ ย
ออกเป็นเปน็ 2 ประเภท คอื

1. Recycled 2. Non-recycled
inventory คอื พัสดุที่ inventoryคอื พัสดุท่ไี ม่
สามารถนามาใช้หมุนเวียน สามารถนากลับมาใชใ้ หม่
ได้ไหมเชน่ ผา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ หรอื วัสดสุ ิน้ เปลืองต่าง ๆ
ชดุ ยนู ิฟอรม์ สง่ิ ของท่ี เชน่ วสั ดุในการทาความ
เอาไวใ้ ห้แขกยมื เคร่อื งมือ สะอาด อุปกรณเ์ ลก็ ตา่ ง
ท่นุ แรงประเภทตา่ ง ๆ ๆ ของใช้สิน้ เปลอื งสาหรบั
แขก

ผา้ ประเภทตา่ ง ๆ (Linens) การแบ่งชนดิ ของผ้า

ผ้าประเภทต่างๆ คือ พัสดุทส่ี าคญั ทีส่ ุดในแผนกแมบ่ ้าน และถือวา่ สามารถแบง่ ได้ออกเปน็ 3 ประเภท คอื
เป็น Recycled inventoryนอกเหนือจากคา่ แรงงานแลว้ ค่าผ้า
ประเภทต่าง ๆ คอื ค่าใช้จา่ ยที่แพงที่สดุ ของแมบ่ ้าน ดงั นัน้ การสรา้ งระบบ
การควบคุมผ้าประเภทต่าง ๆ จึงเป็นทสี่ ่ิงสาคญั มากอย่างหน่ึง

1. ผา้ ปูเตียง ประกอบด้วย ผ้าปูเตียงขนาดต่าง ๆ ปลอกหมอน ผา้ รองเตยี ง
กันเปอ้ื น และผ้าคลมุ เตยี ง

2. ผ้าขนหนูสาหรับห้องน้า ประกอบด้วย ผ้าเช็ดตัว 3. ผา้ ปโู ต๊ะ ประกอบด้วย ผ้าปูโต๊ะขนาดต่าง ๆ ผ้าเช็ดปาก
ขนาดต่างๆ ผา้ เชด็ มอื ผา้ เช็ด เท้า และขนหนอู ืน่ ๆ ผ้าอื่น ๆ ท่ีใช้ในแผนกอาหารและเคร่ืองดม่ื

การสร้างระบบ Par Level สาหรับผ้าประเภทตา่ งๆ ตวั อยา่ ง การคานวณ Kong-sized sheets สาหรบั โรงแรมทม่ี ีแผนก
ซักรีด และใช้ sheets จานวน 2 ชิ้นในการปเู ตยี งแตล่ ะครัง้ มจี านวน
จานวน Par สาหรับผ้าคือจานวนผ้าแต่ท่ีมีเพียงพอสาหรับการ เตียงทง้ั หมด 300 เตียง
ทางานท่ัวไปของแผนกคาว่า "One par of linen" หมายถึง จานวน 1 Par สาหรับห้องพกั แขก = 1 x 600 = 600 ชิ้น
ผ้าแต่ละชนิดท่ีเพียงพอสาหรับหอ้ งพักแขกในทุกห้อง แต่แค่ One par 1 Par สาหรับห้องเก็บผา้ = 1 x 600 = 600 ชิ้น
of linen ไม่เพียงพอสาหรับการดาเนินงานของแผนก คาว่า "two 1 Par สาหรบั ผ้าสกปรกในแผนกซกั รดี = 1 x 600 = 600 ชน้ิ
par of linen" หมายถงึ จานวนผ้าแต่ละชนิดที่เพียงพอสาหรับการ 1 Par สาหรบั ผ้าทีเ่ อาไว้ทดแทน = 1 x 600 = 600 ชิ้น
ทางานสองครั้งหรอื สองรอบ 1 Par สาหรับเหตุการณฉ์ ุกเฉิน = 1 x 600 = 600 ชิ้น

ดังน้ันผู้จัดการแผนกแม่ข้านต้องเป็นผู้รับผิดชอบพิจารณาว่าจะ การควบคมุ ผา้ ประเภทตา่ ง ๆ
กาหนด par of linen จานวนเท่าไร เพื่อให้เพียงพอกับการทางาน
ของทั้งแผนก หลักการพิจารณาควรคานึงถึงปัจจัย 3 อย่างคือ ระบบ ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ นควรมกี ารสรา้ งนโยบายและระบบขั้นตอนวา่ ผ้าจะ
การหมุนเวียนของการซกั รีด จานวนผ้าท่ีมีเอาไว้ทดแทน และเหตุการณ์ เก็บไวท้ ไ่ี หนอยา่ งไร เมอ่ื ใด และใครสามารถเบกิ ผ้าเหล่านไ้ี ดบ้ ้าง รวมทัง้
ฉุกเฉินตา่ ง ๆ ระบบการควบคมุ ดแู ลผา้ เมือ่ ส่งไปซักท่ี

1. การเกบ็ ผา้ (Storage) 2. การจ่ายผ้า (Issuing)
ส่วนมากระบบการหมุนเวียนของผ้าประเภทต่าง ๆ จะอยู่ ควรมีการสร้างระบบ Floor Par ข้ึนมาเพื่อที่จะได้รู้ถึง

ระหว่างสองส่วน คือห้องพักแขกและห้องซักรีด หลังจากแผนกซัก จานวนผ้าท่ีจาเป็นต้องใช้ในแต่ละวันตามจานวนห้องที่ต้องทาความ
รีดส่งผ้าท่ีซักรีดเรียบร้อยแล้ว มายังห้องเก็บผ้าใหญ่ควรมีการเก็บ สะอาดในแต่ละชิ้น ดังนั้นแผนกแม่บ้านจะทราบจานวนที่แน่นอน
ผ้าเอาไว้ก่อนอย่างน้อย 24 ช่ัวโมง ก่อนจะนาไปใช้ใหม่อีกครั้ง ว่าในแต่ละช้ันต้องการเบิกผ้าเท่าไรจากห้องผ้าใหญ่ ส่วน
เพ่ือเป็นการยืดอายุการใช้งานของผ้า และเปิดโอกาสให้รอยย่น แบบฟอร์มรายงานสภาพห้องจากแผนกบริการส่วนหน้าหรือ
ได้ยืดตัว การเก็บผ้าต่าง ๆ ควรเก็บไว้ในสถานที่ๆ ระบุเอาไว้ Front office department ในทุกวนั สามารถนามาช่วยใน
อย่างชดั เจน คือห้องผ้าใหญ่ของแผนก ห้องพักผ้าใกล้แผนกซกั รีด การประเมินจานวนผ้าที่ต้องการจะใช้ในแต่ละวันและแตล่ ะช้ันได้
กอ่ นที่จะขนยา้ ยไปยังบริเวณตา่ ง ๆ ในโรงแรมและตเู้ ก็บ
ในบางโรงแรมมนี โยบายใหพ้ นักงานทาความสะอาดห้องพัก
ลักษณะของห้องเก็บผ้าควรจะเป็นห้องที่ปราศจากความขึ้น นั้นทาหน้าที่บันทึกจานวนของผ้าท่ีถูกส่งไปซัก โดยให้แบ่งตาม
และมีการระบายอากาศที่ดีช้ันวางผ้าต่าง ๆ ควรมีลักษณะพ้ืนผิว ประเภทของผ้า ดังนั้นจานวนผ้าท่ีพนักงานทาความสะอาดห้องพัก
เรียบและโล่ง รวมท้ังมีการจัดแยกประเภทของผ้าแต่ละชนิด บันทึกเอาไว้จะต้องตรงกับจานวนห้องในแบบฟอร์มรายงานสภาพ
นอกจากนี้พ้ืนที่ของห้องควรมีขนาดที่มากพอเพียงเพ่ือผ้าประเภท ห้อง ในช่วงสุดท้ายของการทางานในแต่ละกะน้ันพนักงานใน
ต่าง ๆ จะได้ไม่ต้องวางรวมกันจนแน่นเกินไป ห้องผ้าเหล่าน้ีควร แผนกแม่บ้านจะต้องนาเอาผ้าจากห้องผ้าใหญ่มาเติมตู้เก็บผ้าในแต่
มีการล็อคกุญแจอยู่เสมอ และมีการวางระบบการควบคุมการถือ ละช้ันเพราะฉะนั้นการจ่ายผ้าจะจ่ายผ้าออกไปเท่ากับจานวนผ้าที่
กญุ แจท่เี ขม้ งวด ถูกใช้ไปจรงิ เท่านั้น

3. ข้ันตอนพเิ ศษสาหรับผา้ ท่ชี ารดุ 4. ผ้าทใี่ ช้สาหรบั แผนกอาหารและเครื่องด่มื
ข้ันตอนพิเศษจะจาเป็นสาหรับผ้าที่ชารุด และต้องการ ผ้าท่ีใช้สาหรับแผนกอาหารและเครื่องด่ืม ควรมีการควบคุม

การทดแทน ดังน้ันเม่ือมีผ้าชารุดและมีการพิจารณาแล้วว่าไม่ เหมือนกับผ้าที่ใช้ในห้องพักแขกควรมีการพจิ ารณาว่ามีร้านอาหารใน
สมควรนามาใชง้ านอีกตอ่ ไป ควรนาผ้าไปเก็บไว้ในภาชนะบรรจุ โรงแรมท้ังหมดกี่แห่งแลว้ จึงสร้างระบบ Par level ขน้ึ มาผ้าท่ี
พิเศษและนาไปเก็บไว้ท่ีห้องผ้าใหญ่ หรือสานักงานกลางแผนก สกปรกแล้วควรมีการนับทุกคืนและทาบันทึกก่อนจะส่งไปยังแผนก
แมบ่ ้าน จากนัน้ ใหก้ รอกแบบฟอร์มว่าผ้าที่ชารุดเป็นผ้าชนิดไหน ชักรีด ผู้จัดการแผนกแม่บ้านกับผู้จัดการแผนกซักรีดสามารถใช้
บริเวณที่ชารุด ลักษณะของการชารุด เก็บผ้าท่ีชารุดมาจาก บันทึกเหล่านี้ใช้เป็นตัวควบคุมและต๋ัวจ่ายผ้าในวันต่อไปทุกๆวันควร
บริเวณไหน ช่ือของพนักงานท่ีพบว่าผ้าชารุด จากน้ันผู้จัดการ มกี ารขนยา้ ยผา้ ประเภทต่าง ๆ ไปคืนตามจานวนที่ส่งมาซักในกรณีท่ี
แผนกซักรีด (Laundry Manager) จะเพิ่มจานวนผ้าในตู้ ต้องการใช้ผ้าประเภทต่าง ๆเพ่ิมเติม จาเป็นต้องมีการทาบันทีกคา
เก็บผ้าช้ันท่ีมีผ้าชารุดส่งมาคืน เมื่อผ้าชารุดชักแล้วควรส่งแยกมา ร้องมาว่าตอ้ งผ้าชนิดใดเพ่ิมและจานวนเทา่ ใด
ต่างหากให้กับผู้จัดการแผนกชักรีดหรือผู้ท่ีเหมาะสมพิจารณาดูว่า
เหมาะสมท่ีจะใช้ต่อไปอีกหรือสามารถนามาซ่อมแซมใหม่ได้
หรือไม่ควรมีการลงบันทึกอย่างระมัดระวังสาหรับผ้าท่ีชารด และ
ไม่สามารถนามาใช้ได้ใหม่

5. การนับจานวนผ้า หนา้ ที่ของหอ้ งผา้ (Linen Room)
การนับจานวนผ้าน้ันควรมีการกระทาอย่างสม่าเสมอเดือนละ
ห้องผ้าเป็นหน่วยหน่ึงของแผนกแม่บ้าน เป้นคลังเก็บรักษาผ้าทุก
ครั้งหรืออย่างน้อย 3 เดือนหนึ่งครั้ง โดยปกติแล้วจะมีการนับ ชนิดท่ีใช้ในโรงแรมเช่น ผ้าปูท่ีนอน ปลอกหมอน ผา้ เช็ดตวั ผ้าเช็ดปาก
จานวนในวันส้ินงบบัญชีของแต่ละเดือน เพื่อผู้จัดการแผนกแม่บ้าน ฯลฯ ตลอดจนเคร่ืองแบบพนักงานด้วยซึ่งผ้าต่างๆ เหล่าน้ีมีเป็นจานวน
จะได้รู้เกี่ยวกับการควบคุมต้นทุนของแผนกในการจัดเตรียม มากและมีราคาสูง ฉะนั้นพนักงานห้องผ้าท่ีเรียกว่า "หัวหน้าห้องผ้า" จึงมี
งบประมาณ เพราะผู้จัดการแผนกแม่บ้านจะทราบถึงจานวนท่ี ความรบั ผิดชอบต่อทรพั ย์สินของโรงแรมในเรอ่ื งผ้ามาก
แน่นอนของผ้าท่ีใช้อยู่จานวนผ้าท่ีชารุด สูญหาย หรือต้องการการ
ทดแทนการควบคุมวิธีน้าเป็นมากในการทางบประมาณ และเป็น หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของแผนกหอ้ งผา้ คอื
การทาให้แน่ใจว่าแผนกแม่บ้านมีพัสดุอุปกรณ์เพียงพอกับความ 1. จัดผ้าทุกชนิดที่จะต้องใช้ในโรงแรมให้เพียงพอ บางโรงแรมมีผ้าที่จะ
ต้องการของโรงแรมหรอื ไม่ หมุนเวียนใช้อยู่ 3 ถึง 5 ชุด คือ แขกใช้ 1 ชุด เก็บไว้ประจาชั้น 1
ชุด อยู่ท่ีหอ้ งลนิ นิ 1 ชุด และส่งชักรดี 1 ชุด บางแห่งอาจจะเก็บไว้อีก 1
ชดุ เผอ่ื ฉุกเฉนิ เชน่ เครื่องซักรีดเสยี เวลาแขกมาพักมากๆ
2. เก็บรักษาผ้าทุกชนิดไม่ให้สูญหายหรือเสียหาย ควรระวังรักษาทั้งผ้า
ใหม่และผ้าท่ีใช้อยู่ไม่ให้ชารุดหรือสูญหายก่อนเวลาอันสมควร ผ้าทุกชนิด
ไม่อาจใช้ได้ตลอดไปแต่ก็ควรจะใช้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทาได้ถ้าพบผ้าท่ี
ชารุดจึงควรซ่อมแซม

การเก็บรักษาเครอื่ งใชป้ ระเภทผา้ 5. จัดผา้ ให้เป็นระเบียบแต่ละชนิดไม่สับสน เพ่ือสะดวกในการสารวจและดู
สวยงาม
1. ผ้าท่ีส่ังซื้อมาใหม่ต้องตรวจรับให้ถูกต้องตามจานวนและคุณภาพก่อนเก็บ 6. ผ้าท่ีจะนามาใช้หรือเก็บรกั ษาไว้ ถ้าเป็นผา้ ฝา้ ยหรือผ้าที่ลงแป้ง ควรชัก
เข้า ห้องเก็บ แป้งออกเสยี ก่อนกันแมลงกัดกนิ ดว้ ย
2. ผ้าทุกชนิดควรทาเครื่องหมาย บางแห่งก็มีชื่อโรงแรมทอลงไปในเนื้อผ้า 7. ผา้ ลินินก่อนเก็บไม่ต้องซกั ก็ได้ ผ้าขนสัตว์ก่อนเก็บควรห่อให้มิดชิดเพื่อ
แต่ถ้าไม่สามารถทาได้เพราะราคาแพงควรทาเคร่ืองหมายของโรงแรมไว้บน กันแสงทีจ่ ะทาใหผ้ า้ เปลี่ยนสแี ละกนั แมลงด้วย
ผา้ 8. เตรียมผา้ สาหรับใชท้ าความสะอาดใหพ้ นกั งาน พยายามอย่าให้เหมือนผา้
3. การจ่ายผ้าให้ตามที่ต่าง ๆ เช่น ตามชั้นต่างๆ หรือส่งไปซักยังโรงชักรีด ที่จะให้แขกใช้ ต้องทาเครื่องหมายให้เห็นชัดเจน หรือย้อมผ้าให้เป็นสีต่างๆ
ควรทาเป็นทะเบียนจ่าย-รับเป็นหลักฐาน ตรวจนับให้ตรงตามความเป็นจริง ออกไป
ทุกคร้ัง 9. ผ้าช้นิ เล็กๆ เชน่ ผา้ เชด็ มอื ผ้าเช็ดปาก อาจจะหายไดง้ า่ ยควรหาทใี่ ส่
4. การเก็บรักษาทุกชนิด ควรเก็บในที่โปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก แต่ เช่น ตะกรา้ ถุง
ไม่ควรถูกแสงแดดเพราะจะทาให้ผา้ เป็นรอยด่างอันเกิดจากแสงแดดได้ ห้อง 10. ขอความรว่ มมอื กับโรงซกั รดี และพนกั งานทกุ คน ถา้ พบเหน็ ที่ชารดุ แม้
เก็บผ้าตอ้ งไม่อับชื้นเพราะจะทาให้ผา้ เป้นรา ตู้เก็บผ้ามิดชิด ไม่มีช่องรูท่ีสัตว์ เพียงเล็กนอ้ ยตอ้ งแยกและซอ่ มอย่านาไปให้แขกใช้
และแมลงจะกดั ผ้าได้

11. อยา่ วางผ้าเปยี กชนื้ บนพ้นื ซีเมนต์หรอื พวกโลหะ หนา้ ทที่ ต่ี อ้ งปฏิบัตปิ ระจาวนั
12. อย่านาผา้ ลินนิ ไปเชด็ แทนผา้ ทาความสะอาดหรอื เช็ดน้ายาตา่ งๆ ท่ีหก
13. หม่นั สารวจผา้ ตามที่ตา่ งๆ โดยเฉพาะตเู้ กบ็ ของของพนกั งาน 1. กาหนดเวลาสาหรับให้พนักงานแผนกต่างๆ นาผ้าเป้ือนมาเปล่ียน
14. สารวจตามถงั ขยะ ถังท้งิ ผงก่อนเททกุ คร้งั เพราะอาจมีผ้าตดิ ไปในถังดว้ ย ใหเ้ หมาะสมกับเวลาทางานของทุกแผนก
2. เตรยี มผา้ แต่ละชนิดไวส้ าหรับพนักงานมาเปลี่ยนให้ครบตามจานวน
3. เมื่อพนักงานมาแลกผ้า เตรียมจัดผ้าที่เป้ือนส่งโรงซักรีด จดใส่
สมดุ หรอื แบบฟอรม์ ใหถ้ กู ต้อง
4. เม่ือพนักงานโรงซักรีดนาผ้าสะอาดมาส่ง ตรวจรับให้ตรงตาม
จานวน
5. คดั ผ้าทชี่ ารดุ ส่งซอ่ ม และตรวจผ้าที่จะใชใ้ หอ้ ยู่ในสภาพท่ดี ีเกบ็ เข้าตู้
6. ทาเครอ่ื งหมายผา้ ท่จี ะจดั ทาเป็นผ้าทาความสะอาดสาหรบั พนกั งาน
7. ทาบัญชสี ารวจผ้าทกุ 1 เดอื น 3 เดอื น และ 1 ปี
8. สารวจผ้าชารดุ นาไปดดั แปลงเป็นผา้ อย่างอ่ืนเพอื่ ใช้ต่อไป
9. ถา้ ผา้ ท่ีชารดุ ใช้การไมไ่ ดท้ าบัญชีแยกออกเพื่อจาหนา่ ย
10. กอ่ นปิดห้องเก็บต้องสารวจดคู วามเรียบร้อยกอ่ นทุกคร้ัง เชน่ ปิด
ประตู หนา้ ต่าง ตูผ้ า้ ทกุ ตปู้ ิดลอ็ คกญุ แจ ไม่มผี ้าเป้ือนตกคา้ งอยู่

ข้ันตอนการซกั รดี 6. ถ้าพบว่าเสื้อผ้าชารุดเล็กน้อย เช่น กระดุมเสื้อหลุด ตะเข็บปริ ต้อง
ช่วยซ่อมให้ถ้าขาดมากหรือมีรอยไหม้ต้องแจ้งให้เจ้าของทราบทันที
1. การรับริการซักรีด จะซักน้า ซักแห้งหรือรีด ต้องแบบฟอร์มสาหรับลง เจ้าของอาจขอส่งซ่อมก่อนซกั รดี ก็ได้
รายการรายละเอียด กาหนดเวลาส่งผ้ากลับห้องพัก ราคาค่าซักรีดทุกชนิด 7. ของมีค่าหรือของไม่มีค่าอาจติดมากับกระเป๋าเส้ือผ้า เช่น เงิน เข็ม
และคาชี้แจงบางอย่าง เช่น ไม่รับรองเร่ืองผ้าสีตก หรือไม่รับซักรีดผ้าที่ กลัด ฯลฯ ต้องรีบแจง้ ใหห้ ัวหน้าทราบทันทีเพอ่ื นาส่งคืนแขกโดยด่วน
รอยชารุดมากๆ 8. เมื่อจะรับผ้าท่ีส่งซักรีดคืนจากห้องซักรีด ต้องตรวจดูจานวน
2. เม่ือรับผ้าท่ีส่งชักมาแล้วกรอกรายการให้ถูกต้อง ลงรายละเอียดให้มาก รายละเอียดอ่ืนๆ และความเรียบร้อยให้ตรงกันทุกครั้งก่อนนาส่งคืนยัง
ที่สุดในสมุดทะเบียนรับ-ส่ง ควรตรวจตามกระเป๋าเสื้อผ้าไม่ให้มีของมีค่า ห้องพกั
หรือไม่มีค่าติดมา และถ้าชารุดมากๆ ต้องแจ้งให้แขกทราบทันทีเพ่ือกัน 9. ถ้าพบเส้ือผา้ ที่ซักรีดแล้วเกิดชารุด ยืด หรือหดจากเดิมที่จดบันทึกไว้
การโตเ้ ถยี งภายหลัง ในทะเบียนรบั -สง่ ตอ้ งรบี แจ้งทางโรงซกั รีดทราบไว้เป็นหลักฐาน และ
3. ต้องจัดทาทะเบียนคุมรายการการบริการซักรีดต่างๆ ของผ้าท่ีส่งซักทุก ต้องพยายามพบแขกเพ่ือแจ้งให้ทราบอย่าปิดบังจะทาให้แขกไม่พอใจ
ครั้งอย่างละเอยี ดท่ีสดุ เพือ่ กนั การผดิ พลาดและสบั สนภายหลัง มากถ้าทราบภายหลัง
4. ผา้ ทุกชนิดตอ้ งใส่ถุงซกั ที่ทางโรงแรมจัดไว้ให้ เพ่ือกันความสกปรกและ 10. เม่ือตรวจดูความเรียบร้อยครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามลักษณะอ่ืนๆ ท่ี
สาหรบั ผ้าช้นิ เลก็ ๆ อาจตกหายกลางทางได้ จดบันทึกไว้จัดนาส่งห้องพักให้ถูกต้อง ควรส่งโดยตรงให้แขกตรวจรับ
5. ห้ามแตะต้องผา้ ทกุ ชนิดท่ไี มม่ รี ายการส่งซกั รีดโดยเดด็ ขาด เสียก่อน หรือวางไวใ้ ห้เหน็ ชดั เจน ยังไม่ควรจัดวางในต้เู สื้อผ้า จะทาให้
แขกเขา้ ใจผิดว่ายังไม่ได้รับคืน วิธที ี่ดีท่ีสุดควรส่งผ้าคืนขณะที่แขกอยู่ใน
ห้องพกั

การสง่ ผ้าซกั - บนั ทกึ ลงสมดุ จดไวก้ ันลมื ทกุ ๆ วนั และทุกหอ้ งทีส่ ่งซกั
- ทางห้องชักรีดรับผ้าไปแล้วก็จะต้องจดอีกคร้ังและติดเบอร์ เช่น ท่ีคอ
เมื่อแขกเข้าพกั ในโรงแรมก็ตอ้ งมีบริการผา้ ให้แขก การซักกเ็ ปน็ ส่วนสาคญั เสือ้ กางเกงด้านใน
ท่สี ดุ แขนงหนง่ึ ของแมบ่ า้ นที่จะตอ้ งดแู ลเอาใจใส่ - ส่วนเส้ือกล้าม ผ้ายืด ก็จะติดเข็มกลัดหรือเบอร์ผูกผ้าพอที่จะเอาออกได้
เม่อื ส่งกลับ
วิธสี ่งผา้ ซกั มขี ้ันตอนตา่ งๆ ดงั น้ี - ต้องตรวจดูว่ามีของมีค่าท้ิงไว้หรือเปล่า ถ้าพบของมีค่าก็จะก็จะต้องส่งคืน
- แขกจะโทรศัพท์ไปยังห้องผ้าตามหมายเลขหอ้ งท่ีแขกพกั ใหแ้ ขก
- แผนกซกั ผ้ากจ็ ะต้องส่งพนกั งานขนึ้ ไปเก็บตามหอ้ งพกั โดยผา่ นทางพนกั งาน - พบรอยเปื้อน รอยด่าง ต้องรีบรายงานให้แขกทราบก่อนอย่ารีบซัก
ทาความสะอาดหอ้ งพัก เพราะบางครั้งอาจจะผิดพลาด อาจตอ้ งใช้คืนแขก จะต้องเสียเงินมากถ้าทา
- รับจากแขกโดยตรง ผิดหรือซักรดี
- พนักงานทาความสะอาดห้องพักจะตอ้ งนบั จานวนผ้าของแขกทุกครั้ง
- ตรวจวา่ มรี อยขาดหรอื เปอ้ื นตรงไหน

วิธซี ักนา้ การรดี จะทาไดภ้ ายในวนั เดยี วแต่ทกุ โรงแรมจะตอ้ งมคี นรีดผา้ อยู่พร้อม
- เวลาชักต้องแยกผ้าซักเส้ือขาวและเสื้อสีต้องซักแยกกัน อย่าซักทุก ตลอดเวลา24 ช่วั โมงในปัจจุบนั
อยา่ งรวมกัน บางครง้ั ตอ้ งแปรงท่ีคอก่อนเพือ่ เอาคราบสกปรกออกกอ่ น
- แยกผา้ สจี ะตกออกจากกันไว้กอ่ น
- ผ้าบางชนิดต้องซักด้วยมือขย้ีเบาๆ อย่าซักด้วยเคร่ือง ผ้าบางชนิดห้าม
บิดซัก แลว้ แชน่ ้า ห้ามบิด ตากเฉยๆ ใหแ้ ห้งแล้วรีด
- ผ้าเช็ดหนา้ ก็รวมชักด้วยกนั
- ถงุ เทา้ แยกซกั เฉพาะถงุ เท้า

วิธีซักแห้ง
ก็เช่นเดยี วกัน
การสง่ ผา้ จะมี 2 ชนดิ
1. ชนิดธรรมดา ส่งเช้าได้เย็นก่อนเวลา 18.00 น. แต่ต้องส่งซักรีดก่อน
9.00 น. ราคายอ่ มเยากวา่
2. ชนิดด่วน หมายความว่าต้องการเร็วกว่า เช่น ส่งเข้าต้องการเวลาเท่ียง
ถา้ เปน็ วธิ นี ี้ราคาต้องแพงขน้ึ เท่าตวั แลว้ แต่โรงแรมจะกาหนดไม่มกี ฎเกณฑ์
การรีด จะทาได้ภายในวันเดียวแต่ทุกโรงแรมจะต้องมีคนรีดผ้าอยู่พร้อม
ตลอดเวลา24 ชั่วโมงในปัจจุบัน

วิธสี ่งคนื แขก หนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบของพนักงานเยบ็ ซอ่ มเสอ้ื ผา้
หลงั จากซกั รีดแลว้ แผนกซักรีดจะส่งขึ้นมาก่อนส่งต้องดูรายการท่ีจัดส่งไว้เป็น (Seamstress)
ข้อๆ ให้ครบ ให้ถูกเจ้าของโดยดูหมายเลขท่ีติดไว้ เมื่อเรียบร้อยต้องแกะ
หมายเลขออก นาใส่ถุงซักรีดพร้อมใบราคา และอีกหน่ึงสาเนาส่งไปทาง พนักงานเย็บซ่อมเสื้อผ้าเป็นส่วนหน่ึงที่อยู่ในห้องผ้า ซึ่งขึ้นอยู่
แคชเชยี รห์ ้ามจา่ ยเงนิ บนฟลอรใ์ หค้ ิดไปในบิลของแขก กับหัวหน้าห้องผ้าโดยตรงโดยท่ัวไปแล้วห้องซักรีด ห้องผ้า และห้อง
เย็บผ้ามักจะอยู่ใกล้กันเพ่ือความสะดวกในการทางานและการ
ควบคุมดแู ล

อปุ กรณ์เครือ่ งใช้สาหรับห้องเย็บต่างๆ

1. ต้สู าหรับเก็บอปุ กรณก์ ารตดั เย็บตา่ งๆ
2. ตูเ้ กบ็ ผา้ ท่ียงั ไมไ่ ด้เยบ็ และผ้าทเี่ ยบ็ เสรจ็ แลว้
3. ไม้แขวนเส้อื ผา้ พรอ้ มดว้ ยกระจก
4. โต๊ะสาหรบั ตัดเย็บพร้อมเกา้ อี้
5. ทีส่ าหรับรีดผ้าพรอ้ มเตารดี
6. จักรเยบ็ ผา้

คุณสมบัติของพนักงานเยบ็ ผา้ หนา้ ท่ที ่ีต้องปฏบิ ัติประจาวันของพนักงานเยบ็ ผา้

1. ร้หู ลักการตดั เย็บผ้าเบ้ืองต้น 1. ซ่อมแชมของชารุดต่างๆ ประจาวัน เช่นผ้าม่านห้องน้าขาด ม่านเม่ือ
2. รู้จกั เย็บซอ่ มแซมเครอื่ งใช้ประเภทตา่ งๆ ภายในบ้าน นาไปซักจะหดตอ้ งเลาะออกใหย้ าวข้ึน
3. รู้จกั ประดษิ ฐ์ของใช้ตา่ งๆ 2. จาพวกของชารุดต่างๆ ประจาวัน เช่น ผ้าม่าน ผ้าคลุมเตียง เบาะ
เก้าอี้ ถ้าต้องการเบิกใหม่ทางแม่บ้านจะส่งผ่านมาทางห้องผ้า จากนั้น
แจ้งความต้องการผ้าแบบและจานวนท่ีต้องการ ทางแผนกห้องผ้าจะส่ง
ช่างไปวดั จากของจริง นามาออกแบบให้เหมาะสม เสนอให้แมบ่ ้านเมอ่ื
เห็นสมควรแล้วจึงจะตัดเย็บได้ ส่วนที่ชารุดแล้วทางแม่บ้านก็จะส่งคืน
หอ้ งผา้ นามาดัดแปลงใช้งานอนื่ ต่อไป
3. หากมีผ้าของแขกชารุดและแขกต้องการให้ซ่อมทางแม่บ้านจะส่ง
มายงั หอ้ งเย็บผ้าโดยมสี มดุ ลงรายการรบั สง่ ซึง่ กันและกัน
4. ตดั เยบ็ เคร่อื งแบบงา่ ยๆ ของพนักงานหญงิ และชาย

สรุปงานในหนา้ ท่ีของพนกั งานแผนกแม่บา้ น 4. ปรับปรุงนิสัยการทางานที่ดอี ยู่เสมอพนักงานต้องพยายามสร้างให้
มีทุกคน เช่นปฏิบัติตามคาส่ังและข้อเสนอแนะของหัวหน้างานทุกครั้ง
1. พนักงานชายและหญิง พนักงานชายจะแบ่งเบาช่วยรับผิดชอบงาน มีความรับผิดชอบสูง สร้างความพอใจรักงานที่ได้รับมอบหมาย รัก
หนัก เช่นทางานบนที่สูงที่มีอันตราย ยกของหนัก ส่วนพนักงานหญิง ความเป็นระเบียบ มีวินัย (ปฏิบัติงานตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ ทางาน
มักเปน็ งานเบาละเอียดอ่อน ให้ตรงเวลาและทันเวลา อดทน ตรวจสอบสภาพเครื่องมือเคร่ืองใช้
2. ให้ความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน คือไม่ดูดาย เก่ียงงอน รายงานข้อบกพร่องของชารุด เพื่อหัวหน้าหน่วยงานจะได้ปรับปรุง
หลีกเล่ียงงานหนักเลือกแต่งานเบาๆ โดยเฉพาะเวลามีงานซุกหรือ แก้ไขได้ทันที) ปฏิบัติงานตามขั้นตอนด้วยวิธีที่ถูกต้องท่ีสุดเพื่อ
รีบด่วน ประหยัดเวลาแรงงาน (เหน่ือยน้อยท่ีสุด) รวดเร็ว เรียบร้อย และมี
3. จรรยาบรรณของพนักงาน พนักงานทาความสะอาดต้องเป็นคน ประสทิ ธภิ าพ
สะอาดประณีตชอ่ื สัตย์ ใจรักความสะอาด ใจรักงานที่รับผิดชอบ ภูมใิ จ
ในงาน (ไม่ดูถูกหนา้ ที่ของตน) ตอ้ งการให้บริการแกท่ ุกคน เช่น เต็ม
ใจต้อนรับผู้ใช้บริการอย่างจริงใจ ยิ้มแย้ม ทักทาย ปราศรัยสุภาพ
อ่อนโยนอ่อนน้อมให้เกียรติ เอาใจใส่อย่างทั่วถึง ไม่ว่าจะเป็นเด็ก
คนชรา คนพิการ ฯลฯ หลีกเล่ียงความไม่พอใจของผู้มาบริการ จดจา
ลกั ษณะเด่นๆ หรอื สิง่ ท่ีประทับใจจากการบรกิ ารของเรา

ความสาคญั ของงานในความรับผดิ ชอบ จดุ มงุ่ หมายของงานดา้ นการทาความสะอาด

ความสาคัญของงานในความรับผิดชอบซ่ึงพนักงานทุกคนควร จุดมุ่งหมายของงานด้านการทาความสะอาดซึ่งแต่ละสถาบันควรมี
ตระหนักและระลึกอยเู่ สมอว่า จดุ มงุ่ หมายกาหนดไว้ให้ทราบเช่น
1. งานท่ีกาลังทาสาคัญที่สุด ควรผ่านการฝึกงานและมีประสบการณ์มา 1. มาตรฐานของความสะอาด แต่ละสถาบันควรมจี ุดมุ่งหมายกาหนดไว้
ดพี อสมควร ให้ทราบ เช่นความสะอาดของห้องประชุม ห้องสัมมนา ตู้ โต๊ะ
2. ควรมีคู่มือช่วยจาในการทางาน มีข้อเสนอแนะการทางานที่ถูกวิธี อาคาร สถานท่ีและห้องน้ากาหนดไว้อย่างไรจึงจะเข้าขั้นมาตรฐานของ
โดยเฉพาะสาหรบั คนท่เี ข้าทางานใหม่ๆ สถาบัน ตลอดจนกระท่ังการซ่อมแซมของชารุด การบารุงรักษา
3. ทรัพย์สินที่มีอยู่มีค่าประมาณไม่ได้ ต้องรู้จักรักถนอมส่ิงของและ เครื่องใช้ต่างๆ ท่ีชารุด หรือเครื่องใช้ที่ไมส่ ะอาดของมีตาหนิห้ามนามา
ห่วงใยเพ่ือความสะดวก สบาย ปลอดภัย เป็นกนั เอง เหมือนเป็นของ บรกิ าร เปน็ ตน้
ใช้ของตน 2. ความสะดวก สบาย และปลอดภัย ต้องบริการให้ผู้ใช้บริการมี
4. ทาความสะอาดให้สะอาดที่สุด เพ่ือรักษาสภาพทรัพย์สินให้คงเดิม ความพอใจมากท่ีสุดเช่น อุณหภูมิห้องพอเหมะ ของใช้ประจาตัวมี
ไว้นานทส่ี ดุ และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย คา่ ซอ่ มแซมภายหลัง ครบถ้วน มคี วามปลอดภยั ขณะใช้เครือ่ งอานวยความสะดวก เป็นต้นว่า
ก้านโยก มอื จบั หรือพน้ื ห้องนา้ มีหยดทาให้ล่ืนอาจเกิดอบุ ัติเหตุได้ถ้า
ละเลย โดยเฉพาะผ้ใู ช้บริการเปน็ คนพิการ คนชราหรือเดก็ ฯลฯ

3. ความสวยงาม เป็นระเบียบ การตกแต่งใช้วัสดุก่อสร้างและใช้ของ บทสรปุ
อย่างดีคณุ ภาพดี เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความพอใจภูมิใจว่าเป็นคนสาคัญ สรปุ งานในหนา้ ทข่ี องพนกั งานแผนกแมบ่ ้านพนักงานทุกคนควรมคี วามรู้
สบายใจเหมือนบา้ นตนเอง จะทาใหผ้ มู้ าใชบ้ ริการเอาใจใส่ดแู ลไม่ให้ ความเข้าใจในการทาความสะอาด สามารถปฏบิ ัติงานไปตามขั้นตอนได้
ของเสียหาย จะเกิดความละอายที่จะทาสกปรก ไม่เป็นระเบียบ อย่างถูกต้อง โดยการศึกษาหาความรู้ความสามารถและปรับปรุงให้
ไมส่ วยงามอีกตอ่ ไป ทันสมัยก้าวหน้าอยู่เสมอเพ่ือจะได้มีโอกาสก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าที่
4. ความประหยดั พนักงานตอ้ งระมดั ระวังการใช้เก็บรักษาเครื่องใช้ให้ ต่อไปได้ จึงควรทาความเข้าใจเก่ียวกับเรื่องต่อไปน้ี ความรับผิดชอบ
ถูกวิธีเพ่ือให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพและเหน่ือยน้อยที่สุด ส้ินเปลือง ของพนักงาน ประกอบด้วย พนักงานชายและหญิง พนักงานชายจะแบ่ง
น้อยที่สุด ช่วยการควบคุมการใช้จ่ายในการปฏิบัติ เช่น วัสดุ เบาช่วยรับผิดชอบงานหนัก ให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ซ่ึงกันและกันมี
สิน้ เปลอื งต่างๆ ขณะปฏบิ ัตงิ านตามข้อเสนอแนะทถ่ี กู ต้อง จรรยาบรรณของพนักงาน พนักงานทาความสะอาดต้องเป็นคนสะอาด
5. ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยการจัดฝึกอบรม ประณตี ซอื่ สัตย์ ใจรักความสะอาด ปรับปรุงนิสัยการทางานท่ีดีอยเู่ สมอ
ศึกษาดูงานบ่อย ๆ เพื่อจะได้นาวิธีการใหม่ๆ ท่ีทันสมัยมาดัดแปลง พนักงานต้องพยายามสรา้ งใหม้ ที กุ คน เป็นต้น
ปรบั ปรงุ การทางานประจาวันของพนักงานทาความสะอาดดงั กลา่ ว

THANK YOU


Click to View FlipBook Version