การใช้หมอนตัวซเี พ่ือพฒั นาทักษะการทรงตัวในท่าน่งั กับพ้ืน
สาหรับเดก็ บกพร่องทางสตปิ ัญญากลุ่มอาการศรีษะเลก็
ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดเชยี งราย
หยาดฝน พานแกว้
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย
สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2564
ก
กติ ตกิ รรมประกาศ
รายงานการวิจัยเลม่ นส้ี าเร็จลุลว่ งไปด้วยดี โดยไดร้ ับความกรณุ าจากบคุ คลหลาย
ฝ่ายทเ่ี กี่ยวข้อง ขอขอบพระคุณผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั เชยี งราย ที่
สนับสนนุ ให้มกี ารจดั ทาวิจยั ในชนั้ เรยี น ขอขอบคณุ นางสาวกญั วราห์ ท่าว่อง นักกายภาพบาบดั นางสาว
ทิพวรรณ ไกลถนิ่ นกั กจิ กรรมบาบดั นายอนสุ รณ์ อทิ ธิสิริศักด์ิ ครูการศึกษาพเิ ศษที่กรุณาเป็น
ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบหา คณุ ภาพของเครื่องมือด้านส่ือ ขอขอบคุณผู้เชยี่ วชาญตรวจสอบหาคณุ ภาพของ
เคร่อื งมือดา้ น เนื้อหา นางสาวจิรัฐฏิกาล กันทะวงค์ นกั กายภาพบาบัด นางพิชญาศนิ ี สยุ ะตา นัก
กิจกรรมบาบดั และนางสาวเพญ็ ผกา เปรี่ยววญิ ญา ครกู ารศึกษาพเิ ศษ ขอขอบคุณครบู ุคลากรของศูนย์
การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั เชียงราย และผปู้ กครองทีใ่ ห้คาแนะนา ใหก้ ารชว่ ยเหลือและเป็นกาลงั ใจ
งานวจิ ยั เล่มนี้แสดงการใช้ส่อื ตัวยซเี พือ่ พฒั นาทักษะการทรงตัวในท่านง่ั สาหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา
กลุ่มอาการศรีษะเล็ก(Microcephaly) ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดเชยี งราย เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมี
ความสามารถในการทรงตวั ในทา่ นั่งกับพน้ื ที่คงทน และลดการถดถอยของพฒั นาเก่ยี วกบั การทรงตวั ในทา่ น่ัง
อนั จะนาไปสกู่ ารพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ท่ีดียิ่งข้นึ และเหมาะสมกับบรบิ ทการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นา
ทกั ษะการทรงตัวในท่านั่งกบั พน้ื อนั จะส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของผู้เรียนให้ดียิง่ ข้นึ ต่อไป
คุณประโยชน์ทเี่ กดิ จากงานการวิจัยนี้ ผ้วู จิ ัยขอมอบเป็นวทิ ยาทานเพ่ือแสดงความกตัญญูกตเวทิตาแด่
คุณพ่อ คุณแม่ ครบู าอาจารย์ และผู้มพี ระคุณทุกทา่ นท่ีได้เลี้ยงดู อบรมส่ังสอน ตลอดจนให้การสนับสนุนและ
เปน็ กาลังใจแก่ผวู้ ิจัยด้วยดีเสมอมา
นางหยาดฝน พานแก้ว
31 มีนาคม 2565
ข
บทคัดย่อ
ชอื่ เรือ่ ง การใชส้ ื่อหมอนตวั ซีเพื่อพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่าน่ังกบั พ้ืน สาหรบั เด็กบกพร่องทาง
สตปิ ัญญากลุ่มอาการศรีษะเล็ก(Microcephaly) ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัด
เชียงราย
ผวู้ ิจยั นางหยาดฝน พานแก้ว
ปีการศึกษา 2564
ในการวจิ ยั เรื่องการวจิ ัยเรื่องการใช้ส่ือหมอนตัวซเี พ่ือพัฒนาทกั ษะการทรงตัวในท่าน่ัง สาหรับเด็ก
บกพร่องทางสตปิ ัญญากลมุ่ อาการศรีษะเล็ก(Microcephaly) ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย
มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้ส่ือหมอนตวั ซเี พื่อพฒั นาทักษะการทรงตวั ในทา่ น่ังกบั พนื้ สาหรบั เด็ก
บกพร่องทางสตปิ ัญญา กลุ่มอาการศรีษะเลก็ (Microcephaly) ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย
ใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการทรงตวั ในท่าน่งั กับพื้นที่คงทน และลดการถดถอยของพัฒนาเกี่ยวกับการทรง
ตวั ในทา่ นั่ง เพือ่ เปรียบเทียบผลการใชส้ ่ือหมอนตวั ซีท่มี ผี ลต่อการพัฒนาทักษะการทรงตวั ในทา่ นง่ั กบั พื้น
สาหรบั เดก็ บกพร่องทางสตปิ ัญญา กลุม่ อาการศรีษะเล็ก(Microcephaly) ก่อน-หลังการฝึก ประชากร
เปา้ หมาย เดก็ บกพร่องทางสติปญั ญา กล่มุ อาการศรีษะเล็ก(Microcephaly) มปี ัญหาพฒั นาการลา่ ชา้ ดา้ น
การนั่ง มีความผดิ ปกติในการกลืนและการรบั ประทานอาหารทาให้ตอ้ งเจาะคอ สาหรับใหอ้ าหารทางสาย
ยาง เปน็ นักเรยี นท่ีรับบรกิ ารแบบไปกลบั ที่หน่วยบรกิ ารเชยี งแสน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
sampling) เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย ประกอบดว้ ย เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการ รวบรวมข้อมลู ไดแ้ ก่ แบบ
ประเมินทักษะการทรงตวั นั่งกับพ้นื เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น ไดแ้ ก่ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล(IEP) แผนการสอนเฉพาะบคุ คล(IIP) สอื่ หมอนตวั ซี สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู คือ ใชก้ าร
บรรยาย ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลย่ี และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นการวัดเชิงปรมิ าณโดยผู้วิจยั ดาเนนิ การ
เก็บรวมรวมขอ้ มลู ณ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย ตัง้ แต่ เดอื นพฤศจิกายน 2564-มนี าคม
2565 สามารถสรุปผลการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะไดด้ ังนี้
การใชส้ ่อื หมอนตวั ซี มคี ะแนนหลังเรยี นจากการพฒั นาทักษะการทรงตวั ในท่านั่งกบั พืน้ สูงกว่าก่อน
ฝึก เดก็ บกพรอ่ งทางสติปัญญากลุม่ อาการศรษี ะเล็ก(Microcephaly) ทม่ี ีปัญหาพัฒนาการลา่ ช้า ด้านการ
น่ังหลังการใชส้ ่ือหมอนตวั ซีมีผล การพัฒนาท่ดี ขี ึน้ ทง้ั นอี้ าจเป็นเพราะส่ือหมอนตัวซี เป็นหมอนรูปรา่ งตวั
ซี ทาจากผา้ ข้างในบดุ ว้ ยใยสังเคราะห์อัดแน่น หมอนสามารถวางกับพืน้ มีน้าหนกั สามารถปรบั ความโคง้
ให้เหมาะกับลาตวั เดก็ ในท่าน่ัง ขนาดและความกวา้ งของหมอนช่วยรองรับการลงนา้ หนักที่มือหรอื แขนเด็ก
เวลาเท้าแขน โดยไมท่ าใหล้ ้ม เม่ือจดั ทา่ นงั่ กบั พื้นเด็กสามารถนงั่ ไม่ลม้ ทาให้เด็กเกดิ ความม่ันใจ ทจี่ ะนง่ั
ทาใหน้ ั่งไดน้ านขึน้ และเม่ือนั่งได้แลว้ สามารถชันคอข้ึนมองดูส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั ซ่งึ สอดคล้องกับสถาบันรา
ชานุกลุ ท่กี ล่าวว่า ควรมีการฟื้นฟูสมรรถภาพในบคุ คลท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ด้านการแพทย์และ
การศึกษา นอกจากน้ีส่ือหมอนตวั ซี สามารถนามาปรับประยุกตเ์ ปน็ อปุ กรณ์ในการจัดทา่ กึง่ นง่ั ในขณะให้
อาหารเหลวทางสายยาง ลดอาการสาลกั อาหารลง มขี ้อเสนอแนะการนาผลการวิจัยไปใช้ ก่อนการฝึก
การการทรงตวั ในท่าน่งั กบั พืน้ ควรเตรยี มความพรอ้ มนักเรยี น ดว้ ยการยดื เหยยี ดกลา้ มเน้ือคอ กลา้ มเน้ือ
แขน ขา ควรให้แรงเสริมทางบวก เมอื่ นักเรียนใชส้ ่อื หมอนตวั ซี ไดต้ ามเปา้ หมายทก่ี าหนด ดว้ ยวธิ ีการ
กระตุ้นเตือนทางกาย เน่ืองจากเด็กสามารถรับรู้ได้ดี ไม่ควรใชส้ ือ่ หมอนตวั ซีกบั เด็กเพยี งลาพัง ควรมี
ผู้ปกครองหรือผูด้ ูแลอยกู่ ับเด็กใน ขณะทีใ่ ช้ส่อื ควรสงั เกตความสามารถทรงตวั ในท่านง่ั กบั พื้นโดยใชห้ มอน
ตัวซีของเด็ก หากพบว่าเด็กเรม่ิ มีอาการโน้มตวั ลงต่าหรือก้มหนา้ ลง ควรยตุ กิ ารใชห้ มอนตัวซี ควรรกั ษา
ความสะอาดหลังการใช้ส่อื หมอนตัวซฝี กึ ทักษะการทรงตวั ในท่าน่ังกบั พืน้ ควรนาสอ่ื หมอนตัวซี ไปใชท้ า
กิจกรรมการฝึกทักษะการทรงตวั ในท่าน่งั โดยใช้ฝึกอย่างน้อย 8-12 ครง้ั
ค
Abstract
Title: Using a C pillow to develop balance skills in a sitting position. For children
with intellectual disabilities, Small Head Syndrome (Microcephaly), Special
Education Center Chiang Rai Province
Researcher Mrs. Yadfon Phankaew
Academic year 2021
In a research study on the use of C pillow media to improve balance skills in sitting
position. For children with intellectual disabilities, Small Head Syndrome (Microcephaly),
Special Education Center Chiang Rai Province have a purpose To study the effect of using C
pillow media to develop balance skills in sitting position for children with intellectual
disabilities. Microcephaly, special education center Chiang Rai Province Give students the
ability to balance in a sitting position with durable areas. and reduce the regression of
balance development in the sitting position. To compare the effect of using C pillow media
on the development of balance skills in sitting position for children with intellectual
disabilities. Microcephaly before and after training target population Intellectually impaired
children Microcephaly is characterized by developmental delays in sitting, swallowing and
eating disorders, requiring neck piercing. for feeding via tube Be a student who receives a
round trip service at the Chiang Saen Service Center By selecting a specific model (Purposive
sampling), the tools used in the research consisted of the tools used to collect data such as
the balance skill assessment form, sitting on the floor. Tools used to develop learners
include: Individualized Educational Management Plan (IEP), Individual Lesson Plan (IIP), C-
Media. The statistics used in the data analysis were descriptive, i.e. percentage, mean.
and the standard deviation This is a quantitative measurement by the researcher to collect
the data at the special education center. Chiang Rai Province from November 2021-March
2022 can summarize the research results, discuss the results and make recommendations as
follows.
Use of C pillow media Scored after class for improving balance skills in the floor
sitting position. higher than before Intellectually impaired children with microcephaly with
developmental delays The aspect of sitting after using the C pillow media has an effect.
better development This may be because of the C pillow media. It is a C-shaped pillow,
made of fabric, lined with synthetic fibers. The pillow can be placed on the floor, has
weight, can adjust the curvature to suit the body of the child in a sitting position. The size
and width of the pillow help support the weight of the child's hand or arm when resting.
without falling When sitting on the floor, the child can sit and not fall, giving the child
confidence to sit, making him sit for a longer time. and when you sit, you can lift your neck
and look at the surroundings This is in line with the Rajanukul Institute's statement that
there should be rehabilitation in people with intellectual disabilities. medical and education
In addition, the C pillow media can be applied as a device for arranging a semi-sitting
position while feeding liquid via a tube Reduce food choking There are suggestions for
applying the research results. Before practicing the balance in the sitting position should
prepare students by stretching the neck muscles Arm and leg muscles should provide
positive reinforcement. When students use C pillow media achieved the specified goals by
means of physical stimulation Because children are able to recognize Pillow C media
should not be used alone with children. There should be a parent or guardian with the child
in While using the media, the child's ability to balance in a sitting position should be
observed using the child's C pillow. If the child begins to have symptoms of lowering or
lowering his head. Should stop using the C pillow. Should be kept clean after using the C
pillow medium to practice balancing skills in sitting position on the floor. Should bring the C
pillow media to use for activities to practice balance skills in a sitting position By practicing
at least 8-12 times.
สารบัญ จ
กิตติกรรมประกาศ หนา้
บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ก
บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษ ข
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบญั ภาพ ซ
บทนา ฌ
ความเป็นมา 1
วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย 1
ขอบเขตการวจิ ยั 2
ประชากรเปา้ หมาย 2
ตวั ทแ่ี ปรทศี่ ึกษา 2
นยิ ามศัพท์เฉพาะ 2
ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการวจิ ัย 3
บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
เดก็ ท่มี ีความบกพร่องทางสติปัญญา 4
Microcephaly (ไมโครเซบฟาล)ี 11
ไมโครเซฟาลี’ เด็กหวั เล็กในไทย มีใครใส่ใจบ้างไหม 14
ความรทู้ างการแพทย์ สาลกั อาการเล็กแต่ใหญส่ าหรับเจ้าหนู 16
ลกู หวั เล็กหรอื ภาวะศรีษะเลก็ 17
ภาวะดดู กลืนลาบากในเดก็ สมองพิการ 20
ลูกนง่ั ไดต้ อนกเี่ ดือน? วธิ ีฝึกลกู ลุก-นั่งเองอย่างถูกวธิ ี 21
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย
รูปแบบการวิจัย 23
ประชากรเปา้ หมาย 23
เครอื่ งมอื การวจิ ยั 24
การสร้างและหาคณุ ภาพเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 26
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 27
วเิ คราะหแ์ ละสถติ ิทีใ่ ช้ 27
เกณฑ์การแปลความหมาย 27
บทที่ 4 ผลการวิจัย 28
ผลการวิเคราะห์
30
บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายและข้อเสนอแนะ 31
สรปุ ผลการวจิ ัย
อภิปรายผลการวจิ ยั
ฉ
สารบญั -ตอ่ -
ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวิจัยไปใช้ของศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชียงราย 31
เอกสารอ้างองิ 32
ภาคผนวก
ภาคผนวก ข รายนามผู้เชียวชาญตรวจสอบคุณภาพ 33
ภาคผนวก ค ประวตั ิยอ่ ของผู้วิจยั 34
ช
สารบัญตาราง หนา้
23
ตารางท่ี 1.1 รปู แบบกรณศี ึกษา (case study) 28
ตาราง 1 ผลการศกึ ษาการใชส้ ื่อหมอนตัวซีเพอื่ พฒั นาทกั ษะการทรงตวั ในทา่ น่งั กบั พ้ืน 29
ตาราง 2 ผลการเปรยี บเทยี บการใช้ส่อื หมอนตัวซีที่มผี ลต่อการพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านั่ง
กบั พนื้ ก่อน-หลังการฝกึ
บทท่ี 1 บทนา
ทมี่ าและความสาคญั ของปัญหา
พัฒนาการของมนุษย์ หมายถงึ กระบวนการเปล่ียนแปลงของมนุษย์ตั้งแต่แรกจนเสยี ชีวติ ซงึ่ เปน็ การ
เปลย่ี นแปลงท้ังทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา มกี ารพฒั นาตามชว่ งวยั เรมิ่ ตั้งแต่วัย
ทารก วัยเดก็ วัยรุ่น วยั ผ้ใู หญ่ และวยั ผู้สงู อายุ ตามลาดับ สาหรับวัยเดก็ พฒั นาการพื้นฐานทีส่ าคญั ในวยั นี้
คอื พฒั นาการทางรา่ งกาย การเคล่ือนไหวและการพูดในขณะท่ีพฒั นาการดา้ นอ่ืนเช่น สติปญั ญา อารมณ์และ
สงั คม จะเกดิ ข้นึ ชา้ ๆ ค่อยเป็นค่อยไปและเห็นได้ไม่ชดั เจนนัก(หอ้ งเรียนออนไลน์ครเู กียรติธนพัฒน์ หิมหงส์
เรือ่ ง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยใ์ นแต่ละวยั :https://sites.google.com/)
เดก็ ท่ัวไป ในวัย 6 เดือน : เร่ิมนงั่ วยั น้ลี ูกเร่ิมเรียนรูท้ ีจ่ ะนั่งไดเ้ องแลว้ แตท่ า่ น่ังจะยังดูเก้ๆ กังๆ
เพราะการน่งั เปน็ พฒั นาการใหม่ และลกู ยังไมร่ ้วู ธิ นี ง่ั ใหถ้ ูกตอ้ งและสบาย ลูกจะยงั น่ังได้ไมน่ าน สงั เกตจากเขา
ต้องย่นื มือไปข้างหนา้ เพื่อพยงุ ตัว มวี ธิ เี รียนรวู้ ิธชี ่วยให้ลูกนงั่ สบายๆ ดงั น้ี 1. ช่วยหาทีย่ ดึ เกาะให้ลูก วาง
หมอนล้อมรอบหรือหาเก้าอเี้ สริมสาหรับเด็กแบบมีท่กี น้ั เพื่อให้ลกู มีทีย่ ึดเกาะ ชว่ ยให้เขาได้พยุงตัวเวลาน่งั 2.
หาหมอนรองนง่ั นมุ่ สบาย เม่ือย่างเขา้ เดือนท่ี 6 คุณอาจหาหมอนนุ่มๆ ใบเลก็ ๆ รองตัง้ แตต่ ้นคอ หลงั จนถึง
โคนขาของเขาเพื่อใหล้ ูกน่งั พิงอย่างสบายๆ และชว่ ยประคองเขาใหน้ ัง่ อยา่ งถูกลกั ษณะอีกด้วย (ชว่ ยฝึกลกู น่ัง
คลาน ยืน เดิน อยา่ งถูกวธิ ี และไม่เร่งลูก :https://www.amarinbabyandkids.com/)
การทรงตัวในท่านั่งถือเป็นจุดเริ่มตน้ ของการชว่ ยเหลือตนเองในการประกอบกจิ วัตรประจาวันตา่ งๆ
เชน่ การรบั ประทานอาหารอาบน้าแต่งตวั ตลอดจนกจิ กรรมยามวา่ ง เดก็ ทม่ี ภี าวะความบกพร่องทาง
พฒั นาการและสติปัญญามกั ขาด การเรยี นรวู้ ธิ ที ่จี ะพาตัวเองเข้าหาส่ิงของที่ต้องการ ไม่ว่าจะด้วยการคบื การ
คลาน ยืน เดนิ หรือใชม้ อื ควา้ หยิบ จบั ของ ดังน้ันถ้าพ่อแม่/ผู้ปกครองใสใ่ จช่วยเหลอื เขาใหส้ ามารถนงั่ อยู่ใน
ท่าทางท่ีเหมาะสม จะเป็นการเปิดโอกาสใหเ้ ด็กเหลา่ น้ี ได้เรียนรสู้ ิ่งแวดล้อมตา่ งๆ ต่อไป (ดูแลปญั หา
พฒั นาการลกู รักอยา่ งไรดี ค่มู ือผ้ปู กครองเด็กบกพรอ่ งทางพัฒนาการและสตปิ ัญญา 2564 หนา้ 18)
จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในปีการศึกษา 2564 ทีผ่ า่ นมาพบวา่ เดก็ บกพร่องทาง
สตปิ ญั ญา กลมุ่ อาการศรี ษะเลก็ (Microcephaly) มีปญั หาพัฒนาการลา่ ช้า ด้านการน่งั ชันคอไม่ไดน้ าน มี
ความผดิ ปกตใิ นการกลนื และการรับประทานอาหาร สาลักนม ทาให้ต้องสอดทอ่ ทางจมูกสาหรับใหอ้ าหาร
ทางสายยาง เปน็ นักเรียนทร่ี บั บรกิ ารแบบไปกลับทีห่ นว่ ยบริการเชยี งแสน
ดังนน้ั จากการศกึ ษาเอกสาร บทความที่เกย่ี วกบั พัฒนาการมนุษย์ การพัฒนาการนง่ั และเด็ก
บกพร่องทางสตปิ ญั ญา กลมุ่ เด็กศรี ษะเล็ก (Microcephaly) ทาใหผ้ วู้ จิ ัยจดั ทาส่อื หมอนตัวซีขน้ึ มาเพ่อื พฒั นา
ทกั ษะการทรงตัวในทา่ นั่งกบั พืน้ สาหรบั เด็กบกพร่องทางสตปิ ญั ญา กลุ่มอาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly)
ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย
วตั ถปุ ระสงค์งานวิจัย
3.1.เพื่อศึกษาผลการใช้สอ่ื หมอนตัวซีเพ่ือพฒั นาทักษะการทรงตัวในท่าน่งั กับพื้นสาหรับเดก็ บกพร่อง
ทางสตปิ ญั ญา กลุม่ อาการศีรษะเล็ก(Microcephaly) ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั เชียงราย ให้
นกั เรยี นมีความสามารถในการทรงตัวในทา่ นง่ั กบั พนื้ ท่ีคงทน และลดการถดถอยของพัฒนาเก่ยี วกบั การทรง
ตัวในทา่ นั่ง
3.2.เพ่อื เปรียบเทียบผลการใชส้ อ่ื หมอนตวั ซีที่มีผลตอ่ การพัฒนาทักษะการทรงตวั ในทา่ นั่งกับพ้ืน
สาหรับเดก็ บกพรอ่ งทางสติปัญญา กลมุ่ อาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจา
จงั หวัดเชยี งราย ก่อน-หลังการฝึก
ขอบเขตการวจิ ยั
1.ประชากรเปา้ หมาย เด็กบกพร่องทางสติปัญญา กลมุ่ อาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) อายุ 4 ปี
เป็นนกั เรยี นทีร่ บั บริการแบบไปกลับที่หนว่ ยบรกิ ารเชียงแสน ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดเชยี งราย
โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)
2.ตัวแปร
ตัวแปรอสิ ระ (นวตั กรรมท่ีใชใ้ นการพัฒนาผ้เู รยี น) ได้แก่ สื่อหมอนตัวซี
ตวั แปรตาม (ผลการพฒั นาผเู้ รียนท่ีเกดิ ขึน้ ) ได้แก่ การพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านงั่ กับ
พ้ืนสาหรับเดก็ บกพร่องทางสตปิ ัญญา กลมุ่ อาการศรี ษะเล็ก (Microcephaly)
4.3.เน้ือหาทีใ่ ช้
การวจิ ัยน้ีเป็นการพัฒนาทักษะการทรงตวั ในทา่ น่ังกบั พืน้ สาหรบั เดก็ บกพร่องทางสติปญั ญา กลุ่ม
อาการศีรษะเลก็ (Microcephaly)
นิยามศัพท์เฉพาะ
สอ่ื หมอนตัวซี หมายถึง หมอนรปู ร่างตวั ซี ทาจากผา้ ข้างในบดุ ว้ ยใยสังเคราะหอ์ ัดแน่น หมอน
สามารถวางกบั พน้ื มนี า้ หนัก สามารถปรบั ความโค้งใหเ้ หมาะกับลาตวั เด็กในทา่ น่ัง ขนาดและความกว้าง
ของหมอนชว่ ยรองรบั การลงน้าหนักทมี่ ือหรือแขนเด็กเวลาเท้าแขน โดยไม่ทาใหล้ ม้
ทกั ษะการทรงตวั น่ังกบั พนื้ หมายถงึ การจัดท่าให้เด็กน่ังอยบู่ นพื้นแบบที่กน้ แนบพนื้ อยูร่ ะหว่างขา
ท้ัง 2 ขา้ ง โดยเข่างอพับและขาแบะออกทางด้านขา้ ง โดยใช้หมอนตัวซีพยุงลาตวั ไวไ้ ม่ให้ล้ม
เดก็ บกพร่องทางสติปญั ญา หมายถงึ เดก็ บกพร่องทางสติปัญญา กลุม่ อาการศีรษะเลก็
(Microcephaly) อายุ 4 ปี มีปัญหาพฒั นาการล่าชา้ ดา้ นการน่งั มีความผิดปกติในการกลนื และการ
รบั ประทานอาหารทาใหต้ อ้ งเจาะคอ สาหรบั ใหอ้ าหารทางสายยาง เป็นนักเรียนท่รี บั บริการแบบไปกลบั ท่ี
หนว่ ยบรกิ ารเชยี งแสน ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย
กรอบแนวคิดการวจิ ัย การพัฒนาทกั ษะการทรงตวั ในทา่ น่ังกับพนื้ สำหรบั เดก็
สอื่ หมอนตัวซี บกพร่องทางสตปิ ัญญา กลุ่มอาการศรี ษะเล็ก
(Microcephaly)
ได้นวัตกรรมสื่อพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่าน่ังกับ
พื้นสำหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มอาการศีรษะเล็ก
(Microcephaly)
ประโยชนท์ จี่ ะได้รับ
1.ได้นวัตกรรมท่ีพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านง่ั กบั พน้ื สาหรับเด็กบกพร่องทางสตปิ ญั ญา กลมุ่ อาการ
ศรี ษะเล็ก(Microcephaly)
2.ไดท้ ราบผลของการใชส้ อื่ หมอนตวั ซี พฒั นาทกั ษะการทรงตวั ในท่าน่ังกับพนื้ สาหรับเด็กบกพรอ่ ง
ทางสตปิ ญั ญา กลุ่มอาการศรี ษะเลก็ (Microcephaly)
3.ทาให้นกั เรยี นสามารถทรงตัวในทา่ นั่งกับพื้นได้ มีผลทาให้ชันคอได้นานขน้ึ
4.หมอนตัวซี สามารถนามาปรับประยกุ ต์เปน็ อุปกรณ์ในการจดั ท่ากึ่งน่ัง ในขณะให้อาหารเหลวทาง
สายยาง ลดอาการสาลักอาหารลง
บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง
จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาส่อื หมอนตวั ซีเพ่ือพฒั นาทกั ษะการทรงตวั ในทา่
นง่ั กับพืน้ สาหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มอาการศรี ษะเลก็ (Microcephaly) ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ
ประจาจงั หวัดเชยี งราย สามารถแบ่งเปน็ หัวข้อหลักดังน้ี
1.เด็กทม่ี ีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
2.ไมโครเซบฟาลี (MICROCEPHALY)
3.ไมโครเซฟาลี’ เด็กหัวเล็กในไทย มีใครใสใ่ จบ้างไหม
4.ความร้ทู างการแพทย์ สาลกั อาการเลก็ ๆ แต่ใหญ่สาหรับเจ้าหนู
5.ลูกหวั เลก็ หรือภาวะศรี ษะเล็ก
6.หมอนสาหรบั คนท้อง หมอนสาหรบั ให้นมลกู
7.พัฒนาการของมนุษย์
ภาวะบกพรอ่ งทางสติปญั ญา / ภาวะปัญญาอ่อน
(Intellectual Disabilities / Mental Retardation)
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา เปน็ ภาวะทมี่ ีพฒั นาการบกพร่องซึง่ ทาให้มีข้อจากัดดา้ นสตปิ ญั ญา การ
เรยี นรแู้ ละการปรบั ตัวในการดารงชีวติ ประจาวนั ในปจั จบุ ันเร่มิ มกี ารใช้คาวา่ บกพร่องทางสตปิ ัญญา แทน
ภาวะปญั ญาอ่อน มากขน้ึ ในองค์กรระดับนานาชาติ เชน่ IASSID (International Association for the
Scientific Study of Intellectual Disabilities) WHO (World Health Organization) WPA (World
Psychiatry Association) รวมทั้ง AAMR (The American Association on Mental Retardation) หรอื
สมาคมบคุ คลปญั ญาอ่อนแห่งสหรัฐอเมริกา ซง่ึ ประกอบด้วยสหวชิ าชีพจากทว่ั โลกและก่อตง้ั มาเป็นเวลานาน
130 ปี กไ็ ด้เปลยี่ นชอ่ื เป็น The American Association of Intellectual and Developmental
Disabilities (AAIDD) เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 เพ่ือเสนอแนวทางทจี่ ะทาใหส้ ังคมยอมรบั ผูบ้ กพร่องทาง
สติปญั ญามากขึน้
คาจากัดความของภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญาหรือภาวะปัญญาออ่ น
บคุ คลบกพร่องทางสติปญั ญามักมพี ฒั นาการด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ ภาษาและสติปญั ญาล่าชา้ กว่
บุคคลท่วั ไป
ตามเกณฑ์ของ Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, Fourth Edition,
Text Revision (DSM- IV-TR) โดย American Psychiatric Association (APA) ในปี พ.ศ. 2543 ภาวะ
บกพร่องทางสติปญั ญาหรือภาวะปัญญาอ่อน หมายถึง ภาวะทีม่ ี
1.ระดับเชาวน์ปัญญาต่ากวา่ เกณฑเ์ ฉลีย่
2.พฤติกรรมการปรบั ตนบกพร่องตง้ั แต่ 2 ดา้ นขน้ึ ไป จากทง้ั หมด 10 ดา้ น
3.อาการแสดงก่อนอายุ 18 ปี
เชาวน์ปัญญา
เกณฑภ์ าวะบกพรอ่ งทางสติปัญญาด้านเชาวนป์ ัญญา คอื การมีระดบั เชาวน์ปญั ญาต่ากว่า 70
พฤติกรรมการปรบั ตน
หมายถงึ การปฏิบัตติ นในชีวิตประจาวนั ทัว่ ๆ ไป ซึ่งเปน็ ความสามารถของบคุ คลนัน้ ท่จี ะสามารถ
ดารงชีวติ ได้ด้วยตนเองในสังคม ประกอบดว้ ย
1. การสื่อความหมาย (Communication)
2. การดแู ลตนเอง (Self-care)
3. การดารงชีวิตภายในบา้ น (Home living)
4. การปฏสิ ัมพันธ์กบั ผอู้ ่ืนในสังคม (Social and Interpersonal Skills)
5. การใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน (Use of Community Resources)
6. การควบคุมตนเอง (Self- direction)
7. การนาความร้มู าใชใ้ นชวี ิตประจาวนั (Functional Academic Skills)
8. การใช้เวลาว่าง (Leisure)
9. การทางาน (Work)
10. การมีสุขอนามยั และความปลอดภยั เบอ้ื งตน้ (Health and Safety)
การประเมนิ พฤตกิ รรมการปรับตนตามเกณฑ์การวนิ จิ ฉยั ในปี พ.ศ.2535 ซงึ่ จะต้องบกพรอ่ งอยา่ งนอ้ ย
2 ดา้ นจาก 10 ดา้ น ในทางปฏบิ ตั ิไมม่ เี ครอ่ื งมอื ใดเคร่ืองมือหนง่ึ ท่จี ะประเมนิ ได้ครบทั้ง 10 ด้าน ในครัง้ ท่ี 10
เม่ือปี พ.ศ.2545 AAMR จงึ ได้ปรบั เกณฑ์การวินจิ ฉยั เรื่องพฤติกรรมการปรบั ตนเป็นการปฏิบัติตนท่ตี ่ากว่า
ค่าเฉลีย่ ในข้อ ก หรอื ขอ้ ข ดงั นี้
ก. ทกั ษะดา้ นใดดา้ นหน่ึงใน 3 ด้านของพฤตกิ รรมการปรบั ตน ได้แก่ ทักษะด้านความคิดรวบยอด
(conceptual skills) ทกั ษะด้านสังคม (social skills) หรอื ทกั ษะดา้ นการปฏิบัติตน (practical skills) หรือ
ข. ทักษะทง้ั 3 ดา้ น ตามข้อ ก โดยดจู ากคะแนนรวมท้งั หมด
ทง้ั นี้การประเมนิ พฤติกรรมการปรับตนน้ี AAMR หรือ AAIDD ได้พฒั นาเครื่องมือการประเมนิ คอื
Diagnostic Adaptive Behavior Scale เพอื่ ให้การประเมินมีมาตรฐานมากขึน้
แบบประเมนิ
เครอื่ งมอื ประเมินพฒั นาการและระดับเชาวน์ปัญญา
- Bayley Scales of Infant Development
- Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence III
- Stanford-Binet Intelligence Scale (5th Ed)
- Kaufman Assessment Battery for Children II
- Wechsler Intelligence Scale for Children (WICS-IV)
เคร่ืองมือประเมินพฤติกรรมการปรบั ตน
- Vineland Adaptive Behavior Scale II (VBAS II)
- AAMR Adaptive Behavior Scales-School (ABS-s II)
- Diagnostic Adaptive Behavior Scale
แบบทดสอบเชาวน์ปญั ญาท่ีนิยมใชเ้ ป็นมาตรฐานในประเทศไทย ได้แก่ Stanford-Binet
Intelligence Scale และ Wechsler Intelligence Scale for Children สว่ นเครอ่ื งมือวัดพฤตกิ รรมการ
ปรบั ตนที่ใช้ ได้แก่ Vineland Adaptive Behavior Scales
อายุทแี่ สดงภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญา
ตาม DSM-IV-TR อาการท่ีแสดงภาวะบกพรอ่ งทางสติปญั ญาตอ้ งแสดงก่อนอายุ 18 ปี แตอ่ ยา่ งไรก็
ตามเด็กท่อี ายุต่ากวา่ 2 ปี ทม่ี ีอาการแสดงภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ยังไมค่ วรได้รบั การวินจิ ฉัยว่ามคี วาม
บกพร่องทางสตปิ ญั ญา ยกเว้นพบความบกพร่องอย่างรุนแรงและ/หรอื พบภาวะท่ีมคี วามสัมพนั ธ์สูงกบั ภาวะ
บกพร่องทางสติปญั ญา เชน่ กลมุ่ อาการดาวน์ ดังนั้น เด็กอายตุ า่ กว่า 2 ปี ท่ีไม่มขี ้อยกเว้นดังกลา่ วขา้ งต้น ควร
ไดร้ บั การวินจิ ฉัยวา่ มภี าวะบกพร่องทางพัฒนาการและควรตดิ ตามการวินจิ ฉยั ต่อไปเมื่อเดก็ อายุมากขน้ึ
ความชุก
โดยทั่วไปพบบุคคลที่มภี าวะบกพรอ่ งทางสติปัญญารอ้ ยละ 1-3 ของประชากร ในประเทศไทยพบ
ความชุกของภาวะบกพร่องทางสติปัญญาประมาณร้อยละ 0.4-4.7 ซ่ึงมคี วามแตกต่างกันในแตล่ ะรายงาน
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การวนิ จิ ฉัย การออกแบบการวจิ ัย และวิธกี ารศึกษา ตัวอย่างเช่น เมื่อการวินจิ ฉยั ใช้เกณฑ์
ระดบั เชาวนป์ ัญญา(IQ) อย่างเดียว ความชกุ จะพบประมาณรอ้ ยละ 3 แตเ่ ม่ือวินจิ ฉัยโดยใช้เกณฑ์ท้ัง 3 ข้อ
ตามท่ีกล่าวข้างตน้ ความชุกจะพบประมาณร้อยละ 1 (The American Academy of child & Adolescent
Psychiatry : AACAP, 2542) และพบภาวะความบกพร่องทางสตปิ ญั ญาในเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดย
อัตราชาย : หญิง ประมาณ 1.5 : 1 (APA, 2543)
สาเหตขุ องภาวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
สาเหตขุ องภาวะบกพร่องทางสติปัญญาเกิดจากปัจจยั ต่างๆ ในดา้ นชีวภาพ สงั คมจิตวทิ ยา หรอื
หลายๆ ปจั จัยร่วมกนั ประมาณรอ้ ยละ 30-50 ของภาวะบกพร่องทางสติปัญญาเท่าน้นั ที่ทราบสาเหตุ ส่วน
ใหญเ่ ปน็ กลุ่มที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับรนุ แรง (IQ<50) ซ่ึงพบสาเหตไุ ดร้ ้อยละ 80 ส่วนกล่มุ ท่ีมี
ภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดบั เล็กน้อยพบสาเหตุได้ประมาณรอ้ ยละ 50 นอกจากนยี้ ังพบว่าประมาณร้อย
ละ 50 ของภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา มสี าเหตุมากกวา่ หน่ึงอย่าง
การแบ่งประเภทของภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญา
1.แบ่งตามระดบั ความรนุ แรง เปน็ การแบง่ โดยใชค้ ่าคะแนนระดบั เชาวน์ปัญญาหรือ IQ ทงั้ APA และ
AAMR แบ่งภาวะบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาเป็น 4 ระดับ ได้แก่ เล็กนอ้ ย (mild) ปานกลาง (moderate) รุนแรง
(severe) และรุนแรงมาก (profound) ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 AAMR ไดเ้ ปลี่ยนการแบ่งเหลอื เพียง 2 ระดบั
คือ เลก็ น้อย (ระดับเชาวน์ปัญญาเท่ากบั 50-70) และ มาก (ระดับเชาวน์ปัญญาน้อยกว่า 50) โดยเนน้ ท่รี ะดับ
ความชว่ ยเหลอื ทีบ่ คุ คลท่มี ภี าวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาต้องการ การแบง่ ระดบั ความรุนแรงแบบนเ้ี พื่อชว่ ยแยก
กลุ่มทร่ี ะดับเชาวนป์ ญั ญาสูงกว่า 50 ซ่งึ ถอื วา่ เป็นกลุ่มที่เรียนได้ (educable) ให้ได้รับประโยชนจ์ ากโปรแกรม
การศกึ ษา ส่วนกล่มุ ท่รี ะดบั เชาวนป์ ัญญาต่ากวา่ 50 จะเนน้ ท่ีการฝกึ ทักษะทีจ่ าเป็นต้องใช้ในการดารงชวี ติ
(trainable)
2.แบ่งตามระดบั ความชว่ ยเหลือทีต่ อ้ งการ เป็นการแบ่งเพื่อออกแบบและจัดหาบริการสนบั สนนุ
สาหรบั ผ้บู กพรอ่ งทางสตปิ ญั ญาแตล่ ะบุคคลท่ีมีข้อจากัดให้เข้าถึงระบบการศกึ ษาท่ัวไป และดารงชีวิตอยูใ่ น
สงั คมได้ใกลเ้ คยี งกบั คนปกติมากท่ีสุด แบ่งเป็น 4 ระดบั และประเมินอย่างนอ้ ย 9 ด้าน ไดแ้ ก่ พฒั นาการ การ
เรียนการสอน การใช้ชีวติ ในบ้าน การใชช้ ีวติ ในชมุ ชน การจา้ งงาน สขุ ภาพและความปลอดภยั พฤตกิ รรม
ทกั ษะทางสงั คม และการแก้ต่างและการป้องกนั อย่างไรก็ตามการแบ่งแบบนี้ก็ยังมีความสมั พนั ธก์ ับการแบ่ง
ตามระดับความรนุ แรง ดังตารางที่ 2
ลกั ษณะทางคลนิ กิ
พฒั นาการล่าช้า เป็นอาการท่ีสาคัญของภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญา ภาวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญายิ่ง
รนุ แรงมากเท่าใดความลา่ ชา้ ของพฒั นาการก็ยงิ่ ปรากฏใหเ้ ห็นเรว็ ขึ้นเทา่ นัน้ ลกั ษณะทางคลินกิ ของภาวะ
บกพร่องทางสตปิ ญั ญาแบ่งตามระดบั ไดด้ ังนี้
1. ภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดบั รุนแรงมาก
พฒั นาการลา่ ชา้ ชัดเจนต้ังแตเ่ ล็กๆทัง้ ในด้านประสาทสัมผัสและการเคล่อื นไหว อาจจะฝกึ การ
ชว่ ยเหลือตนเองได้บา้ ง แต่ต้องอาศัยการฝกึ อยา่ งมาก สว่ นใหญ่พบวา่ มีพยาธสิ ภาพ ตอ้ งการการดูแล
ตลอดเวลา ตลอดชีวติ แม้จะเปน็ ผใู้ หญแ่ ลว้ กต็ าม
2. ภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดับรนุ แรง
พบความผดิ ปกตขิ องพฒั นาการตั้งแต่ขวบปแี รก มักมีพฒั นาการลา่ ชา้ ทุกด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการ
ดา้ นภาษา สอื่ ความหมายได้เพียงเล็กน้อยหรอื พดู ไม่ไดเ้ ลย บางรายเร่มิ พูดไดเ้ ม่ือเข้าส่วู ยั เรยี น มีปญั หาในการ
เคลือ่ นไหว ในบางรายพบพยาธิสภาพมากกว่า 1 อย่าง มีทักษะการป้องกนั ตนเองน้อย มีความจากดั ในการ
ดูแลตนเอง ทางานงา่ ยๆได้ ส่วนใหญต่ ้องการการดูแลอยา่ งใกลช้ ิดหรอื ต้องช่วยในทกุ ๆด้านอยา่ งมาก ตลอด
ชีวติ
3. ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับปานกลาง
มักได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่วยั ก่อนเรียน เมื่ออายุประมาณ 2-3 ปี โดยพบว่าอาจมีความแตกตา่ งของ
ระดับความสามารถในด้านตา่ งๆ เช่น กลุ่มอาการดาวนล์ ่าชา้ ในดา้ นการใช้ภาษา กลุ่มอาการวิลเลี่ยม
(Williams syndrome) บกพร่องในทักษะการเรียนรู้ทเ่ี กี่ยวข้องกับมิติสมั พันธ์ (visuo-spatial processing
skills) และบางรายมคี วามสามารถทางภาษาเด่น ในบางรายพบพยาธสิ ภาพชัดเจน สามารถเรียนได้ถงึ ชนั้
ประถมศกึ ษาปีที่ 2-3 ในวัยเรียนมกั ต้องการการจัดการศึกษาพิเศษ สามารถเรยี นรู้การเดนิ ทางตามลาพงั ได้ใน
สถานทีท่ ค่ี ุน้ เคย ใช้ชวี ิตในชมุ ชนได้ดที งั้ การดารงชีวิตและการงาน แต่ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ปานกลาง ตลอด
ชวี ติ ประมาณร้อยละ 20 ดารงชวี ิตอยูไ่ ดด้ ้วยตนเอง
4. ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดบั เล็กน้อย
มักได้รับการวินิจฉยั เม่อื เด็กเข้าสวู่ ยั เรยี นแลว้ เนอื่ งจากในวัยก่อนเรยี นพัฒนาทักษะทางสังคมและการ
สอ่ื ความหมายได้เพียงพอ สว่ นใหญเ่ รียนไดถ้ ึงช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 หรือสูงกว่า เม่ือเป็นผู้ใหญส่ ามารถ
ทางาน แต่งงาน ดแู ลครอบครวั ได้ แต่อาจต้องการความชว่ ยเหลอื บ้างเป็นคร้ังคราวเม่ือมีปญั หาชีวติ หรอื หนา้ ท่ี
การงาน มกั ไม่พบสาเหตทุ างพยาธิสภาพ ส่วนใหญจ่ ะสมั พันธ์กบั ปจั จัยทางสงั คมและเศรษฐสถานะยากจนหรือ
ด้อยโอกาส ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความสาคญั ของปจั จยั ด้านสิง่ แวดล้อมและวฒั นธรรมที่มผี ลตอ่ ภาวะบกพร่องทาง
สตปิ ญั ญา
ความผดิ ปกติทพ่ี บร่วมกับภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
พบความผดิ ปกติทางจิตเวชในบุคคลทมี่ ีภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญาได้ถงึ รอ้ ยละ 45 ซึ่งสูงกว่า
ประชากรทว่ั ไป ความผดิ ปกติเหลา่ นจ้ี ะพบบ่อยข้ึนเม่ือความรุนแรงของภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญามากขึ้น
ส่วนใหญ่เป็นปญั หาพฤตกิ รรม ความผิดปกติท่พี บ ไดแ้ ก่ ซน สมาธสิ ้ัน พบร้อยละ 8-15 พฤติกรรมทาร้าย
ตนเอง ร้อยละ 3-15 นอกจากนี้ยังพบพฤติกรรมกา้ วรา้ ว กระตนุ้ ตนเอง เช่น ตบมอื เขย่งเท้า ดอื้ เกเร พบโรค
อารมณ์สับสนแปรปรวนร้อยละ 1-3.5 และโรคจิต (schizophrenia) รอ้ ยละ 3 การรักษาโดยการปรบั
พฤติกรรมและการใชย้ า ส่วนการทาจติ บาบัดมกั ไม่ค่อยได้ผล
ในเด็กทม่ี ีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาจะพบอาการชักได้บ่อยกว่าเดก็ ทว่ั ไปประมาณ 10
เท่า โดยเฉพาะในเด็กท่ีมภี าวะบกพร่องทางสติปัญญาในระดบั รุนแรงถึงรนุ แรงมาก พบไดถ้ งึ ร้อยละ
30 อาการชักมักควบคมุ ไดย้ าก เนื่องจากมีความผิดปกตจิ ากกลุม่ อาการตา่ งๆ มีพยาธิสภาพของระบบ
ประสาทสว่ นกลาง และในผ้ปู ่วยแตล่ ะรายอาจพบอาการชกั ได้หลายรูปแบบ
ภาวะประสาทสมั ผสั บกพร่อง ได้แก่ การได้ยนิ บกพร่องหรือมปี ญั หาในการมองเหน็ น้ันพบไดบ้ ่อยใน
เด็กทมี่ ีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา โดยเฉพาะในกลุ่มอาการทีม่ ีความผดิ ปกติของใบหน้าและศรี ษะ ประมาณ
รอ้ ยละ 50 ของเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาในระดับรนุ แรงจะมปี ัญหาในการมองเหน็ ท่ีพบบ่อยได้แก่
ตาเขและสายตาผดิ ปกติ
ภาวะบกพร่องทางสติปญั ญาระดบั เล็กนอ้ ยและรุนแรงพบความบกพร่องในด้านการเคลอื่ นไหวซงึ่ เข้า
ได้กับสมองพกิ าร (cerebral palsy :CP) ประมาณร้อยละ 10 และ 20 ตามลาดับ และประมาณร้อยละ 50
ของเด็กสมองพิการ จะพบวา่ มีภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาในระดบั ความรนุ แรงต่างๆร่วมด้วย ประมาณร้อย
ละ 50-75 ของเด็กออทิสติกมีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญาร่วมด้วย ในขณะทภ่ี าวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาก็
พบพฤตกิ รรมแบบออทิสติก ได้แก่ พฤตกิ รรมซ้าๆหรือทาร้ายตนเอง ไดร้ ้อยละ 8-20 โดยมักพบในภาวะ
บกพร่องทางสติปญั ญาระดับรุนแรง กล่มุ อาการที่มภี าวะบกพร่องทางสติปญั ญาบางกลุ่มมอี บุ ตั ิการณ์ของกลมุ่
อาการออทิซึมมากกวา่ ประชากรทว่ั ไป เช่น กลุ่มอาการโครโมโซมเอกซเ์ ปราะ กลุ่มอาการดาวน์ และ
Tuberous sclerosis มกี ลุ่มอาการออทิซึมร่วมด้วยซ่ึงสูงกว่าในประชากรทว่ั ไปทพี่ บกลุ่มอาการออทิซึมร้อย
ละ 0.3-0.6
การชว่ ยเหลือบุคคลท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
แม้วา่ เมื่อเกิดภาวะบกพร่องทางสติปญั ญาแลว้ จะไม่อาจรักษาสมองสว่ นท่เี สียไปใหก้ ลับคนื มา
ทางานได้ตามปกตกิ ็ตาม แต่ก็สามารถจะคงสภาพ หรือฟนื้ ฟสู ภาพทางสมองส่วนท่ีคงเหลอื อยใู่ ห้ทางานได้
เต็มท่ี ดังนั้น การรักษาภาวะบกพร่องทางสติปัญญา จงึ เน้นการฟ้นื ฟูสมรรถภาพของสมองและร่างกาย
มากกว่าการรกั ษาด้วยยาเพยี งอยา่ งเดียว การวนิ ิจฉยั ใหไ้ ดเ้ รว็ ท่สี ดุ และการฟ้ืนฟสู มรรถภาพทันทีที่วนิ จิ ฉยั ได้
จะชว่ ยหยดุ ย้งั ความพิการมิให้เพิม่ ขนึ้ เป้าหมายของการรกั ษาภาวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญาจึงมิใชม่ ่งุ รักษาให้
หายจากโรค แต่เพ่ือให้สามารถดาเนินชวี ติ ในสังคมไดใ้ กลเ้ คยี งกบั คนปกติมากทสี่ ดุ ให้ช่วยตัวเองได้ ไม่เป็น
ภาระแกค่ รอบครัวและสงั คมมากเกนิ ไป และสามารถประกอบอาชพี ได้
การฟน้ื ฟสู มรรถภาพในบคุ คลทม่ี ภี าวะบกพร่องทางสติปัญญา มีดังน้ี
1. การฟ้นื ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ (Medical Rehabilitation)
การฟน้ื ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ในช่วงแรกเกิด 6 ปี ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ ป้องกัน บาบดั รกั ษาและ
ฟน้ื ฟูสมรรถภาพ นอกจากการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเช่นเดก็ ปกติ การบาบดั รกั ษาความผิดปกติทีอ่ าจพบรว่ มด้วย
เช่น โรคลมชัก Cretinism, PKU, cerebral palsy, โรคหวั ใจพกิ ารแต่กาเนิดหรอื ภาวะพรอ่ งไทรอยด์ฮอรโ์ มน
ทพ่ี บในกลุม่ อาการดาวน์ ให้การสง่ เสริมพฒั นาการเพ่ือพฒั นาทักษะดา้ นกลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ กล้ามเนอ้ื มัดเลก็
และสตปิ ัญญา ภาษา สงั คมและการช่วยเหลือตนเองเพ่ือให้เด็กมีความพร้อมในการเข้าสูร่ ะบบการศึกษา การ
ดแู ลโดยทมี สหวิชาชพี เชน่ อรรถบาบัด กายภาพบาบดั กิจกรรมบาบดั เปน็ ตน้
การสง่ เสริมพัฒนาการ(Early Intervention)
การสง่ เสรมิ พฒั นาการ หมายถึง การจัดโปรแกรมการฝกึ ทกั ษะที่จาเปน็ ในการเรียนรู้ เพอื่ นาไปสู่
พัฒนาการปกติตามวยั ของเด็ก จากการวจิ ัยพบวา่ เด็กท่ีได้รบั การฝกึ ทักษะทีจ่ าเป็นในการพฒั นาแตเ่ ยาว์วยั
จะสามารถเรยี นรู้ไดด้ ีกวา่ การฝึกเมือ่ เด็กโตแล้ว ทันทีทีว่ นิ จิ ฉัยว่าเดก็ มีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา เช่น เดก็
กลุม่ อาการดาวน์ หรือเด็กทม่ี ีอตั ราเสีย่ งสูงว่าจะมภี าวะบกพรอ่ งทางสติปัญญา เช่น เด็กคลอดก่อนกาหนด
มารดาตกเลือดคณะต้ังครรภ์ เป็นตน้ สามารถจดั โปรแกรมส่งเสริมพฒั นาการใหเ้ ด็กกลุม่ นไ้ี ดท้ นั ที โดยไมต่ ้อง
นาเดก็ มาไว้ท่โี รงพยาบาล โปรแกรมการสง่ เสรมิ พฒั นาการ คอื การจดั สภาพแวดลอ้ มให้เอือ้ อานวยต่อการ
เรยี นรู้ของเด็ก บิดามารดา และคนเล้ยี งดู มบี ทบาทสาคัญยง่ิ ในการฝกึ เดก็ ให้พัฒนาได้ตามโปรแกรมอย่าง
สมา่ เสมอ ผลสาเรจ็ ของการส่งเสริมพัฒนาการจงึ ข้นึ อยกู่ บั ความรว่ มมอื และความต้ังใจจริงของบุคคลใน
ครอบครัวของเด็กมากกวา่ ผู้ฝึกทเ่ี ป็นนกั วิชาชพี (Professional staff)
กายภาพบาบดั
เดก็ ท่มี ีภาวะบกพร่องทางสติปัญญามกั จะมีพฒั นาการด้านการเคลื่อนไหวรา่ งกาย (motor
development) ช้ากว่าวัย นอกจากน้ีเดก็ ท่ีมภี าวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญาขนาดหนักและหนักมาก ส่วนใหญก่ ็
จะมคี วามพิการทางระบบประสาทสว่ นกลาง (central nervous system) ด้วย ทาใหม้ ีการเกร็งของแขน ขา
ลาตวั จงึ จาเป็นตอ้ งแกไ้ ขอาการเคลอ่ื นไหวท่ีผดิ ปกติ เพอื่ ช่วยลดการยดึ ตดิ ของข้อต่อ และการสญู เสยี
กลา้ มเนอื้ เด็กจะช่วยตวั เองได้มากขึ้น เมื่อเจริญวัยข้นึ
กจิ กรรมบาบัด
การฝึกการใชก้ ลา้ มเนื้อมัดเล็ก ไดแ้ ก่ การใช้มือหยิบจบั ส่งิ ของ ฝึกการทางานของตาและมือให้
ประสานกัน (eye-hand co-ordination) เด็กสามารถหยิบจับสิ่งของ เช่น จับถว้ ยกนิ น้า จบั แปรงสีฟนั หยบิ
ชอ้ นกินขา้ ว การรักษาทางกิจกรรมบาบัด จะชว่ ยใหก้ ารดาเนินชวี ติ ประจาวนั เป็นไปอย่างราบรน่ื และสะดวก
ขนึ้
อรรถบาบดั
เด็กทมี่ ีภาวะบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญาเกนิ กว่าร้อยละ 70 มีปัญหาการพูดและการสื่อความหมาย
กระบวนการฝึกในเรื่องนี้ มใิ ช่เพื่อใหเ้ ปลง่ สาเนียงเปน็ ภาษาทค่ี นทวั่ ไปเขา้ ใจเท่านน้ั แต่จะเรม่ิ จากเด็กต้องฝกึ
ใช้กลา้ มเนื้อช่วยพูด บังคบั กล้ามเนือ้ เปล่งเสยี ง ออกเสยี งให้ถกู ต้อง ซึง่ การฝกึ พูดต้องกระทาตัง้ แตเ่ ด็กอายุตา่
กว่า 4 ปี จึงจะไดผ้ ลดที ส่ี ุด
2.การฟ้นื ฟสู มรรถภาพทางการศึกษา (Educational Rehabilitation)
ในช่วงอายุ 7 - 15 ปี มกี ารจดั การการศึกษาโดยมีแผนการศึกษาสาหรบั แตล่ ะบคุ คล (Individualized
Educational Program : IEP) ในโรงเรยี นซ่งึ อาจเป็นการเรียนในชน้ั เรยี นปกติ เรยี นรว่ ม หรือมกี ารจดั
การศึกษาพเิ ศษ ในประเทศไทยโรงเรียนท่ีรบั เดก็ ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญามีอยทู่ ่ัวไปทัง้ ใน
กรงุ เทพมหานครและในต่างจังหวดั แต่ในทางปฏบิ ตั ิกย็ ังไม่เพียงพอทจี่ ะรับเด็กกลมุ่ น้ี
3.การฟื้นฟสู มรรถภาพทางอาชีพ (Vocational Rehabilitation)
เมือ่ อายุ 15-18 ปี เป็นการฝึกวชิ าชีพและลักษณะนสิ ัยทีด่ ีในการทางาน เป็นสง่ิ จาเปน็ มากต่อการ
ประกอบอาชีพในวัยผใู้ หญ่ ได้แก่ ฝกึ การตรงตอ่ เวลา รู้จกั รับคาส่งั และนามาปฏิบตั ิเอง โดยไมต่ ้องมีผู้เตือน
การปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผรู้ ว่ มงานและมารยาทในสงั คม เม่ือเขา้ วัยผ้ใู หญค่ วรช่วยเหลือให้ได้มีอาชีพท่เี หมาะสม ทงั้ น้ี
เพ่ือใหบ้ คุ คลปัญญาอ่อน สามารถดารงชวี ติ อสิ ระ (independent living) ในสงั คมได้อย่างคน
ปกติ (normalization) อาชพี ทบี่ คุ คลทม่ี ีภาวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญาสามารถทาไดด้ ี ไดแ้ ก่ อาชีพงานบ้าน
งานบริการ งานในโรงงาน งานในสานักงาน เชน่ การรบั ส่งหนงั สอื ถา่ ยเอกสาร เป็นตน้ ในประเทศไทย
หน่วยงานทใ่ี ห้บริการดา้ นนยี้ ังมีน้อย
คาแนะนา
การฝกึ สอนบคุ คลท่ีมีภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญามีจุดมงุ่ หมายสูงสุด เพือ่ ใหม้ คี วามเปน็ อยใู่ กล้เคียง
คนปกตซิ ึ่งจะประสบความสาเรจ็ หรอื ไมเ่ พยี งใดน้นั ข้นึ อยู่กับตวั แปรตอ่ ไปน้ี คอื
1.ระดับของภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญา ผู้ทมี่ ีภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดับเลก็ น้อย มีโอกาสจะ
พัฒนาใหส้ ามารถดาเนนิ ชวี ติ ใกล้เคยี งบุคคลปกติได้ดีกว่า ผ้ทู ่ีมีภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญาระดับปานกลาง
หรือรนุ แรง
2. ความผิดปกตทิ ี่พบรว่ มดว้ ยซงึ่ เป็นอปุ สรรคต่อการฟ้ืนฟสู มรรถภาพ ทาให้ไม่ประสบผลดีเทา่ ท่ีควร
3.การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ถา้ เด็กไดร้ บั การสง่ เสริมพัฒนาการต้ังแต่ระยะเร่ิมแรก จะมคี วามพรอ้ มใน
การเรียนรว่ มกับเด็กปกติในโรงเรียนท่ัวไป มากกวา่ การฝึกเม่ือเด็กโตแลว้
4.ความรว่ มมือของครอบครวั เดก็ ครอบครัวมีความสาคัญต่อเด็กมากท่สี ดุ ต้ังแตแ่ รกเกิดจนตลอด
ชีวิต จึงควรจะเตรียมครอบครัวใหเ้ ข้าใจความพิการของเด็ก ขอ้ จากดั ของความสามารถ ความต้องการพิเศษ
ความคาดหวงั ตลอดจนวธิ ีการอบรมเล้ยี งดูและฝึกสอนในทิศทางที่ถูกต้อง เพราะสมาชิกทกุ คนในครอบครัวมี
ความสาคญั ต่อพัฒนาการของเด็กอยา่ งย่ิง
การป้องกนั
ภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญา สามารถป้องกนั ได้ดงั น้ี
1. ระยะกอ่ นตั้งครรภ์
ประชาชนควรไดร้ ับความร้เู รอ่ื งภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา และสาเหตุทสี่ ามารถป้องกนั ได้ เช่น การ
ใหว้ ัคซนี หดั เยอรมัน หรอื เกลือไอโอดีน ใหค้ าแนะนาคสู่ มรสเรอ่ื งอายุมารดาทเี่ หมาะในการตง้ั ครรภ์(19-34
ป)ี และระยะห่างระหว่างตั้งครรภ์ (2 ป)ี โรคทางพันธกุ รรมท่ีสามารถตรวจวินิจฉยั ได้กอ่ นตั้งครรภแ์ ละก่อน
คลอด รวมทง้ั การวางแผนครอบครัว
2. ระหวา่ งต้งั ครรภ์
ควรฝากครรภ์ทสี่ ถานีอนามยั หรือโรงพยาบาล เพ่ือป้องกันปัจจัยเส่ยี งและหญิงตัง้ ครรภไ์ ด้รบั วคั ซีนที่
จาเปน็ ครบถ้วน ได้รับสารอาหารที่เปน็ ประโยชนอ์ ย่างเพยี งพอ หลีกเลีย่ งการดื่มเหลา้ การสูบบุหรห่ี รือใช้สาร
เสพติด ไม่ควรซื้อยากินเอง เพราะอาจมีผลต่อทารกในครรภ์ แนะนาการสง่ เสริมสขุ ภาพจติ ในครอบครวั และ
การวินิจฉัยก่อนคลอด
3. ระยะคลอด
ควรคลอดในสถานบริการสาธารณสุข เพ่ือป้องกันภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆ ที่อาจเกิดข้นึ
4. ระยะหลงั คลอด
ควรให้แมแ่ ละลูกได้อยู่ด้วยกันเร็วทส่ี ุด เพอื่ ให้ลูกไดด้ ื่มนมแม่ซ่งึ มภี มู ิคมุ้ กนั โรคต่างๆและมีสารอาหารทจ่ี าเป็น
ต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของสมองของลูก ระวังเรื่องตัวเหลอื งในทารกแรกเกดิ ใหว้ ัคซีนป้องกนั โรค
ตดิ ตามภาวะโภชนาการและพฒั นาการเด็ก โดยเฉพาะเด็กกลมุ่ เส่ยี ง ใหค้ วามรแู้ กพ่ ่อแม่ในการดูแลลูกยาม
เจบ็ ป่วย ระวังโรคติดเช้อื สารพิษ และการกระทบกระเทอื นต่อศรี ษะลูก ให้ความรกั และเอาใจใส่ต่อลูก
บคุ คลท่มี ีภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาสามารถเรียนรู้ และดาเนินชวี ติ อย่างทัดเทยี มและมีความสขุ ใน
สงั คมไดเ้ ช่นเดยี วกบั บุคคลปกติ ถ้าสงั คมเปิดโอกาสและให้ความชว่ ยเหลือท่เี หมาะสม อันจะเอ้ืออานวยให้
บุคคลทมี่ ีภาวะบกพรอ่ งทางสติปญั ญาได้ใชช้ ีวิตอย่างมีศกั ดิ์ศรแี ละมีคุณค่า
สถานบนั ราชานุกูล h.rajanukul.go.th/preview-4009.html
Microcephaly (ไมโครเซบฟาล)ี
ความหมาย ไมโครเซบฟาลี (MICROCEPHALY)
Microcephaly (ไมโครเซบฟาล)ี หรือภาวะศรี ษะเลก็ เป็นความผิดปกติทางระบบประสาทที่ทาให้
ศีรษะของเดก็ มีขนาดเล็กกว่าปกตเิ มื่อเทยี บกับค่ามาตรฐานของเด็กในวัยและเพศเดียวกัน ซง่ึ เป็นผลมาจาก
สมองหยดุ พฒั นาหรือหยดุ เจริญเติบโต อาจเกิดกบั ทารกในครรภ์หรอื เกิดหลังเด็กคลอดช่วงแรก ๆ อาจมี
สาเหตจุ ากกรรมพันธ์ุ ปัจจัยทางส่ิงแวดลอ้ ม หรือปัจจัยอื่น ๆ และโดยทวั่ ไป Microcephaly ไมส่ ามารถรักษา
ใหห้ ายได้ แต่หากได้รับการดูแลชว่ ยเหลือต้ังแตเ่ ร่มิ ตน้ อาจชว่ ยเสรมิ พฒั นาการและช่วยใหเ้ ดก็ มีคุณภาพชีวิตท่ี
ดีได้
อาการของไมโครเซบฟาลี
อาการสาคัญทบ่ี ง่ บอกวา่ มีภาวะ Microcephaly คือ เด็กมีขนาดเส้นรอบวงของศีรษะเล็กกวา่ เด็กใน
วยั และเพศเดยี วกนั แต่ไมม่ ีความผดิ ปกติอ่นื ๆ โดยศรี ษะอาจมีขนาดใหญ่ข้ึนเม่ือเด็กมีอายมุ ากขนึ้ แต่ก็ยงั ถือ
วา่ มขี นาดเล็กกว่าขนาดปกติ บางรายอาจมสี ติปัญญาอยใู่ นระดับปกติ แต่บางรายอาจมีความผิดปกติในการ
เรียนรู้ ซ่ึงอาการจะไม่แยล่ งเมื่อมีอายุเพิ่มขนึ้ สว่ นในรายทีม่ ีอาการรนุ แรงมากก็อาจพบวา่ มหี น้าผากทีล่ าดเอียง
ไปทางด้านหลังดว้ ย รวมไปถึงอาจพบอาการอ่ืน ๆ เช่น
1.มีความผิดปกติในการทรงตัวและการประสานงานกันของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
2.พัฒนาการลา่ ชา้ เชน่ ดา้ นการยืน การนั่ง และการเดิน เป็นต้น
3.มคี วามผดิ ปกติในการกลืนและการรับประทานอาหาร
4.สญู เสียการได้ยนิ
5.ซกุ ซนผิดปกติ หรือไมม่ ีสมาธิ
6.มีปัญหาในการพดู และการมองเห็น
7.สมองและระบบประสาทอ่ืน ๆ มีความผิดปกติ
8.ตัวเต้ยี กว่าปกติ
9.ชัก
สาเหตุของไมโครเซบฟาลี
ภาวะ Microcephaly สว่ นใหญ่เปน็ ผลมาจากการพัฒนาสมองที่ผิดปกติ ซึ่งมักเกิดขน้ึ แตก่ าเนดิ หรอื
เกดิ ในชว่ งวยั ทารก โดยอาจเกดิ จากพันธกุ รรม และสาเหตุอืน่ ๆ เชน่
1.กะโหลกศีรษะเช่ือมตดิ กนั เรว็ กวา่ ปกติ ทาใหส้ มองหยดุ เจรญิ เติบโต
2.โครโมโซมผดิ ปกติ เชน่ เกิดภาวะดาวนซ์ ินโดรม เป็นต้น
3.สมองขาดออกซิเจน ซ่ึงอาจเกดิ จากภาวะแทรกซ้อนขณะต้ังครรภ์ หรอื การคลอดที่ส่งผลให้
ออกซิเจนไปเลย้ี งสมองไมเ่ พียงพอ
4.ภาวะขาดสารอาหารอยา่ งรุนแรง อาจเกิดจากการได้รับสารอาหารไมเ่ พียงพอในระหว่างทตี่ ั้งครรภ์
ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของทารกในครรภ์ดว้ ย
5.การปว่ ยดว้ ยโรคฟีนิลคีโตนเู รียแล้วไม่ได้รบั การรกั ษา ซึ่งเปน็ ความผดิ ปกติแต่กาเนดิ ทที่ าให้เกดิ
ข้อบกพร่องของรา่ งกายในการขัดขวางกรดอะมิโนฟนี ิลอะลานนี
6.การติดเช้อื ของมารดาในระหว่างทต่ี ้ังครรภ์ ซ่ึงสง่ ผลกระทบต่อทารกไปดว้ ย เชน่ โรคทอกโซพลาส
โมซิส โรคติดเชอื้ ไซโตเมกาโลไวรสั โรคหดั เยอรมัน โรคอีสุกอีใส และไขซ้ ิกา เป็นต้น
7.ผู้เปน็ แม่ดืม่ แอลกอฮอล์ ใช้ยาเสพติด และได้รับสารพษิ เช่น ตะก่วั เปน็ ตน้ ในขณะทีต่ ั้งครรภ์
การวนิ จิ ฉยั ไมโครเซบฟาลี
โดยท่วั ไปมีโอกาสท่ีแพทยจ์ ะตรวจพบภาวะ Microcephaly ไดต้ ง้ั แตต่ อนท่ีเด็กคลอด หรอื อาจพบ
เม่ือตรวจการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของเดก็ แต่หากสงสัยวา่ บตุ รหลานของตนมีศรี ษะเล็กกวา่ ปกติหรอื มี
การเจรญิ เตบิ โตผิดปกติ ควรพาเดก็ ไปพบแพทย์เพือ่ รับการตรวจวนิ จิ ฉยั อยา่ งเหมาะสม
ในการวนิ จิ ฉัย Microcephaly แพทย์จะถามประวัติก่อนคลอดและขณะคลอดอย่างละเอยี ด รวมทั้งตรวจ
รา่ งกาย ตรวจวดั เสน้ รอบวงของศรี ษะเด็กเปรียบเทยี บกับตารางการเจรญิ เติบโต จากนน้ั จะวดั ขนาดศีรษะของ
เด็กอีกครงั้ ในการนดั พบครั้งถัดไปเพื่อผลการวินจิ ฉัยทีช่ ัดเจน โดยแพทย์อาจซักประวตั ิและตรวจร่างกาย
สมาชกิ ในครอบครัวดว้ ย รวมไปถึงตรวจวัดขนาดเส้นรอบวงของพอ่ และแมเ่ ดก็ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณา
ทัง้ น้ี ในผู้ปว่ ยบางราย โดยเฉพาะเด็กท่ีมีพัฒนาการลา่ ช้า แพทย์อาจทดสอบเพิ่มเตมิ เพือ่ หาสาเหตใุ ห้แนช่ ัด
เช่น
1.การนาตวั อย่างเลือดไปส่งตรวจในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
2.การเอกซเรยค์ อมพิวเตอรห์ รอื ซที ีสแกน (Computed Tomography: CT Scan)
3.การตรวจดว้ ยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าหรอื เอ็มอาร์ไอสแกน (MRI Scan)
การรักษาไมโครเซบฟาลี
โดยปกตภิ าวะ Microcephaly ไม่สามารถรักษาได้ ยกเว้นในกรณที ่เี กิดจากกะโหลกศรี ษะเชอ่ื มติดกนั
เร็วกวา่ ปกติ ซ่งึ จะรักษาด้วยการผา่ ตัด สว่ นการรกั ษาท่ัวไปจะเป็นการดูแลเดก็ ดว้ ยการเสรมิ พฒั นาการตา่ ง ๆ
ต้งั แต่แรกเร่ิม ซง่ึ อาจชว่ ยใหเ้ ด็กแขง็ แรงและใชช้ วี ติ ได้ดีขึ้น เช่น ด้านการพูด การทากายภาพบาบัด และการ
ทากิจกรรมตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ โดยหัวใจสาคญั ของการรักษาจะเป็นการชว่ ยใหเ้ ดก็ อยใู่ นภาวะที่ปลอดภยั และ
พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของเด็กใหด้ ีขึน้
ทั้งนี้ เดก็ ท่ีมีภาวะ Microcephaly ไม่รนุ แรง แพทยอ์ าจนดั ตรวจเปน็ ประจา เพื่อดูการเจรญิ เตบิ โต
และพัฒนาการของเด็ก ส่วนเดก็ ท่ีมีอาการอยา่ งรนุ แรงหรอื ชกั ซ่ึงอาจเปน็ อันตรายถึงแก่ชวี ิต แพทย์อาจต้อง
รกั ษาไปตลอดชีวิตเพ่ือควบคุมอาการ โดยแพทย์อาจแนะนาให้ใช้ยารกั ษาบางชนดิ เช่น ยาต้านชกั และยา
ระงับอาการซนหรืออยู่ไมน่ ิ่ง เป็นต้น
ภาวะแทรกซ้อนของไมโครเซบฟาลี
ภาวะแทรกซ้อนของ Microcephaly ข้นึ อยู่กบั สาเหตุและความรนุ แรงของอาการด้วย เพราะเด็กบาง
รายยงั คงมสี ติปญั ญาและมีพัฒนาการตามปกตแิ มม้ ีขนาดศีรษะเล็กเม่ือเทยี บกับเดก็ ในวยั และเพศเดยี วกนั
ส่วนภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ท่ีอาจเกิดข้นึ มีดงั น้ี
1.พัฒนาการล่าช้า เช่น ดา้ นการเคล่ือนไหว และการพดู เป็นตน้
2.การประสานงานกนั ของรา่ งกายและสมดุลรา่ งกายเปน็ ไปอย่างยากลาบาก
3.รูปหนา้ ไมส่ มสว่ น
4.มีภาวะแคระ หรือโครงสรา้ งร่างกายที่ค่อนข้างเต้ีย
5.อยู่ไมน่ ิ่ง
6.ภาวะปัญญาอ่อนหรอื บกพร่องทางสตปิ ัญญา
7.ชกั
การปอ้ งกนั ไมโครเซบฟาลี
ผู้ทต่ี ง้ั ครรภ์สามารถป้องกันความเสี่ยงในการเกิดภาวะ Microcephaly ไดใ้ นเบ้อื งตน้ ดงั นี้
1.รบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชนต์ อ่ สขุ ภาพ และรบั ประทานวติ ามินเตรยี มต้ังครรภ์
2.หลกี เลย่ี งการดื่มแอลกอฮอลห์ รอื การใชย้ าเสพตดิ
3.พยายามอยู่ให้หา่ งจากสารเคมีท่ีอาจเปน็ อันตรายต่อร่างกาย
4.ระมัดระวงั เร่ืองการติดเชื้อ ควรลา้ งมอื บ่อย ๆ และหากเจ็บป่วยด้วยโรคใด ๆ ควรรับการรกั ษา
ในทันทหี ากเลยี้ งแมว ควรให้ผอู้ น่ื เปลี่ยนกระบะทรายแทน เพราะอจุ จาระแมวอาจทาให้ตดิ เชือ้ ทก่ี ่อโรคทอก
โซพลาสโมซสิ ซ่ึงเปน็ สาเหตุของภาวะ Microcephaly ได้
4.ใชส้ ารปอ้ งกันแมลงเม่ือตอ้ งไปพื้นท่ที ี่มียงุ ชุกชุม เพราะการถูกยุงที่มเี ชอ้ื โรคบางชนดิ กดั ขณะ
ตง้ั ครรภ์ก็อาจเป็นสาเหตุของภาวะ Microcephaly ในทารกไดเ้ ชน่ กนั
หากกังวลว่าอาจเกดิ ภาวะ Microcephaly จากสาเหตทุ างพนั ธกุ รรม ให้ปรึกษาแพทย์เก่ียวกบั ความ
เสย่ี งดงั กลา่ วประกอบการวางแผนมบี ุตรในอนาคต https://www.pobpad.com/microcephaly
ไมโครเซฟาลี’ เดก็ หัวเล็กในไทย มใี ครใสใ่ จบา้ งไหม
บทความต่อไปนี้ส่วนหนง่ึ ผมถอดความมาจากเอกสารข้อเท็จจริงเกยี่ วกับไมโครเซฟาลี
(Microcephaly) หรือภาวะศีรษะเล็ก เอกสารขององค์การอนามัยโลก (WHO:Microcephaly 2 March
2016 Fact sheet Updated 2 March 2016) ที่เผยแพร่เมอื่ วนั ท่ี 2 มีนาคม 2559 ผนวกกับองคค์ วามร้จู าก
แหล่งอนื่ ๆ ท่ีผมเก็บรวบรวมเอาไว้
“ไมโครเซฟาลี (ศีรษะเล็ก)” คอื ความผดิ ปกตติ ั้งแตแ่ รกเกิดของทารกทหี่ มายถึงการที่ทารกมศี ีรษะ
เลก็ กวา่ ปกติเมอ่ื เปรยี บเทียบกับทารกคนอน่ื ๆ ท้งั เพศหญิงและเพศชายที่คลอดเม่ืออายุครรภเ์ ท่าๆ กัน รว่ มกบั
มกี ารเจริญเติบโตของสมองที่แย่กว่าคนอ่ืนๆ ทารกที่คลอดออกมาอาจเจริญเติบโตตอ่ ไปเปน็ เดก็ ทีม่ ีความ
พิการ มีความผิดปกติต่างๆ มีความรุนแรงผนั แปรได้ต้ังแต่มีความผิดปกติอ่อนๆ จนถึงรนุ แรงมากก็ได้
“ไมโครเซฟาลี” เป็นความผิดปกตทิ ี่พบไดน้ ้อย อบุ ัตกิ ารณ์ของ “ไมโครเซฟาลี” จงึ คาดประมาณได้
ยาก เพราะมคี วามแตกต่างกันอยา่ งกวา้ งขวาง ขน้ึ อยู่กับคาจากดั ความและกลมุ่ ประชากรเป้าหมาย
แมว้ า่ ยังไม่ได้พสิ จู นข์ ้นั สุดท้ายอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม นักวจิ ัยยังทาการศกึ ษาค้นคว้าวจิ ัยเพ่ือหาศกั ยภาพของ
ความเชอ่ื มโยงเกีย่ วกัน ระหว่างการปรากฏของผู้ป่วยที่มภี าวะ “ไมโครเซฟาลี” กับภาวะ “ตดิ เชอ้ื ไวรัสซิกา”
โดยเมอ่ื วนั ที่ 2 มีนาคม 2558 ประเทศบราซลิ รายงานวา่ มผี ู้ปว่ ยมีไข้ออกผื่นในรฐั ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บราซลิ พบผูป้ ่วยสงสยั ไขซ้ ิกาประปรายมาต้ังแตป่ ี 2556-2557 แล้ว แตไ่ ด้รายงานผูป้ ว่ ยชนั สตู รยืนยนั ไปยงั
องค์การอนามัยโลกเม่ือกลางเดือนตุลาคม 2558 ตั้งแต่วนั ที่ 22 ตลุ าคม 2557 ก่อนรายงานไปยงั องค์การ
อนามัยโลก บราซลิ เรม่ิ พบอุบัติการณ์ “ไมโครเซฟาลี” แล้ว และในตน้ ปี 2559 กม็ รี ายงานผู้ปว่ ยเดก็ ทส่ี งสยั วา่
จะมปี ญั หา “ไมโครเซฟาลี” หรอื มีปญั หาทางระบบประสาทแลว้ รวม 6,480 ราย
เม่ือก่อนปีหนึ่งๆ อยา่ งมากในบราซิลจะเจอ “ไมโครเซฟาลี” ไมถ่ ึง 200 คน แตน่ ี่เพยี งปีเดียวเพิม่
พรวดพราดสงู ขึน้ กว่า 30 เท่าตัว โดยวันท่ี 30 มีนาคม 2559 กระทรวงสาธารณสุขบราซิลยืนยันว่ามที ารก
พิการศีรษะเล็กแต่กาเนิดทัว่ ประเทศ ที่ไดร้ บั การพิสจู นย์ ืนยันแลว้ ถึงวนั นี้ 944 ราย และกาลังดาเนินการ
สอบสวนเพม่ิ เติมอีก 4,291 ราย
สาหรบั การวนิ ิจฉัย อาจให้การวนิ ิจฉยั ไดต้ งั้ แต่ทารกอย่ใู นครรภ์ โดยการทาอลั ตร้าซาวด์ โอกาสจะ
เหน็ ความผดิ ปกติได้กเ็ ม่ือปลายการต้ังครรภ์ อายุครรภป์ ลายไตรมาสที่ 2 หรือประมาณอายคุ รรภ์สัปดาห์ที่ 28
และกาลังจะเขา้ สู่อายคุ รรภไ์ ตรมาสท่ี 3 การวินิจฉยั จะทาได้แม่นยากวา่ ในทารกแรกคลอดมาแล้ว หรือขณะ
อายุมากขึน้ ทารกมีพฒั นาการมากขึน้ การวัดรอบวงศีรษะภายใน 24 ชว่ั โมงหลงั คลอดแล้วนาไปเปรยี บเทยี บ
กับตารางเกณฑ์มาตรฐานขององค์การอนามยั โลก
การแปลผลจะต้องคานึงถึงปจั จัยทีส่ าคัญคือ อายุครรภท์ คี่ ลอด น้าหนักและสว่ นสูงของทารกในรายทีเ่ ข้าขา่ ย
สงสัย ควรได้รบั การทบทวนตรวจสอบจากกมุ ารแพทย์ ทารกต้องไดร้ ับการ “สแกนสมอง” ไดร้ ับการวดั เสน้
รอบศีรษะเปน็ ระยะๆ ทุก 1 เดือนในช่วงท่ที ารกอายยุ ังนอ้ ยแล้วนาไปเทยี บกับตารางมาตรฐาน แพทย์จะต้อง
ทาการทดสอบหาเหตุอ่ืนๆ ที่อาจก่อ “ไมโครเซฟาลี” ด้วย เพ่อื ตัดเหตอุ ่นื ออกไป (เชน่ เหตทุ างพนั ธกุ รรม เหตุ
จากการติดเชื้ออีกหลายชนิดดว้ ย)
สาเหตุของ “ไมโครเซฟาลี” ยังมีเหตุอีกมากมายหลายประการทีอ่ าจมีศกั ยภาพก่อ “ไมโครเซฟาลี”
ได้ แต่ก็มอี ีกหลายเหตุท่ียงั ไม่เป็นทที่ ราบกันอยู่อีกเหมือนกัน เหตุทที่ ราบกนั ดีอยแู่ ล้วได้แก่ ภาวะติดเชอื้ ของ
ทารกในมดลกู ท็อกโวพลาสโมสิส (โรคขแี้ มว อาจพบเช้อื ปรสติ กอ่ โรคขี้แมวในเน้ือสตั วท์ ป่ี รุงสกุ ๆ ดิบๆ) โรค
หดั เยอรมันหรอื รเู บลลา่ ไวรัสเริม (ไวรสั เฮอรป์ สี ) เช้ือซิฟิลสิ ไวรัสซัยโตเมกะโลไวรัส และไวรัสเอชไอวี การได้
สมั ผสั กบั สารพิษสารเคมี มารดาสมั ผสั กบั สารโลหะหนัก เชน่ สารหนู และสารปรอท (อารเ์ ซนิคและเมอร์คิวร)ี
แอลกอฮอล์ (มารดาขี้เมาระหวา่ งมีครรภ์) รังสีตา่ งๆ และการสูบบุหรี่ ภาวะทางด้านพันธุกรรม การขาด
สารอาหารอย่างรุนแรงขณะมีอายคุ รรภน์ ้อย
ทารกท่ีเกิดมามี “ไมโครเซฟาลี” อาจไม่แสดงอาการผดิ ปกตอิ ะไรเลยในตอนแรกเกิด แต่จะมอี าการ
ชักกระตุกเป็นการต่อเน่ือง มีซรี ีบลั พลั ซี (อาการอัมพาตจากสมองผดิ ปกต)ิ มีความผิดปกติในการเรยี นรู้ หู
หนวก และมีปญั หาเกยี่ วกับการมองเหน็ มบี างรายเด็กที่มีภาวะ “ไมโครเซฟาลี” อาจจะเตบิ โตต่อไปได้
ตามปกติอัตราอุบตั ิการณ์เกิด “ไมโครเซฟาลี” ตัวเลขในขณะน้ีคิดได้มีความผันแปรกว้างขวางมากคือตงั้ แต่
1% ถงึ 30% เม่ือผู้ปว่ ยมีจานวนมากข้ึน การวเิ คราะห์ในระยะหลงั อัตรานี้กจ็ ะเปลี่ยนไป
กระทรวงสาธารณสขุ ไทยเปิดเผยเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2559 วา่ กาลังติดตามหญงิ มีครรภ์ทตี่ ดิ เชือ้
ไวรสั ซิกาประมาณ 30 ราย ถ้ายดึ เอาตัวเลขนเี้ ป็นเกณฑ์ ก็เปน็ ท่ีคาดเดาได้ว่าในวนั ข้างหน้าประเทศไทยมี
โอกาสจะได้รายงานผู้ป่วย “ไมโครเซฟาลี” ในทารกแรกเกิดจานวนมากทสี่ ดุ ไม่เกนิ 9 คน และไม่น้อยกวา่ 3
คนสาหรบั การรักษาน้นั ณ ปัจจบุ นั ไม่มวี ิธกี ารรกั ษาโดยเฉพาะสาหรบั ทารกและเด็กท่มี ีภาวะ “ไมโครเซฟาลี”
ในการประเมนิ และรกั ษาเดก็ “ไมโครเซฟาลี” ที่สาคญั ก็คือ ให้มคี ณะแพทย์หลายสาขาวิชาเข้ามาร่วมมือกนั
การดาเนินการดแู ลบริบาลตง้ั แต่ระยะแรกๆ ด้วยการกระตุ้นอาจมีผลที่สาคัญตอ่ การพัฒนาการเตบิ โต การให้
คาปรกึ ษาหารอื และเกื้อหนนุ ให้แกค่ รอบครวั ให้แก่พ่อแม่เด็กย่อมมีความสาคัญอย่างยง่ิ ยวด
อยา่ งไรก็ตาม องคก์ ารอนามัยโลกกาลังดาเนนิ การปฏิบัติงานอยา่ งใกล้ชดิ กับประเทศท่ไี ด้รบั
ผลกระทบในทวีปอเมริกาในการสอบค้นของการระบาดมาตั้งแตก่ ลางปี 2558 แลว้ โดยได้วางกรอบ
ยุทธศาสตร์ในการโตต้ อบสนองและมแี ผนการดาเนนิ การร่วมอยดู่ ว้ ย สื่อสารกับประชาชนในชุมชนที่มีโรค
ระบาดให้รจู้ กั วิธีปอ้ งกนั ตวั เอง ดาเนินการจดั ให้มีแนวทางในการดาเนนิ การหรือไกด์ไลนส์ าหรับการ
ดาเนนิ การใหค้ าแนะนาสาหรับหญงิ วัยเจรญิ พนั ธุ์ หญิงมีครรภ์ถงึ ศักยภาพของผลกระทบต่างๆ ของภาวะติด
เชอ้ื ไวรัสซิกาให้แก่ครอบครัว ใหค้ วามชว่ ยเหลือแกป่ ระเทศตา่ งๆ ทกี่ าลงั ได้รับผลกระทบให้เพ่ิมความเข้มแข็ง
ในการดแู ลหญิงมคี รรภ์และครอบครวั ของเดก็ ทคี่ ลอดออกมามี “ไมโครเซฟาลี” ดาเนนิ การสอบคน้ การ
เพ่ิมขนึ้ ของผู้ปว่ ย “ไมโครเซฟาลี” และความเช่ือมโยงเกย่ี วพนั ของภาวะติดเช้ือไวรัสซิกา โดยการนาเอา
ผ้เู ช่ียวชาญสาขาตา่ งๆ และผ้เู ก่ียวข้องมาปรกึ ษาหารอื รว่ มกันดว้ ย
มติชน ออนไลน์ ศ.เกยี รติคุณ นพ.ประเสรฐิ ทองเจรญิ ราชบัณฑติ วันท่ี 27 กันยายน 2559
ความรทู้ างการแพทย์ สาลกั อาการเลก็ ๆ แต่ใหญ่สาหรับเจา้ หนู
อาการสาลกั อาหาร สว่ นใหญ่แล้วมักจะเกิดขนึ้ ได้ในเด็กเลก็ ส่วนนอ้ ยทเี่ กดิ ขึ้นในเดก็ ท่ี อายุต่ากว่า 1
ขวบ แตไ่ ม่ใชว่ ่าเด็กเลก็ ท่ีอายุไม่ถงึ ขวบจะไม่สาลักอาหารหรือนม ในทารก กส็ ามารถเกิดไดเ้ ช่นกนั เราจึงเสนอ
วิธกี ารช่วยเหลอื ลูกเบือ้ งตน้ เพ่อื ท่ีจะช่วยลูกให้หาย สาลักไดท้ ันท่วงที
ปอ้ งกนั ไม่ให้สาลกั
1.เร่ิมจากการจัดทา่ ทางในการป้อนอาหาร คอื ควรให้อาหารลกู ในท่านง่ั ประคองศรี ษะให้ ตัง้ ตรง
2.พยายามให้อาหารในทา่ ท่ีถนัดและจัดท่าทางใหล้ ูกในท่าทีส่ ามารถรับอาหารได้ไม่ ลาบาก
3.พยายามอยา่ ใหล้ ูกเล่นของทม่ี ีลักษณะกลมๆ เช่น ลกู ปัด ลกู อม หรือของเลน่ ที่มีสีหลุด ลอกง่าย
เพราะของเลน่ เหลา่ น้ีเปน็ สาเหตสุ าคัญทก่ี ่อใหเ้ กิดอาการสาลักได้
4.อาหารบางชนิดท่ีเป็นอาหารชนดิ ใหมเ่ ดก็ อาจไม่ชอบ ทาใหไ้ มย่ อมกลืนอาหารและมัก คายออกมา
จนสาลักได้ ดงั นัน้ คุณแม่ควรพิจารณาอาหารเสรมิ ท่ีจะนามาปอ้ นให้ลกู น้อย
วธี ีชว่ ยเหลือเมื่อทารกสาลัก
1. เมื่อลกู สาลัก ใหจ้ บั ลูกควา่ หน้าลงโดยใหศ้ ีรษะอย่ตู ่ากว่าหน้าอก และใช้ฝ่ามือขา้ งท่ี ถนดั พยงุ
ศีรษะของเดก็ เอาไว้ โดยระวงั อยา่ ใหม้ ือไปปดิ จมูกหรือปากของเด็ก
2. วางแขนข้างท่ีพยงุ เด็กไวบ้ นต้นขา จากนน้ั ใช้มือตบลงบนสนั หลงั ตรงกระดูกสะบัก 4 ครั้งติดๆ กนั
3. หากอาหารหรอื ส่งิ แปลกปลอมไม่ออกมา ใหค้ ุณแม่จับเด็กหงายข้ึนและวางบนแขนท่ี อย่บู นหนา้
ตัก ใหศ้ ีรษะลูกชลี้ งไปทีพ่ ื้น
4. ใชน้ ้ิว 3 น้วิ ของแมก่ ดบรเิ วณใต้ตอลิน้ ปี่เบาๆ กดประมาณ 4-5 คร้ัง
5. ตรวจดสู ิ่งแปลกปลอมในช่องปากของเด็ก หากพบใหเ้ อาออก และทาการช่วยหายใจ
6.จับหนา้ ผากลูก และเชยคางขนึ้ เพ่ือใหท้ างเดนิ หายใจเปดิ
7.ใชป้ ากประกบไปท่ี ปากและจมูกของเด็ก เป่าลมและสงั เกตการเคลอื่ นไหวของหน้าอก ซ่ึงหากเปา่
ได้ถูกต้องหน้าอกจะยกขึ้น จากนน้ั ยกปากออก สงั เกตการยุบตัวลงของหนา้ อก ทาซ้าแบบนี้ 2 ครัง้
การปฐมพยาบาลท่ีกล่าวมาทั้งหมดน้ี เหมาะสาหรบั การชว่ ยเหลือเดก็ ทารก และเด็กเลก็ แต่หากเป็น
เด็กโตจะใชว้ ธิ อี ่ืนทยี่ ากกว่านี้ ซ่งึ หากคุณแมป่ ฎิบัตเิ บื้องต้นตามท่ีกล่าว มาแลว้ ไม่พบอาหารหรอื ส่ิงแปลกปลอม
ในช่องปากให้เรยี กรถพยาบาลเพอื่ การชว่ ยเหลือท่ี ทนั ท่วงที
ข้อมูลแพทย์ศูนย์กุมารเวชกรรม โรงพยาบาลพญาไท http://phyathai-
sriracha.com/pytsweb/index.php?page=modules/knowledgepage&knowid=11
ลูกหวั เลก็ หรือภาวะศีรษะเล็ก
คณุ แม่ทา่ นหนง่ึ ได้บอกเล่าประสบการณ์มภี าวะศีรษะเล็ก ว่า ในปี 2561 แม่ตั้งครรภเ์ ป็นทอ้ ง
แรก โดยฝากท้องท่ีโรงพยาบาลและฝากพิเศษ อัลตราซาวด์ลูกในทอ้ งกป็ กตดิ ี แต่พอคลอดออกมา ลูกศีรษะ
เลก็ เพียง 29 เซนตเิ มตร นา้ หนัก 2,900 กรัม ตอนแรกหมอกระตุ้นใหล้ ูกร้อง แต่ลกู ไมค่ ่อยร้อง ลกู ต้องอยู่
หอ้ ง NICU ให้อาหารทางสายยางและให้ออกซเิ จนตลอด แม่ตอ้ งป๊ัมนมไปส่งลูกทุกวัน จนลูกไดก้ ลับมาบ้าน
แตล่ กู กลับบา้ นแคไ่ มน่ านก็ตอ้ งกลับเข้าไปทโี่ รงพยาบาลอีกครงั้
ลูกคนแรก ตรวจพบเชื้อไวรัสซิกา้ ท่ีกลบั เขา้ ไปใหม่ เพราะลกู มีออกชเิ จนในเลือดตา่ ตัวเขยี ว ตอ่ มา
หมอให้ยา้ ยไปตึกฉกุ เฉิน เดก็ กนิ ไม่ได้ นอนไมห่ ลบั ทุกนาทีมีค่า ตอ้ งเฝา้ ลกู ตลอดเวลา เพราะถา้ สายออกซิเจน
หลดุ ลกู จะเหนือ่ ย ตัวเขียว พร้อมทจ่ี ะไป ขณะที่อยู่โรงพยาบาล ก็มเี จ้าหนา้ ท่ีมาสอบถามการติดเช้อื ไวรสั ซกิ ้า
ว่าเราตดิ ได้อย่างไร ตดิ ตอนไหน เพ่อื เกบ็ ข้อมลู แตก่ ็ไมร่ ู้ว่าตดิ ซกิ า้ ไดอ้ ย่างไรแทบจะไม่ไดไ้ ปไหนเลย
“เรายอ้ื ชวี ิตลูกไว้ 2 ครง้ั ทาใจไมไ่ ด้ทีล่ กู จะจากไป แต่ทรมานยิ่งกว่าคือต้องเห็นหมอป๊ัมหวั ใจลกู แล้วตวั ลูก
กระเด้ง แทบขาดใจ ขอยอมแพ้ ลกู คือความหวงั ของเราทง้ั สอง ครัง้ สดุ ท้ายลูกดูเหนอื่ ย ตวั เรม่ิ เขียว เพม่ิ
ออกซิเจนก็ไมด่ ีข้นึ เท่าไร เรากอดลกู ทาใจไมไ่ ด้ คยุ กับหมอแลว้ ไม่อยากให้ลูกเจ็บทรมาน ต้องปล่อยลูกไป แต่
แฟนมาไม่ทัน ใจมนั สลายอยู่ตรงนน้ั ” ลูกคนต่อมาศรี ษะเล็ก ไมท่ ราบสาเหตุ จนมาตง้ั ครรภ์ครัง้ ท่ี 2
แมไ่ ปปรึกษาโรงพยาบาลเพ่ือวางแผนครอบครวั เวน้ ไป 1 ปี พร้อมกบั ดแู ลตัวเอง กินโฟเลต จนพรอ้ มและมา
ฝากพเิ ศษ พร้อมนาประวตั แิ ละผลตรวจของลกู คนแรกให้คุณหมอ จากนั้นก็อลั ตราซาวด์ตามนัด มีตรวจเลอื ด
ตรวจปัสสาวะ ตรวจโครโมโซม ตรวจทุกอย่างท่ีคุณหมอบอก แต่พอคลอดออกมา ลูกศรี ษะ 32 เซนตเิ มตร
นา้ หนกั 3,690 กรัม คุณหมอกระตุ้นให้ลูกร้อง แต่ลูกก็ไม่ค่อยรอ้ ง จงึ ทาเรือ่ งส่งตัวไปอกี โรงพยาบาล เมอื่
ไปถงึ อกี โรงพยาบาลก็ตรวจปัสสาวะ ตรวจเลอื ดของลูกเพื่อหาโรคตา่ ง ๆ กป็ กติมี ทา CT Scan ทา MRT
สมอง กย็ งั หาสาเหตุไม่ได้ ผลตรวจซิก้าก็ไมพ่ บเช้ือ หมอบอกว่าลกู อาจสมองฝ่อหรอื สมองพกิ าร (กระโหลก
สว่ นหนา้ เล็ก) แตห่ มอสตู ิไม่พูดอะไร
“ครอบครวั เรา บา้ นอย่ตู า่ งจงั หวดั ตอ้ งพาลูกมาหาหมอที่อีกจงั หวัดหน่งึ เดอื นละ 2 ครั้ง บางครง้ั ก็
นอนโรงพยาบาลหลายวนั แต่ละครง้ั ต้องพบหมอหลายคน อยากรูส้ าเหตุต้องส่งเลือดไปตรวจท่ี กทม. ตอนน้ี
ลกู 6 เดือน ไม่มีพฒั นาการใด ๆ กระตกุ บ่อย ตัวเกร็งตลอด ไม่ร้อง กนิ นมยาก สาลักงา่ ยมาก ๆ ปอ้ น 3 ออนซ์
เกือบ 2 ชม. หมอบอกอาจต้องให้ทางสายยางหรือเจาะหนา้ ท้องตง้ั แตต่ อน 2 เดือน แต่วิธีน้ีมโี อกาสติดเช้ือสงู
อาจจะอยูไ่ ด้ไม่นาน แม่ทาใจไมไ่ ด้ จงึ พยายามประคับประคองป้อนนมขวดมาตลอด แต่ไมร่ ูจ้ ะปอ้ นขา้ วยังไง
กลวั ทุกอย่าง อยากพาลูกไปโรงพยาบาลเด็กต้งั แตเ่ ดือนตลุ าคม แต่ RSV ระบาด ตอนนี้กม็ ีโควิด-19 แม่เหน่ือย
และท้อมาก ๆ เห็นลูกเป็นแบบนี้ แตต่ อ้ งสู้” คณุ แมท่ ง้ิ ท้าย
ทีมแม่ABK ขอสง่ กาลงั ใจใหค้ ุณแม่หาสาเหตุพบและสามารถรกั ษาน้องไดน้ ะคะ
ภาวะศีรษะเล็ก
สาเหตุลกู หัวเลก็ เกดิ จากอะไร
ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเสริฐ ทองเจรญิ อธิบายวา่ Microcephaly ไมโครเซฟาลี (ศีรษะเล็ก) คือ ความ
ผิดปกตติ งั้ แต่แรกเกิด ของทารก ทหี่ มายถึงการที่ทารกมศี ีรษะเลก็ กว่าปกติ เม่ือเปรยี บเทียบกบั ทารกคนอนื่
ร่วมกับมีการเจริญเติบโตของสมองทีช่ ้า อาจเจริญเตบิ โตต่อไปเปน็ เด็กท่ีมคี วามพิการ มีความผดิ ปกติตา่ ง ๆ
โดยนกั วจิ ยั ได้ทาการศกึ ษาค้นควา้ วิจยั เพื่อหาศกั ยภาพของความเชอ่ื มโยงของผู้ปว่ ยทีม่ ภี าวะไมโครเซฟาลี กบั
ภาวะติดเชอื้ ไวรสั ซิกา้ และสาเหตขุ องไมโครเซฟาลียังมีเหตุอีกมากมาย ได้แก่
1.ภาวะติดเช้ือของทารกในมดลกู ท็อกโซพลาสโมสสิ (โรคข้ีแมว อาจพบเชื้อปาราสิตก่อโรคข้ีแมวใน
เน้ือสัตว์ทีป่ รงุ สกุ ๆ ดิบ ๆ)
2.โรคหัดเยอรมนั หรอื รเู บลล่า
3.ไวรสั เรมิ (ไวรัสเฮอร์ปสี )
4.เช้ือซฟิ ิลสิ
5.ซยั โตเมกะโลไวรสั
6.เอชไอวี
7.การทไ่ี ดส้ ัมผสั กับสารพิษสารเคมี มารดาสัมผัสกับสารโลหะหนกั เช่น สารหนู และสารปรอท (อารเ์ ซนคิ
และเมอร์คิวร)ี
8.มารดาดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างตง้ั ครรภ์ สบู บหุ รี่ หรือใกล้กับรังสีตา่ ง ๆ
9.ภาวะทางด้านพนั ธุกรรม การขาดสารอาหารอย่างรนุ แรงขณะมีครรภ์อายุครรภ์นอ้ ย
อาการของเด็กหวั เลก็
ทารกที่เกิดมามไี มโครเซฟาลี อาจไมแ่ สดงอาการผิดปกตอิ ะไรเลยในตอนแรกเกดิ แต่จะมีอาการชัก
กระตุกเป็นการต่อเนื่อง มีอาการอมั พาตจากสมองผิดปกติ พบความผดิ ปกติในการเรียนรู้ หหู นวก และมี
ปญั หาเกีย่ วกบั การมองเห็น บางรายเดก็ ท่ีมภี าวะไมโครเซฟาลี อาจจะเตบิ โตต่อไปได้ตามปกติ
การรักษาเด็กที่มีภาวะศีรษะเลก็ ขณะนีย้ งั ไม่มีวธิ ีการรักษาโดยเฉพาะสาหรบั ทารกและเดก็ ทห่ี ัวเลก็
จาเปน็ ต้องมีการประเมนิ และรักษาเด็กไมโครเซฟาลี ด้วยคณะแพทย์หลายสาขาวิชามารว่ มมือกันดูแลบรบิ าล
ตง้ั แต่ระยะแรก
ไวรสั ซิก้า ไวรัสอันตรายสาหรบั แม่ท้อง
อ.นพ.ดร.นพพร อภิวฒั นากลุ ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลยั มหิดล ระบุวา่ ไวรัสซกิ า้ มีพาหะนาโรคคล้ายไขเ้ ลือดออกคอื ยุงลาย การติดเชื้อไวรสั ซิก้าในหญิง
ต้ังครรภ์ อาจจะเพิ่มความเสี่ยงตอ่ การเกดิ ภาวะผดิ ปกติอย่างรนุ แรงของสมองและขนาดศีรษะของทารกใน
ครรภ์ และยงั มรี ายงานว่าติดตอ่ จากแมส่ ู่ลกู ได้ สมมติว่าแม่ติดเชอื้ ชว่ งใกลค้ ลอด ลูกออกมาก็อาจตดิ เชื้อได้
ส่วนใหญจ่ ะมอี ันตรายกต็ ่อเมื่อแมต่ ดิ เช้อื ในชว่ งสามเดือนแรกของการตง้ั ครรภ์ เพราะเด็กจะมีการพัฒนาของ
อวยั วะต่าง ๆ ดงั น้ัน ถ้ามีการติดเชอ้ื ในช่วงน้นั ก็จะทาให้เด็กทค่ี ลอดออกมาเกิดอาการผิดปกติ
อย่างไรก็ตาม กรณีพบเด็กท่ีได้รบั ผลกระทบจากไวรสั ซิกา้ ซึ่งมขี นาดศีรษะเล็กผดิ ปกติ ในทางการแพทย์ การ
รกั ษาคงเป็นแบบประคบั ประคองหรือรกั ษาตามอาการ
วิธปี ้องกนั ทด่ี ที ่สี ดุ เมอ่ื คุณแม่ทราบวา่ ต้งั ครรภค์ วรรีบไปฝากครรภ์ หม่ันกินยาและวิตามินท่คี ณุ หมอ
ส่งั ตรวจครรภท์ กุ ครง้ั อย่าให้ขาด ฉดี วคั ซนี สาคัญ ๆ ลดพฤติกรรมเสย่ี งทุกอย่าง และดูแลตัวเองให้ดที ่ีสดุ
พรอ้ มช่วยกันดูแลแหล่งเพาะพันธยุ์ ุงลาย โดยการทาความสะอาด การเทนา้ ท้ิง หรือครอบฝาภาชนะทสี่ ามารถ
บรรจุ คนท้องควรใช้ยากนั ยุงที่ปลอดภัย สวมเส้อื แขนยาวและกางเกงขายาว ใสเ่ ส้ือผา้ สีสว่าง ในบ้านควรติด
มุ้งลวดทป่ี ระตู หน้าต่าง เพ่ือป้องกนั อนั ตรายจากยงุ ลดความเสย่ี งภาวะศรี ษะเล็กทอ่ี าจเกดิ ได้กับทารกใน
ครรภ์
ลูกหวั เลก็ หรอื ภาวะศรี ษะเล็ก ไม่ได้เกิดจากไวรสั ซกิ า้ เพียงอย่างเดยี ว พิชญานิน มกราคม 2021
https://www.amarinbabyandkids.com/January 5, 2021
อ้างองิ ข้อมูล : rama.mahidol.ac.th, mgronline.com, และ sanook
ภาวะดดู กลืนลาบากในเด็กสมองพิการ
นอกจากเดก็ สมองพิการจะมีความผดิ ปกติของพฒั นาการด้านการเคลื่อนไหวและการทรงทา่ แลว้
ความผิดปกตดิ ้านการดูดการกลนื หรือภาวะดูดกลืนลาบากก็เปน็ อีกหนง่ึ ปัญหาที่พบได้บ่อย และถือเปน็ ปัญหา
อันดับต้นๆท่ีควรได้รับการรแก้ไข เพราะส่งผลโดยตรงต่อการกิจกรรมการบรโิ ภคในชีวติ ประจาวันและภาวะ
โภชนาการของเด็ก
เด็กสมองพิการท่มี ีภาวะดดู กลนื ลาบาก จะมีความผดิ ปกติของกล้ามเนื้อที่เก่ียวขอ้ งกับการดูด การ
เคย้ี ว การกลืน ทง้ั กลา้ มเนื้อริมฝปี าก ลิ้น คอ และกล้ามเนื้อหายใจ โดยอาจมีอาการอ่อนแรงหรือแข็งเกร็ง มี
การเคลือ่ นไหวท่ผี ิดปกติ ทางานไม่ประสานกัน มีความผิดปกติของการรับความรสู้ กึ ภายในช่องปาก รวมถงึ
ความผดิ ปกติของปฏิกริ ยิ าสะท้อนกลับอตั โนมตั ิ โดยความรุนแรงของภาวะดดู กลืนลาบากจะขน้ึ อยู่กับความ
รุนแรงของโรคและตาแหนง่ ของสมองทเี่ กดิ พยาธิสภาพ สง่ ผลใหเ้ ดก็ กลืนไม่ได้ มีการลาสัก นา้ ลายไหลผดิ ปกติ
บางรายอาจมภี าวะกรดไหลย้อนรว่ มดว้ ย เสยี่ งตอ่ ภาวะปอดตดิ เช้อื ท่ีอาจทาให้ถึงข้นั เสยี ชวี ิต ทาใหเ้ ดก็ บางราย
จาเป็นต้องใสส่ ายยางเขา้ กระเพาะอาหารผ่านทางจมูก (Nasogastric Tube หรอื NG)
อาการแสดงของภาวะดดู กลืนลาบากทีพ่ บในเด็กสมองพิการ
1.กลนื อาหาร, กลืนน้าไม่ได้ มีอาการไอหรือลาลัก รสู้ กึ เจ็บ, ระคายเคืองขณะกลืน
2.มกี ารควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ โดยเฉพาะศรี ษะ ลาตัว และการใชม้ ือ ซงึ่ อาจมสี าเหตมุ าจากการ
เกรง็ หรอื ออ่ นแรงของกลา้ มเนอื้ ส่งผลใหก้ ารทางานของอวยั วะทเ่ี กยี่ วข้องกบั การดูดกลืนไม่ประสานสัมพนั ธ์
กัน เส่ยี งต่อการสาลัก
3.มีการรบั ความรสู้ ึกภายในช่องปากผดิ ปกติ อาจมคี วามรสู้ ึกท่ไี วกว่าปกติหรอื น้อยกว่าปกติ สง่ ผลใหก้ าร
รบั สัมผัสอาหาร อุณหภูมิ รวมไปถึงรสชาตขิ องอาหารผดิ ปกติไปด้วย
4.มปี ฏกิ ริ ยิ าสะท้อนกลบั บางชนดิ ทเ่ี กีย่ วข้องกับการดูดกลืนผดิ ปกติ ไดแ้ ก่ Suck-swallowing reflex,
Rooting reflex, Swallowing reflex, Gag reflex, และBite reflex
5.มกี ารทางานของกล้ามเน้ือบรเิ วณปากและช่องปากทางานผิดปกติ เดก็ บางรายอาจมนี ้าลายไหลยืด
มากกว่าปกติ กลืนนา้ ลายตนเองไมไ่ ด้ ขยับรมิ ฝีปาก ลิน้ ขากรรไกรได้ไมส่ มบูรณ์
6.พบปญั หากรดไหลย้อนร่วมดว้ ย
ตวั อย่างกิจกรรมฝกึ กระตุ้นท่ีผู้ปกครองสามารถทาเองท่บี ้านได้
1.ใหเ้ ดก็ ยิม้ กวา้ งๆสลบั กบั การเมม้ รมิ ฝปี าก, ทาการบรหิ ารกลา้ มเน้อื ริมฝปี าก
2.ให้เด็กเอยี งปากไปทางด้านซ้ายสลับขวา
3.ใหเ้ ดก็ ออกเสียงสระต่างๆโดยขับรมิ ฝีปากอยา่ งเต็มที่
4.ให้เดก็ แล่บลิ้น ขยับลิน้ ไปด้านข้างสลบั ซ้ายขวา
5.กระตนุ้ ใหเ้ ด็กกลืนน้าลายบ่อยๆ
6.ใหเ้ ดก็ เลน่ กิจกรรมท่ีมีการเปา่ เชน่ เปา่ นกหวดี , เปา่ ฟองสบู่, เลียขนม
ท้งั น้ีเม่ือพบวา่ เด็กมปี ัญหาดงั ที่กลา่ วมาข้างตน้ ผูป้ กครองควรพาเด็กมาปรกึ ษาแพทยแ์ ละนัก
กจิ กรรมบาบัด เพื่อประเมนิ ปัญหาภาวะดดู กลืนก่อน จงึ จะสามารถวางแผนการรักษาได้ตรงจุดและลด
อันตรายท่ีอาจเกิดข้นึ จากภาวะดดู กลืนลาบากได้
ศูนย์เวชศาสตร์ฟน้ื ฟู สภากาชาดไทย https://rehab.redcross.or.th 2018
ลูกนง่ั ได้ตอนกเี่ ดอื น? วิธีฝึกลูกลุก-นง่ั เองอยา่ งถกู วิธี
การเลย้ี งลกู น้อยตามข้ันตอนทีถ่ กู ต้องจะช่วยให้เด็กเตบิ โตมาอยา่ งสมบรู ณ์ แข็งแรง ใช้ชวี ติ ไดเ้ ป็น
ปกติ ซง่ึ พฒั นาการในดา้ นต่าง ๆ เปน็ ส่งิ ทพ่ี อ่ แม่ควรตอ้ งเรียนร้แู ละศึกษาอย่างเข้าใจ เชน่ เด็กน่งั ได้กเ่ี ดือน, วธิ ี
ฝกึ ลกู นั่ง, การฝึกน่งั หลังตรง, ฝกึ ลูกลกุ -นง่ั ดว้ ยตนเอง เปน็ ตน้ ดังนน้ั เพ่ือให้ลกู น้อยของคุณพัฒนาไปตามวยั
Baby Hills Thailand จงึ ขอแนะนาเร่ืองราวของการฝึกลุก-นั่ง และการนง่ั อยา่ งถูกวธิ ี ดงั นี้
ลูกน่ังไดต้ อนกเ่ี ดือน?
นค่ี งเปน็ คาถามท่ีพ่อแม่ทุกคนอยากรู้กันเยอะมากจรงิ ๆ ซ่งึ ไม่ใชแ่ ค่เร่อื งของการน่ัง แต่ทุกพฒั นาการ
ทค่ี ่อย ๆ เกดิ ขน้ึ ทีละก้าวยา่ งของเขา เช่น การหัวเราะ, การย้มิ , หดั พูด ฯลฯ อยา่ งไรก็ตามเพื่อให้ตอบคาถาม
ได้อย่างตรงประเด็น สรปุ แล้วลกู นง่ั ไดต้ อนกีเ่ ดือนกันนะ? หากไม่มีปัญหาเรื่องสภาพร่างกาย เดก็ ที่พัฒนา
เป็นไปตามวัยจะเรม่ิ นง่ั ไดต้ ั้งแต่อายุ 4-7 เดือน ซงึ่ ชว่ งเวลาดงั กล่าวพ่อแมย่ ังต้องคอยชว่ ยเหลอื โดยการพยุง
หรอื จับตวั เด็กใหน้ ง่ั ทวา่ เม่อื กา้ วเขา้ สู่เดือนท่ี 8 เดก็ จะเรมิ่ นง่ั ดว้ ยตนเองได้มากขึ้น แต่ก็ยงั ตอ้ งมีการพยุงเอาไว้
เลก็ นอ้ ย เพ่ือปรบั รา่ งกายของเขาอยา่ งเหมาะสม
ตอ้ งการฝกึ ลูกน่ังเอง ทาได้ตงั้ แตเ่ มื่อไหร่
แม้จะบอกว่าลกู สามารถเรม่ิ หัดนง่ั ดว้ ยตนเองไดต้ ้ังแต่อายุ 5 เดือน แตพ่ ่อแม่กส็ ามารถเร่มิ ตน้ ฝึกลูกนงั่
ไดเ้ มื่อเขา้ สู่เดือนที่ 3-4 โดยการฝกึ ใหล้ ูกพลิกตวั ไดเ้ องก่อน แม้กระดกู หลังหรอื คอยังไม่ค่อยแข็งแรงนักกอ็ ย่า
ตกใจ เพยี งแคป่ ระคองและโอบลูกน้อยเอาไว้ มันจะชว่ ยเสรมิ พัฒนาการทางร่างกาย และเปน็ การฝึกให้เขา
เริม่ ทาทา่ ทางอน่ื ๆ นอกจากการนอน เม่อื เร่ิมเห็นแลว้ ว่าลกู พลิกตัวและพยายามลุกข้นึ นั่งได้กใ็ ห้ต่อดว้ ย
การฝกึ ลูกนงั่ หลังตรง ซงึ่ สามารถใชเ้ กา้ อช้ี ว่ ยน่ังเข้ามาช่วยไดห้ ากต้องการ เพราะอย่างท่ีบอกกระดูกของเขายัง
ออ่ น หากไม่พยายามจับใหต้ รงอาจกลายเปน็ เด็กหลงั ค่อม เสียบคุ ลกิ ภาพเมื่อเติบโตในอนาคตได้ เก้าอ้ีช่วยน่ัง
ถกู ออกแบบมาเพ่ือให้เหมาะสมกับสรีระของเดก็ จึงทาให้ม่ันใจไดว้ ่าดีต่อลกู ของเรา ใหใ้ ช้เก้าอ้ีสลบั กบั น่ังบน
พืน้ และบนหนา้ ตักของพ่อแม่สบั เปลย่ี นกันไปเพ่ือสรา้ งความหลากหลาย
วธิ ีฝึกลกู ลุก-นั่งเองอย่างถูกต้อง
เมอ่ื เด็กน่งั ได้ดว้ ยตนเอง ขนั้ ตอนตอ่ มาคือการฝึกลกู ลุก-นัง่ หากลองเรียงเปน็ ไทมไ์ ลน์ และลาดบั ข้นั ตอนที่
พอ่ แมส่ ามารถทาได้ คือ
• ระหวา่ งที่ลกู อายุ 4-7 เดือน นอกจากการฝกึ พลกิ ตัวในช่วงแรก และการฝึกใหน้ ัง่ แลว้ ใหจ้ บั ลูกมานง่ั
บนตัก ให้จบั ลกู มาน่ังระหว่างขาของพ่อแม่ เพื่อดวู า่ ลูกนง่ั เองได้แลว้
• อาจลองใหล้ กู น่งั บนเกา้ อี้ ซึ่งพอ่ แมอ่ าจหลอกล่อดว้ ยของที่ลกู ชอบ เม่อื เด็กเหน็ ก็อยากไปควา้ หยบิ มา
เล่น
• จับลกู ลองยนื บนตักเพ่ือหดั ให้เขาได้ลองทรงตัว จากนั้นก็จับยกขน้ึ -ลง ใหข้ าทั้ง 2 ข้างแตะกบั พน้ื เพื่อ
สร้างแรงบนั ดาลใจให้เขาอยากลองสมั ผัสดว้ ยตนเอง
• ในช่วงเดอื นที่ 7-8 อาจเริม่ มีการพยงุ ใหล้ ูกยืนขนึ้ สาเร็จ หรือที่เรียกว่าการ “ตง้ั ไข่” เพื่อให้กลา้ มเนอื้
สว่ นล่างของเขาทางานมากข้ึน ตอ่ มาใหล้ ูกเร่มิ เดนิ โดยมเี ราค่อยเปน็ หลักยึด
• อาจจะพยายามขยับเฟอร์นเิ จอรใ์ ห้เขา้ มาใกลก้ นั มากขึน้ เพ่ือให้ลกู มีท่ีเกาะในการพยายามเดนิ รอบ
หอ้ ง (อย่าลืมเชค็ ใหม้ น่ั ใจว่าไม่มีอะไรท่ีเปน็ อนั ตรายต่อลูก) และคอยดแู ลลูกอยู่หา่ งๆ
ในฐานะของการเป็นพ่อแม่ ลูกนอ้ ยคือแกว้ ตาดวงใจของชีวิต ดังน้นั การฝึกพัฒนาการต่าง ๆ ต้องเร่ิมต้นและทา
อย่างถูกต้องเสมอ แตอ่ ย่างไรก็ตาม ไม่ควรรสู้ กึ วา่ ต้องกดดัน หรือบงั คับใหล้ ูกมาฝกึ เพื่อใหท้ าได้เรว็ ๆ ทุกอยา่ ง
ตอ้ งค่อยเปน็ ค่อยไป ควรรอให้ลกู มคี วามพรอ้ มที่จะเรม่ิ ทาจริงๆ และคุณพ่อคุณแมเ่ ปน็ เพียงผู้ที่คอยสง่ เสริม
และระวังให้ลูกก็พอ
https://www.babyhillsthailand.com/teach-your-child-sit/
สรุป
เดก็ ทีม่ ภี าวะความบกพร่องทางพฒั นาการและสติปญั ญา กล่มุ ศีรษะเล็ก มักมปี ัญหาการดูดกลนื
ปญั หาพฒั นาการ เชน่ การทรงตวั ในท่านัง่ มักขาด การเรียนร้วู ธิ ที จี่ ะพาตวั เองเขา้ หาสิ่งของทีต่ ้องการ ไมว่ ่า
จะด้วยการคืบ การคลาน ยืน เดิน หรอื ใช้มอื คว้า หยิบ จบั ของ ดังนั้นถา้ พ่อแม่/ผปู้ กครองใสใ่ จช่วยเหลือ ให้
สามารถนัง่ อยใู่ นทา่ ทางท่เี หมาะสม จะเปน็ การเปิดโอกาสให้เดก็ เหลา่ น้ี ได้เรียนรู้สงิ่ แวดลอ้ มตา่ งๆ ต่อไป การ
จัดทา่ นัง่ ท่ีเหมาะสม ควรมีอปุ กรณ์ช่วยเหลอื เพ่อื ให้เด็กสามารถทรงตัวในท่าน่งั ได้
สอ่ื หมอนตวั ซี คือ หมอนรูปร่างตัวซี ทาจากผ้า ขา้ งในบุด้วยใยสังเคราะห์อดั แน่น หมอนสามารถ
วางกับพ้นื มนี า้ หนัก สามารถปรบั ความโคง้ ให้เหมาะกับลาตวั เดก็ ในท่านงั่ ขนาดและความกว้างของ
หมอนชว่ ยรองรบั การลงนา้ หนกั ที่มือหรือแขนเด็กเวลาเท้าแขน โดยไม่ทาใหล้ ม้ เป็นการนาหนอมรองให้นม
ทารก มาปรบั ใช้ เพ่ือการฝึกการทรงตวั ในท่านั่งและ เพือ่ เป็นอุปกรณ์อานวยความสะดวกตอ่ การให้อาหาร
เหลวทางสายยาง
บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย
การวิจัยในครง้ั นม้ี วี ัตถุประสงค์ คอื เพ่ือศึกษาผลการใชส้ ่ือหมอนตวั ซีเพื่อพัฒนาทักษะการทรงตวั
ในทา่ นง่ั กบั พืน้ สาหรับเด็กบกพรอ่ งทางสติปญั ญา กลุ่มอาการศีรษะเล็ก(Microcephaly) ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ
ประจาจังหวดั เชียงราย เพ่ือใหน้ ักเรียนมีความสามารถในการทรงตัวในทา่ น่ังกบั พื้นทค่ี งทน และลดการ
ถดถอยของพฒั นาเก่ียวกับการทรงตัวในท่านง่ั และเพื่อเปรียบเทยี บผลการใช้ส่อื หมอนตัวซีที่มีผลตอ่ การ
พฒั นาทกั ษะการทรงตวั ในทา่ นงั่ กบั พืน้ สาหรับเด็กบกพร่องทางสตปิ ัญญา กล่มุ อาการศีรษะเล็ก
(Microcephaly) ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดเชยี งราย กอ่ น-หลงั การฝึก
โดยมีการดาเนินการวิจัย ดงั นี้
1.รปู แบบการวจิ ัย
2.ประชากรเปา้ หมาย
3.เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย
4.การพัฒนาและหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใชใ้ นงานวจิ ัย
5.การเก็บรวบรวมข้อมลู
6.การวเิ คราะห์ข้อมลู
1.รปู แบบการวจิ ัย
เปน็ รปู แบบแบบแผนการทดลอง (Experimental design) แบบ One Group Pre-test Per-post
Test Design
กลมุ่ ก่อนเรยี น ทดลอง หลังเรยี น
(Group) (Pretest) (Treatment) (Posttest)
A o1 X ๐2
ตารางท่ี 1.1 เปน็ รูปแบบกรณศี กึ ษา (case study) โดยใช้แบบแผนการทดลอง (Experimental
design) แบบ One Group Pre-test Per-post Test Design
A แทน กล่มุ ตัวอยา่ ง
O1 แทน การประเมินทกั ษะการทรงตวั น่ังกับพนื้
X แทน ทกั ษะการทรงตวั นั่งกบั พืน้
O2 แทน การประเมินความสามารถหลังการใชท้ กั ษะการทรงตวั นั่งกับพน้ื
2.ประชากรเป้าหมาย
เด็กบกพร่องทางสติปญั ญา กลุม่ อาการศรี ษะเลก็ (Microcephaly) อายุ 4 ปีเป็นนักเรียนที่รับบริการ
แบบไปกลับท่ีหนว่ ยบริการเชียงแสน ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั เชียงราย ซงึ่ ไดร้ บั การอนญุ าตจาก
ผู้ปกครอง
3. เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั
3.1.เครื่องมือท่ีใช้ในการ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่
1.แบบสงั เกตพฤติกรรมการทรงตัวนั่งกับพ้นื
2.แบบประเมนิ การทรงตัวนัง่ กับพ้นื
3.2.เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการพัฒนาผู้เรียน
1 แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) จานวน 1 แผน ทีร่ ะบุการวางแผนการจดั การ
ศกึ ษา กาหนดเป้าหมายระยะเก่ียวกับการพฒั นาทักษะการทรงตวั น่ังกบั พนื้ โดยใชส้ ื่อหมอนตัวซี
2 แผนการสอนเฉพาะบคุ คล(IIP) จานวน 1 แผน ที่ระบจุ ดุ ประสงคร์ ะยะสน้ั หรอื
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม เก่ียวกับการพัฒนาทักษะทกั ษะการทรงตัวนง่ั กับพน้ื โดยใชส้ ่ือหมอนตัวซี
3 ส่อื หมอนตัวซี
4. การพัฒนาและหาคุณภาพของเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในงานวิจยั
การพัฒนาเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
1.รว่ มกบั ผปู้ กครอง นักสหวชิ าชพี ประชุมวางแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP) ซงึ่ ได้ขอ้ มลู มาจากการประเมนิ ความสามารถพื้นฐานด้านการเคล่ือนไหวของเด็กบกพร่องทางสตปิ ัญญา
กลมุ่ อาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) อายุ 4 ปีเป็นนักเรียนที่รับบริการแบบไปกลับที่หน่วยบริการเชียงแสน
ในปกี ารศึกษา 2564 ซึง่ ไดร้ ับอนญุ าตจากผู้ปกครอง
2.นาหวั ข้อที่ 5 การกาหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจัดการศกึ ษา
พเิ ศษในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) มาจดั ทาแผนการสอนเฉพาะบุคคล(IIP) ที่ระบจุ ุดประสงค์
เชงิ พฤติกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นา ข้นั ดาเนนิ การจัดการเรยี นร/ู้ ข้ันสอนและขนั้ สรปุ สอื่ / วัสดอุ ปุ กรณ์
/ เทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวก แหลง่ การเรยี นรู้ท่ใี ชใ้ นการสอน เทคนิคการสอนที่ใช้ในการจัดการเรียน
การสอนเฉพาะบคุ คล และการวดั และประเมินผล เกีย่ วกับการพฒั นาทกั ษะการทรงตวั นั่งกบั พื้น
นาข้อคาถามและนิยามศัพท์เฉพาะไปใหผ้ ้เู ช่ียวชาญ 3 ทา่ นพิจารณาความสอดคล้องโดย
คะแนนทต่ี ้องการจะวัด ดังน้ี
+1 หมายถึง ข้อคาถามสอดคล้องกับนิยามเชงิ ปฏิบตั ิการทต่ี ้องการวัด
0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจว่าข้อคาถามสอดคล้องกับนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการท่ตี ้องการวดั
-1 หมายถงึ ข้อคาถามไม่สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการทตี่ ้องการวดั
ผวู้ ิจัยได้กาหนดเกณฑ์ท่ใี ชใ้ นการตัดสนิ ความตรงเชิงเนอื้ หา คือ ค่าดัชนีความสอดคล้องหรอื IOC ตั้งแต่
0.5 จึงจะถือวา่ ข้อคาถามน้ันสอดคล้องกับโครงสร้างและนิยามศัพท์เชิงปฏิบตั ิการ ที่ต้องการวดั ข้อใดต่ากวา่ 0.5
จะต้องนาไปปรบั ปรุงแก้ไข (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539 : 249)
เมื่อตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาทกุ ข้อคาถาม ผลการประเมนิ พบว่ามีคา่ ความสอดคล้องกบั นิยามศัพท์
อยูร่ ะหว่าง 0.60 - 1.00
3.พฒั นาสื่อหมอนตัวซี
1.ศึกษาการใช้งานหมอนรองให้นมรปู ทรงตวั U ใชง้ านง่ายโดยการตดิ ตัง้ ท่ีรอบเอวของคุณแม่
นอกจากนี้ ยงั มีข้อดที ส่ี วมใสไ่ ดง้ ่ายดว้ ยมือเดียวโดยไม่มขี ้นั ตอนท่ยี ุ่งยาก แถมยังใชเ้ ปน็ หมอนสาหรบั หัดนัง่
ใหก้ บั เดก็ ทารกไดด้ ว้ ย เพราะเด็กวัยหัดนง่ั อาจเสียการทรงตวั ได้ง่าย หมอนจึงเป็นตัวช่วยให้เด็กทรงตวั ได้ดี
และความนุ่มของหมอนจะป้องกันไมท่ าใหเ้ กิดการกระแทก นอกจากน้ี หมอนลักษณะนห้ี ากหมดช่วงของการ
ให้นมแลว้ ยังสามารถนาไปปรบั ใชเ้ อนกประสงค์อื่น ๆ ได้อีก เช่น ให้ลูกใชแ้ ทนหมอนสาหรบั นอนกลางวัน
หรอื ใช้กระชบั เอวของคุณแม่เมื่อมีอาการปวดหลงั ก็ได้
2.เด็กบกพรอ่ งทางสติปญั ญา อายุ 4 ปี มปี ญั หาพฒั นาการการน่ังลา่ ชา้ ไม่สามารถทรงตวั ในท่านั่ง
กบั พ้ืนดว้ ยตนเองได้ หมอนรองใหน้ มรูปทรงตวั ซี จงึ เหมาะสาหรับนามาใช้เป็นสื่อสาหรับหดั นัง่ กับพื้น
ภาพท่ี 1 ส่อื หมอนตวั ซี
3.นาสือ่ หมอนตัวซีทพี่ ัฒนาขึ้นไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบหา
คุณภาพของเครื่องมือ ซ่งึ ประกอบดว้ ย ผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 คน ประกอบดว้ ย
1) นางสาวกญั วราห์ ท่าวอ่ ง นกั กายภาพบาบดั
2) นางสาวทิพวรรณ ไกลถิน่ นกั กิจกรรมบาบดั
3) นายอนุสรณ์ อทิ ธิสริ ิศักด์ิ ครูการศึกษาพเิ ศษ
ผเู้ ชยี่ วชาญ 3 ท่านพจิ ารณาความสอดคล้องโดยคะแนนท่ตี ้องการจะวดั ดังนี้
+1 หมายถงึ ข้อคาถามสอดคล้องกบั นิยามเชิงปฏิบตั ิการท่ตี อ้ งการวัด
0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจว่าข้อคาถามสอดคล้องกับนยิ ามเชิงปฏิบัติการทต่ี ้องการวัด
-1 หมายถงึ ข้อคาถามไม่สอดคล้องกบั นิยามเชิงปฏิบตั ิการทต่ี ้องการวดั
ผู้วจิ ยั ได้กาหนดเกณฑ์ทใ่ี ชใ้ นการตัดสินความตรงเชิงเนอ้ื หา คือ คา่ ดชั นีความสอดคล้องหรอื IOC ต้ังแต่
0.5 จึงจะถือว่าข้อคาถามนัน้ สอดคล้องกับโครงสรา้ งและนยิ ามศัพท์เชงิ ปฏบิ ัติการ ทต่ี ้องการวดั ข้อใดต่ากวา่ 0.5
จะต้องนาไปปรบั ปรงุ แก้ไข (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539 : 249)
เม่ือตรวจสอบความตรงคุณภาพของเคร่ืองมือ ทุกข้อคาถาม ผลการประเมินพบว่ามีคา่ ความสอดคล้อง
กบั นยิ ามศัพท์อยูร่ ะหว่าง 0.60 - 1.00
ผ้เู ช่ยี วชาญตรวจสอบหาคณุ ภาพของเคร่ืองมือ โดยมีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
1) ไม่ควรใช้หมอนตวั ซีกับเด็กเพียงลาพัง ควรมีผ้ปู กครองหรือผู้ดูแลอยู่กบั เด็กใน
ขณะท่ีใช้สือ่ หมอนตัวซี ควรสงั เกตความสามารถทรงตวั ในท่าน่งั กับพนื้ โดยใช้หมอนตวั ซีของเด็ก หากพบวา่
เด็กเร่ิมมีอาการโน้มตวั ลงตา่ หรอื กม้ หนา้ ลง ควรยุติการใช้หมอนตัวซี
2) ควรรกั ษาความสะอาดหลงั การใช้หมอนตวั ซีฝกึ ทักษะการทรงตัวในทา่ นง่ั กบั พื้น
3) ควรนาสอื่ หมอนตัวซี ไปใช้ทากจิ กรรมการฝึกทักษะการทรงตวั ในท่านั่ง โดย
ใชฝ้ ึกอย่างน้อย 8-12 ครั้ง
4 สร้างเครอ่ื งมือเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยให้ทากิจกรรม 8-12 คร้งั
5.นาส่อื หมอนตวั ซีไปทดลองใช้ กบั เดก็ บกพร่องทางร่างกายฯ พบวา่
ต้องมีผูจ้ ับประคอง กันเด็กไม่ใหโ้ น้มตวั ไปด้านหนา้ ผวู้ ิจัยจงึ ปรบั กิจกรรมการนง่ั กบั พ้ืนโดยใช้หมอนตัวซี
โดยมีผู้ปกครองชว่ ยเหลือหรอื กระตนุ้ เตือน
6.ศึกษาผลของการใช้ส่อื หมอนตัวซีที่มตี อ่ การพัฒนาทกั ษะการทรงตวั นง่ั กับพ้นื
ของเด็กบกพร่องทางสตปิ ัญญา ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย
การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในงานวจิ ัย
1.นาเครอ่ื งมอื ทีส่ รา้ งขึน้ ไปให้ผ้เู ชยี่ วชาญตรวจสอบหาคุณภาพของเคร่ืองมือด้าน
เนือ้ หา ซง่ึ ประกอบดว้ ย นกั สหวชิ าชีพ จานวน 2 คน และครูการศึกษาพิเศษ จานวน 1 คน รวม 3 คน ไดแ้ ก่
1) นางสาวจิรฐั ฏกิ าล กนั ทะวงค์ นักกายภาพบาบัด
2) นางพิชญาศินี สุยะตา นกั กจิ กรรมบาบดั
3) นางสาวเพ็ญผกา เปร่ยี ววญิ ญา ครกู ารศึกษาพิเศษ
ผู้เชยี่ วชาญ 3 ท่านได้พิจารณาความสอดคล้องโดยคะแนนท่ีต้องการจะวัดด้านเนื้อหา ดงั น้ี
+1 หมายถงึ ข้อคาถามสอดคล้องกบั นิยามเชงิ ปฏิบัติการทีต่ ้องการวัด
0 หมายถึง ไม่แน่ใจวา่ ข้อคาถามสอดคล้องกบั นิยามเชิงปฏบิ ตั ิการทีต่ ้องการวัด
-1 หมายถึง ข้อคาถามไม่สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการที่ต้องการวดั
ผู้วิจยั ไดก้ าหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการตัดสนิ ความตรงเชงิ เนื้อหา คือ ค่าดัชนีความสอดคล้องหรือ
IOC ต้งั แต่ 0.5 จึงจะถือวา่ ข้อคาถามนัน้ สอดคล้องกับโครงสรา้ งและนิยามศพั ท์เชงิ ปฏบิ ัติการ ที่ต้องการวัด ข้อใด
ตา่ กว่า 0.5 จะต้องนาไปปรับปรุงแก้ไข (ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. 2539 : 249)
เมื่อตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาทุกข้อคาถาม ผลการประเมินพบวา่ มีค่าความสอดคลอ้ งกบั
นิยามศัพท์อยู่ระหวา่ ง 0.60 - 1.00
โดยมีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
1) กิจกรรมควรสอดคล้องกับเปา้ หมายท่ีกาหนดอยา่ งชัดเจน
2) การกาหนดกจิ กรรมควรคานึงถงึ เปา้ หมายและสอดคล้องกบั การ
เคลื่อนไหวในชีวิตประจาวันของเดก็ บกพร่องทางสติปญั ญา
1) แผนกจิ กรรมควรมีการนาไปใช้อย่างน้อย 8-12 ครง้ั
๒.แกไ้ ข ปรบั ปรุงเคร่ืองมือดา้ นเน้อื หาตามขอ้ เสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญ คือ กิจกรรมควร
สอดคลอ้ งกับเป้าหมายท่ีกาหนดอย่างชดั เจนการกาหนดกิจกรรมควรคานงึ ถึงเป้าหมายและสอดคล้องกบั การ
เคลื่อนไหวในชวี ติ ประจาวันของเดก็ บกพร่องทางสตปิ ญั ญา และแผนกิจกรรมควรมกี ารนาไปใช้อย่างนอ้ ย 8-
12 ครั้ง
3.กาหนดคณุ ภาพของเครื่องมือสงั เกตพฤติกรรมประกอบด้วยการสังเกตพฤติกรรม
โดยใช้เกณฑผ์ ่าน/ไมผ่ ่านขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิได้แก่
3.1.ความสามารถในการทรงตัวในท่านัง่ กับพนื้ ของเด็กบกพร่องทางสติปัญญา
กลุม่ อาการศีรษะเล็ก ในขณะใช้สื่อหมอนตัวซี มีอาการโน้มตวั ไปข้างหน้าหรือ ดา้ นหลัง หรือทรงตัวได้ดีไม่
เอยี งลม้
3.2.ความยาวนานในการฝึกทักษะการทรงตวั น่งั กบั พนื้
ผู้เช่ยี วชาญ 3 ท่านได้พจิ ารณาความสอดคล้องโดยคะแนนท่ีต้องการจะวัดด้านเนื้อหา ดังน้ี
+1 หมายถึง ข้อคาถามสอดคล้องกบั นิยามเชิงปฏิบตั ิการที่ตอ้ งการวัด
0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจวา่ ข้อคาถามสอดคล้องกบั นยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการทต่ี ้องการวดั
-1 หมายถงึ ข้อคาถามไม่สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการทีต่ ้องการวัด
ผู้วิจยั ได้กาหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินความตรงเชิงเนื้อหา คือ ค่าดชั นีความ
สอดคล้องหรือ IOC ตง้ั แต่ 0.5 จงึ จะถือว่าข้อคาถามน้ันสอดคล้องกับโครงสร้างและนยิ ามศัพท์เชิงปฏิบตั ิการ ท่ี
ต้องการวัด ข้อใดตา่ กว่า 0.5 จะต้องนาไปปรับปรุงแก้ไข (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539 : 249)
เมื่อตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาทุกข้อคาถาม ผลการประเมนิ พบวา่ มีคา่ ความสอดคล้องกบั
นยิ ามศัพท์อยู่ระหวา่ ง 0.60 - 1.00
4.กาหนดคุณภาพของเครื่องมือการประเมินทักษะการทรงตัวนงั่ กบั พนื้
เกณฑ์การวดั ระดับความสามารถ ประกอบดว้ ย 5 ระดับ ใช้เกณฑร์ ะดับ
ความสามารถ (พิการรนุ แรง/พิการซ้อน)
ระดบั 5 หมายถึง ทาได้ดว้ ยตนเอง
ระดับ 4 หมายถึง ทาไดโ้ ดยการกระตนุ้ เตือน 1 อย่าง
ระดับ 3 หมายถึง ทาได้โดยการกระตุ้นเตือน 2 อยา่ งร่วมกัน
ระดับ 2 หมายถึง ทาได้โดยการกระตุ้นเตือน 3 อยา่ งร่วมกัน
ระดบั 1 หมายถึง ทาไมไ่ ดห้ รือไม่ยอมทา
ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านได้พจิ ารณาความสอดคล้องโดยคะแนนที่ต้องการจะวดั ด้านเนื้อหา
ดงั นี้
+1 หมายถงึ ข้อคาถามสอดคล้องกับนิยามเชงิ ปฏบิ ัติการที่ต้องการวัด
0 หมายถงึ ไม่แน่ใจวา่ ข้อคาถามสอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบตั ิการทตี่ ้องการวดั
-1 หมายถึง ข้อคาถามไม่สอดคล้องกบั นิยามเชิงปฏิบัติการทตี่ ้องการวดั
ผู้วิจัยได้กาหนดเกณฑ์ทีใ่ ช้ในการตัดสินความตรงเชงิ เน้ือหา คือ ค่าดชั นีความ
สอดคล้องหรือ IOC ต้ังแต่ 0.5 จึงจะถือวา่ ข้อคาถามน้ันสอดคล้องกับโครงสร้างและนิยามศัพท์เชงิ ปฏบิ ัติการ ที่
ตอ้ งการวดั ข้อใดต่ากว่า 0.5 จะต้องนาไปปรบั ปรุงแก้ไข (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539 : 249)
เมื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาทุกข้อคาถาม ผลการประเมินพบว่ามีค่าความ
สอดคล้องกบั นิยามศัพท์อย่รู ะหวา่ ง 0.60 - 1.00
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
การใชส้ ่ือหมอนตวั ซีเพื่อพฒั นาทักษะการทรงตัวในท่านง่ั กบั พ้นื สาหรบั เดก็ บกพร่องทางสตปิ ญั ญา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชยี งรายในครัง้ นี้ ทาการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากเด็กบกพร่องทาง
สตปิ ัญญา กลุ่มอาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) อายุ 4 ปีเป็นนักเรียนที่รับบริการแบบไปกลับที่หน่วย
บริการเชียงแสน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย โดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive
sampling) มีผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลนา เสนอดังนี้
ตอนท่ี 1.ผลศกึ ษาการใช้ส่อื หมอนตวั ซีเพอ่ื พัฒนาทักษะการทรงตวั ในท่านง่ั กับพน้ื สาหรับเดก็ บกพรอ่ งทาง
สติปัญญา กลุม่ อาการศีรษะเลก็ (Microcephaly) ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดเชียงรายเพ่อื ให้
นกั เรียนมีความสามารถในการทรงตัวในทา่ นัง่ กับพนื้ ที่คงทน และลดการถดถอยของพัฒนาเกย่ี วกบั การทรง
ตัวในท่าน่ัง
ตอนที่ 2 ผลเปรียบเทียบผลการใช้สื่อหมอนตวั ซีท่ีมีผลต่อการพัฒนาทักษะการทรงตวั ในท่านงั่ กับพนื้ สาหรบั
เด็กบกพร่องทางสติปญั ญา กล่มุ อาการศีรษะเลก็ (Microcephaly) ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัด
เชียงราย กอ่ น-หลังการฝกึ
ตอนที่ 1.ผลศกึ ษาการใชส้ ื่อหมอนตวั ซีเพ่ือพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านงั่ กบั พ้นื สาหรับเด็ก
บกพร่องทางสติปญั ญา กลุ่มอาการศีรษะเล็ก(Microcephaly) ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชยี งราย
เพ่อื ให้นกั เรียนมีความสามารถในการทรงตวั ในท่านั่งกับพ้ืนทคี่ งทน และลดการถดถอยของพัฒนาเกี่ยวกบั การ
ทรงตัวในท่านงั่ ดังน้ี
ตาราง 1 ผลการศึกษาการใชส้ ื่อหมอนตัวซีเพ่ือพัฒนาทักษะการทรงตัวในทา่ นง่ั กบั พ้ืนทคี่ งทน
รายการ ความคงทนของการทรงตัว จานวน:นาที จานวนเวลาทเี่ พม่ิ ข้ึน
ในท่านัง่ กับพนื้ ท่ที าได้ (นาที)
1 การฝึกครั้งท่ี 1 2.30 -
2 การฝกึ ครง้ั ท่ี 2 2.40 .10
3 การฝกึ คร้ังท่ี 3 2.50 .10
4 การฝึกครั้งที่ 4 3.00 .10
5 การฝกึ ครั้งท่ี 5 3.10 .10
6 การฝึกครง้ั ท่ี 6 3.20 .10
7 การฝึกครง้ั ที่ 7 3.30 .10
8 การฝึกคร้ังที่ 8 3.40 .10
-
9 การฝึกครัง้ ท่ี 9 3.50 -
-
10 การฝกึ ครั้งท่ี 10 3.50
11 การฝึกครั้งท่ี 11 3.50
รวม 33.7
คิดเปน็ นาที 3.06
จากตาราง 1 ผลการศึกษาการใช้ส่อื หมอนตัวซีเพ่ือพฒั นาทักษะการทรงตวั ในท่านั่งกับพนื้ มกี ารฝกึ
จานวน 11 ครงั้ มีคา่ เฉลย่ี ความคงทนของการทรงตัวในท่านั่งกับพ้ืน คิดเปน็ 3.06 นาที มีจานวน
เวลาท่ีเพ่มิ ขึ้น (นาที) จากการฝกึ ครั้งท่ี 2-8 ส่วนการฝกึ ครัง้ ที่ 9-11 มีความคงทนของการทรงตวั ในท่านง่ั
กับพน้ื จานวนเวลาที่คงที่
ตาราง 2 ผลการเปรียบเทียบการใช้สอื่ หมอนตัวยซที ่มี ีผลต่อการพัฒนาทักษะการทรงตัวในทา่ น่งั กับพืน้
กอ่ น-หลงั การฝึก
รายการ การประเมนิ ทรงตวั คิดเปน็ การประเมนิ การทรงตัว คดิ เปน็ ความแตกตา่ ง
ในท่านงั่ กับพน้ื ร้อยละ ในท่าน่ังกบั พ้ืน ร้อยละ ระหว่างก่อน
กอ่ นฝกึ หลังฝึก และหลังฝกึ
12 40 3 60 20
22 40 3 60 20
32 40 3 60 20
42 40 4 80 40
52 40 4 80 40
62 40 4 80 40
72 40 5 100 60
83 60 5 100 60
93 60 5 100 60
10 3 60 5 100 60
11 3 60 5 100 60
รวม 20 520 46 920 480
ร้อยละ 47.27 83.60
จากตารางท่ี 2 ผลการเปรยี บเทยี บการใชส้ อ่ื หมอนตวั ซีท่ีมีผลตอ่ การพฒั นาทักษะการทรงตัวในท่าน่งั
กบั พนื้ ก่อน-หลังการฝึก พบวา่ มีการฝกึ การทรงตวั ในท่านงั่ กับพนื้ จานวน 11 ครั้ง กอ่ นการใชส้ ื่อหมอน
ตวั ยซี มผี ลการประเมินทรงตัวในทา่ นัง่ กับพนื้ ก่อนเรียนทาได้ คดิ เปน็ ค่ารอ้ ยละ 47.27 และหลงั การใชส้ ื่อ
หมอนตัวซี หลังเรยี นทาไดค้ ิดเป็นค่าร้อยละ 83.60 คะแนนกอ่ นและหลังการใช้สือ่ หมอนตัวซี มีผลการ
พฒั นาท่ดี ีขน้ึ
บทที่ 5
สรปุ อภปิ ลายผลและข้อเสนอแนะ
การวจิ ยั เร่ืองการใช้ส่อื หมอนตวั ซีเพอ่ื พัฒนาทักษะการทรงตวั ในท่านั่ง สาหรับเด็กบกพร่องทาง
สตปิ ัญญากลุ่มอาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชียงราย มี
วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ศึกษาผลการใชส้ ือ่ หมอนตวั ซีเพอ่ื พัฒนาทักษะการทรงตัวในท่าน่งั กบั พื้นสาหรบั เดก็ บกพรอ่ ง
ทางสติปญั ญา กลุ่มอาการศีรษะเลก็ (Microcephaly) ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั เชียงราย เพือ่ ให้
นักเรียนมคี วามสามารถในการทรงตวั ในท่านั่งกบั พน้ื ท่คี งทน และลดการถดถอยของพัฒนาเกย่ี วกับการทรง
ตวั ในท่านัง่ เพอ่ื เปรียบเทียบผลการใช้สือ่ หมอนตวั ซีท่มี ีผลตอ่ การพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านงั่ กบั พื้น
สาหรับเดก็ บกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา กลุม่ อาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจา
จังหวัดเชียงราย ก่อน-หลงั การฝกึ ประชากรเปา้ หมาย เดก็ บกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา กลุ่มอาการศีรษะเล็ก
(Microcephaly) มปี ัญหาพัฒนาการลา่ ชา้ ดา้ นการน่ัง มคี วามผิดปกติในการกลนื และการรับประทาน
อาหารทาให้ต้องเจาะคอ สาหรับใหอ้ าหารทางสายยาง เปน็ นักเรียนทีร่ บั บริการแบบไปกลับทหี่ นว่ ยบริการ
เชียงแสน ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั ประกอบดว้ ย เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมนิ ทักษะการ
ทรงตวั น่งั กบั พ้นื เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการพัฒนาผเู้ รียน ได้แก่ แผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล(IEP)
แผนการสอนเฉพาะบคุ คล(IIP) สือ่ หมอนตัวซี พัฒนาทักษะการทรงตัวในท่านั่งกับพ้นื สาหรบั เด็ก
บกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มอาการศีรษะเลก็ (Microcephaly) สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ใชก้ าร
บรรยาย ได้แก่ ค่าร้อยละคา่ เฉล่ีย และคา่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปน็ การวดั เชงิ ปริมาณโดยผู้วิจัยดาเนนิ การ
เก็บรวมรวมขอ้ มลู ณ ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย ต้ังแต่ เดอื นพฤศจิกายน 2564-มนี าคม
2565 สามารถสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะไดด้ งั นี้
สรปุ ผลการวิจัย
1.ผลการศกึ ษาการใชส้ ่อื หมอนตัวซีเพื่อพัฒนาทักษะการทรงตวั ในทา่ นงั่
สาหรบั เดก็ บกพรอ่ งทางสติปัญญากลุ่มอาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจา
จงั หวัดเชยี งราย พบว่า สื่อหมอนตัวซีเพ่ือพัฒนาทักษะการทรงตัวในท่าน่ังกบั พื้น มีการฝกึ จานวน 11
คร้ัง มคี ่าเฉล่ีย ความคงทนของการทรงตัวในทา่ นั่งกับพืน้ คดิ เป็น 3.06 นาที มจี านวนเวลาทเี่ พิม่ ขนึ้
(นาที) จากการฝกึ คร้งั ที่ 2-8 สว่ นการฝึกคร้ังท่ี 9-11 มีความคงทนของการทรงตวั ในทา่ น่งั กับพืน้ จานวน
เวลาทีค่ งที่
2.ผลการเปรยี บเทียบผลการใช้สื่อหมอนตัวซีท่ีมีผลตอ่ การพฒั นาทกั ษะการทรงตัวในทา่ นง่ั กบั พนื้
สาหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา กล่มุ อาการศรี ษะเล็ก(Microcephaly) พบวา่ การฝึกการทรงตวั ในท่าน่ัง
กับพ้นื จานวน 11 คร้ัง ก่อนการใช้สือ่ หมอนตัวซี มีผลการประเมนิ ทรงตวั ในทา่ นัง่ กบั พ้ืน ก่อนเรยี นทาได้
คดิ เปน็ ค่าร้อยละ 47.27 และหลังการใช้ส่ือหมอนตัวซี หลงั เรยี นทาได้คดิ เป็นค่าร้อยละ 83.60
สรุปไดว้ ่า
1.การใชส้ ่ือหมอนตวั ยซี มคี ะแนนหลงั เรยี นจากการพัฒนาทกั ษะการทรงตวั ในท่าน่ังกับพืน้ สงู กว่า
กอ่ นฝกึ
2.การใชส้ ่ือหมอนตัวซีมาพฒั นาและคงสภาพทกั ษะการทรงตวั ในท่าน่ัง สาหรับเดก็ บกพรอ่ งทาง
สตปิ ญั ญากลุ่มอาการศีรษะเล็ก(Microcephaly) มีผล การพฒั นาท่ดี ีขึน้ ทัง้ น้ีอาจเป็นเพราะหมอนตัวซี
เป็นหมอนรูปร่างตวั ซี ทาจากผ้า ขา้ งในบุดว้ ยใยสงั เคราะห์อดั แน่น หมอนสามารถวางกับพืน้ มนี ้าหนัก
สามารถปรบั ความโค้งให้เหมาะกับลาตวั เด็กในทา่ น่ัง ขนาดและความกวา้ งของหมอนช่วยรองรับการลง
นา้ หนักทม่ี ือหรอื แขนเด็กเวลาเทา้ แขน โดยไมท่ าให้ล้ม เม่ือจัดท่าน่ังกบั พน้ื เด็กสามารถน่งั ไมล่ ม้ ทาใหเ้ ดก็
เกดิ ความมน่ั ใจ ทจ่ี ะนัง่ ทาใหน้ ่งั ไดน้ านขนึ้ และเม่ือนง่ั ได้แล้วสามารถชันคอขึ้นมองดสู ิ่งแวดล้อมรอบตัว
ซึ่งสอดคล้องกบั สถาบันราชานุกลุ ที่กลา่ ววา่ ควรมีการฟื้นฟูสมรรถภาพในบุคคลท่ีมีภาวะบกพร่องทาง
สตปิ ญั ญา ด้านการแพทย์และการศกึ ษา
3.หมอนตวั ซี สามารถนามาปรบั ประยกุ ต์เปน็ อุปกรณใ์ นการจัดท่ากึง่ นัง่ ในขณะให้อาหารเหลวทาง
สายยาง ลดอาการสาลกั อาหารลง
อภิปรายผล
ข้อคน้ พบจากการใชส้ ื่อหมอนตัวซี มีคะแนนหลังเรียนจากการพฒั นาทักษะการทรงตวั ในทา่ นั่งกบั พน้ื
สงู กวา่ กอ่ นฝึก เดก็ บกพร่องทางสตปิ ัญญากลุ่มอาการศีรษะเล็ก(Microcephaly) ที่มีปัญหาพัฒนาการ
ล่าช้า ดา้ นการนงั่ หลงั การใชส้ ื่อหมอนตัวซีมีผล การพฒั นาทดี่ ขี นึ้ ทัง้ น้ีอาจเปน็ เพราะ สอื่ หมอนตวั ซี
เป็นหมอนรปู ร่างตวั ซี ทาจากผา้ ข้างในบุด้วยใยสงั เคราะห์อัดแนน่ หมอนสามารถวางกับพ้ืน มนี ้าหนัก
สามารถปรับความโค้งให้เหมาะกับลาตัวเด็กในท่านั่ง ขนาดและความกวา้ งของหมอนช่วยรองรบั การลง
น้าหนกั ท่ีมือหรือแขนเด็กเวลาเทา้ แขน โดยไมท่ าใหล้ ม้ เมือ่ จัดทา่ นั่งกับพนื้ เด็กสามารถน่ัง ไม่ลม้ ทาให้เด็ก
เกดิ ความม่ันใจ ท่จี ะนงั่ ทาให้นั่งไดน้ านขน้ึ และเมื่อนั่งได้แล้วสามารถชันคอขน้ึ มองดูส่ิงแวดลอ้ มรอบตัว
ซ่ึงสอดคล้องกบั สถาบนั ราชานุกลุ ทีก่ ล่าวว่า ควรมีการฟื้นฟสู มรรถภาพในบคุ คลที่มีภาวะบกพร่องทาง
สติปัญญา ด้านการแพทย์และการศกึ ษา นอกจากนหี้ มอนตวั ซี สามารถนามาปรบั ประยุกต์เปน็ อุปกรณ์ใน
การจัดท่ากงึ่ นั่ง ในขณะใหอ้ าหารเหลวทางสายยาง ลดอาการสาลักอาหารลง
ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวิจยั ไปใชข้ องศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั เชียงราย
การนาผลการวจิ ยั ไปใช้
กอ่ นการฝกึ การการทรงตวั ในทา่ นง่ั กบั พนื้ ควรเตรยี มความพรอ้ มนกั เรียน ด้วยการยดื เหยียด
กลา้ มเน้อื คอ กล้ามเนื้อแขน ขา ควรให้แรงเสริมทางบวก เม่อื นักเรียนใช้สือ่ หมอนตัวซี ได้ตามเป้าหมายท่ี
กาหนด ด้วยวิธีการกระตนุ้ เตือนทางกาย เนื่องจากเด็กสามารถรบั รไู้ ด้ดี ไม่ควรใชห้ มอนตวั ซีกับเด็กเพียง
ลาพัง ควรมผี ปู้ กครองหรือผู้ดแู ลอยกู่ บั เดก็ ใน ขณะทใ่ี ช้สอ่ื หมอนตัวซี ควรสงั เกตความสามารถในการทรง
ท่านงั่ กับพื้น หากพบว่าเด็กเริ่มมอี าการโน้มตวั ลงต่าหรอื ก้มหน้าลง ควรยตุ กิ ารใชห้ มอนตัวซี ควรรกั ษา
ความสะอาดหลังการใช้หมอนตัวซี ควรนาส่อื หมอนตัวซี ไปใชท้ ากิจกรรมการฝึกทักษะการทรงตวั ในท่า
น่งั โดยใช้ฝกึ อยา่ งน้อย 8-12 ครั้ง
การวิจัยคร้ังตอ่ ไป
ควรพัฒนาต่อยอดนาสื่อหมอนตัวซี ไปใช้พัฒนานักเรยี นพิการประเภทอน่ื ท่ีมปี ัญหาในการทรง
ตัวในท่านงั่ กบั พน้ื
เอกสารอ้างองิ
ภาวะบกพร่องทางสตปิ ญั ญา / ภาวะปญั ญาอ่อน สถานบันราชานุกูล
h.rajanukul.go.th/preview- 4009.html
Microcephaly (ไมโครเซบฟาลี) https://www.pobpad.com/microcephaly
ไมโครเซฟาลี’ เดก็ หวั เล็กในไทย มใี ครใส่ใจบ้างไหม มติชน ออนไลน์ ศ.เกียรตคิ ุณ นพ.ประเสริฐ ทอง
เจรญิ ราชบัณฑิตวันท่ี 27 กันยายน 2559
ความรู้ทางการแพทย์ สาลัก อาการเล็กๆ แตใ่ หญ่สาหรับเจา้ หนู ขอ้ มูลแพทย์ศนู ย์กมุ ารเวชกรรม
โรงพยาบาลพญาไท http://phyathai-sriracha.com/pytsweb/index.php?page
=modules/knowledgepage&knowid=11
ลกู หัวเลก็ หรือภาวะศีรษะเล็ก ศูนย์เวชศาสตร์ฟืน้ ฟู สภากาชาดไทย
https://rehab.redcross.or.th 2018
ลกู นงั่ ไดต้ อนกี่เดอื น? วธิ ฝี ึกลกู ลกุ -นง่ั เองอย่างถูกวธิ ี
https://www.babyhillsthailand.com/teach- your-child-sit/
รายนามผูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบคุณภาพ
ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบหาคุณภาพของเครือ่ งมือ ซึง่ ประกอบด้วย
1) นางสาวกญั วราห์ ท่าวอ่ ง นกั กายภาพบาบดั
2) นางสาวทพิ วรรณ ไกลถน่ิ นักกจิ กรรมบาบัด
3) นายอนุสรณ์ อิทธิสริ ศิ ักดิ์ ครูการศึกษาพิเศษ
ผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื ดา้ นเน้ือหา ซ่ึงประกอบด้วย
1) นางสาวจริ ัฐฏกิ าล กันทะวงค์ นกั กายภาพบาบดั
2) นางพชิ ญาศนิ ี สยุ ะตา นักกจิ กรรมบาบัด
3) นางสาวเพ็ญผกา เปร่ียววิญญา ครูการศึกษาพิเศษ
ประวตั ผิ ู้วิจัย
ช่ือผวู้ จิ ยั หยาดฝน พานแก้ว
วัน เดอื น ปีเกดิ ๒ พฤษภาคม ๒๕๒๒
สถานทีอ่ ยู่ปัจจุบนั บา้ นเลขท่ี ๓๑/๓ หมู่ ๑๗ ตาบลรอบเวียง อาเภอเมือง จงั หวัดเชยี งราย
ตาแหนง่ หน้าท่ีการงานปจั จบุ ัน ครศู นู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดเชียงราย
ทีท่ างานปัจจุบนั ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั เชยี งราย สังกัด
สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ประวัตกิ ารศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ครศุ าสตรบ์ ัณฑติ การศึกษาพเิ ศษ จากสถาบนั ราชภัฎเชยี งใหม่