The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ubonpaou, 2021-03-25 03:27:04

โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

รายงายผลการวิจัย

32

คา่ เฉล่ยี 4.39 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 87.72) จาแนกเป็น ด้านความคุ้มค่าและการประชาสัมพันธ์มีความพึงพอใจ
อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 89.01) รองลงมา ได้แก่ ด้านข้ันตอนและระยะเวลา
การปฏิบตั ิงาน มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 4.44 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 88.76) ด้านส่ิงอานวยความ
สะดวกและอาคารสถานที่ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.39 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 87.76)
และด้านเจ้าหน้าท่ี หรือบุคลากร มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 86.98)
ตามลาดับ

3. ความพึงพอใจของของผู้รับบริการงานด้านการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ ผลการวิเคราะห์
ความพึงพอใจ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นค่าเฉล่ีย 4.41 (ค่าร้อยละเฉลี่ย 88.30) จาแนกเป็น
ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากร ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.55 (ค่าร้อยละเฉล่ีย 91.05)
รองลงมา ได้แก่ ด้านความคุ้มค่า และการประชาสัมพันธ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.52
(ค่าร้อยละเฉลี่ย 90.57) ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉล่ีย 4.42 (ค่าร้อยละเฉล่ีย 88.43) และด้านข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจอยู่
ในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.16 (ค่ารอ้ ยละเฉลีย่ 83.14) ตามลาดับ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2553) ศึกษาเรื่อง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบรกิ ารขององค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี 2553 โดย ครอบคลมุ 3 ภารกิจงาน คอื การจัดเก็บ
ค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรม การบรรเทาสาธารณภัย และการสนับสนุนน้าเพื่ออุปโภคบริโภค
มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการสารวจความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ 3 ประการ คือ 1) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บรกิ ารดา้ นการจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมผเู้ ข้าพกั โรงแรมขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี 2) เพื่อ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการด้านการบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี 3) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ ารด้านการสนบั สนุนน้าอปุ โภคบรโิ ภคขององค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยใช้
วิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) โดยใช้เคร่ืองมือคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงาน
ผบู้ ริหารหรือเจา้ ของกจิ การโรงแรม จานวน 100 ตัวอย่าง ตัวแทนครัวเรอื นของผู้รับบรกิ ารบรรเทาสาธารณ
ภัย 600 ตัวอย่าง และตวั แทนครวั เรือนของ ผรู้ บั การสนับสนุนนา้ อุปโภคบริโภค 400 ตัวอย่าง

ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวม ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระดับมาก ในทุก ๆ ด้านของการ
ให้บริการท้ังในด้านขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านเจ้าหน้าหรือ
บุคลากร และด้านความคุ้มค่าและการประชาสัมพันธ์ โดยในภาพรวมทั้ง 3 ภารกิจงาน ความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บริการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.42 (ร้อยละ 88.40) เม่ือเปรียบเทียบท้ัง 3 ภารกิจงาน พบว่า
ผู้รับบริการมรี ะดบั ความพงึ พอใจการบรรเทาสาธารณภัย และการสนับสนุนน้าเพอื่ อุปโภคบริโภคเท่ากันคือ
ค่าเฉลี่ย 4.48 (ร้อยละ 89.60) รองลงมาคือ งานจัดเก็บค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรม ค่าเฉลี่ย 4.33
(รอ้ ยละ 86.60) ตามลาดับ

ข้อเสนอแนะจากการวิจยั ในครั้งนี้ เนื่องจากผลการปฏิบตั ิงานในภาพรวมอยู่ในเกณฑด์ ี จึงควรมุ่งให้
เกิดการสร้างกระบวนการทางานให้มีมาตรฐาน เพื่อรักษาผลการปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับที่ผู้รับบริการมี
ความพึงพอใจมากย่ิงขึ้น โดยเสนอให้พัฒนาข้ันตอนและระยะปฏิบัติงาน บุคลากร และสิ่งอานวยความ
สะดวกที่ให้บริการ ครอบคลุมภารกิจงานท้ัง 3 ด้าน และเสนอให้ดาเนินการวิเคราะห์กระบวนงานในทุก ๆ
งาน ปรับปรุงพัฒนาการทางาน และสร้างมาตรฐานในการปฏิบัติงานเพื่อสร้างความพึงพอใจให้ผู้รับบริการ
ได้อย่างมีประสิทธภิ าพตอ่ ไป

33

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2554) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2554 มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจความพึงพอใจ
ของผ้รู ับบริการใน 3 ภารกิจงาน คือ งานแจ้งเร่ืองราวร้องทุกข์ งานจัดเกบ็ ค่าธรรมเนยี มจากผูเ้ ข้าพักโรงแรม
และงานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสารวจ
(Survey research) โดยใช้เคร่ืองมือคือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ตัวแทนครัวเรือนที่
ผู้ยื่นเร่ืองราวร้องทุกข์จานวน 4 เร่ือง รวม 42 ตัวอย่าง พนักงาน ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการโรงแรม
จานวน 116 ตัวอย่าง และตัวแทนหน่วยงาน หรือตัวแทนของครัวเรือนรับการบริการน้าอุปโภคบริโภค
จานวน 423 ตวั อย่าง ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผ้ใู ช้บรกิ ารในภาพรวมพบวา่ ผู้ใชบ้ ริการมีความ
พึงพอใจในระดับมากทุกด้านท้ังในด้านขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ ด้านส่ิงอานวยความสะดวก
ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากร และด้านความคุ้มค่าและการประชาสัมพันธ์ โดยในภาพรวมท้ัง 3 ภารกิจงาน
ผู้ใชบ้ ริการมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.32 (รอ้ ยละ 86.44) เมอ่ื เปรยี บเทยี บท้งั 3 ภารกิจงาน
พบว่า งานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภคผู้รับบริการพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.61 (ร้อยละ
92.20) รองลงมาคือ งานจัดเก็บค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรม พึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.2625
(ร้อยละ 85.25) และงานแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์ พึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.0925 (ร้อยละ 81.85)
ตามลาดบั

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย เนอ่ื งจากผลการปฏิบตั ิงานในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดี จึงควรม่งุ ให้เกิดการ
สร้างกระบวนการทางานให้มีมาตรฐาน เพื่อรักษาผลการปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับท่ีผู้รับบริการมีความพึง
พอใจมากยิ่งข้ึน โดยเสนอให้พัฒนาขั้นตอนและระยะปฏิบัติงาน บุคลากร และส่ิงอานวยความสะดวกท่ี
ให้บริการ ครอบคลุมภารกิจงานทั้ง 3 ด้าน และเสนอให้ดาเนินการวิเคราะห์กระบวนการงานในทุก ๆ งาน
ปรับปรุง พัฒนาการทางาน และสร้างมาตรฐานในการปฏิบัติงานเพ่ือสร้างความพึงพอใจ ให้ผู้รับบริการได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2556) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2556 มีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการใน 3 ภารกิจงาน คือ งานบรรเทาสาธารณภัย งานจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมจากผู้เข้าพักโรงแรม
และงานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค

กลุ่มตัวอย่างงานบรรเทาสาธารณภัย คือ ตัวแทนท่ีได้รับการบริการสนับสนุนเครื่องสูบน้าและ
เรือท้องแบน จานวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างงานจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากผู้เข้าพักโรงแรม พนักงาน ผู้บริหาร
หรือเจ้าของกิจการโรงแรม จานวน 147 คน และกลมุ่ ตัวอย่างงานสนบั สนนุ นา้ อุปโภคบรโิ ภคตัวแทนท่ีได้รับ
บริการสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค จานวน 20 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ผลการวิจัย
พบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากทุกด้าน คือด้านขั้นตอนและระยะเวลา การให้บริการ ด้าน
ส่ิงอานวยความสะดวก ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากร และด้านความคุ้มค่าและการประชาสัมพันธ์ โดยใน
ภาพรวมทั้ง 3 ภารกิจงาน ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย 4.34 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
86.74) เม่ือจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานจัดเก็บค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรม พึงพอใจอยู่ในระดับ
มาก มีค่าเฉลี่ย 4.36 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 87.12) รองลงมาคือ งานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค มีค่าเฉล่ีย 4.33
(คา่ เฉลี่ยร้อยละ 86.67) และงานบรรเทาสาธารณภัย พงึ พอใจอยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉล่ยี 4.32 (คา่ เฉล่ยี ร้อย
ละ 86.42) ตามลาดับ

34

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2557) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 มีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รบั บริการใน 3 ภารกิจงาน ได้แก่ งานบรรเทาสาธารณภัย งานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค และงานรับ
แจ้งเร่ืองราวร้องทุกข์ ประชากร ได้แก่ ผู้ท่ีได้รับการบริการอัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย และภัยอื่น ๆ จานวน
60 คน ผู้ที่ได้รับบริการสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค จานวน 90 คน และผู้ท่ีได้รับริการรับแจ้งเร่ืองราวร้อง
ทุกข์ จานวน 35 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้บริการมีความ
พึงพอใจในระดับมากทุกด้าน คือ ด้านขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ ด้านส่ิงอานวยความสะดวก
ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากร และด้านความคุ้มค่าและการประชาสัมพันธ์ โดยในภาพรวมท้ัง 3 ภารกิจงาน
ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.21 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 84.20) เม่ือจาแนกแต่ละ
ภารกิจงาน พบว่า งานบรรเทาสาธารณภัย พึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.26 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ
85.16) รองลงมาคืองานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค พึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.21 (ค่าเฉล่ียร้อย
ละ 84.20) และงานรับแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์พึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.16 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
83.25) ตามลาดับ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2558) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558 สารวจความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารใน 4
ภารกิจงาน ได้แก่ งานด้านสาธารณสขุ (งานระบบบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน 1669) งานด้านรายได้หรือภาษี
(งานภาษีโรงแรม) งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค) และ
งานอ่ืนๆ (งานบริการสถานีขนส่งผู้โดยสารเฉลิมพระเกียรติอุบลราชธานี สาหรับผู้ประกอบการเดินรถ
โดยสารประจาทางสาธารณะ) ประชากรได้แก่ ผู้ที่ได้รับริการงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669
จานวน 62 คน ผู้ที่ได้รับบริการงานภาษีโรงแรม จานวน 50 คน ผทู้ ่ีได้รับบริการสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค
จานวน 100 คน และผู้ที่ได้รับการบริการงานบริการสถานีขนส่งผู้โดยสารเฉลิมพระเกียรติอุบลราชธานี
จานวน 100 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ผลการศึกษา พบว่า ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ
ในระดับมากทุกด้าน คือด้านข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านส่ิง
อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี ด้านเจ้าหน้าที่ หรือบุคลากร และด้านความคุ้มค่าและ
การประชาสัมพันธ์ โดยในภาพรวมท้ัง 4 ภารกิจงาน ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย
4.43 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 88.53) เมื่อจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669
มีค่าเฉล่ียความพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.01) รองลงมาคืองานสนับสนุนน้า
อุปโภคบริโภค พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.62 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 92.38) งานบริการสถานี
ขนส่งผู้โดยสารเฉลิมพระเกียรติอุบลราชธานี สาหรับผู้ประกอบการเดินรถโดยสารประจาทางสาธารณะ
มีค่าเฉล่ีย 4.32 พึงพอใจอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย ร้อยละ 86.31) และงานภาษีโรงแรม พึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก มคี า่ เฉลี่ย 4.12 (ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 82.43) ตามลาดับ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2560) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560 การศึกษาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อสารวจ
ความพึงพอใจของผู้รับบริการใน 4 ภารกิจงาน ได้แก่ งานด้านบริการกฎหมาย งานด้านรายได้หรือภาษี
(ภาษีน้ามัน) งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี และงานอื่น ๆ (งานบริการสถานีขนส่ง
ผู้โดยสารอาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี สาหรับผู้ประกอบการเดินรถโดยสารประจาทางสาธารณะ)
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่ได้รับรกิ ารงานดา้ นบรกิ ารกฎหมาย จานวน 200 คน งานด้านรายได้หรือภาษี (ภาษี
น้ามัน) จานวน 370 คน งานอ่ืน ๆ (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี) จานวน 400 คน

35

งานอ่ืน ๆ (งานบริการสถานีขนส่งผู้โดยสารอาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี สาหรับผู้ประกอบการเดิน
รถโดยสารประจาทางสาธารณะ) จานวน 200 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ผลการศึกษา
พบว่า ความพึงพอใจการให้บริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560 ทั้ง 4 ภารกิจงาน
ในภาพรวมผ้รู บั บริการ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.47 (ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ 89.39) เมื่อจาแนก
แต่ละภารกิจงาน พบว่า งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด
มีค่าเฉลี่ย 4.87 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 97.40) รองลงมาคืองานด้านบริการกฎหมาย อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด
มีค่าเฉล่ีย 4.62 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 92.41) งานด้านรายได้หรือภาษี (ภาษีน้ามัน) อยู่ในระดับพอใจมาก
มีค่าเฉลี่ย 4.21 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 84.21) และงานบริการสถานีขนส่งผู้โดยสารอาเภอเดชอุดม จังหวัด
อบุ ลราชธานี อยใู่ นระดบั พอใจมาก มีค่าเฉล่ยี 4.18 (ค่าเฉลีย่ ร้อยละ 83.52) ตามลาดับ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2562) ศึกษาเรื่อง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2562 การศึกษาครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์ของการบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ปี 2562 ใน 4 ภารกจิ งาน ได้แก่ งานด้านการศึกษา (งานให้บริการด้านการศึกษาของโรงเรียน
ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) งานด้านรายได้หรือภาษี (งานภาษีโรงแรม) งานด้าน
สาธารณสุข (งานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี) งานอื่น ๆ
(งานบริการสถานีขนส่งผู้โดยสารเฉลิมพระเกียรติจังหวัดอุบลราชธานี สาหรับผู้ประกอบการเดินรถโดยสาร
ประจาทางสาธารณะ) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่ได้รับริการงานด้านการศึกษา จาน วน 400 คน
งานด้านรายได้หรือภาษี จานวน 192 คน งานด้านสาธารณสุข จานวน 400 คน และงานอ่ืน ๆ จานวน
300 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่
คา่ เฉล่ีย คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษา พบว่า ในภาพรวมทั้ง 4 ภารกิจงาน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉล่ีย 4.44 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 88.80) เม่ือจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานด้านรายได้หรือภาษี
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.69 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.81) รองลงมา คือ งานด้าน
สาธารณสุข มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.61 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 92.25) งานด้านการศึกษา
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.28 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 85.61) และงานอ่ืน ๆ ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.18 (คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 83.54) ตามลาดับ

36

บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวจิ ัย

การศึกษาโครงการสารวจความพงึ พอใจของผ้รู บั บรกิ ารในงานบริการขององค์การบรหิ ารสว่ น
จงั หวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่อื ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ าร งานด้าน
เทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งาน
ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical
Dispatch Center)) งานดา้ นสาธารณสุข (งานหนว่ ยปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ กู้ชพี คณุ ธรรม (Basic life support
: BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอื่น
ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) 2) เพื่อศึกษาปัญหาและ
ขอ้ เสนอแนะในการจดั บริการประชาชน 3) เพ่ือนาผลการประเมินมาใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาการปฏิบัติงาน
ขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี

การศึกษาคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้วิธีการศึกษาเชิงสารวจ
(Survey research) โดยใช้แบบสอบถามซ่ึงพัฒนาขึ้นเป็นเคร่ืองมือคือ เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
ประชากรเป้าหมาย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญให้กระจายตามพ้ืนท่ีให้บริการให้มากท่ีสุด โดย
คัดเลือกจากผู้ท่ีได้รับบริการในระยะเวลารอบปีงบประมาณท่ีองค์กรบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้
ให้บริการ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือหาข้อสรุปจากการวิจัย โดยข้อมูลและแหลง่ ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย
ครงั้ น้ีมี 2 ประเภท คือ

1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อมูลในสว่ นน้เี ก็บรวบรวมจากกล่มุ ตัวอย่างท่ีได้รับการบรกิ าร
จากองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ทั้ง 4 ภารกิจงาน โดยใช้แบบสอบถาม และถ่ายภาพสถานท่ี
ส่ิงอานวยความสะดวก และการปฏิบัติหน้าท่ีของบุคลากร ท่ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
จดั ใหก้ ับผู้รับบริการ

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) ข้อมูลในส่วนนี้รวบรวมจากเอกสารจากหน่วยงาน
และจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าท่ี ด้านข้ันตอนการให้บริการ ช่องทางการให้บริการ ข้อมูลบุคลากร และ
ส่ิงอานวยความสะดวกที่จัดใหง้ านบรกิ ารแต่ละดา้ น

รายละเอียดของวิธดี าเนินการวิจยั มตี ามลาดับหวั ข้อดังต่อไปนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู

ประชำกรและกล่มุ ตวั อยำ่ ง

การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สมการของ ทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 : 125)
ที่ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 95 สัดส่วนความคลาดเคล่ือนเท่ากับ 0.05 และตารางสาเร็จรูปของทาโร่
ยามาเน่

37
สมการคานวณการกาหนดกลมุ่ ประชากรตวั อยา่ งของทาโร ยามาเน่

n = N / ( 1 + N ( e2 )
n : คอื ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง หรอื ขนาดของกลุ่มประชากรตัวอย่าง
N : คอื ขนาดของประชากร
e : คือ สัดส่วนความคลาดเคลอ่ื นทีย่ อมรับได้ (ร้อยละ หรือเปอรเ์ ซนต)์

ตำรำงที่ 3.1 ตารางสาเรจ็ รปู ของ ทาโร่ ยามาเน่ แสดงขนาดกล่มุ ตัวอยา่ งทีข่ นาดความคลาดเคล่ือน (e)

1. งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)
ประชากร ได้แก่ ตัวแทนครัวเรอื นหรือผไู้ ด้รับบรกิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในระหว่าง วันท่ี
1 ตุลาคม 2562 – 31 ตุลาคม 2563 โดยกาหนดขนาดลุ่มตัวอย่างโดยใช้สมการของ ทาโร่ยามาเน่ (Taro

38

Yamane, 1973 : 125) ที่ระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 95 สัดส่วนความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 (สูตร
n = N / ( 1 + N ( e2 )) โดยในปีงบประมาณ 2563 งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ณ ช่วงเวลาท่ี
รวบรวมข้อมูล ได้ให้บริการ จานวน 68 เร่ือง ผู้รับบริการ เป็นหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรการกุศล

และประชาชน ที่ได้รับบริการ 4,379 ราย ใช้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 370 ราย โดยให้ถือเป็นตัวแทนของ

หน่วยงานหรือตัวแทนครัวเรือนของประชาชนท่ีได้รับบริการ โดยสุ่มตัวอย่างให้กระจายเป็นสัดส่วนของ
ประชากรแต่ละพืน้ ทที่ ี่ได้รับบรกิ ารบรรเทาสาธารณภยั

ตำรำงที่ 3.2 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจาแนกตาม
การใหบ้ รกิ าร

ท่ี กำรใหบ้ ริกำร จำนวนที่ สิง่ อำนวยควำมสะดวก จำนวน จำนวน
แจ้งเหตุ ประชำกร ตวั อยำ่ ง

1 ระงบั เหตุอคั คภี ัย (เหตุ รถบรรทกุ นา้ ดบั เพลิงกภู้ ยั รถบรรทุก (รำย) (รำย)
เพลงิ ไหม)้ 38 น้า รถดบั เพลงิ กภู้ ยั ไฟฟา้ ส่องสว่าง
38 38
2 ชว่ ยเหลืออทุ กภยั รถยนต์กู้ภยั
1 เรือทอ้ งแบน 51
4 ชว่ ยเหลอื วาตภยั 31
3 จบั สัตวเ์ ลื้อยคลาน เคร่อื งสบู น้า 11
เครอ่ื งปัน่ ไฟขนาด 5 KVA 4300 304
ถุงยังชีพ รวม 4300 ชุด 11
รถบรรทุกน้า 21
รถแบ็คโฮ 11
1 รถบรรทุก 6 ลอ้ ติดตงั้ เครน 22
2 รถยนต์กภู้ ยั

5 สนบั สนุนนา้ อปุ โภคบริโภค 4 รถบรรทุกน้าอุปโภคบรโิ ภค 4 4
6 สนบั สนนุ ครุภณั ฑ์ 11
17 รถบรรทุกนา้ ทาความสะอาดพ้นื ท่ี 17 1
รวม 1
1 เคร่อื งสูบนา้ 1 2
1
1 เครอ่ื งตรวจโลหะชนดิ ประตเู ดนิ ผา่ น 1 370

2 เรือทอ้ งแบน 2

1 โปะ๊ ทา่ เรือ 1

68 4,379

ที่มำ : งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม องค์การบริหารส่วนจังหวัด
อบุ ลราชธานี ณ วนั ท่ี 3 กันยายน 2563

2. งาน ด้ าน ส าธ ารณ สุ ข (งาน ศู น ย์ รับ แ จ้ งเห ตุ แ ล ะ สั่ งก าร จั งห วัด อุ บ ล ราช ธ านี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) ประชากร ได้แก่ ประชาชนผู้
แจ้งเหตุที่ใช้บริการของงานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี ในระหว่าง วันท่ี 1 ตุลาคม
2562 – 31 ตุลาคม 2563 โดยใช้กล่มุ ประชากรจากฐานข้อมูลจานวนผูใ้ ช้บรกิ ารท่ไี ด้ทาสถิติการให้บรกิ าร
รับแจ้งเหตุในรายงานประจาปี 2562 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี จานวนประมาณ
50,000 เหตุ กาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรปู ของ ทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 :

39

125) ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 สัดส่วนความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 ใช้กลุ่มตัวอย่าง ไม่น้อยกว่า
397 เหตุ โดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 เหตุ โดยการสอบถามยังผู้ท่ีโทรเข้ามา
หมายเลข 1669 เพ่ือแจ้งเหตุ สุม่ ตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกเหตุให้กระจายตามเขตพ้ืนท่ีการให้บริการ
ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ใน 4 โซน ได้แก่ โซนเหนือ โซนใต้ โซนตะวันออก และโซน
ตะวนั ตก

3. งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS)
และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) ประชากร ได้แก่
ประชาชนที่ได้รับบริการงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) จานวน
5,575 เหตุ และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS) จานวน
405 เหตุ ในระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 31 ตุลาคม 2563 จากฐานขอ้ มลู ผู้ใช้บริการทไี่ ด้ทาสถติ ิการ
ให้บริการงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS) รวม 5,980 เหตุ กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของ
ทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 : 125) ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 95 สัดส่วนความคลาดเคล่ือน
เท่ากับ 0.05 สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ใช้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 375 เหตุ โดยการสอบถามไปยังญาติหรือ
ผปู้ ว่ ยที่ได้รบั บรกิ ารใหถ้ อื เป็นตัวแทนของผูร้ ับบรกิ ารแต่ละเหตุ

ตำรำงที่ 3.3 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของงานหน่วยปฏิบัติการฉกุ เฉนิ กชู้ ีพคุณธรรม (Basic life
support : BLS) และกูช้ พี องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))

ท่ี กำรให้บริกำร ส่งิ อำนวยควำมสะดวก จำนวน จำนวน
และเจำ้ หน้ำที่ ประชำกร ตวั อย่ำง
งานหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินกชู้ ีพ (เหต)ุ
1 คุณธรรม (Basic life support : รถบริการ Basic life support : BLS (เหต)ุ
พร้อมเจา้ หนา้ ที่ 4 คน 325
BLS) 5,575
2 กู้ชพี องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 50
รถบรกิ าร Advanced life support 405
อุบลราชธานี (Advanced life : ALS พร้อมเจา้ หน้าท่ี 4 คน 375
support : ALS)
5,980
รวม

ท่ีมำ : งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหาร
สว่ นจังหวดั อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) ณ วันท่ี 18 กนั ยายน 2563

4. งานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ประชากร
ไดแ้ ก่ ประชาชนที่ไดร้ บั การให้บริการในการขายทดี่ นิ ห้วยขะยงุ อาเภอวารินชาราบ และทุ่งหมาหิว อาเภอ
ตาลสุม จานวน รวม 33 แปลง (ห้วยขะยุง 6 ราย ทุ่งหมาหิว 27 ราย) และพยานที่มีส่วนในกระบวนการ
ขายท่ีดิน ได้แก่ เจ้าของท่ีดินข้างเคียง อย่างน้อย 4 คน ทายาทผู้มีสิทธ์ิซื้อในทะเบียน อย่างน้อย 1 ราย
และผู้ใหญ่บ้านท่ีรับผิดชอบพ้ืนที่ตั้งของโฉนดที่ดิน พยานรวมประมาณ 206 คน ผู้ซ้ือและพยานรวม
ประมาณ 242 คน ในระหว่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2562 – 31 ตุลาคม 2563 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดย
ใช้สูตรของ ทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 : 125) ระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 95 สัดส่วน

40

ความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 (สูตร n = N / ( 1 + N ( e2 )) สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ใช้กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 150 คน

ตำรำงท่ี 3.4 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งของงานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดนิ ห้วยขะยุง
และท่งุ หมาหิว ปีงบประมาณ 2563

พ้ืนที่ / ปีที่ กำรดำเนนิ กำรขำยทีด่ นิ (แปลง) ประเภทของผรู้ บั บริกำร ประชำกร กลุม่
ประกำศขำย ประกำศ คงเหลอื แลว้ เสร็จ (คน) ตวั อยำ่ ง
ผ้ซู ื้อ 30 (คน)
ท่งุ หมาหิว ขำย ปี 2563 ปี 2563 พยาน ผ้ใู หญ่บ้าน ตาบลจิกเทงิ หมู่
อาเภอตาลสุม 1 2 3 4 5 7 ตาบลเหลา่ แดง หมู่ 3 14 30
/(พ.ศ.2554) 703 500 27 5 7 11 ตาบลตาลสมุ หมู่ 1 ตาบล
ดอนมดแดง หมู่ 3 5 11 150 8
หว้ ยขะยุง 2,029 131 6 พยาน เจา้ ของท่ีดนิ ข้างเคยี ง 4 ทศิ 6
อาเภอวาริน และทายาทผู้มสี ิทธิซ์ อื้ ในทะเบียน 12 83
ชาราบ อยา่ งน้อย 1 คน รวม 5 คน 6
/(พ.ศ.2534) ผูซ้ ้ือ 30 7
พยาน ผู้ใหญบ่ า้ น ตาบลห้วยขะยงุ 242
รวม หมู่ 1 2 3 4 5 6 8 9 10 11 12 16
13 150
พยาน เจ้าของทดี่ นิ ขา้ งเคยี ง 4 ดา้ น
และทายาทผมู้ สี ทิ ธซิ์ ือ้ ในทะเบยี น
อยา่ งนอ้ ย 1 คน รวม 5 คน

2,732 631 33

ท่ีมำ : งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว กองกิจการพาณิชย์ องค์การ
บริหารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ณ วันท่ี 18 กันยายน 2563

เคร่ืองมือที่ใชใ้ นกำรรวบรวมขอ้ มูล

ลกั ษณะเครอ่ื งมอื
การศึกษาคร้ังนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ซึ่งผู้วิจัยจัดทาข้ึนมาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย แล้วนาไปทดสอบกับ
กลุ่มตัวอย่าง เพ่ือวิเคราะห์หาค่าความตรงเชิงเน้ือหา และความเชื่อถือได้ โดยมีรายละเอียด
ของแบบสอบถาม ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู เบ้อื งตน้
ตอนที่ 2 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจการใหบ้ รกิ าร 4 ด้าน

1) ด้านกระบวนการข้นั ตอนการให้บรกิ าร
2) ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ
3) ดา้ นเจ้าหน้าทหี่ รอื บคุ ลากร

41

4) ด้านส่ิงอานวยความสะดวก
ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ

วิธกี ำรสร้ำงเครือ่ งมือ
ผู้วิจัยได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับเน้ือหาสาระในกรอบแนวคิดที่ทาการศึกษาจาเอกสาร ตารา
ตัวอย่างแบบสอบถามที่มีลักษณะเนื้อหาการศึกษาคล้ายคลึงกัน สอบถามผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วนาความรู้มา
ประมวลสร้างเป็นองค์ประกอบ (Domain) และนิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร
1. สร้างข้อคาถาม (Item)
2. นาแบบสอบถามที่สรา้ งขน้ึ ให้ผู้เช่ยี วชาญตรวจเนือ้ หาในแตล่ ะสว่ นและปรับปรงุ แก้ไข
ตามข้อเสนอแนะ
3. นาแบบทดสอบที่ปรับปรุงแก้ไขไปแล้วไปทดสอบ (Pre-test) กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 ชุด
เพื่อปรับปรุงแบบสอบถามให้สมบูรณ์ สามารถส่ือความหมายได้ชัดเจน และเพื่อให้ได้คาตอบตรง
ตามวตั ถุประสงค์ โดยหาค่าความเชื่อม่นั ของแบบสอบถามทั้งฉบับ (Reliability analysis) ตามเกณฑ์ของ
Nunnally (1978 : 254-246) ที่กาหนดว่าเคร่ืองมือในการวิจัยรายด้าน และท้ังฉบับจะต้องมีค่า
ความเช่ือม่นั ตงั้ แต่ 0.70 ขึ้นไป จงึ จะถือว่าเปน็ เครือ่ งมือทมี่ คี ณุ ภาพ และสามารถนาไปใชใ้ นการวิจัยได้

กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

1. ด้านเอกสารและข้อมูลท่ีเก่ียวข้องประสานกับเจ้าหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานีเพ่ือขอข้อมูลด้านเอกสาร และข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง ถ่ายภาพ เพื่อประกอบการรายงานสภาพ
การใหบ้ ริการของเจา้ หน้าที่ อาคารสถานที่ และสงิ่ อานวยความสะดวก

2. จดั ผชู้ ว่ ยนักวิจัย ทาหน้าที่
ก. แจกและรบั คนื แบบสอบถาม หรอื สอบถามทางโทรศัพท์
ข. ชแี้ จง หรืออธิบาย การแบบสอบถาม
ค. กรณีผู้ตอบแบบสอบถามไม่สามารถอ่านหรือเข้าใจในคาถามของแบบสอบถาม

ผูช้ ่วยนักวจิ ัยอาจสมั ภาษณต์ ามแบบสอบถาม
โดยได้มีการอบรมชี้แจงวิธีการใช้แบบสอบถาม และทาความเข้าใจวิธีการตอบแบบสอบถาม

โดยผ้วู จิ ัยจนผ้ชู ่วยนกั วจิ ยั มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้เคร่ืองมอื การวจิ ัยดาเนินการเกบ็ ขอ้ มลู ได้
หลงั จากการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ครบถว้ นแลว้ ผวู้ จิ ยั จะนาขอ้ มูลทง้ั หมดไปดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. ลงรหสั (Coding) ในแบบสอบถามทกุ ฉบับ ตามคู่มอื ลงรหัสทไี่ ด้จัดทาไว้
2. คดั ลอกรหัสท่ีลงเรยี บร้อยแล้วลงในแบบฟอร์มการลงรหสั (General coding form)
3. นาข้อมลู ทไี่ ดบ้ ันทกึ ไว้ไปประมวลผล เพอ่ื ทาการวิเคราะหท์ างสถิติ

กำรวิเครำะหข์ อ้ มูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือนาเสนอ และสรุปผลการวิจัยคร้ังน้ีได้ใช้การคานวณค่าสถิติต่าง ๆ โดย
ใช้สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive statistics) เพ่ือแจกแจงความถี่ แสดงร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย
(Mean) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยอธบิ ายขอ้ มูลเกี่ยวกบั

ตอนที่ 1 ข้อมลู เบื้องต้น
ตอนที่ 2 ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

42

ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจในการรบั บริการ
ตอนท่ี 4 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
การสารวจความคิดเห็นเกี่ยวความพึงพอใจท่ีมีต่อการรับบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ในคร้ังนี้ คณะผู้วิจัยได้กาหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ค่าร้อยละ (Percentage of frequency) ใชส้ ูตร

P= f 100
n

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ

f แทน ความถี่ของรายการ
n แทน ความถ่ที ั้งหมด

2. คา่ เฉล่ยี (Mean) ใชส้ ูตร

X=  fX
n

เม่อื X แทน คา่ เฉลย่ี

f แทน ความถีข่ องคะแนน

X แทน คะแนนแตล่ ะจานวน

fX แทน ผลคณู ระหว่างคะแนนและความถ่ี

ของคะแนน

 แทน ผลรวม

n แทน จานวนความถที่ ้ังหมด
3. สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ ตู ร

S= nfX2  ( fX)2
n(n 1)

. เม่ือ S แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

X แทน คะแนนแต่ละตัว
f แทน ความถข่ี องแต่ละชน้ั คะแนน
n แทน จานวนคะแนนทง้ั หมด

เกณฑ์การให้คะแนน และการวัดตัวแปรเกี่ยวกับความพึงพอใจท่ีมีต่อการรับบริการขององค์การ
บรหิ ารส่วนจังหวดั อุบลราชธานี มเี กณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี

มากท่สี ุด ให้คะแนน 5 คะแนน
มาก ใหค้ ะแนน 4 คะแนน
ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 คะแนน
น้อย ให้คะแนน 2 คะแนน
นอ้ ยทีส่ ุด ใหค้ ะแนน 1 คะแนน

43

การแปลความหมาย ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจท่ีมีต่อการรับบรกิ ารขององค์การบริหาร

สว่ นจงั หวัดอบุ ลราชธานี ประยกุ ต์ใช้เกณฑแ์ ปลผลคา่ เฉลี่ย ดงั นี้

ค่าเฉล่ีย 4.51-5.00 หมายถึง พอใจระดบั มากทสี่ ดุ

ค่าเฉลย่ี 3.51-4.50 หมายถึง พอใจระดับมาก

คา่ เฉลยี่ 2.51-3.50 หมายถึง พอใจระดบั ปานกลาง

ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถงึ พอใจระดับน้อย

ค่าเฉล่ยี 0.00-1.50 หมายถงึ พอใจระดับน้อยทีส่ ุด

การแปลความหมาย ความคิดเห็นเกย่ี วกับความพึงพอใจที่มีต่อการรับบริการขององค์การบริหาร

สว่ นจังหวดั อุบลราชธานี ประยกุ ตใ์ ชเ้ กณฑ์แปลผลค่ารอ้ ยละ ดงั น้ี

ร้อยละ 90.20-100.00 หมายถงึ พอใจระดบั มากท่ีสุด

รอ้ ยละ 70.20-90.19 หมายถงึ พอใจระดบั มาก

ร้อยละ 50.20-70.19 หมายถึง พอใจระดับปานกลาง

ร้อยละ 30.20-50.19 หมายถึง พอใจระดับน้อย

รอ้ ยละ 0.00-30.19 หมายถงึ พอใจระดับน้อยทส่ี ุด

44

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู

การวิจัยสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวั ด
อุบลราชธานี ประจาปี 2562 ไดผ้ ลการวิเคราะหข์ อ้ มลู จาก 4 ภารกิจงาน คอื งานด้านเทศกจิ หรือปอ้ งกัน
บรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและ
สั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))
งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอ่ืน ๆ (งาน
การให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ
(Primary data) และข้อมูลทุติยภู มิ (Secondary data) โดยมีลาดับการนาเสนอข้อมูล ได้แก่
กระบวนการข้ันตอนการใหบ้ ริการ ช่องทางการให้บรกิ าร และผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามซึ่ง
ประกอบด้วย ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ
การให้บริการ และความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้

1. งานดา้ นเทศกิจหรอื ป้องกนั บรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย)

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานด้านการส่ือสาร เพ่ือ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยงาน เพื่อเป็นศูนย์กลางการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ให้สามารถรว่ มมือกันในการแก้ไขปัญหาสาธารณภัยและให้การช่วยเหลอื ประชาชนไดอ้ ย่างรวดเร็วทั้งกอ่ น
เกดิ ภยั ระหว่างเกดิ ภัย และหลงั เกิดภัย ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สอดคลอ้ งกับหลกั กฎหมายและครอบคลุม
สาธารณภัยทุกประเภท โดยบรู ณาการร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน มูลนิธิ กลุ่มองค์กร ฯลฯ โดยบูรณาการ
การทางานร่วมกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต (กู้ชี พ) และ
กองทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม (กภู้ ัย)

จากการดาเนินโครงการท่ีผา่ นมา องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี ได้ดาเนินการจัดตั้ง
ศูนย์ประสานงานด้านการส่ือสาร เพื่อป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ณ ศูนย์แสดงและจาหน่ายสินค้า
หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP Center) และมีศูนย์ปฏิบัติงานกู้ภัย ณ บริเวณอาคารจอดรถดับเพลิง
(ศูนย์เอื้ออาทรคนพิการ) และศูนย์ปฏิบัติการกู้ภัยทางน้า (ท่าน้าวัดหลวง) มีหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องใน
การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานี เพ่ือป้องกันและลดการสูญเสียชีวิต
และทรัพย์สินของประชาชน โดยบุคลากรท่ีมีประสบการณ์ผ่านการอบรมความรู้ด้านการช่วยเหลือและ
บรรเทาสาธารณภัย

45

1.1 กระบวนการขัน้ ตอนการให้บริการ

งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

หนงั สือขอความอนเุ คราะห์ / หนังสือสั่งการ ศูนย์ประสานงานดา้ นการสื่อสาร เพื่อปอ้ งกนั
ประเมินสถานการณแ์ ละแนวทางการช่วยเหลอื และบรรเทาสาธารณภัย (รับโอนสายจากโทร
สายด่วน 1669)
พจิ ารณาส่ังการ
สอบถามข้อมูล แนะนาเบอ้ื งต้น และประเมนิ
แนวทางการช่วยเหลือ (1 นาท)ี

งานสนับสนนุ บรรเทา งานสนับสนุนเครอ่ื งมือเคร่ืองจักร เช่น ออกเหตุ เร่งดว่ น / ฉุกเฉนิ
สาธารณภัย เชน่ เครอ่ื ง รถน้า รถส่องสว่าง รถดับเพลิง รถเครน เช่น ไฟไหม้ ต้นไม้หกั โค่น
อุปโภคบรโิ ภค ถงุ ยังชีพ จับสัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน
เคร่อื งจักร เรือทอ้ งแบน
(ภายใน 3 วัน) (ภายใน 1 วนั ) (ภายใน 2 นาที)

ปฏบิ ตั กิ ารช่วยเหลอื บรรเทา

สรปุ และรายงานผล

แผนภมู ิที่ 4.1 ขัน้ ตอนการให้บรกิ ารงานดา้ นเทศกิจหรือป้องกนั บรรเทาสาธารณภยั (งานปอ้ งกนั และ
บรรเทาสาธารณภยั )

1.2 ช่องทางการใหบ้ รกิ าร
ดา้ นชอ่ งทางการให้บรกิ ารและการตดิ ตอ่ ส่ือสาร โดยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กองทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ มมชี ่องทางการตดิ ต่อเพอ่ื ขอรบั บริการ ไดแ้ ก่
1) การขอสนบั สนุน บคุ ลากร เคร่อื งมอื เครอื่ งจกั ร และเครื่องอุปโภคบริโภค โดยการส่ง

หนงั สือหรอื บันทึกขอ้ ความขอความอนเุ คราะห์หรือสั่งการ ถึงนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัด
2) การขอความชว่ ยเหลือหรือสนับสนุนผ่านศูนย์ประสานงานด้านการสอ่ื สาร ร่วมกบั ศูนย์

รับแจง้ เหตุและส่งั การจงั หวัดอบุ ลราชธานี สายด่วน 1669
3) การขอความชว่ ยเหลอื หรือสนับสนุนทางโทรศพั ทห์ รือวทิ ยสุ อื่ สาร
4) การขอความชว่ ยเหลือหรือสนับสนนุ ทางชอ่ งทางออนไลน์ เช่น เฟสบกุ๊ ไลน์

46

1.3 เจ้าหนา้ ทีห่ รือบคุ ลากรท่ใี หบ้ ริการ

ประกอบด้วยบคุ ลากรประจาการ และบุคลากรจ้างเหมาบรกิ ารตามโครงการ ดงั นี้

1) เจ้าหน้าทดี่ บั เพลงิ จานวน 9 คน

2) เจ้าหนา้ ทข่ี บั รถดบั เพลงิ กภู้ ัย จานวน 9 คน

3) เจ้าหนา้ ท่วี ิทยุ จานวน 9 คน

4) เจา้ หนา้ ท่ปี ระจารถกูภ้ ัย จานวน 8 คน

1.4 สงิ่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่

งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต้ังอยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติงานกู้ภัย อาคารจอดรถดับเพลิง

(ศูนย์เอื้ออาทรคนพิการ) ถนนแจ้งสนิท (เจ้าหน้าท่ีวิทยุจะประจาอยู่ท่ี ศูนย์ประสานงานด้านการสื่อสาร

เพ่ือป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ช้ัน 2 ศูนย์แสดงและจาหน่ายสินค้าหน่ึงตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

(OTOP Center) โดยมีวัสดุ อุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์อานวยความสะดวกด้านจราจร อุปกรณ์ตัดถ่าง

อุปกรณด์ บั เพลิง อปุ กรณ์กู้ภัยทางนา้ เปน็ ตน้ สาหรับเครือ่ งจักรที่ได้รับมอบหมายใหด้ แู ลรับผิดชอบ ดงั น้ี

1) รถยนต์กระบะดดั แปลงหลงั คายกสูง เปน็ รถยนต์กภู้ ัย จานวน 4 คัน

2) รถดบั เพลงิ กภู้ ัยไฟฟ้าส่องสว่าง จานวน 1 คัน

3) รถบรรทุกน้าดบั เพลิงกู้ภัย จานวน 1 คัน

4) รถบรรทุกนา้ จานวน 1 คนั

5) เรอื เร็วก้ภู ัย จานวน 1 ลา

6) เรอื ทอ้ งแบนกภู้ ัย จานวน 7 ลา

7) รถบรรทกุ ตดิ ต้ังเครน จานวน 1 คัน

8) เคร่อื งสบู นา้ จานวน 25 เครอ่ื ง

ภาพที่ 4.1 บุคลากรของงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย

47
ภาพที่ 4.2 ถงุ ยังชพี ช่วยเหลืออุทกภยั ตลุ าคม พ.ศ. 2562

48

1.5 ความพึงพอใจของผใู้ ช้บริการงานดา้ นเทศกจิ หรอื ป้องกันบรรเทาสาธารณภยั (งาน
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั )

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลเบ้ืองต้นงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ตารางท่ี 4.1 ข้อมลู เบ้อื งต้นของผู้รับบริการ

ขอ้ มูลเบ้อื งต้น จานวน (คน) ร้อยละ
1.ประเภทของการรบั บริการ
38 10.3
1.1 ระงบั เหตุเหตเุ พลิงไหม้ (อคั คภี ัย) 7 1.9
1.2 ชว่ ยเหลอื เหตุจากพายุ (วาตภยั ) 306 82.7
1.3 ถุงยังชีพช่วยเหลอื น้าท่วม (อุทกภัย) 2 0.5
1.4 สนบั สนนุ นา้ อปุ โภคบริโภค (รถบรรทุกน้า)
1.5 สนบั สนนุ ครภุ ณั ฑ์ เช่น เรอื ท้องแบน เคร่ืองสูบน้า เคร่อื ง 10 2.7
ตรวจจบั โลหะ โปะ๊ ทา่ เรือ
1.6 จบั สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน และอื่น ๆ 7 1.9
370 100.0
รวม
2. ผูใ้ ช้บรกิ าร 17 4.6

2.1 หนว่ ยงานภาครัฐ เชน่ สานักงานจงั หวัด โรงเรียน เรอื นจา 5 1.4
สถานีทดลอง สถานขี นส่งผู้โดยสาร 5 1.4
343 92.6
2.2 หน่วยงานภาคเอกชน เช่น บริษทั หา้ ง ร้าน โรงแรม 370 100.0
2.3 องคก์ ารสาธารณกุศล เช่น วดั มลู นิธิ
2.4 ตัวแทนครวั เรอื นของประชาชนที่ประสบภัย 130 35.1
13 3.5
รวม 18 4.9
3. เขตพื้นทที่ ี่ได้รับบรกิ าร 20 5.4
67 18.1
3.1 อาเภอเมือง 66 17.8
3.2 อาเภอดอนมดแดง 17 4.6
3.3 อาเภอเข่ืองใน 19 5.1
3.4 อาเภอตาลสุม 20 5.4
3.5 อาเภอวารินชาราบ 370 100.0
3.6 อาเภอพบิ ลู มงั สาหาร
3.7 อาเภอเดชอุดม
3.8 อาเภอเขมราฐ
3.9 อาเภอนาเยยี

รวม

จากตารางที่ 4.1 ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ใช้บริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
(งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) พบว่า ประเภทของการรับบริการ ส่วนใหญ่เป็นถุงยังชีพช่วยเหลือ
น้าท่วม (อุทกภัย) คิดเป็นร้อยละ 80.7 รองลงมา ได้แก่ ระงับเหตุเหตุเพลิงไหม้ (อัคคีภัย) คิดเป็นร้อยละ

49

10.3 สนับสนุนครุภัณฑ์ เช่น เรือท้องแบน เครื่องสูบน้า เคร่ืองตรวจจับโลหะ โป๊ะท่าเรือ คิดเป็นร้อยละ
2.7 ช่วยเหลือเหตุจากพายุ (วาตภัย) จับสัตว์เลื้อยคลาน และอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 1.9 เท่ากัน และ
สนับสนนุ น้าอปุ โภคบรโิ ภค (รถบรรทกุ น้า) คิดเป็นร้อยละ 0.5 ตามลาดับ

ด้านผู้ใช้บริการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นตัวแทนครัวเรือนของประชาชนท่ีประสบภัย คิดเป็นร้อยละ
92.6 รองลงมาคือหน่วยงานภาครัฐ เช่น สานักงานจังหวัด โรงเรียน เรือนจา สถานีทดลอง สถานีขนส่ง
ผู้โดยสาร คิดเป็นร้อยละ 4.6 องค์การสาธารณกุศล เช่น วัด มูลนิธิ คิดเป็นร้อยละ 1.4 และหน่วยงาน
ภาคเอกชน เช่น บรษิ ัท หา้ ง รา้ น โรงแรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.4 ตามลาดบั

ด้านเขตพ้ืนท่ีที่ได้รับบริการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นอาเภอเมือง คิดเป็นร้อยละ 35.1 รองลงมาคือ
อาเภอวารินชาราบ คิดเป็นร้อยละ 18.1 อาเภอพิบูลมังสาหาร คิดเป็นร้อยละ 17.8 อาเภอตาลสุม และ
อาเภอนาเยีย คิดเปน็ ร้อยละ 5.4 เท่ากัน อาเภอเขมราฐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.1 อาเภอเขือ่ งใน คิดเป็นรอ้ ยละ
4.9 อาเภอเดชอดุ ม คิดเป็นรอ้ ยละ 4.6 และอาเภอดอนมดแดง คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.5 ตามลาดับ

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ตารางท่ี 4.2 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
190 51.4
1.1 ชาย 180 48.6
1.2 หญิง 370 100.0

รวม 9 2.4
2. ช่วงอายขุ องผูต้ อบแบบสอบถาม 80 21.6
110 29.7
2.1 อายไุ ม่เกนิ 20 ปี 116 31.4
2.2 อายุ 21 - 30 ปี 51 13.8
2.3 อายุ 31 - 40 ปี 4 1.1
2.4 อายุ 41 - 50 ปี 370 100.0
2.5 อายุ 51 - 60 ปี
2.6 อายุ 61 ปขี ึ้นไป

รวม

จากตารางที่ 4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 51.4
และเพศหญงิ คิดเปน็ รอ้ ยละ 48.6

ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.4 รองลงมาคืออายุ 31 - 40 ปี
คิดเป็นร้อยละ 29.7 อายุ 21 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.6 อายุ 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 13.8 อายุ
ไม่เกนิ 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 2.4 และอายุ 61 ปขี น้ึ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 1.1 ตามลาดบั

50

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งาน
ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย)

ตารางที่ 4.3 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ
งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั )

ความพึงพอใจ ค่าเฉล่ีย ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
สว่ นเบ่ียงเบน ค่าเฉล่ยี
ด้านกระบวนการขัน้ ตอนการใหบ้ ริการ 4.58 มากทีส่ ดุ
มาตรฐาน รอ้ ยละ
1. มีการประชาสัมพันธ์งานป้องกันและ 4.53 มากที่สดุ
บรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหาร 4.48 0.49 91.63 มาก
ส่วนจังหวัดอุบลราชธานีให้ทราบอย่าง 4.48 มาก
ทว่ั ถงึ 4.52 0.52 90.63
0.52 89.68 มากทส่ี ุด
2. ข้ันตอนในการติดต่อขอรับบริการ 4.65 0.51 89.63 มากท่ีสดุ
สะดวก ไม่ยงุ่ ยาก 0.31 90.39 มากทส่ี ดุ
4.59 มากทส่ี ดุ
3. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการเพื่อ 4.62 0.48 93.05 มากทส่ี ุด
เปน็ หลกั ฐาน อย่างชัดเจน เปน็ ระบบ มากที่สุด
4.56 0.58 91.74
4. ใช้เวลาในการให้บริการหรือระงับเหตุ 0.43 92.39 มาก
อย่าง รวดเร็ว หลงั จากท่ไี ด้รับแจ้งเหตุ 4.54 มากท่ีสุด
0.51 91.11
รวม 4.48
4.52 0.50 90.79
ด้านชอ่ งทางการใหบ้ รกิ าร
0.50 89.53
5. สามารถแจง้ เหตุด่วนผ่านชอ่ งทาง 0.38 90.47
สายดว่ น 1669

6. มีช่องทางติดต่อสื่อสารหลายช่องทาง
เช่น หนังสือราชการ โทรศัพ ท์ วิทยุ
เฟสบกุ๊ ไลน์

รวม

ด้านเจา้ หนา้ ท่ีหรอื บุคลากรที่ให้บรกิ าร

7. เจ้าหน้าท่ีรับแจ้งเหตุ รับแจ้งด้วย
นา้ เสียงสุภาพ ชัดเจน กระตอื รอื รน้

8. เจ้าหน้าท่ีท่ีเข้าไประงับเหตุมีความรู้
และทักษะในการระงับเหตุ และตระหนัก
ถงึ ความปลอดภยั

9. เจา้ หน้าที่มีความมุ่งม่ันและทุ่มเทในการ
ทางานเพ่อื เขา้ ระงบั เหตุ

รวม

51

ตารางที่ 4.3 (ต่อ)

ความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
ส่วนเบี่ยงเบน คา่ เฉล่ีย
ดา้ นสิง่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี มากท่ีสดุ
มาตรฐาน รอ้ ยละ
10. เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ครุภัณฑ์ ท่ีใช้ใน มากทส่ี ดุ
0.49 92.53
การระงับ เห ตุ มี ความ เห ม าะสมกั บ 4.63 มากทส่ี ดุ
0.49 93.05 มากที่สุด
สถานการณท์ ่ีเกิดขน้ึ มากทส่ี ุด
0.47 93.95
11. เครื่องมือ เครื่องจักร ครุภัณฑ์ ท่ีใช้ใน 0.39 93.18
0.18 91.61
การระงับเหตุ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน 4.65

และปลอดภัย

12. เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ครุภัณฑ์ ที่ใช้ใน

การระงับเหตุมีความเพียงพอต่อการระงับ 4.70

เหตทุ เ่ี กดิ ขน้ึ

รวม 4.66

ภาพรวม 4.58

จากตารางที่ 4.3 พบว่า ระดับความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ ริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทา
สาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ในภาพรวม อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ย
4.58 (คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 91.61) จาแนกเป็นรายดา้ น คอื

ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับมีการประชาสัมพันธ์งาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้ทราบอย่างทั่วถึง อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.58
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.63) รองลงมาคือ ขั้นตอนในการติดต่อขอรับบริการ สะดวก ไม่ยุ่งยาก อยู่ในระดับ
พอใจมากทสี่ ดุ โดยมคี า่ เฉล่ยี 4.53 (คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ 90.63)

ด้านช่องทางการให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับสามารถแจ้งเหตุด่วนผ่านช่องทาง
สายด่วน 1669 อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.05) รองลงมาคือ
มีช่องทางติดต่อส่ือสารหลายช่องทาง เช่น หนังสือราชการ โทรศัพท์ วิทยุ เฟสบุ๊ก ช่องทางไลน์ อยู่ใน
ระดับพอใจมากทส่ี ุด โดยมีคา่ เฉลีย่ 4.59 (คา่ เฉล่ียร้อยละ 91.74)

ด้านเจา้ หน้าที่หรอื บุคลากรท่ใี ห้บรกิ าร พบวา่ ความพึงพอใจเกี่ยวกับเจา้ หน้าทร่ี ับแจง้ เหตุ รับแจ้ง
ด้วยน้าเสียงสุภาพ ชัดเจน กระตือรือร้น อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.56 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
91.11) รองลงมาคือเจ้าหน้าที่ท่ีเข้าไประงับเหตุมีความรู้ และทักษะในการระงับเหตุ และตระหนักถึง
ความปลอดภัย อยู่ในระดับพอใจมากทส่ี ุด โดยมีคา่ เฉล่ยี 4.54 (ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ 90.79)

ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับ เครื่องมือ
เครื่องจักร ครุภัณฑ์ ที่ใช้ในการระงับเหตุมีความเพียงพอต่อการระงับเหตุท่ีเกิดขึ้น อยู่ในระดับพอใจมาก
ทส่ี ุด มคี ่าเฉลยี่ 4.70 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.95) รองลงมาคอื เครื่องมือ เครือ่ งจกั ร ครุภัณฑ์ ที่ใช้ในการระงับ
เหตุ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและปลอดภัย อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.65 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ
93.05)

52

ตารางท่ี 4.4 สรุปค่าเฉลี่ย และคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของความพงึ พอใจการให้บริการงานด้านเทศกจิ หรอื ป้องกัน
บรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั )

ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ
คา่ เฉลยี่ คา่ เฉลีย่ รอ้ ยละ ความหมาย
ดา้ นกระบวนการขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ 4.52 90.39 มากที่สดุ
ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ ริการ 4.62 92.39 มากทส่ี ดุ
ด้านเจ้าหนา้ ทหี่ รือบุคลากรท่ีให้บรกิ าร 4.52 93.05 มากทสี่ ุด
ด้านสง่ิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี 4.66 90.47 มากที่สุด
4.58 91.61 มากท่สี ุด
รวม

จากตารางท่ี 4.4 สรุปค่าเฉล่ยี และคา่ เฉลี่ยร้อยละของความพงึ พอใจการให้บริการงานด้านเทศกิจ
หรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.58 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.61) โดยใน
ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ มีค่าเฉลี่ย 4.52 (ค่าเฉลี่ยร้อย
ละ 90.39) รองลงมา ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรที่ให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.52 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
93.05) ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.62 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 92.39) และด้านส่ิงอานวยความ
สะดวกและอาคารสถานที่ มคี ่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉลย่ี ร้อยละ 90.47) ตามลาดบั

ตอนที่ 4 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
1. การติดต่อประสานงานเพ่อื มอบสง่ิ ของบรรเทาทกุ ขค์ วรแจง้ ให้เร็วกวา่ นีจ้ ะไดป้ ระชาสัมพันธ์ให้
ประชาชนทราบให้มากขน้ึ
2. ในพ้ืนที่ท่ีไม่ใช่เขตอาเภอเมือง และวารินชาราบอยากให้ อบจ. ช่วยประสานงานหน่วยงาน
กภู้ ยั ท้งั ภาครฐั และเอกชนเมอื่ เกิดสถานการณ์ฉุกเฉนิ จะได้ขอความช่วยเหลอื ได้

2. งานด้านสาธารณ สุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการถ่ายโอนภารกิจงานศูนย์รบั แจง้ เหตุและสั่งการ
จังหวัดอุบลราชธานี จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อเดือนพฤษภาคม 2557 เป็นศูนย์
รบั แจ้งเหตุและสังการจังหวัดแห่งแรกของประเทศไทยท่ีดาเนินงานและบริหารจัดการโดยองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด โดยเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุทุกเหตุนอกเหนือจากเหตุการแพทย์ฉุกเฉินเพียงอย่างเดียว ภายใต้
ระบบท่ีเรียกว่า Integrate Emergency Management System (I-EMS) เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
ประชาชน

53

2.1 กระบวนการขั้นตอนการใหบ้ ริการ

รบั แจ้งเหตุเจบ็ ป่วยฉุกเฉิน 1669
จังหวดั อบุ ลราชธานี

เจ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ /อุบตั เิ หตุ/สาธารณภัย รับแจง้ เหตุอื่น เช่น ไฟไหม้ คนรกั กลับบา้ น

สอบถามขอ้ มูลสาคัญ ไมฉ่ กุ เฉิน ประสานโอนสายหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง
7 คาถาม ภายใน 60 วนิ าที ให้คาแนะนาเบ้อื งต้น เชน่ พยาบาล (ไม่ฉกุ เฉิน) กภู้ ยั ตารวจ

ภายใน 60 วินาที ไม่รสู้ ึกตวั

รสู้ กึ ตวั

ใหค้ าแนะนาพรอ้ มจา่ ยชุด หายใจปกติ ไม่หายใจ / หายใจเฮือก
ปฏิบัติการแพทยฉ์ กุ เฉิน Pre-arrival Instruction ผจู้ ่ายงานทา DA-CPR (ไมใ่ ช่การบาดเจบ็ )
ระดับ EMR หรอื BLS
ออกภายใน 60วินาที

รายงานแพทย์อานวยการ สง่ั จ่ายชดุ ปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ ระดับ ALS หรอื BLS
รักษาตาม On-line Protocol ออกภายใน 60วินาที

Off-line Protocol

ส่งต่อโรงพยาบาลทเ่ี หมาะสม
พร้อมส่งตอ่ ขอ้ มลู ดว้ ยระบบ

MIST

แผนภูมิที่ 4.2 ขั้นตอนการให้บรกิ ารงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตแุ ละสง่ั การ จงั หวดั
อุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

2.2 ช่องทางการใหบ้ ริการ
งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นศูนย์รับแจ้งเหตุและสังการจังหวัดแห่ง
แรกของประเทศไทยท่ีดาเนินงานและบริหารจัดการโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยเป็นศูนย์รับแจ้ง
เหตุทุกเหตุนอกเหนือจากเหตุการแพทย์ฉุกเฉินเพียงอย่างเดียว ภายใต้ระบบที่เรียกว่า Integrate
Emergency Management System (I-EMS) เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน โดยมีการวาง
โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีการส่ือสารเพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก จากเดิม 8
คู่สาย เป็น 50 คู่สาย ซ่ึงเพียงพอสาหรับการให้บริการ มีระบบควบคุมและอานวยความสะดวกในการใช้
งานโทรศัพท์โดยผ่านตู้ควบคุม ตู้สาขาอัตโนมัติ (PASX) ระบบ Hybrid IP PBX PABX ทาหน้าที่บันทึก
หมายเลขโทรศัพท์และการประชุมสาย การเช่ือมสัญญาณไปสู่หมายเลขภายนอกอ่ืน เช่น 191 (ตารวจ)

54

1129 (ไฟฟ้า) เพื่อให้ประชาชนสามารถแจ้งเหตุอ่ืน บริการด้านไฟฟ้าขัดข้อง เพลิงไหม้ เป็นต้น ตลอดจน
ให้คาปรกึ ษาด้านสุขภาพ รวมไวใ้ นหมายเลขเดียว คอื 1669 บรกิ ารตลอด 24 ชว่ั โมง

ภาพที่ 4.3 ตสู้ าขาอัตโนมัติ (PASX)

2.3 เจา้ หน้าท่หี รือบคุ ลากรที่ให้บริการ

งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานผลัดเปลี่ยนเวรกัน

ตลอด 24 ช่ัวโมง ประจาศูนย์รบั แจง้ เหตุและสง่ั การจงั หวดั อุบลราชธานี ประกอบดว้ ย

1) แพทย์อานวยการปฏิบตั ิการฉกุ เฉิน (Medical Director) จานวน 1 คน

2) ผู้กากบั การปฏิบัติการฉกุ เฉิน (Supervisor) จานวน 2 คน

3) ผู้จา่ ยงานการปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉิน (Emergency Medical Dispatcher) จานวน 15 คน

4) ผ้ปู ระสานงานเหตุการณ์ (Co-ordinator) จานวน 4 คน

5) ผู้รับแจ้งและจา่ ยงาน (Call Taker & Dispatcher) จานวน 27 คน

ภาพท่ี 4.4 เจา้ หน้าที่ Call Taker

55

ภาพที่ 4.5 เจา้ หนา้ ที่ Dispatcher และ Co-ordinator

ภาพที่ 4.6 เจา้ หนา้ ท่ี วิทยุส่ือสาร
2.4 สงิ่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี
งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ท่ี ชั้น 2 ของศูนย์จาหน่าย OTOP
อุบลราชธานี ภายในศูนย์ฯ มีการวางโครงสรา้ งพื้นฐานเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อให้บริการประชาชน จาก
เดิม 8 คู่สาย เป็น 50 คู่สาย มีระบบควบคุมและอานวยความสะดวกในการใช้งานโทรศัพท์โดยผ่าน
ตู้ควบคุม ตู้สาขาอัตโนมัติ (PASX) ระบบ Hybrid IP PBX PABX ทาหน้าที่บันทึกหมายเลขโทรศัพท์และ
การประชุมสาย การเชื่อมสัญญาณไปสู่หมายเลขภายนอกอื่น เช่น 191 (ตารวจ) 1129 (ไฟฟ้า) เพ่ือให้
ประชาชนสามารถแจ้งเหตุอ่ืน บริการดา้ นไฟฟา้ ขัดข้อง เพลิงไหม้ เปน็ ต้น

56

ภาพที่ 4.7 ศนู ยร์ ับแจง้ เหตแุ ละส่ังการจังหวัดอบุ ลราชธานี ณ OTOP Center อุบลราชธานี

ภาพท่ี 4.8 ห้องปฏิบตั ิการศนู ย์รบั แจง้ เหตแุ ละสั่งการจงั หวัดอุบลราชธานี

2.5 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จังหวดั อบุ ลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

ตอนที่ 1 ข้อมลู เบ้ืองต้นของผ้ใู ชบ้ รกิ ารงานด้านสาธารณสุข

ตารางท่ี 4.5 ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัด
อุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

ข้อมูลเบ้อื งต้น จานวน (คน) รอ้ ยละ
51 12.8
1. เขตการใหบ้ ริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี 125 31.3

1.1 โซนเหนอื อาเภอกุดข้าวป้นุ ตระการพืชผล นาตาล โพธ์ไิ ทร
และเขมราฐ

1.2 โซน ใต้ อาเภ อบุ ณ ฑ ริก เดช อุด ม ทุ่ งศรีอุด ม น้ ายื น
นาจะหลวย สาโรง และน้าขนุ่

57

ตารางที่ 4.5 (ต่อ)

ข้อมูลเบือ้ งตน้ จานวน (คน) ร้อยละ
1. เขตการใหบ้ ริการขององค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี
1.3 โซนเหนือ อาเภอกุดข้าวป้นุ ตระการพืชผล นาตาล โพธ์ไิ ทร 51 12.8

และเขมราฐ 125 31.3
1.4 โซน ใต้ อาเภ อบุ ณ ฑ ริก เดช อุด ม ทุ่ งศรีอุด ม น้ ายื น
100 25.0
นาจะหลวย สาโรง และน้าขนุ่
1.5 โซนตะวนั ออก อาเภอสิรินธร พบิ ลู มงั สาหาร ศรเี มืองใหม่ 124 31.0
400 100.0
โขงเจยี ม สวา่ งวรี ะวงศ์ นาเยยี และวารนิ ชาราบ
1.6 โซนกลาง อาเภอเมอื ง ดอนมดแดง มว่ งสามสิบ เข่ืองใน 101 25.3
283 70.8
ตาลสมุ และเหลา่ เสือโก้ก 16 4.0
รวม 400 100.0

2. ประเภทของการแจ้งเหตุ 331 82.8
2.1 บาดเจบ็ /อบุ ัติเหตุ เชน่ พลดั ตก หกลม้ รถชน ผูกคอ ฯลฯ 7 1.8
2.2 เจบ็ ป่วยฉุกเฉนิ 62 15.5
2.3 อื่น ๆ เชน่ จบั สัตวเ์ ล้ือยคลาน ไฟฟ้าดบั ต้นไมห้ ักโค่น 400 100.0

รวม
3. ความเกยี่ วข้องกับผู้ประสบเหตุ
3.1 ญาติ
3.2 ผู้ปว่ ย
3.3 พลเมอื งดี

รวม

จากตารางที่ 4.5 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่ง
การ จังหวัดอุบลราชธานี) พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในเขตบริการโซนใต้ คิดเป็นร้อยละ
31.3 รองลงมา ได้แก่ โซนกลาง คิดเป็นร้อยละ 31.0 โซนตะวันออก คิดเป็นร้อยละ 25.0 และโซนเหนือ
คิดเป็นร้อยละ 12.8 ตามลาดับ

ด้านประเภทของการแจ้งเหตุ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน คิดเป็นร้อยละ 70.8
รองลงมาคือบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ เช่น พลัดตก หกล้ม รถชน ผูกคอ ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 25.3 และอ่ืน ๆ
เชน่ จบั สัตว์เลอื้ ยคลาน ไฟฟา้ ดับ ตน้ ไมห้ กั โคน่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.0 ตามลาดับ

ดา้ นความเกีย่ วขอ้ งกับผู้ประสบเหตุ พบว่า สว่ นใหญ่เปน็ ญาติ คิดเป็นร้อยละ 82.8 รองลงมาเป็น
พลเมอื งดี คดิ เปน็ ร้อยละ 15.5 และเป็นผูป้ ่วย คิดเป็นร้อยละ 1.8 ตามลาดับ

58

ตอนที่ 2 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.6 ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามงานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่งั การ จังหวดั อุบลราชธานี

ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน (คน) รอ้ ยละ
1. เพศ
163 40.8
1.1 ชาย 237 59.3
1.2 หญงิ 400 100.0

รวม 10 2.5
2. ช่วงอายขุ องผู้ตอบแบบสอบถาม 81 20.3
145 36.3
2.1 อายุไมเ่ กนิ 20 ปี 119 29.8
2.2 อายุ 21 - 30 ปี 29 7.3
2.3 อายุ 31 - 40 ปี 16 4.0
2.4 อายุ 41 - 50 ปี 400 100.0
2.5 อายุ 51 - 60 ปี
2.6 อายุ 61 ปีขึ้นไป 64 16.0
112 28.0
รวม 126 31.5
3. การประกอบอาชพี 17 4.3
71 17.8
3.1 เกษตรกร 10 2.5
3.2 รับจ้าง 400 100.0
3.3 ลกู จา้ ง / พนักงานบรษิ ัท / พนักงานรัฐวสิ าหกิจ
3.4 ข้าราชการ / พนกั งานของรฐั
3.5 ค้าขาย
3.6 อื่น ๆ

รวม

จากตารางที่ 4.6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 59.3
และเพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.8

ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.3 รองลงมาคืออายุ 41 - 50 ปี
คดิ เป็นร้อยละ 29.8 อายุ 21 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.3 อายุ 51 - 60 ปี คดิ เป็นร้อยละ 7.3 อายุ 61 ปี
ขนึ้ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.0 และอายไุ ม่เกิน 20 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.5 ตามลาดับ

ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นลูกจ้าง / พนักงานบริษัท / พนักงาน
รฐั วิสาหกิจ คดิ เป็นร้อยละ 31.5 รองลงมาคอื อาชีพรบั จ้าง คิดเป็นรอ้ ยละ 28.0 อาชีพค้าขาย คิดเปน็ ร้อย
ละ 17.8 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 16.0 อาชีพข้าราชการ / พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 4.3
และอาชีพอนื่ ๆ คิดเป็นร้อยละ 2.5 ตามลาดับ

59

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการใหบ้ ริการงานด้านสาธารณสขุ (งานศูนยร์ ับแจ้งเหตุและสง่ั การ
จงั หวดั อุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงาน
ด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province
Emergency Medical Dispatch Center))

ความพงึ พอใจ ค่าเฉลยี่ ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
ส่วนเบี่ยงเบน คา่ เฉลี่ย
ด้านกระบวนการขัน้ ตอนการให้บริการ 4.72 มากที่สุด
1. มีการประชาสัมพันธ์งานศูนย์รับแจ้ง มาตรฐาน ร้อยละ
เหตุและสั่งการฯ (1669) ให้ทราบอย่าง 4.80 มากท่ีสดุ
ทวั่ ถงึ 4.76 0.48 94.45 มากทส่ี ุด
2. ข้ันตอนในการติดต่อขอรับบริการ 4.86 มากทส่ี ุด
สะดวกสบายไม่ยุ่งยาก (โทรสายด่วน 4.78 0.40 96.00 มากทส่ี ดุ
1669) 0.43 95.20
3. ใช้เวลาในการรับแจ้งเหตุ กระชับ 4.85 0.35 97.10 มากที่สุด
รวดเรว็ 0.27 95.69
4. มีการแจ้งบันทึกข้อมูลการให้บริการ 4.38 มาก
เพื่อเปน็ หลกั ฐาน อยา่ งชัดเจน เปน็ ระบบ 4.62 0.37 96.95 มากที่สุด
4.76 มากทส่ี ดุ
รวม 4.75 0.73 87.65 มากที่สดุ
ด้านชอ่ งทางการให้บริการ 0.42 92.30
5. ช่องทางการรับแจ้งเหตุ (สายด่วน
1669) จดจาง่าย และมีบริการตลอด 24 0.43 95.15
ช่ัวโมง 0.44 94.95
6. มีช่องทางการติดต่อส่ือสาร เผยแพร่
ข่าวสาร ของบริการสายด่วน 1669 เช่น
เฟสบุ๊ก ไลน์

รวม

ดา้ นเจา้ หนา้ ทีห่ รือบคุ ลากรที่ใหบ้ ริการ

7. เจ้าหน้าท่ีรับแจ้งเหตุ รับแจ้งเหตุด้วย
น้าเสยี งสภุ าพ ชัดเจน กระตือรือรน้
8. เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ สอบถามข้อมูล
สาคัญ จาก ผู้แจ้ง อย่างกระชับ และ
ได้ใจความ

60

ตารางท่ี 4.7 (ตอ่ )

ความพงึ พอใจ ค่าเฉลี่ย ระดบั ความพึงพอใจ ความหมาย
สว่ นเบ่ียงเบน คา่ เฉลีย่
ด้านเจ้าหนา้ ทห่ี รือบุคลากรที่ให้บรกิ าร มากทส่ี ดุ
มาตรฐาน ร้อยละ มากที่สุด
7. เจ้าหนา้ ที่รับแจง้ เหตุ รับแจง้ เหตุด้วย 4.76 0.43 95.15
น้าเสยี งสุภาพ ชดั เจน กระตือรือร้น 0.44 94.95 มากทีส่ ุด

8. เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ สอบถามข้อมูล 0.41 95.95 มากทีส่ ดุ

สาคัญจาก ผู้แจ้ง อย่างกระชับ และ 4.75 0.39 96.35 มากที่สุด
มากทส่ี ุด
ไดใ้ จความ 0.35 97.20 มากที่สดุ
0.26 95.92 มากที่สดุ
9. เจ้าห น้ าที่ รับ แจ้งเห ตุสามารถให้ 0.35 98.50
0.46 94.25 มาก
คาปรึกษา และอ ธิบ ายเกี่ยวกับการ 4.80 0.63 88.10
มาก
ชว่ ยเหลือผู้ป่วยเบอื้ งต้นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 0.77 87.90 มากที่สดุ
0.39 92.19 มากทส่ี ดุ
10. กรณีที่ท่านได้รับการส่งต่อ ให้รับ 0.25 94.02

คาปรึกษาจากพยาบาลวิชาชีพ ได้ให้ 4.82
คาปรึกษาด้วยน้าเสียงสุภาพ ชัดเจน

กระตอื รอื รน้

11. กรณี ที่ท่านได้รับคาปรึกษาจา ก

พยาบาลวิชาชีพ ได้ให้คาปรึกษาและ 4.86
อ ธิ บ า ย เกี่ ย ว กั บ ก า ร ช่ ว ย เห ลื อ ผู้ ป่ ว ย

เบ้ืองตน้ ได้เปน็ อย่างดี ตามหลกั วิชาการ

รวม 4.80

ดา้ นสิง่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี

12. สายดว่ น 1669 เปน็ หมายเลขท่ี 4.93
จดจาง่าย

13. สายด่วน1669 สามารถติดต่อง่าย 4.71
ไมต่ อ้ งรอสายนาน

14. คุณภาพของสัญญาณโทรศัพท์ขณะ

พูดคุยสื่อสาร ชัดเจน สายไม่หลุด เสียงไม่ 4.41

ขาดหายระหว่างสนทนา

15. สถานที่ตั้งของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่ง

การฯ(1669) ณ ศนู ย์ OTOP อุบลราชธานี 4.40

มีความเหมาะสม เข้าถึงสะดวก

รวม 4.61

ภาพรวม 4.70

61

จากตารางท่ี 4.7 พบว่า ระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับ
แจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี) ในภาพรวม อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.70
(คา่ เฉลีย่ รอ้ ยละ 94.02) จาแนกเป็นรายดา้ นคอื

ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับมีการแจ้งบันทึกข้อมูลการ
ให้บริการเพ่ือเป็นหลักฐาน อย่างชัดเจน เป็นระบบ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.86
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 97.10) รองลงมาคือ ขั้นตอนในการติดต่อขอรับบริการ สะดวกสบายไม่ยุ่งยาก (โทรสาย
ดว่ น 1669) อยู่ในระดบั พอใจมากทีส่ ุด โดยมีค่าเฉล่ยี 4.80 (ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 96.00)

ด้านช่องทางการให้บรกิ าร พบวา่ ความพงึ พอใจเกีย่ วกบั ชอ่ งทางการรับแจง้ เหตุ (สายดว่ น 1669)
จดจาง่าย และมีบริการตลอด 24 ช่ัวโมง อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.85 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
96.95) รองลงมาคือมีช่องทางการติดต่อส่ือสาร เผยแพร่ข่าวสาร ของบริการสายด่วน 1669 เช่น เฟสบุ๊ก
ไลน์ อยู่ในระดับพอใจมาก โดยมีคา่ เฉลี่ย 4.38 (คา่ เฉล่ยี ร้อยละ 87.65)

ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรท่ีให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับกรณีที่ท่านได้รับคาปรึกษา
จากพยาบาลวิชาชีพ ได้ให้คาปรึกษาและอธิบายเก่ียวกับการช่วยเหลือผู้ป่วยเบ้ืองต้นได้เป็นอย่างดี ตาม
หลกั วิชาการอยู่ในระดบั พอใจมากทสี่ ุด มีค่าเฉลี่ย 4.86 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 97.20) รองลงมาคือ กรณที ่ีไดร้ ับ
การส่งต่อให้รับคาปรึกษาจากพยาบาลวิชาชีพ ได้ให้คาปรึกษาด้วยน้าเสียงสุภาพ ชัดเจน กระตือรือร้น
อย่ใู นระดบั พอใจมากท่ีสดุ โดยมคี า่ เฉลย่ี 4.82 (ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ 96.35)

ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ พบว่า ความพึงพอใจเก่ยี วกับสายด่วน 1669 เป็น
หมายเลขท่ีจดจาง่าย อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.93 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 98.50) รองลงมาคือ
สายด่วน1669 สามารถติดต่อง่าย ไมต่ ้องรอสายนาน อยใู่ นระดับพอใจมากที่สุด มีคา่ เฉล่ีย 4.71 (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 94.25)

ตารางท่ี 4.8 สรุปภาพรวม ค่าเฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และคา่ เฉลย่ี ร้อยละของความพึงพอใจ
การให้บริการงานด้านสาธารณ สุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

ความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี ระดับความพึงพอใจ
4.78 คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ความหมาย
ด้านกระบวนการข้นั ตอนการใหบ้ ริการ 4.62
ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ 4.80 95.69 มากท่สี ดุ
ด้านเจ้าหนา้ ท่ีหรือบุคลากรท่ีใหบ้ รกิ าร 4.61 92.30 มากทีส่ ุด
ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ 4.70 95.92 มากทส่ี ดุ
92.19 มากท่สี ุด
รวม 94.02 มากท่ีสดุ

จากตารางท่ี 4.8 สรุปค่าเฉล่ียและค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงาน
ด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province
Emergency Medical Dispatch Center)) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ อยู่ใน
ระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.02) โดยในด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ี
ให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ มีค่าเฉลี่ย 4.80 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 95.92) รองลงมา ได้แก่
ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.78 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.69) ด้านช่องทาง

62

การให้บริการ มคี ่าเฉลี่ย 4.62 (ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 92.30) และด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี
มีค่าเฉล่ยี 4.61 (คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 92.19) ตามลาดับ

ตอนท่ี 4 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
1. เคยโทรแจ้งให้มาจับงูที่บ้านแล้วเจ้าหน้าที่ให้เบอร์โทรฯ ของกู้ภัยมาแล้วโทรไม่ติด (เขตเมือง
อุบลฯ)
2. สายดว่ น 1669 เปน็ บรกิ ารที่ดีมาก พ่งึ พาได้ในยามฉกุ เฉินจริง ๆ
3. ให้คาแนะนาในการดแู ลผปู้ ว่ ยเบ้อื งตน้ ดมี าก ทาให้รสู้ กึ สบายใจขึน้
4. รถพยาบาลมาถึงเร็วมาก เจา้ หน้าทปี่ ระจารถชว่ ยเหลอื อย่างดี
5. เจ้าหน้าทรี่ บั โทรศัพท์ใจเย็น สอบถามขอ้ มลู และแนะนาด้วยความสภุ าพ
6. เบอร์โทร 1669 จดจาไดง้ ่าย มเี หตดุ ่วนอะไรกส็ ามารถโทรไดท้ ันที รบั สายเรว็

3. งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support
: BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support :
ALS))

งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินกชู้ พี คณุ ธรรม (Basic life support : BLS) และ
กูช้ ีพองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) เปน็ งานบริการของฝ่าย
ส่งเสริมสาธารณสุข กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีช่องทางการให้บริการโดยรับข้อมูลจากศูนย์รับแจ้งเหตุ
และสั่งการจังหวัดอุบลราชธานี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการ
ฉุกเฉินระดับต้น (First Responder : FR) ในปี พ.ศ. 2555 ในนาม “กู้ชีพคุณธรรม” และพัฒนาปรับ
ระดับเป็นหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินระดับเบ้ืองต้น (Basic Life Support : BLS) ในปี พ.ศ. 2557 มีรถ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน จานวน 4 คัน ปฏิบัติการในเขตอาเภอเมือง จานวน 3 คัน ได้แก่ กู้ชีพคุณธรรม 315,
316 และ 318 และปฏิบัติการในเขตอาเภอวารินชาราบ จานวน 1 คัน ได้แก่ กู้ชีพคุณธรรม 322 (ต้ังแต่
วันที่ 16 กันยายน 2563 ได้เปล่ียนชื่อเป็น “กู้ชีพ อบจ.อุบลราชธานี” มีรถกู้ชีพจานวน 10 คัน ได้แก่
อบจ.11 อบจ.12 อบจ.13 อบจ.14 อบจ.15 อบจ.16 อบจ.17 อบจ.18 อบจ.20 และ อบจ.21) เจ้าหน้าท่ี
ประจารถสามารถช่วยเหลือจากัดเพียงผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีไม่วิกฤต สามารถให้ยา สารน้าฉุกเฉิน ไมส่ ามารถใส่
ทอ่ หายใจและหตั ถกรรมช่วยชีวติ เพราะเปน็ วิชาชีพเฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและวชิ าชีพพยาบาล

ในปี พ.ศ. 2558 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน
ระดับสูง (Advanced life support : ALS) ในนาม “กู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี”
จดั หารถพยาบาลระดับสูง 1 คัน พร้อมชุดปฏิบัติการฉกุ เฉินระดับสูง 1 ชุด ประกอบด้วย พยาบาลเฉพาะ
ทางเวชปฏิบัติฉุกเฉนิ (ENP) จานวน 2 คน พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (EMT-B) จานวน 2 คน โดยได้รับ
ความร่วมมือจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาล 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ
โรงพยาบาลวารินชาราบ โรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ แบ่ง
พ้ืนท่ีรับผิดชอบการออกปฏิบัติการระดับสูงสาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต โดยการจ่ายงานของศูนย์รับแจ้ง
เหตุและส่ังการ สายด่วน 1669 ซึ่งอยุ่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
สาหรับรถกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้แบ่งพื้นที่รับผิดชอบระหว่างโรงพยาบาลสรรพ
สิทธิประสงค์ และโรงพยาบาล 50 พรรษามหาวชริ าลงกรณ ในเขตอาเภอเมือง เพ่ือใหผ้ ้ปู ่วยวิกฤตสามารถ
เขา้ ถึงบริการการแพทยร์ ะดบั สงู ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตและพิการได้

63

ภาพที่ 4.9 สานักงานกูช้ ีพองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี

3.1 กระบวนการข้ันตอนการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life
support : ALS))

รบั แจง้ เหตุเจ็บปว่ ยฉุกเฉิน 1669
จังหวัดอุบลราชธานี

เจ็บปว่ ยฉุกเฉนิ /อุบตั ิเหต/ุ สาธารณภัย ไมฉ่ ุกเฉิน
ใหค้ าแนะนาเบื้องต้น
สอบถามข้อมูลสาคัญ 7 คาถาม
ภายใน 60 วินาที

รสู้ กึ ตัว ไมร่ ู้สึกตวั

ใหค้ าแนะนาพรอ้ มจ่ายชดุ หายใจปกติ ไม่หายใจ / หายใจเฮือก
ปฏิบตั ิการแพทย์ฉุกเฉนิ
ระดบั EMR หรอื BLS Pre-arrival Instruction ผู้จา่ ยงานทา DA-CPR (ไมใ่ ชก่ ารบาดเจ็บ)

ออกภายใน 60 วินาที สั่งจา่ ยชุดปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉิน ระดบั ALS หรือ BLS
ออกภายใน 60 วนิ าที
รายงานแพทย์อานวยการ
รักษาตาม On-line Protocol

Off-line Protocol

สง่ ตอ่ โรงพยาบาลทีเ่ หมาะสม
พรอ้ มสง่ ต่อขอ้ มลู ดว้ ยระบบ MIST

แผนภูมิท่ี 4.3 ขั้นตอนการให้บริการงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support :
BLS) และกชู้ พี องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))

64

1.2 ชอ่ งทางการให้บรกิ าร
งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) มีช่องทางการให้บริการโดยรับข้อมูลจาก
ศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้จัดตั้ง
หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินระดับต้น (First Responder : FR) ในปี พ.ศ.2555 ในนาม “กชู้ ีพคณุ ธรรม” และ
พัฒนาปรบั ระดบั เป็นหน่วยปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินระดบั เบอ้ื งต้น (Basic Life Support : BLS) ในปี พ.ศ. 2557
รถปฏิบัติการฉุกเฉิน จานวน 4 คัน ปฏิบัติการในเขตอาเภอเมือง จานวน 3 คัน ได้แก่ รถกู้ชีพคุณธรรม
315 316 และ 318 และปฏิบัติการในเขตอาเภอวารินชาราบ จานวน 1 คัน ได้แก่ รถกู้ชีพคุณธรรม 322
(ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2563 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กู้ชีพ อบจ.อุบลราชธานี” มีรถกู้ชีพจานวน 10 คัน
ได้แก่ อบจ.11 อบจ.12 อบจ.13 อบจ.14 อบจ.15 อบจ.16 อบจ.17 อบจ.18 อบจ.20 และ อบจ.21)
เจ้าหน้าท่ีประจารถสามารถช่วยเหลือจากัดเพียงผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีไม่วิกฤต สามารถให้ยา สารน้าฉุกเฉิน
ไม่สามารถใส่ท่อหายใจและหัตถกรรมช่วยชีวิต เพราะเป็นวิชาชีพเฉพาะผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมและ
วิชาชพี พยาบาล

1.3 เจ้าหนา้ ทห่ี รอื บุคลากรทใ่ี หบ้ รกิ าร
งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) มีบุคลากรท่ีปฏิบัติงาน
ผลัดเปล่ียนเวรกันตลอด 24 ช่ัวโมง ประกอบด้วย ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life
support : BLS) (ปัจจุบันได้เปล่ียนเป็น ชุดปฏิบัติการกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี)
จานวน 4 ชดุ ๆ ละ 4 คน ประจารถกูช้ พี ฯ ผลดั เปลย่ี นเวรประกอบด้วย เวรเชา้ เวรบา่ ย และเวรดึก
กู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS) ประกอบด้วย
ชดุ ปฏิบตั ิการฉกุ เฉินกู้ชีพองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานี จานวน 1 ชุด ๆ ละ 4 คน ประกอบดว้ ย
พยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติฉุกเฉิน (ENP) จานวน 2 คน พนักงานฉกุ เฉินการแพทย์ (EMT-B) จานวน 2
คน ประจารถก้ชู ีพฯ ผลดั เปลี่ยนเวรตลอด 24 ชัว่ โมง ประกอบดว้ ย เวรเช้า เวรบา่ ย และเวรดึก

ภาพที่ 4.10 โตะ๊ ทางานเจา้ หนา้ ทแ่ี ละอปุ กรณก์ ชู้ พี

65

ภาพท่ี 4.11 ภายในสานกั งานและอปุ กรณ์ก้ชู ีพ
3.4 สง่ิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี

งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS) ตั้งอยู่บริเวณช้ัน 1 อาคารกองกิจการ
พานชิ ย์ บริเวณศนู ยแ์ สดงและจาหน่ายสนิ ค้าหน่งึ ตาบลหนง่ึ ผลติ ภัณฑ์ (ศนู ย์ OTOP) ถนนแจง้ สนิท

- รถฉุกเฉินกชู้ พี คุณธรรม (Basic life support : BLS) จานวน 4 คัน มีลักษณะเป็นรถ
กระบะดัดแปลงเป็นรถตู้ พร้อมอุปกรณ์กู้ชีพและเวชภัณฑ์ (จอด ณ ศูนย์ OTOP จานวน 3 คัน และจอด
ในจุดจอด อาเภอวารินชาราบ จานวน 1 คัน) ปัจจุบันได้เปลยี่ นช่ือเป็น “กู้ชีพ อบจ.อุบลราชธานี” มีรถกู้
ชีพจานวน 10 คัน ไดแ้ ก่ อบจ.11 อบจ.12 อบจ.13 อบจ.14 อบจ.15 อบจ.16 อบจ.17 อบจ.18 อบจ.20
และ อบจ.21

- รถกู้ชีพองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS)
จานวน 1 คัน มีลกั ษณะเปน็ รถตู้ พรอ้ มอปุ กรณ์กชู้ พี ระดับสงู และเวชภัณฑ์ (จอด ณ ศนู ย์ OTOP)

ภาพที่ 4.12 รถก้ชู พี องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS)

66
ภาพท่ี 4.13 อุปกรณ์กชู้ ีพระดบั สงู และเวชภณั ฑ์ ภายในรถ Advanced life support : ALS
ภาพที่ 4.14 รถกู้ชพี องค์การบริหารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี (Basic life support : BLS)

ภาพที่ 4.15 อุปกรณ์กชู้ ีพและเวชภณั ฑ์ ภายในรถ Basic life support : BLS

67

3.5 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คุณ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS))

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลเบ้ืองต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.9 ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คณุ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life
support : ALS))

ข้อมูลเบอื้ งต้น จานวน (คน) ร้อยละ
1. รถปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทใ่ี หบ้ ริการ
70 18.7
1.1 ก้ชู ีพคณุ ธรรม 315 (BLS) เขตใหบ้ ริการเมอื ง 98 26.1
1.2 กู้ชีพคณุ ธรรม 316 (BLS) เขตให้บรกิ ารเมือง 75 20.0
1.3 ก้ชู พี คุณธรรม 318 (BLS) เขตใหบ้ ริการเมอื ง 107 28.5
1.4 ชีพคณุ ธรรม 322 (BLS) เขตใหบ้ ริการวารินชาราบ 25 6.7
1.5 กชู้ พี องค์การบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี (ALS) 375 100.0

รวม 85 22.7
2. การเปลีย่ นรถกู้ชพี ของผู้ป่วยระหว่างทาง 290 77.3
375 100.0
2.1 มกี ารเปลีย่ นรถกู้ชีพระหวา่ งทาง
2.2 ไมม่ ีการเปลย่ี นรถกู้ชพี ระหว่างทาง 66 17.6
309 82.4
รวม 375 100.0
3. ประเภทของการแจ้งเหตุ
364 97.1
3.1 บาดเจบ็ /อุบัติเหตุ เชน่ พลดั ตก หกลม้ รถชน ผกู คอ ฯลฯ 11 2.9
3.2 เจ็บปว่ ยฉกุ เฉิน 375 100.0

รวม
4. ความเก่ียวข้องของผใู้ ช้บริการกับผแู้ จ้งเหตุ

4.1 ญาติ
4.2 ผปู้ ว่ ย

รวม

จากตารางที่ 4.9 พบว่า ผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คณุ ธรรม (Basic life support : BLS) และกชู้ ีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life
support : ALS)) ส่วนใหญ่ใช้บริการกู้ชีพคุณธรรม 322 (BLS วารินชาราบ) คิดเป็นร้อยละ 28.5
รองลงมาคือกู้ชีพคุณธรรม 316 (BLS เมือง) คิดเป็นรอ้ ยละ 26.1 กู้ชีพคุณธรรม 318 (BLS เมือง) คิดเป็น
ร้อยละ 20.0 กู้ชีพคุณธรรม 315 (BLS เมือง) คิดเป็นร้อยละ 18.7 และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อบุ ลราชธานี (ALS) คิดเปน็ ร้อยละ 6.7 ตามลาดับ

การเปลี่ยนรถกู้ชีพของผู้ป่วยระหว่างทาง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่มีการเปล่ียนรถ
กูช้ พี ระหวา่ งทาง คิดเป็นร้อยละ 77.3 และมีการเปลย่ี นรถกชู้ พี ระหวา่ งทาง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.7

68

ประเภทของการแจ้งแหตุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน คิดเป็น
ร้อยละ 82.4 และบาดเจ็บ/อุบัตเิ หตุ เชน่ พลดั ตก หกลม้ รถชน ผกู คอ ฯลฯ คดิ เปน็ ร้อยละ 17.6

ความเก่ียวขอ้ งของผู้ใช้บริการกับผแู้ จ้งเหตุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ป็นญาติ คิดเป็น
ร้อยละ 97.1 และเป็นผูป้ ่วย คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.9

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.10 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม และกู้ชีพ
องค์การบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี

ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จานวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
149 39.7
1.1 ชาย 226 60.3
1.2 หญิง 375 100.0

รวม
ตารางท่ี 4.10 (ตอ่ )

ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน (คน) ร้อยละ
2. ชว่ งอายขุ องผู้ตอบแบบสอบถาม
17 4.5
2.1 อายุไม่เกิน 20 ปี 106 28.3
2.2 อายุ 21 - 30 ปี 123 32.8
2.3 อายุ 31 - 40 ปี 96 25.6
2.4 อายุ 41 - 50 ปี 19 5.1
2.5 อายุ 51 - 60 ปี 14 3.7
2.6 อายุ 61 ปขี ้ึนไป 375 100.0

รวม 49 13.1
3. การประกกอบอาชพี 68 18.1
138 36.8
3.1 เกษตรกร 23 6.1
3.2 รบั จา้ ง 50 13.3
3.3 ลูกจ้าง / พนักงานบรษิ ทั / พนักงานรฐั วสิ าหกจิ 47 12.5
3.4 ขา้ ราชการ / พนกั งานของรัฐ 375 100.0
3.5 ค้าขาย
3.6 อืน่ ๆ

รวม

จากตารางท่ี 4.10 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60.3
และเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 39.7

69

ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.8 รองลงมาคืออายุ 21 - 30 ปี
คิดเป็นร้อยละ 28.3 อายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.6 อายุ 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.1 อายุ
ไมเ่ กิน 20 ปี คดิ เป็นร้อยละ 4.5 และอายุ 61 ปขี น้ึ ไป คิดเปน็ ร้อยละ 3.7 ตามลาดบั

ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานบริษัท/พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 36.8 รองลงมาคืออาชีพรับจา้ ง คดิ เป็นร้อยละ 18.1 อาชพี ค้าขาย คิดเป็นร้อย
ละ 13.3 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 13.1 อาชีพอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 12.5 และอาชีพข้าราชการ/
พนักงานของรฐั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.1 ตามลาดับ

ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกชู้ ีพ
คุณ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS))

ตารางที่ 4.11 คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลีย่ ร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงาน
ด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพ
องค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS))

ความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ยี ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
ส่วนเบี่ยงเบน คา่ เฉล่ยี
ดา้ นกระบวนการขน้ั ตอนการให้บริการ 4.82 มากท่ีสดุ
4.90 มาตรฐาน รอ้ ยละ มากทีส่ ุด
1. หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพไปถึงยัง
ทเี่ กิดเหตุอยา่ งรวดเรว็ 4.85 0.39 96.38 มากทส่ี ดุ

2. เมื่ อ ไป ถึ งท่ี เกิ ด เห ตุ เจ้ าห น้ าท่ี มี 4.91 0.30 98.00 มากท่ีสุด
การสอบถามประเมินอาการของผู้ป่วย 4.87 มากทีส่ ุด
และให้การชว่ ยเหลืออย่างทันท่วงที 4.83 0.38 96.92 มากท่ีสุด
4.71 มากที่สดุ
3. หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ ใช้เวลาใน 0.29 98.16
การให้บริการ อย่างรวดเร็ว หลังจากที่ 0.21 97.36
ได้รบั แจ้งเหตุ
0.38 96.59
4. มีการบั นทึกเอกสาร สาห รับการ
รับบริการไว้เป็นหลักฐาน อย่างชัดเจน 0.49 94.11
เปน็ ระบบ

รวม

ดา้ นช่องทางการให้บริการ

5. ช่องทางการรับแจ้งเหตุ (สายด่วน
1669) จดจาง่าย สามารถตดิ ตอ่ ง่าย

6. การติดเบอร์สายด่วน 1669 ด้านข้าง
ของรถกู้ชีพ ทาให้ประชาชนทั่วไปทราบ
ชอ่ งทางติดต่อ

70

ตารางท่ี 4.11 (ตอ่ )

ความพึงพอใจ ค่าเฉลยี่ ระดับความพงึ พอใจ ความหมาย
ส่วนเบ่ียงเบน คา่ เฉล่ีย
ดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ ริการ (ต่อ) มาก
มาตรฐาน ร้อยละ มากที่สุด
7. มชี อ่ งทางการติดต่อทางเฟสบุ๊ก
0.68 89.78 มากท่สี ดุ
รายงานสถานการณก์ ารทางาน และ 4.49 0.40 93.50
มากที่สดุ
สามารถสอบถามในกล่องขอ้ ความได้ 0.28 98.32
มากทส่ี ดุ
รวม 4.67 0.26 98.59 มากทส่ี ุด

ด้านเจา้ หนา้ ทหี่ รือบุคลากรทใ่ี หบ้ รกิ าร 0.27 98.38 มากทส่ี ุด
0.29 98.16 มากท่สี ดุ
8. เจา้ หน้าที่ประจารถกู้ชพี ปฏิบัติต่อผู้ป่วย
0.31 98.22 มากที่สดุ
และญาติด้วยความสุภาพ กระตือรือร้น 4.92 0.17 98.34
มากท่สี ุด
และมงุ่ ม่ันในการทางานอยา่ งเต็มท่ี 0.31 98.22 มาก

9. เจ้าหน้าที่ประจารถกู้ชีพ สามารถ 0.56 93.14 มากที่สุด
0.60 88.49 มากท่ีสดุ
ประเมินสภาพการเจบ็ ปว่ ย ใหก้ ารชว่ ยเหลือ 4.93 0.34 93.28
ตอบคาถาม และอธิบายเกี่ยวกับการ 0.19 95.62

ชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยเบื้องต้นได้เป็นอย่างดี

10. เจ้าหน้าท่ีประจารถกู้ชีพ มีความรู้ และ 4.92
ทกั ษะในการช่วยเหลอื ผปู้ ว่ ยเปน็ อยา่ งดี

1 1 . เจ้ าห น้ าที่ ขั บ รถ กู้ ชี พ ด้ วย ค วาม

ระมัดระวัง และเปิดสัญญาณฉุกเฉินเพ่ือ 4.91

ขอทางตลอดเสน้ ทางการนาส่งผู้ป่วย

12. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจารถ

ฉุกเฉิน ทาให้ท่านรู้สึกเช่ือถือและไว้วางใจ 4.91

ในการบริการ

รวม 4.92

ด้านสงิ่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่

13. รถกู้ชีพมีลักษณะพิเศษ จดจาได้ง่าย

เปิดไฟ และเสียงเตือนฉุกเฉินเวลาออก 4.91

ปฏิบตั งิ าน

14. วัสดุและอุปกรณ์ช่วยเหลือประจารถ

ฉุกเฉินมีประสิทธิภาพดี สะอาด และพร้อม 4.66

ใช้งาน

1 5 . รถ กู้ ชี พ ฉุ ก เฉิ น มี เพี ยงพ อ แ ล ะ 4.42
ใหบ้ ริการทัว่ ถงึ

รวม 4.66

ภาพรวม 4.78

71

จากตารางที่ 4.11 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการงานด้าน
สาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) ในภาพรวม อยู่ในระดับพอใจ
มากทีส่ ุด โดยมคี า่ เฉล่ยี 4.78 (ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 95.62) จาแนกเป็นรายด้าน คอื

ดา้ นกระบวนการข้นั ตอนการใหบ้ ริการ พบว่า ความพึงพอใจเกย่ี วกับมีการบันทึกเอกสาร สาหรับ
การรับบริการไว้เป็นหลักฐาน อย่างชัดเจน เป็นระบบ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.91
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 98.16) รองลงมาคือ เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุ เจ้าหน้าท่ีมีการสอบถามประเมินอาการของ
ผูป้ ว่ ย และใหก้ ารช่วยเหลืออย่างทนั ท่วงที อยูใ่ นระดับพอใจมากที่สุด โดยมคี ่าเฉลี่ย 4.90 (ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ
98.00)

ดา้ นช่องทางการใหบ้ รกิ าร พบว่า ความพงึ พอใจเกี่ยวกบั ชอ่ งทางการรับแจ้งเหตุ (สายด่วน 1669)
จดจาง่าย สามารถติดต่อง่าย อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.83 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 96.59)
รองลงมาคือการติดเบอร์สายด่วน 1669 ด้านข้างของรถกู้ชีพ ทาให้ประชาชนท่ัวไปทราบช่องทางติดต่อ
อยู่ในระดบั พอใจมากท่ีสดุ โดยมคี ่าเฉลย่ี 4.71 (คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 94.11)

ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรที่ให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับเจ้าหน้าท่ีประจารถกู้ชีพ
สามารถประเมินสภาพการเจ็บป่วย ให้การช่วยเหลือ ตอบคาถาม และอธิบายเกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ปว่ ย
เบื้องต้นได้เป็นอย่างดี อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.93 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 98.59) รองลงมาคือ
เจ้าหน้าที่ประจารถกู้ชพี มีความรู้ และทักษะในการช่วยเหลือผู้ป่วยเป็นอย่างดี อยใู่ นระดบั พอใจมากท่ีสุด
โดยมคี ่าเฉล่ีย 4.92 (คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 98.38)

ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับรถกู้ชีพมีลักษณะ
พิเศษ จดจาได้ง่าย เปดิ ไฟ และเสียงเตือนฉกุ เฉนิ เวลาออกปฏิบัติงาน อยู่ในระดับพอใจมากทสี่ ดุ มีคา่ เฉล่ีย
4.91 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 98.22) รองลงมาคือวัสดุและอุปกรณ์ช่วยเหลือประจารถฉุกเฉินมีประสิทธิภาพดี
สะอาด และพรอ้ มใชง้ าน อยใู่ นระดับพอใจมากท่สี ดุ มคี ่าเฉล่ยี 4.66 (คา่ เฉลี่ยร้อยละ 93.14)

ตารางที่ 4.12 สรุปค่าเฉลี่ย และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข
(งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วน
จังหวดั อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS))

ความพึงพอใจ ค่าเฉลยี่ ระดบั ความพึงพอใจ
4.87 คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ความหมาย
ดา้ นกระบวนการข้นั ตอนการให้บริการ 4.67
ดา้ นช่องทางการให้บริการ 4.92 97.36 มากที่สุด
ด้านเจ้าหน้าทห่ี รือบุคลากรที่ให้บรกิ าร 4.66 93.50 มากทส่ี ดุ
ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี 4.78 98.34 มากทส่ี ุด
93.28 มากที่สุด
รวม 95.62 มากท่สี ดุ

จากตารางท่ี 4.12 สรุปค่าเฉลี่ยและค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานด้าน
สาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบ

72

แบบสอบถามมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.78 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 95.62) โดยใน
ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ มีค่าเฉล่ีย 4.92 (ค่าเฉลี่ยรอ้ ย
ละ 98.34) รองลงมาได้แก่ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.87 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ
97.36) ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.67 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.50) และด้านส่ิงอานวยความ
สะดวกและอาคารสถานท่ี มีคา่ เฉลีย่ 4.66 (ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 93.28) ตามลาดับ

ตอนท่ี 4 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
1. ต้องการใหม้ ีหน้ากากอนามยั บรกิ ารสาหรับญาตทิ ี่ติดตามผู้ป่วยไปโรงพยาบาล เพราะรีบบางที
กล็ มื เอาไปด้วย
2. ตอ้ งการให้มีผ้าเช็ดตัวหรือผา้ เช็ดหน้าผืนเลก็ ๆ สาหรับญาติที่จะช่วยเชด็ ตวั ผู้ป่วยท่ีมไี ข้ น้ามูก
นา้ ลาย หรืออาเจียนระหว่างทางนาส่งโรงพยาบาล
3. เป็นโครงการท่ดี มี าก อยากใหท้ าตอ่ ๆ ไป

4. งานอน่ื ๆ (งานการใหบ้ รกิ ารประชาชนในการขายทีด่ นิ หว้ ยขะยงุ และทงุ่ หมาหวิ )

งานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) เป็นงาน
บริการของฝ่ายจัดหาผลประโยชน์ กองกิจการพาณิชย์ มีวัตถุประสงค์ดาเนินการให้เป็นไปตามพระราช
กฤษฎีกาถอนสภาพท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ประโยชน์ร่วมกันในท้องที่
ตาบลท่าลาด อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.2525 และประกาศกระทรวงมหาดไทย
ลงวันท่ี 10 กันยายน2528 มอบหมายใหอ้ งค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานนี าไปหาผลประโยชน์โดย
การให้ซ้ือ เพ่ือหารายได้มาบารุงท้องถ่ิน เนื้อท่ี 5,840 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา โดยองค์การบริหารส่วน
จงั หวัดอุบลราชธานีร่วมกับสานักงานท่ีดินจงั หวดั อุบลราชธานสี าขาวารินชาราบ ไดท้ าการรงั วดั แบ่งแปลง
ที่ดินออกโฉนด จานวน 2,029 แปลง และท่ีดนิ ทุ่งหมาหิว เขตอาเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี จานวน
10,169 ไร่ โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับสานักงานที่ดินจังหวัดอุบลราชธานี สาขา
ตาลสุม ได้ทาการรังวัดแบ่งแปลงที่ดินออกโฉนด จานวน 703 แปลง เนื้อที่ประมาณ 9,169 ไร่ และอยู่
ระหว่างรังวัดออกโฉนด 119 แปลง คิดเป็นประมาณ 1,000 ไร่ โดยองค์การบริหารส่วนจัง หวัด
อุบลราชธานีได้จัดทาหลักเกณฑ์และวิธีการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว และออกเป็นประกาศให้
ประชาชนทัง้ สองพ้นื ทีท่ ราบ โดยมีขน้ั ตอนการให้บรกิ ารขายทดี่ ิน ดังน้ี

73

4.1 กระบวนการขั้นตอนการใหบ้ ริการ

ผซู้ ้ือติดต่อขอซอ้ื ท่ดี ิน

ตรวจสอบรายชอ่ื ถกู ต้องตาม ตรวจสอบขอ้ มลู แล้วพบมปี ัญหา
ทะเบยี นคุมโฉนดทีด่ ิน
(ภายใน 2-5 นาที) เจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบขอ้ เท็จจริงเกย่ี วกบั คุณสมบัติ
ผซู้ ือ้ ท่ีดิน (ภายใน 2 วัน)
กรณชี ่ือตรงตามทะเบยี น กรณีชื่อไม่ตรงตาม - กรณผี ูค้ รอบครองไม่ตรงตามทะเบียนคมุ โฉนด
ทะเบียน (ภายใน 2 วัน) - กรณมี ีการคัดค้านโตแ้ ย้ง เรอ่ื งการครอบครอง
ทด่ี นิ

การขออนมุ ัติขายท่ีดินแกผ่ มู้ ีสิทธิ์ (ภายใน 3 วนั )

แจ้งผูม้ ีคุณสมบัติมาซือ้ ท่ดี ิน (ภายใน 1 วัน)

กรอกขอ้ มลู ในแบบคาร้องขอซื้อทีด่ ิน (2 นาที)

ทาบันทึกสง่ เงินค่าขายที่ดินให้กองคลัง (2 นาท)ี

บันทกึ เสนอขออนุมตั ิขาย / โอนกรรมสทิ ธิ์ (ภายใน 1 วัน)

เมอื่ ได้รับการอนมุ ัติ ดาเนนิ การแจง้ ผู้มสี ทิ ธิ์ซ้ือทีด่ นิ รับเอกสาร
เพอื่ ย่ืนจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ณ สานักงานท่ดี ิน

สาขาวารินชาราบ / สาขาพิบลู มงั สาหาร (ภายใน 1 วัน)

แผนภูมิท่ี 4.4 ขั้นตอนการให้บริการงานอื่น ๆ (งานการใหพ้บรรอ้ กิ มาสร่งปต่อรขะ้อชมาลู ชดน้วยใรนะกบาบรMขIาSยTที่ดินห้วยขะยงุ และ
ทุ่งหมาหิว)

4.2 ชอ่ งทางการให้บริการ
งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว มีช่องทางการให้บริการ
ได้แก่

- สานักงานกองกิจการพาณิชย์ ต้ังอยู่บริเวณศูนย์แสดงและจาหน่ายสินค้าหน่ึงตาบลหนึ่ง
ผลติ ภณั ฑ์ (ศนู ย์ OTOP) ถนนแจง้ สนิท

- การให้บริการนอกสถานที่ โดยมีหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์นัดหมายการให้บรกิ ารในพ้ืนท่ี
ไปยงั กานนั -ผู้ใหญ่บา้ น โดยใช้ศาลากลางบ้านของหมบู่ ้านเปน็ สถานทีน่ ัดหมาย

- ผู้ใช้บริการสามารถโทรศัพท์สอบถามหรือติดต่อนัดหมายโดยโทรเข้าสานักงาน หรือโทร
สอบถามเจา้ หน้าท่ีท่รี ับผิดชอบโดยตรง

- มชี อ่ งทางติดต่อออนไลน์ เฟสบุ๊ก และไลน์

74

4.3 เจ้าหนา้ ทห่ี รือบุคลากรท่ีใหบ้ ริการ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้มอบหมายให้บุคลากรให้บริการขายท่ีดินทุ่งหมา

หวิ และหว้ ยขะยงุ ดังนี้
- ผู้อานวยการกองกจิ การพาณิชย์
- นักบรหิ ารงานท่ัวไป
- นติ กิ รปฏบิ ัตกิ าร
- นกั จดั การงานทั่วไปชานาญการ
- พนักงานขับรถยนต์ (ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย)

4.4 สง่ิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่
- สานักงานกองกิจการพาณิชย์ บริเวณศูนย์แสดงและจาหน่ายสินค้าหนึ่งตาบลหน่ึง

ผลติ ภณั ฑ์ (ศนู ย์ OTOP) ถนนแจ้งสนิท ให้บรกิ ารทนี่ ่งั พักคอย ห้องประชมุ นา้ ด่ืม อินเตอรเ์ นต็ ไรส้ าย
- การให้บริการนอกสถานที่ โดยมีหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์นัดหมายการให้บริการใน

พื้นท่ี ไปยังกานัน-ผู้ใหญ่บ้าน โดยใช้ศาลากลางบ้านของหมู่บ้านเป็นสถานที่นัดหมาย เพื่อความสะดวก
ของผซู้ อ้ื ท่ีดินและพยานทีม่ าใหถ้ ้อยคา

ภาพที่ 4.16 อาคารกองกิจการพาณิชย์

ภาพที่ 4.17 ภายในสานกั งานกองกิจการพาณิชย์

75

ภาพที่ 4.18 ภายในสานกั งานกองกจิ การพาณิชย์ ในชว่ งที่มผี ้มู าใช้บรกิ าร

4.5 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน
ห้วยขะยงุ และทุง่ หมาหิว)

ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบอ้ื งต้น

ตารางที่ 4.13 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดิน
หว้ ยขะยุงและทุ่งหมาหิว)

ขอ้ มูลเบือ้ งต้น จานวน (คน) ร้อยละ
1. พื้นทีท่ ีร่ ับบรกิ าร
23 15.3
1.1 ห้วยขะยุง 127 84.7
1.2 ทงุ่ หมาหวิ 150 100.0

รวม 4 2.7
2. ประเภทของผู้รับบรกิ าร 26 17.3
4 2.7
2.1 ผูซ้ ื้อ ท่เี ป็นผู้มีสิทธ์ิซ้ือตามรายชื่อในทะเบียนคุมโฉนด 98 65.3
2.2 ผ้ซู ื้อ ทไี่ ม่ได้เป็นผู้มสี ทิ ธิซ์ ื้อตามรายชื่อในทะเบียนคุมโฉนด / 18 12.0
ผู้ครอบครองปัจจบุ นั
2.3 พยาน (ผใู้ หญ่บ้าน) 150 100.0
2.4 พยาน (เจ้าของทดี่ ินขา้ งเคยี ง)
2.5 พยาน (ตวั แทนทายาทของเจ้าของที่ดนิ ทเี่ ป็นผู้มีสทิ ธิซ์ ้ือตาม
รายช่ือในทะเบยี นคมุ โฉนด)

รวม

จากตารางท่ี 4.13 พบว่า ผู้ใช้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ส่วนใหญ่พ้ืนท่ีท่ีรับบริการอยู่ท่ีทุ่งหมาหิว คิดเป็นร้อยละ 84.7 และห้วยขะยุง
คดิ เปน็ ร้อยละ 15.3

ประเภทของผรู้ บั บริการ พบว่า ผใู้ ชบ้ ริการงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายทดี่ ิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ส่วนใหญ่เป็นพยาน (เจ้าของท่ีดินข้างเคียง) คิดเป็นร้อยละ 65.3 รองลงมา

76

ได้แก่ ผู้ซื้อที่ไม่ได้เป็นผู้มีสิทธ์ิซ้ือตามรายชื่อในทะเบียนคุมโฉนดโดยเป็นผู้ครอบครองปัจจุบัน คิดเป็นร้อย
ละ 17.3 พยานซึ่งเป็นทายาทของเจ้าของที่ดินท่ีเป็นผู้มีสิทธ์ิซ้ือตามรายช่ือในทะเบียนคุมโฉนด คิดเป็น
รอ้ ยละ 12.0 ผู้ซื้อท่ีเป็นผู้มสี ิทธิ์ซื้อตามรายชอ่ื ในทะเบียนคุมโฉนด และพยานทีเ่ ป็นผู้ใหญบ่ ้าน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 4.7 เท่ากัน ตามลาดบั

ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.14 ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วย
ขะยงุ และท่งุ หมาหิว)

ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน (คน) รอ้ ยละ
1. เพศ
80 53.3
1.1 ชาย 70 46.7
1.2 หญิง 150 100.0

รวม - -
2. ชว่ งอายขุ องผูต้ อบแบบสอบถาม 2 1.3
6 4.0
2.1 อายุไม่เกนิ 20 ปี 58 38.7
2.2 อายุ 21 - 30 ปี 56 37.3
2.3 อายุ 31 - 40 ปี 28 18.7
2.4 อายุ 41 - 50 ปี 150 100.0
2.5 อายุ 51 - 60 ปี
2.6 อายุ 61 ปีข้นึ ไป 142 94.7
3 2.0
รวม 1 0.7
3. การประกกอบอาชพี 4 2.7
- -
3.1 เกษตรกร - -
3.2 รบั จา้ ง 150 100.0
3.3 ลกู จา้ ง / พนักงานบรษิ ทั / พนักงานรัฐวิสาหกิจ
3.4 ข้าราชการ / พนักงานของรัฐ
3.5 ค้าขาย
3.6 อืน่ ๆ

รวม

จากตารางที่ 4.14 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 53.3
และเพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 46.7

ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.7 รองลงมาคืออายุ 51 - 60 ปี
คิดเป็นร้อยละ 37.3 อายุ อายุ 61 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 18.7 อายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 4.0 และ
อายุ 21 - 30 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ตามลาดับ

77

ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 94.7 รองลงมา
คืออาชีพข้าราชการ/พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 2.7 อาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 2.0 และอาชีพ
ลูกจ้าง/พนักงานบริษัท/พนกั งานรฐั วิสาหกิจ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.7 ตามลาดบั

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขาย
ทีด่ ินหว้ ยขะยงุ และทงุ่ หมาหิว)

ตารางที่ 4.15 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ
งานอนื่ ๆ (งานการใหบ้ รกิ ารประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยงุ และทงุ่ หมาหวิ )

ความพงึ พอใจ คา่ เฉล่ีย ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
สว่ นเบ่ียงเบน คา่ เฉลี่ย
ด้านกระบวนการขนั้ ตอนการใหบ้ ริการ 4.39 มาก
4.39 มาตรฐาน รอ้ ยละ มาก
1. มีการประกาศข้ันตอนการซื้อท่ีดินอย่าง 4.48 0.54 87.87 มาก
ชดั เจน และเปน็ ไปตามขอ้ กฎหมาย 4.58 0.63 87.87 มากท่สี ดุ
4.46 0.60 89.60 มาก
2 . ข้ั น ต อ น ใน ก า ร ติ ด ต่ อ ข อ ซ้ื อ ที่ ดิ น 0.56 91.60
สะดวกสบาย โดยถือเอาความสะดวกของผู้ 4.58 0.40 89.23 มากท่สี ุด
ซอ้ื ในการนัดหมาย
4.35 0.62 91.60 มาก
3. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการ เป็น 4.78 มากทส่ี ดุ
หลักฐาน อย่างชดั เจน เป็นระบบ 4.57 0.56 86.93 มากทีส่ ดุ
0.45 95.60
4 . มี ก า ร ว า ง แ ผ น นั ด ห ม า ย เว ล า ใน 0.40 91.38
การดาเนิ น การล่วงห น้ า อย่างชัดเจน
หลังจากทไ่ี ดร้ บั เร่ือง

รวม

ดา้ นช่องทางการให้บรกิ าร

5. มีการให้บรกิ ารข้นั ตอนการซอ้ื ทีด่ ิน ณ
ที่ทาการของกองกิจการพาณิชย์ และในพน้ื ท่ี
ท่ีเป็นทต่ี งั้ ของโฉนดท่ดี ิน เพ่ือความสะดวก
ของผู้เก่ียวขอ้ ง

6. มีช่องทางติดต่อส่อื สารหลายช่องทาง เช่น
หนงั สือราชการ โทรศัพท์ เฟสบุ๊ก ไลน์

7. มีการส่ือสารติดตามผู้ซ้ือที่ดินผ่านทาง
ผู้ใหญ่บ้านในพื้นท่ีของผู้ซื้อที่ดินเพื่อให้มา
ดาเนินการ

รวม

78

ตารางท่ี 4.15 (ตอ่ )

ความพงึ พอใจ คา่ เฉลีย่ ระดับความพึงพอใจ ความหมาย
สว่ นเบย่ี งเบน คา่ เฉล่ยี
ดา้ นเจ้าหนา้ ท่ีหรือบุคลากรท่ีใหบ้ ริการ มากท่สี ดุ
มาตรฐาน รอ้ ยละ มากท่ีสดุ
8. เจา้ หนา้ ที่ผูร้ บั ผดิ ชอบงาน ปฏิบัติงานดว้ ย 4.59
ความสภุ าพ เป็นกันเอง และกระตือรอื รน้ 0.59 91.87 มากท่สี ดุ
มากที่สุด
9. เจ้าหน้าที่มีความรู้ มีทักษะในการทางาน 0.61 91.20 มากที่สดุ

และสามารถอธิบาย ช้แี จง ข้ันตอนต่าง ๆ ใน 4.56 0.55 91.07 มากทส่ี ุด
0.47 91.38 มากทสี่ ดุ
กระบวนการซอื้ ทดี่ ินให้ทกุ ฝ่ายเขา้ ใจ มากทีส่ ดุ
0.49 92.93
10. เจ้าหน้าท่ีมีความมุ่งมั่น อดทน และ
0.45 94.93
ทุ่มเทในอานวยความสะดวกในทุก ๆ ด้าน 4.55
0.36 93.93
เพอื่ ให้ผซู้ ื้อสามารถซือ้ ทีด่ ินได้อยา่ งเรียบร้อย 0.32 91.48

รวม 4.57

ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานที่

11. สถานที่ (สานักงานของกองกิจการ 4.65
พาณชิ ย)์ สามารถเขา้ มาตดิ ตอ่ ได้งา่ ย

12. สถานท่ี (สานักงานของกองกิจการ

พาณิชย์) มีสิ่งอานวยความสะดวก เช่น 4.75
ห้องน้า ที่นั่งพักคอย น้าด่ืม อุปกรณ์เครื่อง

เขียน บรกิ ารอย่างเพียงพอ

รวม 4.70

ภาพรวม 4.57

จากตารางที่ 4.15 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการงานอ่ืน ๆ
(งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ในภาพรวม อยู่ในระดับพอใจ
มากที่สุด โดยมีค่าเฉล่ยี 4.57 (ค่าเฉลยี่ ร้อยละ 91.48) จาแนกเป็นรายดา้ น คือ

ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับมีการวางแผนนัดหมายเวลา
ในการดาเนินการล่วงหน้า อย่างชัดเจน หลังจากที่ได้รับเรื่อง อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ย
4.58 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.60) รองลงมาคือมีการบันทึกข้อมูลการให้บริการ เป็นหลักฐาน อย่างชัดเจน
เป็นระบบ อยใู่ นระดับพอใจมาก โดยมีค่าเฉล่ยี 4.48 (คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 89.605)

ด้านช่องทางการให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับมีการสื่อสารติดตามผู้ซื้อที่ดินผ่านทาง
ผูใ้ หญ่บ้านในพ้ืนที่ของผู้ซื้อที่ดินเพื่อใหม้ าดาเนินการ อยูใ่ นระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.78 (ค่าเฉล่ีย
ร้อยละ 95.60) รองลงมาคือมีการให้บริการขั้นตอนการซ้ือท่ีดิน ณ ที่ทาการของกองกิจการพาณิชย์ และ
ในพ้ืนที่ท่เี ปน็ ที่ต้ังของโฉนดทีด่ ินเพ่ือความสะดวกของผู้เกี่ยวข้อง อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด โดยมีคา่ เฉลี่ย
4.58 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.60)

ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ พบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงาน
ปฏิบัติงานด้วยความสุภาพ เป็นกันเอง และกระตือรือร้น อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.59

79

(ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.87) รองลงมาคือเจ้าหน้าท่ีมีความรู้ มีทักษะในการทางาน และสามารถอธบิ าย ชี้แจง
ข้ันตอนต่าง ๆ ในกระบวนการซ้ือท่ีดินให้ทุกฝ่ายเข้าใจ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.56
(คา่ เฉล่ยี ร้อยละ 91.20)

ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ พบว่า ความพึงพอใจเกี่ยวกับสถานท่ี (สานักงาน
ของกองกิจการพาณิชย์) มีส่ิงอานวยความสะดวก เช่น ห้องน้า ท่ีน่ังพักคอย น้าดื่ม อุปกรณ์เครื่องเขียน
บริการอย่างเพียงพอ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.75 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.93) รองลงมาคือ
สถานท่ี (สานักงานของกองกิจการพาณิชย์) สามารถเข้ามาติดต่อได้ง่าย อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด
มคี า่ เฉล่ยี 4.65 (คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 92.93)

ตารางท่ี 4.16 สรุปค่าเฉลี่ย และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการ
ใหบ้ ริการประชาชนในการขายท่ีดินหว้ ยขะยงุ และทุ่งหมาหิว)

ความพงึ พอใจ ค่าเฉลีย่ ระดับความพึงพอใจ
4.46 ค่าเฉลยี่ ร้อยละ ความหมาย
ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บรกิ าร 4.57
ด้านช่องทางการใหบ้ ริการ 4.57 89.23 มาก
ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรที่ใหบ้ รกิ าร 4.70 91.38 มากทสี่ ุด
ดา้ นสิง่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี 4.57 91.38 มากที่สดุ
93.93 มากท่ีสุด
รวม 91.48 มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 4.16 สรุปค่าเฉล่ีย และค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานอื่น ๆ
(งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.48)
โดยด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ คือมีความพึงพอใจ
อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.70 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.93) รองลงมาคือ ด้านช่องทางการให้บริการ
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.38) ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือ
บุคลากรที่ให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.38)
และด้านกระบวนการ ขั้นตอนการใหบ้ ริการ มคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมาก โดยมคี ่าเฉล่ีย 4.46 (ค่าเฉล่ีย
ร้อยละ 89.23) ตามลาดบั

ตอนท่ี 4 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
1. โทรศัพท์เขา้ มาติดตอ่ ที่สานักงานหลายครั้งแลว้ ไม่มคี นรับสาย
2. เคยเข้ามาติดต่อที่สานักงานโดยไม่ได้นัดหมายล่วงหน้าแล้วไม่พบเจ้าหน้าที่ เนื่องจาก
เจ้าหนา้ ทไี่ ปงานที่สานกั งาน อบจ. ที่สานกั งานใหญ่ทงั้ หมด
3. การไปใหบ้ รกิ าร ณ ศาลากลางบ้านดมี าก เพราะการเดินทางลาบากเพราะไม่มรี ถ
4. เจา้ หนา้ ท่ใี หบ้ ริการดีมาก ชว่ ยเหลอื ทุกเรอื่ ง

80

สรปุ ในภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจการใหบ้ รกิ ารงานท้ัง 4 งาน

ตารางท่ี 4.17 สรุปคา่ เฉลี่ย และคา่ เฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการใหบ้ รกิ ารงานท้งั 4 งาน

ภารกจิ งาน ระดบั ความพึงพอใจ
ค่าเฉล่ีย ค่าเฉล่ียร้อยละ ความหมาย
1. งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย 4.58 91.61 มากที่สุด
(งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย)
2. งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและ 4.70 94.02 มากทสี่ ุด
ส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani
Province Emergency Medical Dispatch Center)) 4.78 95.62 มากทส่ี ดุ
3. งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉกุ เฉินกู้
ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพ 4.57 91.48 มากท่ีสดุ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced 4.66 93.18 มากท่ีสุด
life support : ALS))
4. งานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขาย
ท่ีดนิ ห้วยขะยุงและทงุ่ หมาหิว)

รวม

จากตารางที่ 4.17 สรุปค่าเฉลี่ย และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงาน
ทง้ั 4 ภารกิจงาน พบวา่ ผู้รบั บริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ
93.18) เมื่อจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย
4.78 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.62) รองลงมาคือ งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัด
อุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.70 (ค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 94.02) งานด้านเทศกิจ
หรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉล่ีย 4.58 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.61) และงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.48)
ตามลาดับ

81

บทท่ี 5
สรุปผลการวิจัย

การวิจัยสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อบุ ลราชธานี ประจาปี 2563 ได้ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล จาก 4 ภารกิจงาน คือ งานด้านเทศกจิ หรอื ป้องกัน
บรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและ
ส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))
งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอื่น ๆ (งานการ
ให้บรกิ ารประชาชนในการขายท่ดี นิ หว้ ยขะยงุ และทุง่ หมาหิว)

การวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิธีการศึกษา
เชิงสารวจ (Survey Research) ด้วยเครอ่ื งมือวิจัยคือแบบสอบถาม ประชากร ได้แก่ ผู้รับบริการงานด้าน
เทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) จานวน 370 คน งานด้าน
สาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province
Emergency Medical Dispatch Center)) จานวน 400 คน งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการ
ฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS)) จานวน 375 คน และ และงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) จานวน 150 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ
แบบสอบถาม สถิติทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ คา่ ความถี่ คา่ เฉล่ีย ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน อภิปรายผลการวิจัยโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) เพ่ือแจกแจงความถ่ี
(Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภมู ิ (Primary data) และข้อมูลทตุ ิยภูมิ (Secondary data) โดย
มีลาดับการนาเสนอข้อมูล ได้แก่ กระบวนการข้ันตอนการให้บริการ ช่องทางการให้บริการ และผล
การวิเคราะหข์ ้อมลู จากแบบสอบถามซ่งึ ประกอบด้วย ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป
ของผู้ตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจการให้บริการ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปและ
อภปิ รายผลการวจิ ยั ในภาพรวม โดยจาแนกตามภารกจิ งาน ดังนี้


Click to View FlipBook Version