The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ubonpaou, 2021-03-25 03:27:04

โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

รายงายผลการวิจัย

82

ภาพรวมความพงึ พอใจของผู้รบั บริการทั้ง 4 ภารกิจงาน จาแนกรายดา้ น

แผนภูมิท่ี 5.1 ค่าเฉลย่ี ร้อยละความพงึ พอใจทัง้ 4 ภารกจิ งาน จาแนกรายด้าน

จากแผนภูมิท่ี 5.1 ในภาพรวมของผู้ใช้บริการทั้ง 4 ภารกิจงาน (จาแนกรายด้าน) พบว่า
ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.18) เม่ือจาแนก
แต่ละด้าน พบว่า ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย
4.70 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 94.03) รองลงมาคือด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.17) ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.14) และด้านช่องทางการให้บรกิ าร
ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สดุ คา่ เฉลยี่ 4.62 (คา่ เฉลี่ยร้อยละ 92.39) ตามลาดับ

เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในปีงบประมาณ 2562 ซ่ึงภาพรวม
ท้ัง 4 ภารกิจงาน (จาแนกรายด้าน) พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจในปีงบประมาณ 2562 อยู่ในระดับ
มาก และด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรที่ให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ เช่นเดียวกันกับ
ปงี บประมาณ 2563 แสดงให้เหน็ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานีได้รักษาคุณภาพงานบริการโดย
บุคลากรอย่างสม่าเสมอ ส่วนในด้านอื่น ๆ นั้น เนื่องจากภารกิจงานท่ีนามาประเมินมีความแตกต่างกันใน
แตล่ ะปีงบประมาณ จึงไม่สามารถนามาอภิปรายเพ่อื เปรยี บเทยี บได้

83

ภาพรวมความพึงพอใจของผู้รบั บริการท้ัง 4 ภารกิจงาน จาแนกตามภารกจิ งาน

แผนภูมทิ ่ี 5.2 ค่าเฉลีย่ ร้อยละความพงึ พอใจทั้ง 4 ภารกจิ งาน จาแนกตามภารกจิ งาน
จากแผนภูมิท่ี 5.2 เม่ือเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจการให้บริการขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2563 พบว่า ในภาพรวมทั้ง 4 ภารกิจงาน ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
มีค่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.18) ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.66
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.18) เม่ือจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการ
ฉุกเฉินกู้ชพี คณุ ธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธาน)ี ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด
ค่าเฉล่ีย 4.78 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 95.62) รองลงมาคืองานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ
จงั หวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.02) งานด้าน
เทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.58 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.61) และงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขาย
ท่ดี ินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ุด คา่ เฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉลย่ี ร้อยละ 91.48)
ตามลาดบั

84

1. ความพึงพอใจของผู้รับบริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
(งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั )

1.1 ข้อมลู เบ้อื งต้นของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย) พบว่า ประเภทของการรับบริการ ส่วนใหญ่เป็นถุงยังชีพช่วยเหลือน้าท่วม (อุทกภัย)
คิดเป็นร้อยละ 80.7 รองลงมา ได้แก่ ระงับเหตุเหตุเพลิงไหม้ (อัคคีภัย) คิดเป็นร้อยละ 10.3 สนับสนุน
ครุภัณฑ์ เช่น เรือท้องแบน เคร่ืองสูบน้า เครื่องตรวจจับโลหะ โป๊ะท่าเรือ คิดเป็นร้อยละ 2.7 ช่วยเหลือ
เหตุจากพายุ (วาตภัย) จับสัตว์เล้ือยคลาน และอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 1.9 เท่ากัน และสนับสนุนน้าอุปโภค
บริโภค (รถบรรทุกน้า) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.5 ตามลาดับ
ด้านผู้ใช้บริการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นตัวแทนครัวเรือนของประชาชนท่ีประสบภัย คิดเป็นร้อยละ
92.6 รองลงมาคือหน่วยงานภาครัฐ เช่น สานักงานจังหวัด โรงเรียน เรือนจา สถานีทดลอง สถานีขนส่ง
ผู้โดยสาร คิดเป็นร้อยละ 4.6 องค์การสาธารณกุศล เช่น วัด มูลนิธิ คิดเป็นร้อยละ 1.4 และหน่วยงาน
ภาคเอกชน เช่น บริษัท ห้าง ร้าน โรงแรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.4 ตามลาดับ
ด้านเขตพ้ืนท่ีที่ได้รับบริการ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นอาเภอเมือง คิดเป็นร้อยละ 35.1 รองลงมาคือ
อาเภอวารินชาราบ คิดเป็นร้อยละ 18.1 อาเภอพิบูลมังสาหาร คิดเป็นร้อยละ 17.8 อาเภอตาลสุม และ
อาเภอนาเยีย คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.4 เท่ากัน อาเภอเขมราฐ คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.1 อาเภอเขือ่ งใน คดิ เปน็ ร้อยละ
4.9 อาเภอเดชอุดม คิดเป็นรอ้ ยละ 4.6 และอาเภอดอนมดแดง คิดเป็นรอ้ ยละ 3.5 ตามลาดบั

1.2 ขอ้ มูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 51.4 และเพศหญิง คิดเป็น
ร้อยละ 48.6 ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.4 รองลงมาคืออายุ 31 - 40
ปี คิดเป็นร้อยละ 29.7 อายุ 21 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.6 อายุ 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 13.8 อายุ
ไม่เกิน 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 2.4 และอายุ 61 ปีขึ้นไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.1 ตามลาดบั

1.3 ความพึงพอใจการให้บริการงานดา้ นเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัย)

85

แผนภูมิท่ี 5.3 ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละความพงึ พอใจแต่ละด้านของงานด้านเทศกจิ หรือปอ้ งกันบรรเทา
สาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)

จากแผนภูมิที่ 5.3 ความพึงพอใจการใหบ้ ริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกนั บรรเทาสาธารณภัย
(งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ
พอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.58 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.61) โดยในด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคาร
สถานที่มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.66 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
93.18) รองลงมาได้แก่ด้านช่องทางการใหบ้ ริการ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มคี ่าเฉลี่ย 4.62 (ค่าเฉล่ียร้อย
ละ 92.39) ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรที่ให้บริการ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.52 (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 90.47) และด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.52
(ค่าเฉลย่ี ร้อยละ 90.39) ตามลาดบั

1.4 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
1) การติดต่อประสานงานเพ่ือมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์ควรแจ้งให้เร็วกว่าน้ีจะได้

ประชาสมั พันธใ์ ห้ประชาชนทราบให้มากขนึ้
2) ในพื้นท่ีท่ีไม่ใช่เขตอาเภอเมือง และวารินชาราบอยากให้ อบจ. ช่วยประสานงาน

หน่วยงานกภู้ ยั ท้ังภาครฐั และเอกชนเม่ือเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินจะได้ขอความชว่ ยเหลอื ได้
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เน้นหนักไปในการให้บริการด้านส่ิงอานวยความสะดวกและ

อาคารสถานท่ี ได้แก่ เครื่องมือเครื่องจักรในการบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ และส่ิงอุปโภคบริโภคที่
ให้บริการแก่ประชาชน ผลการประเมินความพึงพอใจในด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่มี

86

ความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด แสดงให้เห็นว่างานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย ตระหนักถึงความสาคัญในข้อน้ี ดังนั้น จึงควรรกั ษาคุณภาพของการบริการน้ีไว้ต่อไป ในด้าน
กระบวนการข้ันตอนการให้บริการซ่ึงมีความพึงพอใจน้อยกว่าด้านอ่ืน ๆ เนื่องจากต้องพิจารณา
กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด อาจทาให้การให้บริการบรรเทาสาธารณภัยบางประเภท เช่น ถุงยังชีพ
เคร่ืองมือเครื่องจักรซึ่งต้องใช้น้ามันเช้ือเพลิงหรือต้องนาไปติดต้ังเป็นระยะเวลานานและมีการบารุงรักษา
อาจทาให้มีขั้นตอนหลายข้ันตอน ทาให้บริการไม่ทันท่วงที ดังนั้น จึงควรมีการแจ้งประชาสัมพันธ์หรือ
ช้แี จงใหผ้ ้รู บั บริการทราบกอ่ นการให้บริการหรอื ประชาสมั พนั ธข์ ้ันตอนการใหบ้ รกิ ารท่วั ไป อย่างสม่าเสมอ

2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จงั หวดั อบุ ลราชธานี)

2.1 ข้อมูลเบ้อื งต้นของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัด
อบุ ลราชธานี) พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในเขตบริการโซนใต้ คิดเป็นร้อยละ 31.3 รองลงมา
ได้แก่ โซนกลาง คิดเป็นร้อยละ 31.0 โซนตะวันออก คิดเป็นร้อยละ 25.0 และโซนเหนือ คิดเป็นร้อยละ
12.8 ตามลาดับ
ด้านประเภทของการแจ้งเหตุ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน คิดเป็นร้อยละ 70.8
รองลงมาคือบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ เช่น พลัดตก หกล้ม รถชน ผูกคอ ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 25.3 และอื่น ๆ
เช่น จบั สตั วเ์ ลื้อยคลาน ไฟฟ้าดบั ตน้ ไม้หักโคน่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.0 ตามลาดับ
ดา้ นความเกย่ี วขอ้ งกับผู้ประสบเหตุ พบว่า ส่วนใหญเ่ ป็นญาติ คิดเป็นร้อยละ 82.8 รองลงมาเป็น
พลเมอื งดี คิดเป็นรอ้ ยละ 15.5 และเป็นผ้ปู ่วย คิดเปน็ ร้อยละ 1.8 ตามลาดับ

2.2 ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 59.3 และเพศชาย คดิ เป็น
รอ้ ยละ 40.8
ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.3 รองลงมาคืออายุ 41 - 50 ปี
คิดเป็นร้อยละ 29.8 อายุ 21 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.3 อายุ 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 7.3 อายุ 61 ปี
ขึน้ ไป คดิ เป็นร้อยละ 4.0 และอายุไมเ่ กนิ 20 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.5 ตามลาดบั
ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นลูกจ้าง / พนักงานบริษัท / พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ คิดเป็นร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ อาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 28.0 อาชีพค้าขาย คิดเป็น
ร้อยละ 17.8 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 16.0 อาชีพข้าราชการ / พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ
4.3 และอาชีพอ่ืน ๆ คดิ เปน็ ร้อยละ 2.5 ตามลาดบั

3.3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จงั หวดั อุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

87

แผนภูมทิ ี่ 5.4 ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละความพงึ พอใจแต่ละดา้ นของงานดา้ นสาธารณสุข (งานศูนยร์ ับแจง้ เหตุ
และสั่งการ จงั หวดั อบุ ลราชธานี)

จากแผนภูมิท่ี 5.4 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและ
สัง่ การจังหวดั อุบลราชธานี) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใจมาก
ท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.02) โดยในด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรที่ให้บริการ มีความ
พึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ คือมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.80 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
95.92) รองลงมาได้แก่ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.78 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.69)
ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.62 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 92.30) และด้านส่ิงอานวยความสะดวกและ
อาคารสถานท่ี มคี า่ เฉล่ีย 4.61 (ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 92.19) ตามลาดบั

2.4 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ
1) เคยโทรแจ้งให้มาจับงูท่ีบ้านแล้วเจ้าหน้าท่ีให้เบอร์โทรฯ ของกู้ภัยมาแล้วโทรไม่ติด (เขต

เมืองอบุ ลฯ)
2) สายด่วน 1669 เปน็ บรกิ ารท่ดี มี าก พึ่งพาได้ในยามฉุกเฉินจริง ๆ
3) ให้คาแนะนาในการดแู ลผูป้ ว่ ยเบ้อื งตน้ ดมี าก ทาให้รู้สกึ สบายใจขึน้
4) รถพยาบาลมาถึงเรว็ มาก เจ้าหนา้ ที่ประจารถชว่ ยเหลอื อย่างดี
5) เจา้ หนา้ ที่รับโทรศัพทใ์ จเยน็ สอบถามขอ้ มลู และแนะนาดว้ ยความสุภาพ
6) เบอรโ์ ทร 1669 จดจาไดง้ ่าย มีเหตดุ ว่ นอะไรกส็ ามารถโทรไดท้ ันที รบั สายเร็ว

เม่ือเปรียบเทียบกับการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในปีงบประมาณ 2562 ซึง่ งานศูนย์รับ
แจง้ เหตุและส่งั การ จังหวดั อบุ ลราชธานี ผ้รู ับบรกิ ารมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน แต่มี

88

ความแตกต่างจากปีงบประมาณ 2563 คือ ในด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจ
มากกว่าด้านอ่ืน ๆ (ในปี 2562 ด้านสงิ่ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ีมีความพึงพอใจมากกวา่ ดา้ น
อื่น ๆ และด้านเจ้าหน้าที่ หรอื บุคลากรอยู่ลาดับสุดท้าย) แสดงให้เห็นวา่ มีการพัฒนาในด้านการให้บริการ
ของบุคลากรเพ่ิมมากขึน้ ทาให้ผู้รับบริการพงึ พอใจมากที่สุด โดยข้อเสนอแนะของผรู้ บั บริการส่วนใหญ่เห็น
วา่ เปน็ โครงการท่ดี ีมีประโยชน์และเหน็ ควรให้ดาเนินการต่อไป

3. ความพงึ พอใจของผู้รับบริการงานดา้ นสาธารณสุข (งานหนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉินกชู้ พี
คุณธรรมและกูช้ ีพองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี)

3.1 ขอ้ มลู เบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม
พบว่า ผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life
support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS))
ส่วนใหญ่ใช้บริการกชู้ ีพคุณธรรม 322 (BLS วารนิ ชาราบ) คิดเป็นรอ้ ยละ 28.5 รองลงมาคือกู้ชีพคุณธรรม
316 (BLS เมือง) คิดเป็นรอ้ ยละ 26.1 กูช้ ีพคุณธรรม 318 (BLS เมือง) คิดเป็นร้อยละ 20.0 กู้ชพี คุณธรรม
315 (BLS เมือง) คิดเป็นร้อยละ 18.7 และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (ALS) คิดเป็น
รอ้ ยละ 6.7 ตามลาดับ
การเปลี่ยนรถกู้ชีพของผู้ป่วยระหว่างทาง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่มีการเปล่ียนรถ
กชู้ ีพระหวา่ งทาง คดิ เปน็ ร้อยละ 77.3 และมีการเปลีย่ นรถก้ชู พี ระหว่างทาง คดิ เปน็ ร้อยละ 22.7
ประเภทของการแจ้งแหตุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน คิดเป็น
รอ้ ยละ 82.4 และบาดเจบ็ /อุบตั เิ หตุ เชน่ พลัดตก หกล้ม รถชน ผูกคอ ฯลฯ คิดเป็นรอ้ ยละ 17.6
ความเกี่ยวขอ้ งของผู้ใช้บริการกับผูแ้ จ้งเหตุ พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เปน็ ญาติ คิดเป็น
ร้อยละ 97.1 และเปน็ ผู้ป่วย คดิ เป็นร้อยละ 2.9

3.2 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
พ บ ว่ า ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ส่ ว น ให ญ่ เป็ น เพ ศ ห ญิ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 60.3
และเพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 39.7
ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.8 รองลงมาคืออายุ 21 - 30 ปี
คิดเป็นร้อยละ 28.3 อายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.6 อายุ 51 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.1 อายุ
ไม่เกิน 20 ปี คดิ เป็นร้อยละ 4.5 และอายุ 61 ปขี น้ึ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.7 ตามลาดบั
ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพลูกจ้าง/พนักงานบริษัท/พนักงาน
รัฐวสิ าหกิจ คิดเป็นร้อยละ 36.8 รองลงมาคืออาชีพรับจ้าง คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.1 อาชพี ค้าขาย คิดเป็นร้อย
ละ 13.3 อาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 13.1 อาชีพอ่ืน ๆ คิดเป็นร้อยละ 12.5 และอาชีพข้าราชการ/
พนักงานของรฐั คิดเปน็ ร้อยละ 6.1 ตามลาดับ

3.3 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ
คุณ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS))

89

แผนภมู ิที่ 5.5 ค่าเฉลยี่ ร้อยละความพงึ พอใจแตล่ ะด้านของงานดา้ นสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการ
ฉกุ เฉนิ กู้ชพี คุณธรรมและกชู้ ีพองค์การบริหารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี)

จากแผนภูมิท่ี 5.5 ความพึงพอใจการให้บรกิ ารงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉกุ เฉิน
กู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมี
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.78 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 95.62) โดยในด้านเจ้าหน้าที่หรือ
บุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอืน่ ๆ คอื มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสดุ มคี ่าเฉล่ีย
4.92 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 98.34) รองลงมาได้แก่ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.87
(ค่าเฉล่ียร้อยละ 97.36) ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.67 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.50) และด้าน
สง่ิ อานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี มคี ่าเฉลยี่ 4.66 (ค่าเฉล่ยี ร้อยละ 93.28) ตามลาดับ

3.4 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
1) ต้องการให้มีหน้ากากอนามัยบริการสาหรับญาติท่ีติดตามผู้ป่วยไปโรงพยาบาล เพราะรีบ

บางทกี ล็ มื เอาไปด้วย
2) ต้องการให้มีผ้าเช็ดตัวหรือผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก ๆ สาหรับญาติท่ีจะช่วยเช็ดตัวผู้ป่วยที่มีไข้

น้ามกู นา้ ลาย หรืออาเจยี นระหว่างทางนาส่งโรงพยาบาล
3) เป็นโครงการทด่ี ีมาก อยากให้ทาตอ่ ๆ ไป

งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้รับ
เลือกให้ประเมินความพึงพอใจเป็นคร้ังแรกในปีงบประมาณ 2563 ผู้รับบริการส่วนใหญ่เห็นว่าเป็น
โครงการท่ีดี ช่วยเหลือผู้ปว่ ยได้ทันท่วงที และผู้ใช้บริการมีขอ้ เสนอแนะ เช่น ต้องการให้มีหน้ากากอนามัย
บริการสาหรับญาติที่ติดตามผู้ป่วยไปโรงพยาบาล และต้องการให้มีผ้าเช็ดตัวหรือผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก ๆ
สาหรบั ญาติท่ีจะช่วยเช็ดตวั ผปู้ ่วยทมี่ ีไข้ น้ามูก น้าลาย หรืออาเจียนระหว่างทางนาส่งโรงพยาบาล เป็นต้น
ซง่ึ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานีควรพจิ ารณาในการใหบ้ ริการในส่วนน้ีต่อไป

90

4. ความพึงพอใจของผู้รับบริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดิน
ห้วยขะยงุ และทุ่งหมาหิว)

4.1 ขอ้ มลู เบอ้ื งต้นของผ้ตู อบแบบสอบถาม
พบว่า ผู้ใช้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมา
หวิ ) สว่ นใหญ่พน้ื ท่ที ่ีรับบรกิ ารอยทู่ ท่ี งุ่ หมาหิว คิดเปน็ รอ้ ยละ 84.7 และห้วยขะยุง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.3
ประเภทของผูร้ ับบริการ พบว่า ผู้ใชบ้ ริการงานอ่ืน ๆ (งานการใหบ้ ริการประชาชนในการขายที่ดิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ส่วนใหญ่เป็นพยาน (เจ้าของท่ีดินข้างเคียง) คิดเป็นร้อยละ 65.3 รองลงมา
ได้แก่ ผู้ซ้ือที่ไม่ได้เป็นผู้มีสิทธิ์ซื้อตามรายชื่อในทะเบียนคุมโฉนดโดยเป็นผู้ครอบครองปัจจุบัน คิดเป็น
ร้อยละ 17.3 พยานซ่ึงเป็นทายาทของเจ้าของที่ดินที่เป็นผู้มีสิทธ์ิซื้อตามรายช่ือในทะเบียนคุมโฉนด
คิดเป็นร้อยละ 12.0 ผู้ซ้ือที่เป็นผู้มีสิทธ์ิซ้ือตามรายช่ือในทะเบียนคุมโฉนด และพยานที่เป็นผู้ใหญ่บ้าน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.7 เทา่ กัน ตามลาดับ

4.2 ข้อมูลทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 53.3 และเพศหญิง คิดเป็น
รอ้ ยละ 46.7
ด้านอายุ พบว่า ส่วนใหญ่มีอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.7 รองลงมาคืออายุ 51 - 60 ปี
คิดเป็นร้อยละ 37.3 อายุ อายุ 61 ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 18.7 อายุ 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 4.0 และ
อายุ 21 - 30 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.3 ตามลาดับ
ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 94.7 รองลงมา
คืออาชีพข้าราชการ/พนักงานของรัฐ คิดเป็นร้อยละ 2.7 อาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 2.0 และอาชีพ
ลูกจ้าง/พนักงานบรษิ ทั /พนักงานรัฐวสิ าหกิจ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.7 ตามลาดับ

4.3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว)

91

แผนภูมิที่ 5.6 ค่าเฉล่ียร้อยละความพึงพอใจแต่ละด้านของงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายท่ีดินห้วยขะยงุ และทุ่งหมาหิว)

จากแผนภูมิท่ี 5.6 ความพึงพอใจการให้บริการด้านงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ
พอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.48) โดยด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคาร
สถานท่ี มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ คือมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.70
(ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 93.93) รองลงมาคือดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดย
มีค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.38) ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย 4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.38) และด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บริการ
มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก โดยมีค่าเฉลย่ี 4.46 (ค่าเฉลยี่ ร้อยละ 89.23) ตามลาดับ

5.4 ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ
1) โทรศัพท์เขา้ มาติดต่อท่สี านักงานหลายคร้งั แล้วไม่มีคนรับสาย
2) เคยเขา้ มาติดตอ่ ท่สี านกั งานโดยไมไ่ ดน้ ัดหมายล่วงหนา้ แลว้ ไม่พบเจา้ หน้าที่ เน่ืองจาก

เจ้าหนา้ ท่ีไปงานทีส่ านกั งาน อบจ. ทส่ี านกั งานใหญท่ ั้งหมด
3) การไปให้บริการ ณ ศาลากลางบา้ นดมี าก เพราะการเดินทางลาบากเพราะไม่มรี ถ
4) เจ้าหน้าทใี่ ห้บรกิ ารดมี าก ชว่ ยเหลือทุกเรือ่ ง

ผู้รับบริการท่ีมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะมีความเห็นว่าเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ
ให้บริการและอานวยความสะดวกดีมาก อย่างไรก็ตามมีผู้รับบริการจานวน 2 คน ท่ีระบุว่าโทรศัพท์มาที่
สานักงานแล้วไม่มีคนรับสาย และมาติดต่อท่ีสานักงานกองกิจการพาณิชย์ (ไม่ได้นัดหมายล่วงหน้า) แล้ว
ไม่มีเจ้าหน้าที่อยู่ให้บริการเนื่องจากติดภารกิจออกไปทางานนอกสถานที่ท้ังหมด ดังนั้นจึงควรหาแนวทาง
ในการพัฒนาการใหบ้ ริการดงั กลา่ ว

92

บรรณานุกรม

กลุ ธน ธนาพงศธร. (2539). ประโยชนแ์ ละการบริการ. พิมพค์ รง้ั ที่ 7. กรุงเทพฯ : สาขาวชิ าวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.

คณะสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล. (2549). โครงการศกึ ษาวิจัยสารวจความ
พึงพอใจของผู้รบั บริการในงานบริการขององคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั อุบลราชธาน.ี
อุบลราชธานี : มสิ เตอรก์ อ๊ ปป้ี (ประเทศไทย).

ชริณี เดชจนิ ดา (2530). ความพงึ พอใจของผปู้ ระกอบการตอ่ ศนู ยบ์ รกิ ารกาจดั กาก
อตุ สาหกรรมแขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์
ปรญิ ญาสงั คมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาสง่ิ แวดลอ้ ม บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหิดล.

ณรงค์ศักด์ิ โกศัลวัฒน์.(2550). ความต้องการของประชาชนเพื่อพัฒนายุทธศาสตรก์ ารให้
บริการของเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฎอบุ ลราชธาน.ี

ธวัชชัย นาคสวุ รรณ, (2539). ความพึงพอใจในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทขี่ องสารวตั รสืบสวน
สถานีตารวจภูธร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี.
วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์

บรรจบ กาญจนดลุ . (2533). คาบรรยายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ.์
บุญเรอื ง ขจรศลิ ป์. (2560). การวัดความพึงพอใจ. สืบค้นเม่อื 20 กรกฏาคม 2560,

จากเว็บไซต์ www.kc.bma.go.th/Wed-Edu/WebLibrary/PDF.
ภณดิ า ชญั ปัญญา. (2541). การวัดความพึงพอใจ. สืบค้นเม่ือ 20 กรกฏาคม 2560,

จากเวบ็ ไซต์ www.kc.bma.go.th/Wed-Edu/WebLibrary/PDF.
มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธาน.ี (2552). โครงการศึกษาวิจยั สารวจความพงึ พอใจของ

ผ้รู บั บรกิ ารในงานบรกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2552.
อบุ ลราชธานี : ฟ้าใสก็อบปี้.
มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธาน.ี (2553). โครงการศึกษาวจิ ยั สารวจความพงึ พอใจของ
ผู้รบั บริการในงานบริการขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี ปี 2553.
อุบลราชธานี : ฟา้ ใสกอ็ บป.้ี
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี. (2554). โครงการศกึ ษาวิจัยสารวจความพงึ พอใจของ
ผรู้ ับบรกิ ารในงานบรกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี ปี 2554.
อบุ ลราชธานี : ฟ้าใสก็อบปี้.
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน.ี (2556). โครงการศกึ ษาวจิ ยั สารวจความพงึ พอใจของ
ผู้รบั บรกิ ารในงานบริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี ปี 2556.
อุบลราชธานี : ฟา้ ใสกอ็ บปี้.
มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี. (2557). โครงการศึกษาวิจยั สารวจความพึงพอใจของ
ผรู้ บั บริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี ปี 2557.
อุบลราชธานี : ฟ้าใสก็อบป.ี้

93

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี. (2558). โครงการศึกษาวจิ ัยสารวจความพึงพอใจของ
ผู้รบั บริการในงานบรกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2558.
อบุ ลราชธานี : ฟ้าใสก็อบป.้ี

มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธาน.ี (2560). โครงการศึกษาวจิ ัยสารวจความพึงพอใจของ
ผู้รับบรกิ ารในงานบริการขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี ปี 2560.
อบุ ลราชธานี : ฟา้ ใสก็อบป.้ี

มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี. (2562). โครงการศึกษาวิจัยสารวจความพงึ พอใจของ
ผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี ปี 2562.
อุบลราชธานี : ฟ้าใสกอ็ บปี้.

มารยาท โยทองยศ และปราณี สวสั ดิสรรพ. (2555). วิธีการกาหนดขนาดกล่มุ ตวั อย่าง.
สบื ค้นเมอ่ื 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 จาก http://www.fsh.mi.th/km/wp-content/uploads/
2014/ 04/resch.pdf

วรี พงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2539). คณุ ภาพในงานบรกิ าร 1=Quality in services. กรงุ เทพฯ : สมาคม
ส่งเสริมเทคโนโลย่ี (ไทย- ญป่ี ุ่น).

สมติ สชั ฌกุ ร. (2545). การตอ้ นรับและบรกิ ารท่เี ป็นเลิศ. พมิ พ์คร้งั ที่ 3. กรุงเทพฯ : สายธาร.
สุรยิ ะ วิรยิ ะสวัสด์ิ. (2530). พฤติกรรมการให้บริการของเจา้ หนา้ ท่ีองคก์ ารราชการกับปจั จัย

สภาพแวดล้อม ในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วิทยานพิ นธ์ปริญญาวิทยาศาสตรร์ ฐั ศาสตร
มหาบณั ฑติ สาขาบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2548). คู่มอื แนวทางการดาเนินงานในการบรกิ ารท่ี
อานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน. กรุงเทพฯ : สุขมุ วิทมเี ดยี
มาร์เก็ตติ้ง.
อารี เพชรผดุ . (2530). มนุษยส์ ัมพนั ธ์ในการทางาน. กรงุ เทพฯ : เนติกุลการพมิ พ.์
Applewhite, P.B. (1965). Organizational Behavior. Englewood Cliffs, N.J. : Prentice-Hall.
Donabedian, A. (1980). Explorations in quality assessment and monitoring. In
Ann Arbor. Volume I. The definition of quality and approaches to its
assessment. MI : Health Administration.
Fitggerald and Dwrant. (1980). Citizen Evaluation and Urban Management : Service
Deliver in an Era of Protest. Public Administration Review (November-
December).
Mecullough, J.S. (1989). General Concepts and Issues. Urban Training Management
Training Program. Research Triangle Institute, September.
Millet, J.D. (1954). Management in the Public Service. New York : McGraw-Hill.
Stipec, B. (1979). Citizen Satisfaction with urban Service: Potential Misuse a
a Performance Indicator, Public Administration Review (January-February).
Wolman, Thomas E. (1973). Education and Organizational Leadership in Elementary
Schools. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall.
Yamane, Taro. (1970). Statistics-An Introductory Analysis. 2nd ed. Tokyo : John Weather
Hill.

94

ภาคผนวก 1 แบบสอบถาม

แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร
ในงานบรกิ ารขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอบุ ลราชธานี ประจาปี 2563

------------------------
โดย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี

งานดา้ นเทศกิจหรือปอ้ งกนั บรรเทาสาธารณภัย (งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย)

คาช้ีแจง แบบสอบถามน้ีสร้างข้ึนเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูลของโครงการสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 ขอความกรุณาท่าน
ตอบคาถามทุกข้อ คณะวิจัยขอรับรองว่าข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของท่านจะถูกนาเสนอ
ในภาพรวม และไมส่ ่งผลกระทบต่อผูต้ อบแบบสอบถามแต่อยา่ งใด

แบบสารวจ แบง่ ออกเป็น 4 ตอน ดงั นี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลเบอื้ งตน้
ตอนที่ 2 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจการใหบ้ รกิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ตอนที่ 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ

โปรดใหข้ ้อมลู โดยกาเครือ่ งหมาย  ลงใน 

ตอนท่ี 1 ข้อมูลเบ้ืองต้น

1. ท่านไดร้ ับบรกิ ารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ดา้ นใด

1 ระงับเหตุอคั คภี ยั (เหตเุ พลิงไหม้) 2 ชว่ ยเหลือเหตุจากพายุ (วาตภัย)

3 ถงุ ยงั ชีพชว่ ยเหลอื นา้ ท่วม (อุทกภัย) 4 จับสตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน

5 สนับสนุนน้าอปุ โภคบรโิ ภค (รถบรรทกุ น้า)

6 สนบั สนุนครภุ ัณฑ์ เช่น เรอื ท้องแบน เคร่ืองสบู น้า เคร่ืองตรวจจบั โลหะ โปะ๊ ทา่ เรือ

2. ทา่ นเปน็ ตวั แทนของผู้ใชบ้ รกิ ารประเภทใด

1 หน่วยงานภาครฐั เชน่ สานักงานจังหวดั โรงเรียน เรอื นจา สถานที ดลอง สถานีขนสง่ ผโู้ ดยสาร

2 หนว่ ยงานภาคเอกชน เช่น บรษิ ทั ห้าง ร้าน โรงแรม

3 องค์การสาธารณกศุ ล เช่น วดั มลู นธิ ิ

4 ตวั แทนครวั เรอื นของประชาชนที่ประสบภยั

3. เขตพื้นที่ที่ทา่ นได้รับบรกิ าร

1 อาเภอเมอื ง 2 อาเภอดอนมดแดง 3 อาเภอเข่อื งใน

4 อาเภอตาลสมุ 5 อาเภอวารินชาราบ 6 อาเภอพบิ ูลมงั สาหาร

7 อาเภอเดชอดุ ม 8 อาเภอเขมราฐ 9 อาเภอนาเยยี

ตอนท่ี 2 ข้อมูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

1. เพศ 1 ชาย 1 หญิง

2. อายุ .................. ปี

95

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ การให้บริการงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ขององค์การบรหิ ารส่วน

จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2563

ระดับความพึงพอใจ

ท่ี ความพึงพอใจด้าน : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ท่สี ดุ มาก กลาง น้อย น้อยทีส่ ดุ

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บรกิ าร

1 มีการประชาสัมพันธ์งานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยของ อบจ. ให้ทราบอย่างท่ัวถึง

2 ข้ันตอนในการติดต่อขอรับบริการ สะดวก
ไม่ยุ่งยาก

3 มกี ารบนั ทึกขอ้ มูลการใหบ้ ริการเพ่อื เปน็ หลักฐาน
อยา่ งชัดเจน เปน็ ระบบ

4 ใช้เวลาในการให้บริการหรือระงับเหตุ อย่าง
รวดเร็ว หลงั จากท่ีได้รบั แจง้ เหตุ

ความพงึ พอใจดา้ นช่องทางการใหบ้ ริการ

5 สามารถแจง้ เหตุด่วนผา่ นชอ่ งทางสายด่วน 1669

6 มีช่องทางติดต่อส่ือสารหลายช่องทาง เช่น
หนงั สอื ราชการ โทรศัพท์ วทิ ยุ เฟสบกุ๊ ไลน์

ความพงึ พอใจด้านเจา้ หน้าท่หี รอื บุคลากรที่ใหบ้ รกิ าร

7 เจ้าหนา้ ท่ีรบั แจง้ เหตุ รับแจ้งดว้ ยน้าเสยี งสภุ าพ
ชัดเจน กระตือรอื รน้

8 เจ้าหน้าที่ที่เข้าไประงับเหตุมีความรู้ และทักษะ
ในการระงบั เหตุ และตระหนักถึงความปลอดภยั

9 เจ้าหน้าที่มีความมุ่งมั่นและทุ่มเทในการทางาน
เพอ่ื เข้าระงบั เหตุ

ความพงึ พอใจดา้ นสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี

10 เครื่องมือ เครื่องจักร ครุภัณฑ์ ท่ีใช้ในการระงับ
เหตุ มีความเหมาะสมกบั สถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ

11 เครื่องมือ เครื่องจักร ครุภัณฑ์ ที่ใช้ในการระงับ
เหตุ อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านและปลอดภัย

12 เครื่องมือ เคร่ืองจักร ครุภัณฑ์ ท่ีใช้ในการระงับ
เหตุมคี วามเพยี งพอตอ่ การระงับเหตทุ ี่เกดิ ขึน้

ตอนท่ี 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
ทา่ นมขี ้อคดิ เหน็ หรือเสนอแนะตอ่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานี เกีย่ วกบั งานบริการของ

งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อย่างไรบา้ ง .............................................................................................

***ขอขอบพระคุณทา่ นเปน็ อย่างสูงท่ีกรุณาตอบแบบสอบถาม***
ความคดิ เห็นของท่านจะนาไปสูก่ ารพัฒนาการให้บรกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานีตอ่ ไป

คณะนักวจิ ยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี

96

แบบสารวจความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ
ในงานบริการขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี ประจาปี 2563

------------------------
โดย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี

งานด้านเทศกจิ หรอื ปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั )

คาช้ีแจง แบบสอบถามน้ีสร้างขึ้นเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูลของโครงการสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 ขอความกรุณาท่าน
ตอบคาถามทุกข้อ คณะวิจัยขอรับรองว่าข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามของท่านจะถูกนาเสนอ
ในภาพรวม และไมส่ ่งผลกระทบตอ่ ผตู้ อบแบบสอบถามแต่อย่างใด

แบบสารวจ แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 ข้อมลู เบอื้ งตน้
ตอนที่ 2 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจการให้บรกิ ารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (ถงุ ยังชพี )
ตอนที่ 4 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ

โปรดใหข้ อ้ มลู โดยกาเครื่องหมาย  ลงใน 

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู เบ้ืองตน้

1. ท่านได้รบั บริการงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ด้านใด

1 ระงบั เหตุอัคคีภัย (เหตเุ พลิงไหม้) 2 ชว่ ยเหลือเหตจุ ากพายุ (วาตภัย)

3 ถุงยังชพี ช่วยเหลือน้าท่วม (อุทกภัย) 4 จบั สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน

5 สนับสนนุ น้าอปุ โภคบริโภค (รถบรรทุกน้า)

6 สนบั สนนุ ครภุ ณั ฑ์ เชน่ เรือท้องแบน เคร่ืองสบู นา้ เคร่อื งตรวจจับโลหะ โปะ๊ ท่าเรือ

2. ทา่ นเปน็ ตวั แทนของผใู้ ชบ้ ริการประเภทใด

1 หน่วยงานภาครัฐ เช่น สานักงานจังหวัด โรงเรยี น เรือนจา สถานที ดลอง สถานขี นส่งผู้โดยสาร

2 หน่วยงานภาคเอกชน เช่น บรษิ ัท หา้ ง รา้ น โรงแรม

3 องค์การสาธารณกุศล เชน่ วดั มูลนธิ ิ

4 ตัวแทนครวั เรือนของประชาชนท่ีประสบภยั

3. เขตพืน้ ท่ีท่ที า่ นไดร้ ับบริการ

1 อาเภอเมอื ง 2 อาเภอดอนมดแดง 3 อาเภอเข่ืองใน

4 อาเภอตาลสุม 5 อาเภอวารินชาราบ 6 อาเภอพบิ ูลมงั สาหาร

7 อาเภอเดชอุดม 8 อาเภอเขมราฐ 9 อาเภอนาเยยี

ตอนที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ 1 ชาย 1 หญงิ

2. อายุ .................. ปี

97

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ การให้บรกิ ารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยขององคก์ ารบรหิ ารส่วน

จงั หวัดอบุ ลราชธานี ปี 2563

ระดับความพึงพอใจ

ที่ ความพงึ พอใจด้าน : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย น้อยท่ีสดุ

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ าร

1 มกี ารประชาสัมพันธก์ อ่ นการมอบถงุ ยังชพี
ใหท้ ราบอย่างทั่วถึง

2 ข้ันตอนในการติดต่อขอรับถุงยังชีพ ไม่ยุ่งยาก
ซบั ซ้อน

3 มีการบันทึกข้อมูลการรับถุงยังชีพ เพื่อเป็น
หลกั ฐาน อย่างชัดเจน เปน็ ระบบ

4 ได้รับมอบถงุ ยังชพี จาก อบจ.อบุ ลฯ อยา่ ง รวดเรว็
หลงั จากทท่ี า่ นประสบเหตนุ า้ ทว่ ม

ความพงึ พอใจด้านช่องทางการใหบ้ ริการ

5 สามารถแจ้งความจานงขอรบั ถงุ ยังชีพจากผ้แู ทน
ชมุ ชน

6 มชี ่องทางติดตอ่ ส่ือสารหลายช่องทาง เชน่ หนังสือ
ราชการ โทรศัพท์ วทิ ยุ เฟสบกุ๊ ไลน์

ความพงึ พอใจดา้ นเจา้ หน้าท่ีหรอื บุคลากรทใ่ี ห้บรกิ าร

7 เจา้ หน้าท่ีท่ีมอบถุงยงั ชพี ของ อบจ. ปฏบิ ัติด้วย
ความสุภาพ กระตอื รอื ร้น และเท่าเทียมกัน

8 เจา้ หนา้ ที่ของ อบจ. ได้สอบถามความตอ้ งการการ
ชว่ ยเหลอื อน่ื ๆ นอกจากการมอบถงุ ยงั ชีพ

9 เจ้าหน้าทีม่ คี วามมุง่ มนั่ และทมุ่ เทในการทางานเพือ่
บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของผูป้ ระสบภัย

ความพงึ พอใจด้านสงิ่ อานวยความสะดวกหรืออาคารสถานท่ี

10 วสั ดุและเครอ่ื งอปุ โภคบริโภค ท่ใี ชใ้ นถุงยงั ชีพ
มคี วามเหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเกิดขึน้

11 วัสดุและเคร่ืองอุปโภคบริโภค ในถุงยังชีพ อยู่ใน
อายกุ ารใชง้ าน ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย

12 วัสดุและเครอื่ งอุปโภคบริโภค ใชใ้ นถุงยงั ชพี
มีความเพียงพอตอ่ ประชาชนท่ีไปรับมอบ

ตอนท่ี 4 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ
ทา่ นมขี ้อคิดเห็นหรือเสนอแนะต่อองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี เก่ียวกับงานบรกิ ารของ

งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั อยา่ งไรบ้าง ................................................................................................
***ขอขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงที่กรณุ าตอบแบบสอบถาม***

ความคดิ เห็นของท่านจะนาไปส่กู ารพฒั นาการให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีต่อไป
คณะนักวจิ ยั มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

98

รหสั (1) (2) (3) เหตุ ........................................................................................... เบอร์โทรผแู้ จ้ง .....................................................
หน่วยกชู้ ีพที่ดาเนินการ .......................................................................................

แบบสารวจความพงึ พอใจของผูร้ ับบริการ
ในงานบริการขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ประจาปี 2563

------------------------
โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี

งานด้านสาธารณสขุ (ศนู ย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี)
(Emergency Medical Call Taker and Dispatch Center)

คาช้ีแจง แบบสอบถามนี้สร้างข้ึนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของโครงการสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 ขอความกรุณาท่าน
ตอบคาถามทุกข้อ คณะวิจัยขอรับรองว่าข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามของท่านจะถูกนาเสนอ
ในภาพรวม และไม่สง่ ผลกระทบต่อผูต้ อบแบบสอบถามแต่อยา่ งใด

แบบสารวจ แบ่งออกเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู เบอื้ งตน้
ตอนที่ 2 ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจการให้บริการงานศูนยร์ บั แจง้ เหตุและส่งั การจังหวดั อบุ ลราชธานี (1669)
ตอนท่ี 4 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ

โปรดให้ข้อมูลโดยกาเครื่องหมาย  ลงใน 

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเบื้องตน้
1. ท่านอยใู่ นเขตบริการขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานโี ซนใด
1 โซนเหนอื อาเภอกุดขา้ วปนุ้ ตระการพชื ผล นาตาล โพธไ์ิ ทร และเขมราฐ
2 โซนใต้ อาเภอบณุ ฑริก เดชอุดม ทงุ่ ศรีอุดม นา้ ยนื นาจะหลวย สาโรง และน้าข่นุ
3 โซนตะวนั ออก อาเภอสิรินธร พิบลู มงั สาหาร ศรีเมืองใหม่ โขงเจียม สว่างวีระวงศ์ นาเยีย วารินชาราบ
4 โซนกลาง อาเภอเมือง ดอนมดแดง ม่วงสามสบิ เข่ืองใน ตาลสุม และเหล่าเสอื โก้ก

2. ประเภทของการแจ้งเหตุ
1 บาดเจ็บ/อุบัตเิ หตุ เช่น พลดั ตก หกลม้ รถชน ผูกคอ ฯลฯ 2 เจบ็ ป่วยฉกุ เฉิน
3 อน่ื ๆ เชน่ จับสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน ไฟฟ้าดับ ตน้ ไมห้ กั โคน่ อื่น ๆ ระบุ ..............................................

3. ท่านมีความเกี่ยวขอ้ งกับผู้ประสบเหตุอยา่ งไร 1 ญาติ 2 ผปู้ ่วย 3 พลเมืองดี

ตอนท่ี 2 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ 1 ชาย 2 หญงิ

2. อายุ ................... ปี

99

3. การประกอบอาชีพ

1 เกษตรกร 2 รับจา้ ง 3 ลูกจา้ ง / พนกั งานบริษัท / พนกั งานรัฐวิสาหกิจ

4 ขา้ ราชการ / พนักงานของรัฐ 5 ค้าขาย 6 อ่ืนๆ (ระบุ)...............................

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการงานศูนยร์ บั แจ้งเหตุและส่ังการจงั หวัดอบุ ลราชธานี (1669)

ขององค์การบริหารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ปี 2563

ระดบั ความพึงพอใจ

ท่ี ความพึงพอใจดา้ น : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ทส่ี ดุ มาก กลาง น้อย น้อยที่สุด

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการใหบ้ ริการ

1 มีการประชาสัมพันธ์งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ัง
การฯ (1669) ให้ทราบอยา่ งทั่วถึง

2 ข้ันตอนในการติดต่อขอรับบริการ สะดวกสบาย
ไมย่ ุง่ ยาก (โทรสายด่วน 1669)

3 ใชเ้ วลาในการรบั แจ้งเหตุ กระชับ รวดเรว็ มี

4 การแจ้งบันทึกข้อมูลการให้บริการเพ่ือเป็น
หลกั ฐาน อย่างชดั เจน เปน็ ระบบ

ความพึงพอใจด้านชอ่ งทางการให้บริการ

5 ช่องทางการรบั แจ้งเหตุ (สายด่วน 1669) จดจา
ง่าย และมบี รกิ ารตลอด 24 ชวั่ โมง

6 มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร เผยแพร่ข่าวสาร
ของบรกิ ารสายด่วน 1669 เชน่ เฟสบุก๊ ไลน์

ความพึงพอใจด้านเจา้ หนา้ ทหี่ รือบุคลากรทีใ่ หบ้ ริการ

7 เจา้ หน้าที่รบั แจง้ เหตุ รับแจง้ เหตุดว้ ยนา้ เสยี ง
สุภาพ ชดั เจน กระตอื รือร้น

8 เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ สอบถามข้อมูลสาคัญจาก
ผู้แจง้ อยา่ งกระชบั และไดใ้ จความ

9 เจ้าหน้าท่ีรับแจ้งเหตุสามารถให้คาปรึกษา และ
อธิบายเกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นได้
เป็นอย่างดี

10 กรณีที่ท่านได้รับการส่งต่อ ให้รับคาปรึกษาจาก
พยาบาลวิชาชีพ ได้ให้คาปรึกษาด้วยน้าเสียง
สุภาพ ชดั เจน กระตือรือร้น

11 กรณีที่ท่านได้รับคาปรึกษาจากพยาบาลวิชาชีพ
ได้ให้คาปรกึ ษาและอธิบายเก่ียวกับการชว่ ยเหลือ
ผู้ป่วยเบื้องต้นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ตามหลักวชิ าการ

100

ระดบั ความพึงพอใจ

ที่ ความพึงพอใจด้าน : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ทสี่ ุด มาก กลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสุด

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพึงพอใจดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกหรอื อาคารสถานท่ี

12 สายดว่ น 1669 เปน็ หมายเลขทจ่ี ดจางา่ ย

13 สายด่วน1669 สามารถติดต่อง่าย ไม่ต้องรอ

สายนาน

14 คุณภาพของสัญญาณโทรศัพท์ขณะพูดคุย

สื่อสาร ชัดเจน สายไม่หลุด เสียงไม่ขาดหาย

ระหวา่ งสนทนา

15 สถานท่ีตั้งของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

จังหวัดอุบลราชธานี (1669) ณ ศูนย์ OTOP

อุบลราชธานี มคี วามเหมาะสม เข้าถึงสะดวก

ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
ทา่ นมีข้อคิดเหน็ หรือเสนอแนะตอ่ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี เกีย่ วกับงานบริการของ

งานศูนยร์ ับแจ้งเหตุและส่งั การจังหวดั อบุ ลราชธานี (1669) อยา่ งไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

***ขอขอบพระคณุ ทา่ นเปน็ อยา่ งสูงทก่ี รุณาตอบแบบสอบถาม***
ความคดิ เห็นของท่านจะนาไปสู่การพัฒนาการใหบ้ รกิ ารขององค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานีต่อไป

คณะนักวิจัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี

101

รหัส (1) (2) (3) เหตุ ........................................................................................... เบอร์โทรผ้แู จ้ง .....................................................
หนว่ ยกู้ชพี ท่ีดาเนินการ .......................................................................................

แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ในงานบรกิ ารขององค์การบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี ประจาปี 2563

------------------------
โดย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี

งานด้านสาธารณสขุ (งานหน่วยปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉนิ กู้ชพี คุณธรรม (Basic life support : BLS)
และกชู้ ีพองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))

คาช้ีแจง แบบสอบถามน้ีสร้างขึ้นเพ่ือเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของโครงการสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 ขอความกรุณาท่าน
ตอบคาถามทุกข้อ คณะวิจัยขอรับรองว่าข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของท่านจะถูกนาเสนอ
ในภาพรวม และไม่สง่ ผลกระทบต่อผูต้ อบแบบสอบถามแต่อย่างใด

แบบสารวจ แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู เบื้องตน้
ตอนที่ 2 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจการให้บรกิ ารงานหนว่ ยปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินก้ชู พี คุณธรรม (Basic life support :

BLS) และก้ชู พี องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))
ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ

โปรดใหข้ ้อมลู โดยกาเครื่องหมาย  ลงใน 

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเบื้องตน้

1. ทา่ นใช้บริการหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินใด

1 กชู้ พี คณุ ธรรม 315 (BLS เมือง) 2 ก้ชู ีพคุณธรรม 316 (BLS เมอื ง)

3 กู้ชพี คุณธรรม 318 (BLS เมือง) 4 กู้ชีพคุณธรรม 322 (BLS วารนิ ชาราบ)

5 กู้ชีพองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (ALS)

2. เหตทุ ท่ี า่ นแจง้ มีการเปลยี่ นรถกชู้ พี ของผู้ป่วยระหวา่ งทางหรือไม่

1 มี 2 ไม่มี

3. ประเภทของการแจ้งเหตุ

1 บาดเจบ็ /อบุ ัติเหตุ เชน่ พลดั ตก หกล้ม รถชน ผกู คอ ฯลฯ 2 เจบ็ ปว่ ยฉุกเฉิน

4. ทา่ นมีความเกย่ี วขอ้ งกบั ผู้ป่วยอยา่ งไร 1 ญาติ 2 ผูป้ ว่ ย

ตอนที่ 2 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

1. เพศ 1 ชาย 2 .หญิง

2. อายุ ................... ปี

3. การประกอบอาชพี

1 เกษตรกร 2 รับจ้าง 3 ลกู จา้ ง / พนกั งานบรษิ ัท / พนกั งานรฐั วสิ าหกิจ

4 ข้าราชการ / พนักงานของรัฐ 5 ค้าขาย 6 อน่ื ๆ (ระบ)ุ ...............................

102

ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ ริการงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกชู้ ีพคณุ ธรรม (Basic life support :

BLS) และกู้ชีพองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))

ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2563

ระดับความพงึ พอใจ

ท่ี ความพึงพอใจด้าน : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ทสี่ ุด มาก กลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ุด

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการให้บรกิ าร

1 หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพไปถึงยังท่ีเกิดเหตุ
อย่างรวดเร็ว

2 เมื่อไปถึงท่ีเกิดเหตุ เจ้าหน้าท่ีมีการสอบถาม
ประเมินอาการของผู้ป่วย และให้การช่วยเหลือ
อย่างทนั ทว่ งที

3 หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ ใช้เวลาในการ
ใหบ้ ริการ อย่างรวดเรว็ หลังจากที่ได้รบั แจง้ เหตุ

4 มีการบันทึกเอกสาร สาหรบั การรับบริการไว้เป็น
หลกั ฐาน อยา่ งชัดเจน เปน็ ระบบ

ความพึงพอใจดา้ นช่องทางการใหบ้ ริการ

5 ช่องทางการรับแจง้ เหตุ (สายดว่ น 1669) จดจา
ง่าย สามารถตดิ ตอ่ งา่ ย

6 การติดเบอร์สายด่วน 1669 ด้านขา้ งของรถก้ชู พี
ทาให้ประชาชนท่วั ไปทราบช่องทางติดตอ่

7 มีช่องทางการติดตอ่ ทางเฟสบุก๊ รายงาน
สถานการณก์ ารทางาน และสามารถสอบถามใน
กลอ่ งขอ้ ความได้

ความพงึ พอใจดา้ นเจา้ หน้าที่หรอื บุคลากรทีใ่ ห้บริการ

8 เจ้าหนา้ ทปี่ ระจารถก้ชู ีพ ปฏิบัตติ อ่ ผู้ปว่ ยและ
ญาติด้วยความสุภาพ กระตือรือร้น และมงุ่ มนั่ ใน
การทางานอยา่ งเต็มที่

9 เจ้าหน้าท่ีประจารถกู้ชีพ สามารถประเมินสภาพ
การเจ็บป่วย ให้การช่วยเหลือ ตอบคาถาม และ
อธิบายเก่ียวกับการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นได้
เปน็ อย่างดี

10 เจ้าหน้าที่ประจารถกู้ชีพ มีความรู้ และทักษะใน
การชว่ ยเหลอื ผปู้ ่วยเป็นอยา่ งดี

11 เจ้าหน้าท่ีขับรถกู้ชีพด้วยความระมัดระวัง และ
เปิดสัญญาณฉุกเฉินเพ่ือขอทางตลอดเส้นทาง
การนาสง่ ผู้ปว่ ย

12 การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจารถฉุกเฉิน
ทาให้ท่านรสู้ กึ เชอ่ื ถอื และไว้วางใจในการบรกิ าร

103

ระดบั ความพึงพอใจ

ที่ ความพงึ พอใจด้าน : พอใจมาก พอใจ พอใจปาน พอใจ พอใจ
ทส่ี ุด มาก กลาง น้อย น้อยท่สี ดุ

(5คะแนน) (4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน) (1คะแนน)

ความพึงพอใจด้านสงิ่ อานวยความสะดวกหรืออาคารสถานที่

13 รถกชู้ พี มีลักษณะพิเศษ จดจาได้ง่าย เปิดไฟ

และเสยี งเตอื นฉกุ เฉินเวลาออกปฏบิ ัติงาน

14 วัสดุและอุปกรณ์ช่วยเหลือประจารถฉุกเฉินมี

ประสิทธิภาพดี สะอาด และพรอ้ มใชง้ าน

15 รถกชู้ ีพฉุกเฉิน มีเพียงพอ และใหบ้ รกิ ารท่ัวถึง

ตอนท่ี 4 ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ
ท่านมีข้อคิดเห็นหรือเสนอแนะตอ่ องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี เกยี่ วกับงานบรกิ ารของ

งานหนว่ ยปฏิบัติการฉุกเฉนิ กู้ชีพคณุ ธรรม (Basic life support : BLS) และกูช้ ีพองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด
อบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS)) อย่างไรบ้าง
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ........

***ขอขอบพระคณุ ทา่ นเป็นอยา่ งสูงทก่ี รณุ าตอบแบบสอบถาม***
ความคดิ เห็นของท่านจะนาไปสู่การพฒั นาการให้บริการขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานีตอ่ ไป

คณะนักวจิ ัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี

104

แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร
ในงานบริการขององคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี ประจาปี 2563

------------------------
โดย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

งานการใหบ้ รกิ ารประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยงุ และทุ่งหมาหวิ

คาช้ีแจง แบบสอบถามนี้สร้างข้ึนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูลของโครงการสารวจความพึงพอใจ
ของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีประจาปี 2563 ขอความกรุณาท่าน
ตอบคาถามทุกข้อ คณะวิจัยขอรับรองว่าข้อมูลท่ีได้จากการตอบแบบสอบถามของท่านจะถูกนาเสนอ
ในภาพรวม และไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ผตู้ อบแบบสอบถามแต่อยา่ งใด

แบบสารวจ แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 ข้อมลู เบือ้ งตน้
ตอนที่ 2 ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจการให้บริการงานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดนิ ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหวิ
ตอนท่ี 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

โปรดใหข้ ้อมูลโดยกาเคร่อื งหมาย  ลงใน 

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู เบื้องตน้

1. ท่านไดร้ บั บรกิ ารงานขายที่ดนิ ในพืน้ ที่ใด 1 หว้ ยขะยุง 2 ท่งุ หมาหิว

2. ทา่ นเปน็ ตวั แทนของผใู้ ชบ้ ริการประเภทใด

1 ผซู้ อ้ื ท่ีเป็นผมู้ ีสิทธิซ์ ื้อตามรายชอื่ ในทะเบยี นคมุ โฉนด

2 ผู้ซือ้ ทไ่ี มไ่ ด้เป็นผมู้ สี ทิ ธ์ิซ้อื ตามรายช่ือในทะเบียนคมุ โฉนด / ผคู้ รอบครองท่ดี นิ ปัจจบุ นั

3 พยาน (ผใู้ หญ่บ้าน) 4 พยาน (เจ้าของทด่ี นิ ขา้ งเคยี ง)

5 พยาน (ตวั แทนทายาทของเจา้ ของทีด่ ินท่ีเปน็ ผู้มสี ทิ ธ์ิซอื้ ตามรายช่ือในทะเบยี นคุมโฉนด)

ตอนที่ 2 ขอ้ มูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ 1 ชาย 2 หญงิ

2. อายุ .................. ปี

3. การประกอบอาชพี

1 เกษตรกร 2 รบั จ้าง 3 ลูกจา้ ง / พนกั งานบริษัท / พนักงานรัฐวิสาหกิจ

4 ขา้ ราชการ / พนักงานของรฐั 5 ค้าขาย 6 อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...............................

105

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ รกิ ารงานการให้บรกิ ารประชาชนในการขายทด่ี ินห้วยขะยุงและ
ทุง่ หมาหิว ขององค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ปี 2563

ที่ ความพงึ พอใจด้าน : พอใจมาก ระดับความพงึ พอใจ พอใจ
ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการ ขั้นตอนการใหบ้ ริการ ทสี่ ดุ น้อยทีส่ ุด
พอใจ พอใจปาน พอใจ (1คะแนน)
(5คะแนน) มาก กลาง นอ้ ย
(4คะแนน) (3คะแนน) (2คะแนน)

1 มีการประกาศข้ันตอนการซ้ือที่ดินอย่างชัดเจน
และเปน็ ไปตามขอ้ กฎหมาย

2 ข้ันตอนในการตดิ ตอ่ ขอซื้อท่ีดนิ สะดวกสบาย โดย
ถือเอาความสะดวกของผซู้ ือ้ ในการนดั หมาย

3 มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการ เป็นหลักฐาน
อยา่ งชดั เจน เปน็ ระบบ

4 มีการวางแผนนัดหมายเวลาในการดาเนินการ
ลว่ งหนา้ อย่างชดั เจน หลังจากทีไ่ ด้รับเรือ่ ง

ความพงึ พอใจดา้ นชอ่ งทางการใหบ้ รกิ าร

5 มีการให้บรกิ ารข้นั ตอนการซื้อทด่ี ิน ณ ทที่ าการ
ของกองกจิ การพาณิชย์ และในพนื้ ที่ทเี่ ปน็ ที่ตง้ั ของ
โฉนดที่ดนิ เพือ่ ความสะดวกของผูเ้ ก่ียวขอ้ ง

6 มชี อ่ งทางติดตอ่ สอื่ สารหลายช่องทาง เช่น หนังสือ
ราชการ โทรศัพท์ เฟสบุ๊ก ไลน์

7 มีการส่ือสารติดตามผู้ซ้ือท่ีดินผ่านทางผู้ใหญ่บ้าน
ในพ้นื ทข่ี องผ้ซู ้ือทด่ี นิ เพอ่ื ใหม้ าดาเนินการ

ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าทีห่ รอื บคุ ลากรทใ่ี ห้บรกิ าร

8 เจา้ หน้าท่ีผรู้ ับผิดชอบงาน ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความ
สภุ าพ เปน็ กนั เอง และกระตือรือรน้

9 เจ้าหน้าที่มีความรู้ มีทักษะในการทางาน และ
สาม ารถอ ธิบ าย ชี้ แ จง ข้ัน ตอ น ต่ าง ๆ ใน
กระบวนการซื้อทีด่ นิ ใหท้ กุ ฝ่ายเขา้ ใจ

10 เจ้าหน้าที่มีความมุ่งมั่น อดทน และทุ่มเทใน
อานวยความสะดวกในทุก ๆ ด้านเพื่อให้ผู้ซ้ือ
สามารถซื้อท่ีดินได้อยา่ งเรียบร้อย

ความพงึ พอใจดา้ นสง่ิ อานวยความสะดวกหรืออาคารสถานที่

11 สถานที่ (สานักงานของกองกิจการพาณิ ชย์)
สามารถเขา้ มาตดิ ต่อได้งา่ ย

12 สถานท่ี (สานักงานของกองกิจการพาณิชย์) มีส่ิง
อานวยความสะดวก เช่น ห้องน้า ที่นง่ั พักคอย น้า
ด่มื อุปกรณ์เครอ่ื งเขียน บรกิ ารอย่างเพยี งพอ

106

ตอนที่ 4 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
ทา่ นมีข้อคิดเหน็ หรือเสนอแนะต่อองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี เกย่ี วกบั งานบรกิ ารงาน

การให้บรกิ ารประชาชนในการขายที่ดนิ หว้ ยขะยงุ และทงุ่ หมาหิวอย่างไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

***ขอขอบพระคุณท่านเปน็ อยา่ งสูงที่กรณุ าตอบแบบสอบถาม***
ความคิดเห็นของท่านจะนาไปส่กู ารพัฒนาการให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานีต่อไป

คณะนักวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี

107

ภาคผนวก 2 ภาพการสารวจและรวบรวมขอ้ มลู

1. งานดา้ นเทศกจิ หรือปอ้ งกนั บรรเทา สาธารณภัย (งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั )

108

2. งานดา้ นสาธารณสุข (งานศนู ย์รบั แจ้งเหตแุ ละส่ังการ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))

109

3. งานด้านสาธารณสขุ (งานหน่วยปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินก้ชู ีพคุณธรรม (Basic life support :
BLS) และชพี องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS))

110

4. งานอน่ื ๆ (งานการใหบ้ รกิ ารประชาชนในการขายที่ดนิ ห้วยขะยุงและทุง่ หมาหวิ )


Click to View FlipBook Version