The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ubonpaou, 2021-03-25 03:27:04

โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

รายงายผลการวิจัย

รายงานฉบบั สมบูรณ์

โครงการสารวจความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ ารในงานบริการ
ขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี 2563

เสนอ
องค์การบริหารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี

จัดทาโดย หัวหน้าโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สรุ ะเจตน์ อ่อนฤทธิ์ นักวจิ ยั
นักวิจยั
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์กนั ยส์ ินี จาฏุพจน์
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรยี ์ พิมพิมลู

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี

คำนำ

สืบเน่ืองจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้ว่าจ้างให้มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ให้ดาเนินโครงการวิจัยเพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ในปีงบประมาณ 2563 ใน 4 ภารกิจงาน ได้แก่ งานด้านเทศกิจ หรือป้องกันบรรเทา
สาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ
จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) งานด้าน
สาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และชีพองค์การบรหิ าร
ส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) งานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายที่ดนิ ห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) คณะวิจัยขอรับรองว่ารายงานผลการวิจัยน้ี มีความสมบูรณ์ครบถ้วน
ถูกต้องตามหลักวิชาการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีสามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนา
งานบรกิ าร เพ่อื ประโยชนข์ องประชาชนและการพัฒนาท้องถ่ินตอ่ ไป

การรวบรวมข้อมูลเพื่อดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ ได้รับความสะดวกเป็นอย่างยิ่งในการประสานงาน
การรวบรวมข้อมูล และเอกสารต่าง ๆ จากบุคลากรขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี และ
ผ้เู กีย่ วขอ้ ง ซึง่ คณะวิจัยขอขอบพระคุณทา่ นมา ณ โอกาสนดี้ ว้ ย

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สุระเจตน์ ออ่ นฤทธ์ิ
หวั หน้าโครงการ

26 พฤศจกิ ายน 2563



บทคดั ยอ่

การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์ของการบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2563 ใน 4 ภารกิจงาน ได้แก่ งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
(งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด
อุบลราชธานี) งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี) และงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว)
กล่มุ ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ทไ่ี ด้รบั รกิ ารงานด้านเทศกจิ หรือป้องกนั บรรเทาสาธารณภัย จานวน 370 คน งานดา้ น
สาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี) จานวน 400 คน งานด้านสาธารณสุข
(งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ) จานวน
375 คน และงานอื่น ๆ จานวน 150 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ใน
การวเิ คราะห์ข้อมูลคือคา่ ความถ่ี คา่ เฉลี่ย ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษา พบว่า ในภาพรวมทั้ง 4 ภารกิจงาน ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
มีค่าเฉล่ีย 4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.18) เม่ือจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานด้านสาธารณสุข
(งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชพี คุณธรรมและกชู้ ีพองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจ
อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.78 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.62) รองลงมาคืองานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์
รบั แจ้งเหตแุ ละส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ุด ค่าเฉล่ีย 4.70 (คา่ เฉลี่ยรอ้ ย
ละ 94.02) งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.58 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.61) และงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการ
ประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.57
(คา่ เฉล่ยี ร้อยละ 91.48) ตามลาดับ



ABSTRACT

This research aims to survey the satisfaction of service recipients of Ubon
Ratchathani Provincial Administration Organization according to four missions of the year
2020: in 4 missions: Municipalities or disaster mitigation (disaster prevention and mitigation
work), Public Health Service (Ubon Ratchathani Province Emergency Medical Dispatch
Center), Public Health Service (Ubon Ratchathani province basic life support and advanced
life support) and other missions (Public jobs service In the sale of land in Huai Khayung
and Thung Ma Hung). The sample is 370 service recipients in the municipalities or disaster
mitigation (disaster prevention and mitigation work), 4 0 0 service recipients in the public
health ( Ubon Ratchathani province emergency medical dispatch center), 375 service
recipients in the public health (Ubon Ratchathani province basic life support and advanced
life support), and 150 service recipients in other mission. The research instrument
comprised the questionnaires. Statistics used for data analysis are frequency, percentage,
mean, and standard deviation.

The overall results for each facet are found that the satisfaction of service
recipients, is at an excellent level with the mean of 4.66 (93.18 percent on average). For
discussion of each facet in 4 missions, it is found that the average satisfaction at an
excellent level is the public health (Ubon Ratchathani province basic life support and
advanced life support) with the mean of 4.78 (95.62 percent on average), the public health
(Ubon Ratchathani province emergency medical dispatch center) has achieved an average
satisfaction at an excellent level with the mean of 4.70 (94.02 percent on average), the
municipalities or disaster mitigation has obtained an average satisfaction at an excellent
level with the mean of 4.58 (91.61 percent on average), and other missions (public jobs
service In the sale of land in Huai Khayung and Thung Ma Hung) has reached an average
satisfaction at an excellent level with the mean of 4.57 ( 91.48 percent on average),
respectively.



บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ ำร
(Executive summary)

การศึกษาโครงการสารวจความพึงพอใจของผู้มารับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ประจาปี 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการ
ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ใน 4 ภารกิจงาน คืองานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทา
สาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ
จังหวัดอุบลราชธานี) งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การ
บริหารส่วนจังหวดั อุบลราชธานี) และงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและ
ทงุ่ หมาหิว)

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงสารวจ
(Survey Research) ด้วยเคร่ืองมือวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่ได้รับริการงานด้านเทศกิจ
หรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย จานวน 370 คน งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ
จังหวัดอุบลราชธานี) จานวน 400 คน งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและ
กูช้ ีพองค์การบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี) จานวน 375 คน และงานอ่ืน ๆ จานวน 150 คน เครื่องมือที่
ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน อภิปรายผลการวิจยั โดยสถิตเิ ชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) เพ่ือ
แจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation)

ตำรำงท่ี 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามภารกิจงาน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง
สาเร็จรูปของ ทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973 : 125) ระดับความเชื่อม่ันร้อยละ 95 สัดส่วน
ความคลาดเคลอื่ นเทา่ กบั 0.05

ภำรกจิ งำน ประชำกร กลมุ่ ตวั อยำ่ ง
(รำย) (รำย)
1. งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและ 4,379 370
บรรเทาสาธารณภัย)
2. งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด 50,000 400
อุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical
Dispatch Center)) 5,980 375
3. งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม
(Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัด 242 150
อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS))
4. งานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุง
และทงุ่ หมาหิว)



ผลการวจิ ยั ในภาพรวมจาแนกตามภารกจิ งาน ดงั นี้

แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงค่าเฉล่ยี ร้อยละความพงึ พอใจทง้ั 4 ภารกจิ งาน จาแนกรายดา้ น

จากแผนภูมิที่ 1 ในภาพรวมของท้ัง 4 ภารกิจงาน พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากทส่ี ุด มีค่าเฉลยี่ 4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.18) เมื่อจาแนกแต่ละด้าน พบว่า ด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากร
ท่ีให้บริการ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 94.03) รองลงมาคือ ด้าน
กระบวนการขั้นตอนการให้บริการ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ
93.17) ด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.66
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.14) และด้านช่องทางการให้บริการ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.62
(คา่ เฉลี่ยร้อยละ 92.39) ตามลาดับ

เมื่อเปรยี บเทียบกับการศึกษาความพงึ พอใจของประชาชนในปีงบประมาณ 2562 ซ่ึงภาพรวมท้ัง 4
ภารกิจงาน (จาแนกรายด้าน) พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจในปงี บประมาณ 2562 อยู่ในระดับมาก และ
ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรที่ให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอื่น ๆ เช่นเดียวกันกับปีงบประมาณ
2563 แสดงให้เห็นองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้รักษาคุณภาพงานบริการโดยบุคลากรอย่าง
สม่าเสมอ ส่วนในด้านอ่ืน ๆ น้ัน เนื่องจากภารกิจงานที่นามาประเมินมีความแตกต่างกันในแต่ละ
ปีงบประมาณ จึงไมส่ ามารถนามาอภิปรายเพ่ือเปรยี บเทียบได้



แผนภมู ิที่ 2 แสดงค่าเฉลย่ี รอ้ ยละความพึงพอใจท้งั 4 ภารกจิ งาน
จากแผนภูมิท่ี 2 เมื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจการให้บริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ปี 2563 พบว่า ในภาพรวมทั้ง 4 ภารกิจงาน ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย
4.66 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.18) เมื่อจาแนกแต่ละภารกิจงาน พบว่า งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วย
ปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคณุ ธรรมและก้ชู ีพองค์การบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ีย 4.78 (คา่ เฉลีย่ รอ้ ยละ 95.62) รองลงมาคือ งานดา้ นสาธารณสขุ (งานศูนยร์ ับแจ้งเหตุและ
สั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.02)
งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.58 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 91.61) และงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายท่ีดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
91.48) ตามลาดับ



1. ควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำรงำนด้ำนเทศกิจหรือป้องกันบรรเทำสำธำรณภัย
(งำนปอ้ งกนั และบรรเทำสำธำรณภัย)

แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงค่าเฉลี่ยรอ้ ยละความพงึ พอใจแตล่ ะดา้ นของงานดา้ นเทศกจิ หรือปอ้ งกันบรรเทา
สาธารณภยั (งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั )

จากแผนภูมิท่ี 3 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
(งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ
พอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.58 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.61) โดยในด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคาร
สถานท่ีมีความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.66 (ค่าเฉล่ียร้อยละ
93.18) รองลงมาได้แก่ ด้านช่องทางการให้บริการ อยู่ในระดับพอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.62 (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 92.39) ด้านเจ้าหน้าที่หรือบคุ ลากรท่ีให้บริการ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.52 (ค่าเฉล่ีย
ร้อยละ 90.47) และด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.52
(คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 90.39) ตามลาดับ

งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เน้นหนักไปในการให้บริการด้านสิง่ อานวยความสะดวกและ
อาคารสถานท่ี ได้แก่ เคร่ืองมือเครือ่ งจักรในการบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ และส่ิงอุปโภคบริโภคท่ีให้บริการ
แกป่ ระชาชน ผลการประเมินความพงึ พอใจในด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ีมคี วามพงึ พอใจ
มากกว่าด้านอน่ื ๆ อย่ใู นระดับพอใจมากที่สุด แสดงให้เห็นว่างานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตระหนัก
ถึงความสาคัญในข้อนี้ ดังนั้น จึงควรรักษาคุณภาพของการบริการน้ีไว้ต่อไป ในด้านกระบวนการขั้นตอน
การให้บริการซ่ึงมีความพึงพอใจน้อยกว่าด้านอ่ืน ๆ เน่ืองจากต้องพิจารณากฎระเบียบอย่างเคร่งครัด อาจ
ทาให้การให้บริการบรรเทาสาธารณภัยบางประเภท เช่น ถุงยังชีพ เครื่องมือเคร่ืองจักรซ่ึงต้องใช้น้ามัน
เช้ือเพลิงหรือต้องนาไปติดต้ังเป็นระยะเวลานานและมีการบารุงรักษา มีขั้นตอนหลายขั้นตอน ทาให้บริการ


ไม่ทันท่วงที ดังนั้น จึงควรมีการแจ้งประชาสัมพันธ์หรือช้ีแจงให้ผู้รับบริการทราบก่อนการให้บริการหรือ
ประชาสมั พันธ์ขนั้ ตอนการให้บรกิ ารทั่วไป อย่างสมา่ เสมอ

2. ควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำรงำนด้ำนสำธำรณสุข (งำนศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งกำร
จงั หวดั อบุ ลรำชธำนี)

แผนภูมทิ ่ี 4 แสดงค่าเฉลยี่ ร้อยละความพึงพอใจแตล่ ะดา้ นของงานดา้ นสาธารณสขุ (งานศูนยร์ ับแจ้งเหตุ
และสงั่ การ จังหวดั อบุ ลราชธาน)ี

จากแผนภูมิที่ 4 ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จังหวัดอุบลราชธานี) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด
มีค่าเฉลี่ย 4.70 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 94.02) โดยในด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจ
มากกว่าด้านอ่ืน ๆ คือมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.80 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.92)
รองลงมาได้แก่ดา้ นกระบวนการขัน้ ตอนการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.78 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 95.69) ด้านช่องทาง
การให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.62 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 92.30) และด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ี
มีค่าเฉลย่ี 4.61 (คา่ เฉลยี่ ร้อยละ 92.19) ตามลาดบั

เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในปีงบประมาณ 2562 ซ่ึงงานศูนย์
รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้รับบริการมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ุดเชน่ เดียวกัน แต่
มีความแตกต่างจากปีงบประมาณ 2563 คือ ในด้านเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรที่ให้บริการ มีความพึงพอใจ



มากกว่าด้านอ่ืน ๆ (ในปี 2562 ด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานท่ีมีความพึงพอใจมากกว่าด้าน
อ่ืน ๆ และด้านเจ้าหน้าที่ หรือบุคลากรอยู่ลาดับสุดท้าย) แสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาในด้านการให้บริการ
ของบุคลากรเพิ่มมากขึ้นทาให้ผ้รู ับบริการพึงพอใจมากทส่ี ุด โดยขอ้ เสนอแนะของผูร้ ับบริการส่วนใหญ่เห็นว่า
เป็นโครงการที่ดีมปี ระโยชนแ์ ละเหน็ ควรให้ดาเนินการตอ่ ไป
3. ควำมพึงพอใจของผู้รบั บริกำรงำนด้ำนสำธำรณสขุ (งำนหนว่ ยปฏบิ ัตกิ ำรฉุกเฉนิ กู้ชพี คณุ ธรรมและกู้
ชีพองคก์ ำรบรหิ ำรส่วนจังหวัดอุบลรำชธำนี)

แผนภมู ทิ ่ี 5 แสดงค่าเฉลย่ี ร้อยละความพึงพอใจแตล่ ะด้านของงานด้านสาธารณสขุ (งานหนว่ ยปฏบิ ตั ิการ
ฉกุ เฉนิ กชู้ พี คุณธรรมและกชู้ ีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี)

จากแผนภมู ิท่ี 5 ความพงึ พอใจการให้บรกิ ารงานด้านสาธารณสขุ (งานหน่วยปฏบิ ัติการฉกุ เฉินกู้ชีพ
คุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.78 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 95.62) โดยในด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากร
ท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจมากกว่าด้านอ่ืน ๆ คือมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.92
(ค่าเฉลี่ยร้อยละ 98.34) รองลงมาได้แก่ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.87 (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 97.36) ด้านช่องทางการให้บริการ มีค่าเฉล่ีย 4.67 (ค่าเฉลี่ยร้อยละ 93.50) และด้านส่ิงอานวย
ความสะดวกและอาคารสถานท่ี มคี ่าเฉล่ยี 4.66 (คา่ เฉล่ียร้อยละ 93.28) ตามลาดบั

งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรมและกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับ
เลือกให้ประเมินความพึงพอใจเป็นคร้ังแรกในปีงบประมาณ 2563 ผู้รับบริการส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นโครงการ
ท่ีดี ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที และผู้ใช้บริการมีข้อเสนอแนะ เช่น ต้องการให้มีหน้ากากอนามัยบริการ
สาหรับญาตทิ ่ีติดตามผู้ป่วยไปโรงพยาบาล และต้องการให้มีผ้าเช็ดตวั หรอื ผ้าเชด็ หน้าผืนเล็ก ๆ สาหรับญาติ
ที่จะช่วยเช็ดตัวผู้ป่วยท่ีมีไข้ น้ามูก น้าลาย หรืออาเจียนระหว่างทางนาส่งโรงพยาบาล เป็นต้น ซึ่งองค์การ
บริหารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานีควรพจิ ารณาในการใหบ้ รกิ ารในส่วนน้ตี อ่ ไป



4. ควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำรงำนอ่ืน ๆ (งำนกำรให้บริกำรประชำชนในกำรขำยที่ดิน
ห้วยขะยุงและทุ่งหมำหวิ )

แผนภูมิที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ยร้อยละความพึงพอใจแต่ละด้านของงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนใน
การขายท่ดี ินหว้ ยขะยงุ และท่งุ หมาหวิ )

จากแผนภูมทิ ่ี 6 ความพึงพอใจการให้บริการดา้ นงานอน่ื ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขาย
ที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมาหิว) พบว่า ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใจมาก
ทสี่ ดุ โดยมีค่าเฉลย่ี 4.57 (ค่าเฉลยี่ ร้อยละ 91.48) โดยด้านสิ่งอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ มีความ
พึงพอใจมากกวา่ ด้านอืน่ ๆ คือมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลยี่ 4.70 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 93.93)
รองลงมาคือ ด้านช่องทางการให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.57 (ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ 91.38) ด้านเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
4.57 (ค่าเฉล่ียร้อยละ 91.38) และด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
โดยมีค่าเฉลีย่ 4.46 (ค่าเฉลีย่ ร้อยละ 89.23) ตามลาดบั

ผู้รับบริการที่มีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะมีความเห็นว่าเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรท่ีให้บริการ
ให้บริการและอานวยความสะดวกดีมาก อย่างไรก็ตามมีผู้รับบริการจานวน 2 คน ที่ระบุว่าโทรศัพท์ มาที่
สานักงานแล้วไม่มคี นรบั สาย และมาติดต่อที่สานักงานกองกิจการพาณิชย์ (ไม่ได้นดั หมายล่วงหน้า) แลว้ ไม่มี
เจ้าหน้าที่อยู่ให้บริการเน่ืองจากติดภารกิจออกไปทางานนอกสถานท่ีท้ังหมด ดังน้ันจึงควรหาแนวทางใน
การพฒั นาการให้บริการดังกล่าว



สำรบัญ

หน้า
คานา ....................................................................................................................................................... ก
บทคัดย่อ ................................................................................................................................................. ข
ABSTRACT …………………………………………………………………………………………………………………………….. ค
บทสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร .......................................................................................................................... ง
สารบญั .................................................................................................................................……….….…… ฎ
สารบัญแผนภมู ิ .........................................................................................................…………..……….….… ฐ
สารบญั ตาราง.......................................................................................................................…………..…… ฑ
สารบัญภาพ...........................................................................................................................………….…… ณ
บทท่ี 1 บทนา.......................................................................................................................................... 1

หลกั การและเหตุผล…………………………………………………………………………………………….…………….. 1
วตั ถุประสงคก์ ารศึกษา......……………………………………………………………………………………….…….….. 2
ขอบเขตของการศกึ ษาวจิ ยั ……………………………………………………………………………….……………...... 2
ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ…………………………………………………………………………………………….…... 3
นิยมศัพท์ ..............…………..………………………………………………………………………………………….…... 4
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กีย่ วข้อง…………………..…………………………………………………………….. 5
ความเป็นมาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ………………………………………………………………….…….. 5
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ..........................………………………………………………………………….…….. 6
สภาพทวั่ ไปและข้อมลู พ้ืนฐานขององค์การบริหารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี ..........................…..…. 7
วิสยั ทัศน์ ภารกจิ อานาจหน้าท่ขี ององค์การบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี ..........................……. 12
การดาเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี ...........................…. 15
แนวคิดเกี่ยวกบั การให้บรกิ ารสาธารณะ……………………………………………………………………………….. 24
แนวคิดเก่ยี วกับหลกั การให้บรกิ าร……………………………………………………………………………………….. 25
แนวคิดและทฤษฎเี ก่ยี วกับความพึงพอใจ………………………………………………………………………...…… 26
วิธกี าหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่าง .................………………………………………………………………………...…… 28
ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง……………………………………………………………………………………………………….. 29
บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวิจัย…………………………………………………………………….…………….…………….…….. 36
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง………………………………………………………………………………………………… 36
เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการรวบรวมขอ้ มลู ……………………………………………………………………………………... 40
การเก็บรวบรวมข้อมลู ………………………………………………………………………………………..…………….. 41
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ………………………………………………………………………………………………..……….... 41



สำรบัญ (ต่อ)

หนา้
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล...………………………………………………….………...........…….…………….…….... 44

1. งานดา้ นเทศกจิ หรอื ปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ) …………. 44
2. งานด้านสาธารณสขุ (งานศูนยร์ ับแจ้งเหตุและสงั่ การ จังหวัดอบุ ลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) …………………………………. 52
3. งานด้านสาธารณสุข (งานหนว่ ยปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ กู้ชพี คุณธรรม (Basic life support : BLS)
และกู้ชพี องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) …….………………. 62
4. งานอ่ืน ๆ (งานการให้บรกิ ารประชาชนในการขายท่ีดนิ ห้วยขะยุงและทงุ่ หมาหิว) ..................... 72
บทท่ี 5 สรุปผลการวิจยั ...…………………………………………………………………….…….……….………………….. 81
บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………………………...……………….…. 92
ภาคผนวก 1 แบบสอบถาม…………………………………………………………………….……………………………..…… 94
ภาคผนวก 2 ภาพการสารวจและรวบรวมข้อมูล .....………………………………….……………………………..…… 107



สำรบัญแผนภูมิ

แผนภมู ทิ ่ี ขั้นตอนการใหบ้ ริการงานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกัน หน้า
4.1 และบรรเทาสาธารณภัย) ........................................................................................... 45
4.2 ข้ันตอนการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด
อุบ ลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch 53
4.3 Center)) ....................................................................................................................
ข้ันตอนการให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ 63
4.4 คุณ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัด 73
5.1 อบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS)) ………………………………………………. 82
5.2 ขั้นตอนการให้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วย 83
5.3 ขะยงุ และท่งุ หมาหิว) .................................................................................................. 85
5.4 ค่าเฉล่ยี ร้อยละความพงึ พอใจทั้ง 4 ภารกิจงาน จาแนกรายดา้ น ............................... 87
5.5 ค่าเฉลี่ยร้อยละความพึงพอใจทง้ั 4 ภารกิจงาน จาแนกตามภารกิจงาน .................... 89
5.6 คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละความพึงพอใจแต่ละดา้ นของงานดา้ นเทศกิจหรือปอ้ งกันบรรเทา 91
สาธารณภัย (งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ) ....................................................
ค่าเฉลย่ี ร้อยละความพงึ พอใจแต่ละดา้ นของงานดา้ นสาธารณสขุ (งานศูนย์รับแจ้ง
เหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี) .........................................................................
คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละความพงึ พอใจแตล่ ะด้านของงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วย
ปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉินกูช้ พี คุณธรรมและกชู้ ีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี) ...
ค่าเฉลี่ยร้อยละความพึงพอใจแต่ละด้านของงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชน
ในการขายท่ดี นิ หว้ ยขะยงุ และทุง่ หมาหิว) ..................................................................



สำรบัญตำรำง

ตารางที่ การแบง่ เขตการปกครองขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ จังหวัดอบุ ลราชธานี ............. หน้า
2.1 เขตการปกครอง จาแนกตามอาเภอในจังหวดั อุบลราชธานี .......................................... 9
2.2 ข้อมูลเกยี่ วกบั จานวนประชากรของจังหวัดอบุ ลราชธานี .............................................. 10
2.3 จานวนการจดั หารถพยาบาลฉุกเฉินขององค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี ........ 11
2.4 ความตอ้ งการของผรู้ บั บริการงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ............................................ 18
2.5 ตารางการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรศนู ย์รบั แจง้ เหตุและสั่งการจังหวดั อุบลราชธานี ....... 19
2.6 ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างของ ทาโร่ ยามาเน่ ทรี่ ะดับความเชอ่ื มั่น 95% และความคลาด 20
2.7 เคล่อื นตา่ ง ๆ ................................................................................................................
ตารางสาเรจ็ รปู ของ ทาโร่ ยามาเน่ แสดงขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งทขี่ นาดความคลาด 29
3.1 เคลอ่ื น (e) ……………………………………………………………………………..………………………..
จานวนประชากรและกลุม่ ตวั อย่างของงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจาแนกตาม 37
3.2 การใหบ้ ริการ ……………………………….…………………………………………………………..………
จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม 38
3.3 (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
(Advanced life support : ALS)) .............................................................................. 39
3.4 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของงานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน
หว้ ยขะยุงและทงุ่ หมาหวิ ปงี บประมาณ 2563 ............................................................. 40
4.1 ขอ้ มูลเบ้ืองต้นของผู้รบั บริการงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย .............................. 48
4.2 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ..................... 49
4.3 คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลี่ยร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ
งานด้านเทศกิจหรอื ปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย) 50
4.4 สรุปค่าเฉลี่ย และค่าเฉลี่ยรอ้ ยละของความพึงพอใจการให้บรกิ ารงานด้านเทศกิจหรือ
ปอ้ งกนั บรรเทาสาธารณภัย (งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ) ............................... 52
4.5 ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch 56
4.6 Center)) .......................................................................................................................
ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด 58
4.7 อุบลราชธานี .................................................................................................................
คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ 59
4.8 งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) .................... 61
สรุปภาพรวม คา่ เฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละของความพึงพอใจ
การให้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด
อบุ ลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center))



สำรบญั ตำรำง (ต่อ)

ตารางท่ี ข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้ใช้บริการงานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพ หน้า
4.9 คุณ ธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) …………………………………………………. 67
4.10 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม และ 68
4.11 กชู้ พี องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั อุบลราชธานี ...............................................................
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และค่าเฉลย่ี ร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ 69
4.12 งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life
support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life 71
4.13 support : ALS)) ……………………………………………………………………………………………. 75
4.14 สรุปค่าเฉล่ีย และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานด้านสาธารณสุข 76
4.15 (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพ 77
4.16 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced life support : ALS)) ............ 79
4.17 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ใช้บริการงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน 80
หว้ ยขะยุงและทุ่งหมาหวิ ) .............................................................................................
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดิน
หว้ ยขะยุงและทุง่ หมาหวิ ) .............................................................................................
คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเฉล่ยี ร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการ
งานอน่ื ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินห้วยขะยงุ และทุ่งหมาหวิ ) .......
สรุปค่าเฉลี่ย และค่าเฉล่ียร้อยละของความพึงพอใจการให้บริการงานอ่ื น ๆ
(งานการให้บรกิ ารประชาชนในการขายท่ดี นิ ห้วยขะยงุ และทงุ่ หมาหิว) ........................
สรุปค่าเฉลยี่ และคา่ เฉล่ยี รอ้ ยละของความพงึ พอใจการให้บริการงานทั้ง 4 งาน .........



สำรบัญภำพ

ภาพที่ หน้า
4.1 บุคลากรของงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ............................................................ 46
4.2 ถุงยังชพี ช่วยเหลืออุทกภยั ตลุ าคม พ.ศ. 2562 ............................................................... 47
4.3 ตู้สาขาอตั โนมัติ (PASX) .................................................................................................. 54
4.4 เจ้าหน้าที่ Call Taker ..................................................................................................... 54
4.5 เจ้าหนา้ ท่ี Dispatcher และ Co-ordinator ................................................................... 55
4.6 เจา้ หนา้ ที่ วทิ ยุสอ่ื สาร ..................................................................................................... 55
4.7 ศูนยร์ บั แจง้ เหตแุ ละส่ังการจังหวัดอบุ ลราชธานี ณ OTOP Center อบุ ลราชธานี ........... 56
4.8 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารศูนยร์ ับแจง้ เหตแุ ละสง่ั การจงั หวัดอบุ ลราชธานี ....................................... 56
4.9 สานักงานกชู้ ีพองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี .................................................. 63
4.10 โตะ๊ ทางานเจา้ หนา้ ท่ีและอปุ กรณ์กูช้ ีพ ............................................................................. 64
4.11 ภายในสานักงานและอุปกรณ์กู้ชพี .................................................................................. 65
4.12 รถกชู้ พี องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS) ...... 65
4.13 อปุ กรณก์ ชู้ พี ระดบั สงู และเวชภณั ฑ์ ภายในรถ Advanced life support : ALS ............ 66
4.14 รถกู้ชีพองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานี (Basic life support : BLS) ................ 66
4.15 อุปกรณ์ก้ชู พี และเวชภัณฑ์ ภายในรถ Basic life support : BLS .................................. 66
4.16 อาคารกองกิจการพาณิชย์ ............................................................................................... 74
4.17 ภายในสานักงานกองกจิ การพาณิชย์ ............................................................................... 74
4.18 ภายในสานกั งานกองกิจการพาณิชยใ์ นช่วงทีม่ ีผูม้ าใช้บริการ .......................................... 75

บทท่ี 1
บทนำ

หลกั กำรและเหตผุ ล

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมีขนาดใหญ่
มีเขตพื้นท่ีครอบคลุมท้ังจังหวัดอุบลราชธานี อานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
คือ การให้บรกิ ารสาธารณะประโยชน์ตา่ งๆ เพ่ือตอบสนอง ความต้องการพืน้ ฐานแกป่ ระชาชนในเขตพื้นท่ี
จงั หวัดอุบลราชธานี ได้แก่ การพฒั นาเมือง และระบบสาธารณูปโภค การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การจัดการศึกษา ซ่ึงเป็นไปตามพระราชบัญญัติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแก้ไขเพ่ิมเติม และพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอน
การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ซ่ึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ได้ปฏิบัติราชการตามหลักการบริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งที่ดี พ.ศ. 2564 หมวด 1 มาตรา 6 รายละเอยี ด ดังนี้

1. เกดิ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
2. เกดิ ผลสมั ฤทธต์ิ ่อภารกจิ ของรฐั
3. มปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดความคมุ้ คา่ เชงิ ภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านเกินความจาเป็น
5. มีการปรับปรงุ ภารกิจของส่วนราชการใหท้ ันตอ่ เหตุการณ์
6. ประชาชนไดร้ บั การอานวยความสะดวกและไดร้ บั การตอบสนอง
7. มกี ารประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการอยา่ งสมา่ เสมอ
ประกอบกับการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ. 2556-2561) ได้ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐยกระดับการบริการประชาชนโดยการจาแนก
กลุ่มผู้รับบริการการสารวจความพึงพอใจของประชาชนท่ีใช้บริการเพื่อให้สามารถนามาปรับปรุง และ
พัฒนาคุณภาพการให้บริการได้อย่างจริงจัง เน้นการสารวจความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการ
หลังจากได้รับบริการ และนาผลสารวจความพึงพอใจมาวิเคราะห์ ศึกษาเปรียบเทียบ เพ่ือปรับปรุง
ประสทิ ธิภาพการทางาน และเผยแพร่ผลการสารวจใหป้ ระชาชนทราบ
จากข้อมูลข้างต้น เพื่อให้มีการจัดการท่ีดี มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นประชาชนผู้รับบริการ
คานึงถึงความต้องการของประชาชนและคานึงถึงความพอใจของผู้รับบริการ และนาผลการสารว จ
ความพึงพอใจ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ มาใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัติราชการ ในปีงบประมาณ 2563
จึงควรจัดจ้างที่ปรึกษาสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการต่องานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี จานวน 4 ภารกจิ งาน ไดแ้ ก่
1. งานดา้ นเทศกจิ หรือปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย (งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั )
2. งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์แจ้งเหตุและส่ังการจังหวัดอุบลราชธานี (Ubonrachathani
Province Emergency Medical Dispatch Center)
3. งานด้านสาธารณสุข (หน่วยปฏิบัติการกู้ชีพคุณธรรม (Basic Life Support : BLS และกู้ชีพ
องค์การบริหารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี Advanced Life Support : ALS))
4. งานอ่ืน ๆ (งานการใหบ้ ริการประชาชนในการขายทด่ี ินห้วยขะยุงและทงุ่ หมาหิว)

2

เพ่ือประเมินผลการบริหารจัดการและการบริการว่ามีประสิทธิภาพประสิทธิผล สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนมากน้อยเพียงใด และเพ่ือหาแนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์
การบริหารจดั การและการให้บรกิ ารประชาชนตอ่ ไป

วตั ถุประสงค์ของกำรศึกษำ

การดาเนินโครงการวิจัยสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ประจาปี 2563 มีวัตถุประสงค์เพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของ
องค์การบริหารส่วนจงั หวดั อบุ ลราชธานี ใน 4 ภารกิจงาน คือ

1. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
(งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัด
อุบ ลราช ธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) งาน ด้าน
สาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอื่น ๆ (งานการให้บริการ
ประชาชนในการขายทีด่ นิ หว้ ยขะยงุ และท่งุ หมาหวิ )

2. เพอ่ื ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดบริการประชาชน
3. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด
อบุ ลราชธานี

ขอบเขตของกำรศกึ ษำ

1. การศึกษาและรวบรวมข้อมูลการให้บริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ใน 4 ภารกิจงาน ได้แก่ งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ จังหวัดอุบลราชธานี (Ubonratchathani
Province Emergency Medical Dispatch Center)) งานด้านสาธารณสุข (งานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน
กู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกชู้ ีพองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี (Advanced
life support : ALS)) และงานอื่น ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายที่ดินห้วยขะยุงและทุ่งหมา
หวิ ) จาแนกเป็นข้อมูลรายด้าน ดงั นี้

1.1 ศกึ ษาข้อมูลเกย่ี วกบั ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ าร
1.2 ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับข้อมูลทั่วไปของส่ิงอานวยความสะดวก วิธีการอานวยความสะดวก
ในการใหบ้ ริการ
1.3 ศกึ ษาข้อมูลเก่ยี วกบั ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้บรกิ าร
2. ศกึ ษาเกยี่ วกบั การใหบ้ ริการ
2.1 ศึกษาประสทิ ธภิ าพการใหบ้ รกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ประกอบดว้ ย

2.1.1 ความเชื่อถือได้
- ความสมา่ เสมอ
- ความพ่ึงพาได้

2.1.2 การตอบสนอง
- ความเตม็ ใจทีจ่ ะให้บริการ

3

- ความพรอ้ มท่ีจะให้บรกิ าร และการอทุ ิศเวลา
- การติดตามอย่างต่อเนือ่ ง
- การปฏิบตั ติ อ่ ผู้ใชบ้ รกิ ารเป็นอย่างดี
2.1.3 ความสามารถ
- สามารถในการใหบ้ ริการ
- สามารถในการสื่อสาร
- สามารถในความรู้วิชาการที่จะให้บริการ
2.1.4 การเข้าถึงการบริการ
- ผู้ใช้บริการเข้าใช้หรือรับบริการได้สะดวก ระเบียบข้ันตอนไม่ควรมากมาย
ซับซ้อนเกนิ ไป
- เวลาท่ีให้บรกิ ารเปน็ เวลาท่สี ะดวกสาหรบั ผ้ใู ช้บริการ
- การใหบ้ รกิ ารในสถานทท่ี ่ีผู้ใช้บริการติดต่อได้สะดวก
2.1.5 ความสภุ าพอ่อนโยน
- การแสดงความสุภาพต่อผู้ใชบ้ รกิ าร
- การให้การต้อนรับทีเ่ หมาะสม
- ผู้ใหบ้ ริการมีบุคลกิ ภาพท่ีดี
2.1.6 การสอื่ สาร
- มกี ารส่อื สารชแ้ี จงขอบเขต และลักษณะงานบริการ
- มีการอธบิ ายขน้ั ตอนให้บริการ
2.1.7 ความซ่อื สัตย์ คุณภาพของงานบริการมีความเทีย่ งตรงน่าเช่อื ถือ
2.1.8 ความมน่ั คง ประกอบดว้ ย ความปลอดภยั ทางกายภาพ เชน่ เครอ่ื งมือ อุปกรณ์
2.1.9 ความเข้าใจ
- การใหค้ วามสนใจต่อผู้ใช้บรกิ าร
- การใหค้ าแนะนา และเอาใจใสผ่ ้ใู ช้บรกิ าร
- การเรยี นรผู้ ู้ใช้บริการ
2.1.10 การสรา้ งสิ่งทีจ่ ับต้องได้
- การเตรยี มวัสดุ อุปกรณใ์ หพ้ ร้อมสาหรับให้บรกิ าร
- การเตรียมอุปกรณ์ เพ่อื านวยความสะดวกแกผ่ ้ใู ช้บริการ
- การจดั สถานทใี่ ห้บริการสวยงาม สะอาด เพยี งพอ
2.2 ศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้รับบริการ 4 ด้าน ดังนี้
2.1.1 ด้านขนั้ ตอนและระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน
2.1.2 ดา้ นช่องทางการใหบ้ รกิ าร
2.1.3 ดา้ นเจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากร
2.1.4 ด้านสิง่ อานวยความสะดวก

ประโยชนท์ ีค่ ำดวำ่ จะได้รับ

1. ทราบความพึงพอใจของประชาชนและผู้ใช้บริการใน 4 ภารกิจงาน ขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ งานด้านเทศกิจหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทา

4

สาธารณ ภัย) งานด้านสาธารณ สุข (งานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ จังหวัดอุบลราชธานี
(Ubonratchathani Province Emergency Medical Dispatch Center)) งานด้านสาธารณสุข (งาน
หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินกู้ชีพคุณธรรม (Basic life support : BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอ่ืน ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขาย
ทีด่ นิ หว้ ยขะยุงและทุ่งหมาหิว)

2. ได้รับข้อเสนอแนะในการพฒั นาการบรหิ ารจดั การ และการใหบ้ รกิ ารจากผูใ้ ช้บรกิ าร
3. สามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขการให้บริการแก่ผู้รับบริการเพื่อสามารถ
ตอบสนองความต้องการให้ดยี ิง่ ขน้ึ
4. เพื่อทราบจุดเดน่ และจุดบกพร่อง และเสนอแนวทางปรับปรงุ การใหบ้ ริการของงานด้านเทศกิจ
หรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัย (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) งานด้านสาธารณสุข (งานศูนย์รับ
แจ้งเห ตุและส่ังการ จังห วัดอุบ ลราชธานี (Ubonratchathani Province Emergency Medical
Dispatch Center)) งานด้านสาธารณสขุ (งานหน่วยปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ กชู้ ีพคุณธรรม (Basic life support
: BLS) และกู้ชีพองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี (Advanced life support : ALS)) และงานอื่น
ๆ (งานการให้บริการประชาชนในการขายท่ีดินหว้ ยขะยุงและทุ่งหมาหวิ )

นยิ ามศพั ท์

1. ขั้นตอนการให้บริการ หมายถึง กระบวนการที่ผู้รับบริการ ดาเนินการเป็นลาดับเพื่อให้บรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ ตามท่ีส่วนงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีจัดไว้ให้ โดย
การจัดเตรียมเอกสาร แสดงป้ายขั้นตอนการให้บริการ มีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์ม การแสดงและ
ปฏิบตั ิตามระยะเวลาทก่ี าหนดไว้ในขน้ั ตอนการให้บริการ การลดข้นั ตอนการปฏิบัติงาน เพ่ือใหผ้ รู้ ับบรกิ าร
มคี วามสะดวกรวดเรว็ ตลอดจนการให้ความเป็นธรรมในการจัดลาดบั เชน่ การใชบ้ ัตรคิว

2. ชอ่ งทางการใหบ้ ริการ หมายถงึ แนวทาง หรอื วธิ ีการทอ่ี งค์การบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี
นามาใช้เพ่ือให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงงานบริการได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เช่น เว็บไซด์
เว็บบอร์ด โทรศัพท์ รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ การตอบสนองจากช่องทางการให้บริการ และ
การพัฒนาช่องทางเพื่อให้สามารถเข้าถึงผู้รับบริการได้อย่างรวดเร็วมากข้ึน เช่น การจัดบริการเพ่ือเข้าถึง
กลุ่มผู้รับบริการ การให้บริการในวันหยุดราชการ การไปให้บริการตามหมู่บ้าน หรือจุดต่าง ๆ ตาม
กาหนดเวลา การกาหนดจุดบริการ One Stop Service เป็นต้น

3. เจ้าหน้าท่ี บุคลากรผู้ให้บริการ หมายถึง บุคลากรท่ีให้บริการงานด้านต่าง ๆ ขององค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ทาหน้าที่ดูแลผู้รับบริการด้วยความเอาใจใส่ เป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถในงาน ตอบคาถามในงานได้อย่างชัดเจน ถูกต้อง ปฏิบัติต่อผู้รับบริการอย่างเสมอภาค
รวมถงึ กิรยิ ามารยาท บุคลิกภาพ และความซื่อสัตย์สุจริตของเจา้ หน้าที่ หรอื บคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ าร

4. ส่ิงอานวยความสะดวก หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ ที่จัดเตรียมไว้ให้แก่ผู้เข้ารับบริการ ซ่ึงมีอยู่
อย่างเพียงพอและทันสมัย ตลอดจนการจัดบริบทของส่วนงานบริการและภายในองค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี อย่างเพียงพอ สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีป้ายประชาสัมพันธ์และป้ายแสดง
สถานทที่ ส่ี ามารถมองเหน็ ได้งา่ ย

5. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกต่อการปฏิบัตงิ านด้านต่าง ๆ ขององค์การบรหิ ารส่วน
จงั หวัดอุบลราชธานี

บทท่ี 2
การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ยี วข้อง

โครงการการศึกษาเพ่ือสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วน
จังหวัดอุบลราชธานี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ศึกษา ทบทวน ทฤษฎี เอกสาร และ งานวิจัยท่ี
เกย่ี วข้อง ดงั นี้

1. ความเป็นมาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
2. องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด
3. สภาพทัว่ ไปและข้อมูลพน้ื ฐานขององค์การบริหารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี
4. วิสยั ทศั น์ ภารกิจ อานาจหนา้ ท่ขี ององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี
5. การดาเนินงานการแพทย์ฉุกเฉนิ ขององค์การบริหารสว่ นจังหวดั อุบลราชธานี
6. แนวคิดเก่ยี วกบั การให้บรกิ ารสาธารณะ
7. แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั ความพึงพอใจ
8. วิธีการกาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง
9. ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

ความเป็นมาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ

การปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นการปกครองท่ีรัฐบาลกลางให้อานาจ หรือกระจายอานาจให้หน่วย
การปกครองท้องถิ่น เพ่ือเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถ่ินมีส่วนรว่ มในการปกครองท้องที่และชมุ ชน โดยมี
องค์กรผู้รับผิดชอบมีอิสระในการใช้ดุลยพินิจ มีเจ้าหน้าที่และงบประมาณในการดาเนินงานแยกออกจาก
ราชการส่วนภูมิภาค อย่างไรก็ตามองค์กรปกครองท้องถ่ินยังอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลกลางตาม
วิธีการท่ีเหมาะสม การปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระดับชาติ
เพราะเป็นสถาบันที่ฝึกหัดให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง ทาให้ประชาชนมีความรู้สึก
เป็นเจ้าของท้องถ่ินอันเป็นท่ีอยู่ของตนเองเกิดความหวงแหนและรับผิดชอบต่อชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงเป็นผลให้
ประชาชนมีความรู้สกึ ทด่ี ีตอ่ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย

การจัดการปกครองส่วนท้องถ่ินของไทยเกิดข้ึนคร้ังแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงมีพระราชดาริท่ีจะสร้างสรรค์ความเจิรญให้แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยใช้รูปแบบ
การปกครองแบบสุขาภิบาล และเมื่อวันท่ี 18 มีนาคม 2448 และทรงมีพระบรมราชโองการให้ยกฐานะ
ตาบล ท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาลเรียกว่า “สุขาภิบาลท่าฉลอม” จังหวัดสมุทรสาคร จึงถือได้ว่าสุขาภิบาล
ท่าฉลอม เปน็ สุขาภบิ าลแหง่ แรกในหัวเมืองของประเทศไทย

ต่อมารัฐบาลได้มีนโยบายที่กระจายอานาจจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่น โดยมุ่งลดบทบาทของรัฐ
ในส่วนกลางให้เหลือแต่ภารกิจหลักเท่าท่ีจาเป็น และเพิ่มบทบาทให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เข้าดาเนินการแทนในภาระงานท่ีส่งผลกระทบต่อชีวิตประจาวันของประชาชนโดยส่วนใหญ่ ซึ่งรวมถึง
การดูแลความสงบเรียบร้อย การพัฒนาท้องถ่ิน และการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนจึง
มีการจัดระเบยี บบรหิ ารราชการสว่ นท้องถิ่นขึ้น ตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 70
ทใ่ี ห้มกี ารจดั ระเบียบการ บริหารราชการสว่ นทอ้ งถิ่นดงั นี้

1. องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด

6

2. เทศบาล
3. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล
4. การปกครองส่วนท้องถน่ิ รูปแบบพเิ ศษซง่ึ ประกอบด้วยกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา
ในส่วนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งถือเป็นรูปแบบหน่ึงของการปกครองส่วนท้องถ่ินได้มี
การประกาศพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใชต้ ้ังแต่ วันท่ี 1 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2540 ได้มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบโครงสร้างขององค์การบริหารส่วนจังหวัดใหม่ โดยได้กาหนดให้
องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ไดแ้ ก่ เขตจงั หวดั เป็นนติ ิบคุ คล และเปน็ ราชการสว่ นท้องถน่ิ
ซึ่งจากเดิมกาหนดให้เขตขององค์การบริหารส่วนจังหวัด คือพื้นที่นอกเขตเทศบาลและสุขาภิบาล
ตามระเบียบราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 นอกจากน้ีในพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
พ.ศ. 2540 ยังกาหนดให้มีสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดต้องมาจาก
การเลือกต้ังโดยตรง ข้อกาหนดในเร่ืองน้ี สอดคล้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่ วันที่ 11 ตุลาคม 2540 เป็นต้นมา จากการที่สมาชิกองค์การบริหารส่วน
จังหวัดได้มาจากประชาชน ดังนั้นองค์การบริหารส่วนจังหวัดจึงต้องมีหน้าท่ีในการให้บริการแก่ประชาชน
ในพ้ืนที่ซึ่งหน้าที่ดังกล่าว เช่น จัดให้มีและบารุงรักษาทางน้า ทางบก รักษาความสะอาดของถนน
ทางเดินท่ีสาธารณะ การจากัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ป้องกันโรค และระงับโรคติดต่อ ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คุ้มครองดูแล และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งหน้าที่ที่กล่าวมาสอดคล้องกับพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546 มาตรา 1/45 ท่ีกาหนดวา่ “การปฏิบัตงิ านตามอานาจหน้าท่ีขององค์การบรหิ ารสว่ น
จังหวัดต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์สูงสุดของประชาชน โดยใช้วิธีบริหารบ้านเมืองที่ดี และให้คานึงถึงการมี
ส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด การจัดทางบประมาณ
การจัดซ้ือจัดจ้าง การตรวจสอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไป
ตามกฎหมายระเบียบขอ้ บังคับวา่ ดว้ ยการน้ี และหลักเกณฑ์และวธิ ีการทกี่ ระทรวงมหาดไทยกาหนด”

องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน ซ่ึงมีลักษณะของภารกิจ
หน้าท่ีแตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น ๆ กล่าวคือ ภารกิจหน้าท่ีขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดเป็นภารกิจหน้าที่ท่ีไม่เน้นการให้บริการสาธารณะเฉพาะพ้ืนท่ีหรือชุมชนหนึ่ง ๆ หากแต่มี
ขอบข่ายของบริการกว้างขวาง ขณะเดียวกันก็มีหน้าที่ช่วยประสานงานและช่วยเหลือการทางานขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ ในระดับลา่ งใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและสามารถให้บริการสาธารณะแกป่ ระชาชนได้มากท่สี ดุ

นอกจากนี้ ภารกิจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดไม่มีการแบ่งแยกภารกิจหน้าที่ที่ต้อง
จัดทา และภารกิจหน้าที่ท่ีอาจจะจัดทาเหมือนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินประเภทอื่น ดังน้ัน ภารกิจ
หน้าที่ทกี่ าหนดไว้ในกฎหมายขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดจงึ มีลักษณะกวา้ ง

พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 ได้กาหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ใหม้ ีหน้าทีด่ งั น้ี

1. ตราข้อบญั ญัตโิ ดยไม่ขดั หรือแย้งกบั กฎหมาย
2. จัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และประสานการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตาม
ระเบียบทีค่ ณะรฐั มนตรีกาหนด

7

3. สนบั สนุนสภาตาบลและราชการส่วนท้องถ่ินอื่นในการพัฒนาทอ้ งถ่นิ
4. ประสานงาน ใหค้ วามรว่ มมอื ในการปฏิบัติหนา้ ทีข่ องสภาตาบล และสว่ นราชการทอ้ งถน่ิ อื่น
5. แบง่ สรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบง่ ใหแ้ กส่ ภาตาบลและราชการส่วนทอ้ งถิน่
6. อานาจหน้าท่ีของจงั หวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498
เฉพาะภายในเขตสภาตาบล
7. คุม้ ครอง ดแู ล และบารงุ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
8. จัดทากิจการใด ๆ อันเปน็ อานาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นอน่ื ท่ีอยใู่ นเขตองค์การบรหิ าร
ส่วนตาบล และเป็นการสมควรให้ราชการส่วนท้องถิ่นร่วมกันดาเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด
จดั ทา ทงั้ นี้ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
9. จัดทากิจการอื่นใดตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกาหนดให้เป็น
อานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ทั้งนี้บรรดาอานาจหน้าที่ใดซึ่งเป็นของราชการส่วนกลาง
สว่ นภมู ิภาค อาจมอบให้องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดปฏิบตั ไิ ด้ ทงั้ นต้ี ามที่กาหนดในกฎกระทรวง

สภาพทัว่ ไปและข้อมลู พืน้ ฐานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอบุ ลราชธานี

1. ดา้ นกายภาพ
1.1 ความเป็นมาและทต่ี ้ัง
อุบลราชธานี ราชธานีแหง่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ได้ชอื่ ว่าเปน็ เมืองดอกบวั อันมแี มน่ ้ามูล แม่น้าชี

ไหลพาดผ่านดุจเสมือนเส้นชีวิตของชาวเมืองในสมัยก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ ท้าวคาผง ท้าวทิศพรหม และ
ท้าวก่า บุตรพระวอพระตา ซ่ึงหนีภัยสงครามมา “พระเจ้าสิริบุญสาร” เจ้าแห่งนครเวียงจันทร์เข้ามาพ่ึง
พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และในสมัยนั้นเมืองอุบลราชธานียังเป็นเพียงชุมชน
ท่ีกลุ่มชนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ท่ีเวียงดอนกองแขวงจาปาสักเท่าน้ัน ยังไม่ได้สถาปนาเป็นเมือง
อบุ ลราชธานี จนถงึ สนิ้ รัชสมัยสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช และในสมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น พระพทุ ธ
ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะรวมพลเมืองเพื่อเป็นกาลังของประเทศ โดยทรงมี
พระราชกาหนดว่า หากเจ้าเมืองใดหรือบุคคลใดรวมไพร่พลเมืองเพื่อเป็นกาลังเป็นปึกแผ่นม่ันคงก็จะได้รับ
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมือง พระปทุมสุรราช (ท้าวคาผง) จึงอพยพครอบครัวไพร่พลจากเวียง
ดอนกองมาตั้งหลักแหล่งบริเวณห้วยแจระแม จนต่อมาพระปทุมสุรราชสามารถยกทัพปราบกบฏได้ชัยชนะ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรดเกล้าแต่งต้ังพระปทุมสุรราชเป็นพระปทุมวรราช
สุริยวงศ์ครองเมืองอุบลราชธานี และเป็นเจ้าเมืองคนแรกของอุบลราชธานี ให้ยกฐานะบ้านแจระแมข้ึนเป็น
“เมืองอุบลราชธานี” ในปี พ.ศ. 2335 และภายหลังได้ย้ายไปตั้งเมืองใหม่ที่ “ดงอู่ผึ้ง” อันเป็นท่ีต้ังเมือง
อุบลราชธานีในปัจจุบัน เหตุที่มี “ราชธานี” ต่อท้ายน้ัน เป็นเพราะว่ามีเจ้าเมืองสืบต่อมาถึง 4 คน และใน
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นจังหวัดอุบลราชธานี มีฐานะ เป็นเมืองสาคัญเมืองหนึ่งเป็นท่ีต้ังกองบัญชาการ
มณฑลอีสานมาโดยตลอด จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2468 ได้มี
การยุบเลิกมณฑลอุบลราชธานี จึงนับได้ว่าจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
จนกลายเป็นจงั หวัดท่มี คี วามเจริญกา้ วหนา้ ทัดเทยี มจงั หวดั ต่าง ๆ ของไทย หลายจังหวัด

ทตี่ ้ังและอาณาเขต
จังหวัดอุบลราชธานี ต้ังอยู่สุดชายแดนตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศติดกับ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชาประชาธิปไตย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 630

8

กิโลเมตร มีเน้ือท่ีประมาณ 10.0 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.5 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอาณาเขต

ตดิ ตอ่ ดังน้ี

ทิศเหนอื จรดจงั หวัดอานาจเจรญิ จังหวดั ยโสธร และสาธารณรัฐประชาธปิ ไตย

ประชาชนลาว

ทิศใต้ จรดประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย และจังหวัดศรสี ะเกษ

ทศิ ตะวันออก จรดสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

ทศิ ตะวันตก จรดจังหวดั ศรสี ะเกษและจังหวดั ยโสธร

1.2 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ

จังหวัดอุบลราชธานี ต้ังอยู่บริเวณที่เรยี กว่าแอ่งโคราช โดยสูงจากระดับน้าทะเลเฉล่ียประมาณ
68 เมตร (227 ฟุต) ลักษณะโดยทั่วไปเป็นท่ีสูง ๆ ต่า ๆ จัดเป็นท่ีราบสูง ลาดเอียงไปทางตะวันออก มีแม่น้า
โขง เป็นแนวเขตก้ันจังหวัดอุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแม่น้าชีไหลมาบรรจบ
กับแม่น้ามูลทอี่ าเภอเมืองอบุ ลราชธานี โดยแม่น้ามูลไหลผา่ นกลางจังหวัดจากทศิ ตะวนั ตกมายังทิศตะวันออก
แล้วไหลลงสู่แม่น้าโขงท่ีอาเภอโขงเจียม และมีลาน้าใหญ่ๆ อีกหลายสาย ได้แก่ ลาเซบก ลาเซบาย ลาโดม
ใหญ่ ลาโดมน้อย และมีภูเขาสลับซับซ้อนหลายแห่งทางบรเิ วณชายแดนตอนใต้ ที่สาคัญคือ เทอื กเขาบรรทัด
และเทอื กเขาพนมดงรัก ซึง่ กัน้ อาณาเขตระหว่างจงั หวัดอุบลราชธานี กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลาวและสาธารณรัฐกมั พชู าประชาธิปไตย

1.3 ลักษณะภูมอิ ากาศ

ฤดูกาลของจังหวัดอุบลราชธานี พิจารณาตามลักษณะของลมฟ้าอากาศของประเทศไทย
สามารถแบ่งออกได้เปน็ 3 ฤดู ดังน้ี

1.3.1 ฤดหู นาว เรมิ่ ตน้ ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงประมาณกลางเดือนกมุ ภาพันธ์
1.3.2 ฤดรู อ้ น เรม่ิ ต้นประมาณกลางเดอื นกมุ ภาพนั ธถ์ ึงกลางเดือนพฤษภาคม
1.3.3 ฤดูฝน เริม่ ต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นตุลาคม
อุณหภูมิ เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดอุบลราชธานีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสูงและมี
เทือกเขาสลับซับซ้อนทาให้อากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในช่วงฤดูร้อน และในช่วงฤดูหนาวจะมีอากาศ
คอ่ นขา้ งหนาวเย็นมีอณุ หภมู ิระหว่าง 12.1 - 41.1 องศาเซลเซยี ส

1.4 ลักษณะของดิน

คณุ สมบัติของดนิ ทว่ั ไปของจงั หวดั อุบลราชธานี แบ่งออกได้ ดังนี้
1.4.1 ดนิ รว่ น - ดินร่วนปนทราย
1.4.2 ดนิ รว่ นทราย - ดินร่วนปนทราย
1.4.3 ดินรว่ นทราย - ดนิ รว่ นเหนยี ว
1.4.4 ดนิ รว่ นปนทราย
จากการสารวจขอ้ มลู สภาพพ้นื ที่และการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน โดยกรมพัฒนาทด่ี ินพบวา่ พื้นที่ของจังหวัด
ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่เพ่ือการเกษตรกรรม ร้อยละ 62.65 รองลงมาคือพ้ืนที่ป่าไม้ ร้อยละ 20.16 พ้ืนที่เบ็ดเตล็ด
ร้อยละ 8.79 พืน้ ที่ชุมชน ร้อยละ 4.71 พนื้ ทแี่ หล่งน้า รอ้ ยละ 3.69

9

1.5 ลักษณะของแหล่งน้า

จังหวดั อบุ ลราชธานี อยู่ในพนื้ ทขี่ องลุ่มน้ามลู มีแหลง่ น้าธรรมชาติท่สี าคญั ไหลผา่ นอาเภอตา่ งๆ
ของจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ แม่น้าโขง แม่น้ามูล แม่น้าชี ลาเซบก ลาเซบาย ลาโดมใหญ่ ลาโดมน้อย
มพี ้ืนที่ลุ่มน้าท้ังหมด 71,522 ตารางกิโลเมตร

2. ด้านการเมือง/การปกครอง

ตารางที่ 2.1 การแบ่งเขตการปกครองขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จังหวดั อุบลราชธานี

องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จา้ นวน (แหง่ )
1. องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี 1
2. เทศบาล 59

1) เทศบาลนคร 1 แห่ง (เทศบาลนครอบุ ลราชธานี) 179
2) เทศบาลเมอื ง 4 แหง่ (เทศบาลเมอื งวารินชาราบ เทศบาลเมือง 239

พบิ ลู มังสาหาร เทศบาลเมืองเดชอดุ ม และเทศบาลเมืองแจระแม)
3) เทศบาลตาบล 54 แห่ง
3. องค์การบริหารส่วนตาบล

รวม

ท่มี า : องค์การบริหารสว่ นจงั หวัดอบุ ลราชธานี ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 ธันวาคม 2558

10

ตารางท่ี 2.2 เขตการปกครอง จาแนกตามอาเภอในจังหวัดอุบลราชธานี

อ้าเภอ พ้ืนท(่ี ตร.กม.) ต้าบล (แหง่ ) อปท.

1. อาเภอเมืองอุบลราชธานี 406.385 12 14
2. อาเภอดอนมดแดง 235.000 4 4
3. อาเภอตระการพชื ผล 1,306.000 23 23
4. อาเภอพบิ ลู มงั สาหาร 939.604 14 15
5. อาเภอวารินชาราบ 584.000 16 17
6. อาเภอศรีเมืองใหม่ 1,310.000 11 12
7. อาเภอนาตาล 194.839 4 4
8. อาเภอบุณฑริก 1,402.000 8 9
9. อาเภอสิรนิ ธร 706.310 6 7
10. อาเภอกดุ ข้าวปุน้ 320.000 5 6
11. อาเภอเดชอดุ ม 1,416.000 16 19
12. อาเภอทุง่ ศรอี ุดม 307.000 5 5
13. อาเภอม่วงสามสิบ 917.517 14 15
14. อาเภอโขงเจียม 901.800 5 6
15. อาเภอนา้ ยืน 845.500 7 8
16. อาเภอเขมราฐ 522.161 9 10
17. อาเภอนาเยีย 229.000 3 4
18. อาเภอเหลา่ เสือโกก้ 284.000 4 4
19. อาเภอโพธิไ์ ทร 505.150 6 7
20. อาเภอสว่างวรี ะวงศ์ 270.000 4 4
21. อาเภอสาโรง 416.000 9 9
22. อาเภอนาจะหลวย 632.000 6 7
23. อาเภอเข่อื งใน 772.819 18 19
24. อาเภอตาลสมุ 303.000 6 7
25. อาเภอนา้ ขนุ่ 386.500 4 4

รวม 932,712.0680 219 239

ทม่ี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2559

11

ตารางที่ 2.3 ขอ้ มลู เก่ยี วกับจานวนประชากรของจงั หวัดอบุ ลราชธานี

อา้ เภอ จ้านวนประชากร(คน)

อาเภอเมืองอบุ ลราชธานี ชาย หญงิ รวม
อาเภอศรีเมืองใหม่
อาเภอโขงเจยี ม 45,038 45,748 90,786
อาเภอเขอ่ื งใน 33,296
อาเภอเขมราฐ 17,526 32,698 65,994
อาเภอเดชอุดม 51,429
อาเภอนาจะหลวย 15,548 16,988 34,514
อาเภอนา้ ยืน 65,591
อาเภอบุณฑรกิ 25,573 52,026 103,455
อาเภอตระการพืชผล 30,910
อาเภอกดุ ขา้ วปุ้น 38,629 15,421 30,969
อาเภอมว่ งสามสิบ 56,981
อาเภอวารินชาราบ 18,633 64,686 130,277
อาเภอพิบูลมังสาหาร 40,853
อาเภอตาลสุม 52,842 24,926 50,499
อาเภอโพธไ์ิ ทร 59,402
อาเภอสาโรง 14,965 29,980 60,890
อาเภอดอนมดแดง 21,887
อาเภอสริ ินธร 27,009 37,435 76,064
อาเภอทุ่งศรีอุดม 13,725
อาเภอนาเยีย 21,727 56,333 113,314
อาเภอนาตาล 14,579
อาเภอเหล่าเสอื โกก้ 10,335 18,441 37,074
อาเภอสวา่ งวีระวงศ์ 18,888
อาเภอน้าขนุ่ 13,883 40,568 81,421
15,595
รวม 16,678 52,626 105,468

58,512 117,914

14,463 29,428

21,221 43,108

26,943 53,952

13,533 27,258

20,938 42,665

14,163 28,742

9,737 20,072

18,640 37,528

13,712 27,595

15,327 30,922

16,249 32,927

930,701 926,728 1,857,429

ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มลู ณ วันที่ 4 กมุ ภาพันธ์ 2559

12

วสิ ยั ทศั น์ ภารกจิ อ้านาจหน้าท่ีขององคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี

วิสัยทศั น์ (VISION)
“เปน็ กลไกขบั เคลอื่ นท้องถนิ่ ใหม้ ีการพัฒนาอย่างยั่งยืน”

ภารกิจ (MISSION)
1. ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ภายใต้ข้อบัญญัติตามกฎหมาย มาตรา 45 แห่ง
พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2546 มีอานาจหน้าที่
ดาเนนิ การภายในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด ดังตอ่ ไปน้ี

(1) ตราขอ้ บัญญัติโดยไม่ขัดหรอื แย้งตอ่ กฎหมาย
(2) จัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และประสานการจัดทาแผนพัฒนา
องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดตามระเบียบทค่ี ณะรัฐมนตรีกาหนด
(3) สนบั สนนุ สภาตาบลและราชการส่วนทอ้ งถน่ิ อนื่ ในการพฒั นาทอ้ งถิน่
(4) ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าท่ีของสภาตาบล และราชการส่วน
ท้องถ่ินอนื่
(5) แบ่งสรรเงินซ่งึ ตามกฎหมายจะตอ้ งแบง่ ให้สภาตาบลและราชการสว่ นทอ้ งถ่ินอืน่
(6) อานาจหน้าท่ีของจังหวัดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด
พ.ศ. 2498 เฉพาะภายในเขตสภาตาบล
(7) คุ้มครอง ดูแล และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (7 ทวิ) บารุงรักษา
ศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ และวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถิ่น
(8) จดั ทากิจกรรมใด ๆ อันเป็นอานาจหนา้ ที่ของราชการส่วนท้องถ่นิ อ่นื ที่อยู่ในเขตองคก์ าร
บริหารส่วนจังหวัด และกิจการนั้นเป็นการสมควรให้ราชการส่วนท้องถิ่นอ่ืนร่วมกันดาเนินการหรือให้
องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดจดั ทา ทั้งน้ี ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
(9) จัดทากิจการอื่นใดตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนกาหนดให้เป็น
อานาจหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบรรดาอานาจหน้าท่ีใดซึ่งเป็นของราชการส่วนกลาง หรือราชการ
สว่ นภมู ิภาค อาจมอบใหเ้ ป็นอานาจหน้าท่ีขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด
2. ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ภายใต้ข้อบัญญัติตามกฎหมาย มาตรา 17 แห่ง
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542
ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพ่ือประโยชน์ของ
ประชาชนในทอ้ งถิน่ ของตนเอง ดงั น้ี
(1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง และประสานการจัดทาแผนพัฒนาจงั หวัดตาม
ระเบยี บทค่ี ณะรัฐมนตรีกาหนด
(2) การสนบั สนนุ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในการพัฒนาท้องถ่ิน
(3) การประสานและใหค้ วามรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อน่ื
(4) การแบง่ สรรเงินซงึ่ ตามกฎหมายจะตอ้ งแบง่ ให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นอ่ืน
(5) การคุ้มครอง ดแู ล และบารุงรกั ษาปา่ ไม้ ทด่ี ิน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(6) การจดั การศึกษา
(7) การสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย ความเสมอภาคและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน
(8) การสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของราษฎรในการพัฒนาทอ้ งถ่นิ

13

(9) การสง่ เสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยที ี่เหมาะสม
(10) การจัดตั้งและดแู ลระบบบาบัดน้าเสียรวม
(11) การกาจัดมูลฝอยและส่ิงปฏิกลู รวม
(12) การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มและมลพษิ ต่าง ๆ
(13) การจัดการและดแู ลสถานีขนสง่ ท้งั ทางบกและทางน้า
(14) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(15) การพาณิชย์ การส่งเสริมการลงทุน และการทากิจการไม่ว่าจะดาเนินการเองหรือ
รว่ มกบั บุคคลอื่นหรอื จากสหการ
(16) การสร้างและบารุงรักษาทางบกและทางน้าที่เชื่อมต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ อนื่
(17) การจดั ต้ังและดูแลตลาดกลาง
(18) การสง่ เสริมการกีฬา จารตี ประเพณี และวฒั นธรรมอันดงี ามของทอ้ งถิ่น
(19) การจัดให้มโี รงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคมุ โรคติดต่อ
(20) การจัดให้มีพพิ ิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ
(21) การขนสง่ มวลชนและการวิศวกรรมจราจร
(22) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
(23) การจดั ให้มรี ะบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัด
(24) จัดทากิจการใดอันเป็นอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่อยู่ในเขต
และกิจการนั้นเป็นสมควรให้องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดาเนินการหรือให้องค์การบริหารส่วน
จงั หวัด ท้ังน้ี ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด
(25) สนับสนุนหรือช่วยเหลือราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่น ในการพัฒนา
ทอ้ งถิ่นอืน่
(26) การให้บริการแก่เอกชน ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ อนื่
(27) การสังคมสงเคราะห์ และการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และด้อยโอกาส
(28) จัดทากิจกรรมอื่นใดตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกาหนดให้เป็น
อานาจหนา้ ท่ีขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั
(29) กิจการอ่ืนใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามท่ีคณะกรรมการประกาศ
กาหนด
3. ภารกิจขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด ภายใต้ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่
อ งค์ ก รป ก ค รอ งส่ ว น ท้ อ งถิ่ น ล งวั น ที่ 13 สิ งห าค ม 2546 ก าห น ด อ าน าจ แ ล ะ ห น้ าที่ ใน
การจัดระบบบรกิ ารสาธารณะขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด ไวด้ ังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 ลักษณะของการดาเนินงานขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดในการบริการสาธารณะใน
เขตจงั หวัด

(1) ดาเนินงานในโครงการที่มีขนาดใหญ่ ท่ีเกินศักยภา พขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ อ่นื ในเขตจงั หวดั

14

(2) เป็นการดาเนินงานที่ปรากฏถึงกิจกรรมที่เป็นภาพรวมขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินในจังหวัด ท่ีมุ่งต่อประโยชน์ของท้องถิ่นหรือประชาชนเป็นส่วนรวม และไม่เข้าไปดาเนินงานที่
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นอ่ืนในจังหวัดสามารถดาเนนิ การไดเ้ อง

(3) เข้าไปดาเนินงานตามแผนงาน หรือโครงการในลักษณะที่มีความคาบเก่ียวต่อเนื่อง
หรือมีผ้ทู ่ไี ด้รบั ประโยชนใ์ นองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินมากกวา่ 1 แหง่ ข้นึ ไป

ข้อ 2 ในการดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนจังหวัดตาม
ข้อ 1 องค์การบริหารสว่ นจังหวดั ควรจะดาเนนิ การเพ่ือใหเ้ ป็นไปในลักษณะดังนี้ คือ

(1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินของตนเองและประสานการจัดทาแผนจังหวัด โดย
การสร้างและพัฒนาระบบการประสานแผนการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัดเพื่อนาไปสู่การใช้จ่ายงบประมาณ
ในการพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ที่มีความสมดุลและคุ้มค่าทางเศรษฐกจิ

(2) การก่อสร้างและบารุงรักษาโครงการท่ีเป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่หรือมี
ความเกี่ยวเน่ืองกันหลายองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือในลักษณะที่เป็นเครือข่ายหลักในการเชื่อมโยงกับ
แผนงานโครงการทดี่ าเนินการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อ่นื สนจงั หวัด

(3) การจัดการศึกษา สาธารณสุข การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้กับ
ประชาชนในระดับจังหวัด และไม่เป็นการซ้าซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนในจังหวัด โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือขยายศักยภาพและมุ่งต่อผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการศึกษา สาธารณสุข การสังคม
สงเคราะห์ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ อน่ื ในจงั หวัด

(4) การส่งเสริมจารีต ประเพณี วัฒนธรรม การท่องเท่ียว การส่งเสริมการลงทุน
การพาณชิ ยกรรมของจังหวดั

(5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดโดยเฉพาะอย่างย่ิง
การทาหน้าท่เี ป็นองค์กรหลักในการกาจดั มูลฝอยสิ่งปฏิกูลรวม การดแู ลระบบบาบัดนา้ เสยี รวม ให้แก่องคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อนื่ ในจงั หวดั

(6) ให้บริการด้านเทคนิค วิชาการ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล บุคลากร แก่องค์การ
ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อ่นื ในเขตจังหวัด

(7) ดาเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนภารกิจตามที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
กาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างย่ิงกิจกรรมถ่ายโอน
ทอ่ี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั “มีหน้าทท่ี ่ีต้องทา”

ข้อ 3 การสนับสนุนงบประมาณให้แก่ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จะกระทาได้แต่
เฉพาะกรณีท่ีอยู่ในอานาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดที่จะต้องดาเนินการเอง แต่ไม่สามารถ
ดาเนินการเองได้ เน่ืองจากเป็นงานปฏิบัติซึ่งจะต้องใช้เทคนิควิชาการสูงและหน่วยงานของรัฐนั้น
มีความสามารถท่ีจะดาเนินการได้ดีกว่าและผลของการให้สนับสนุนน้ันจะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน
ตามอานาจหนา้ ทข่ี ององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั

การสนับสนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืนในจังหวัดจะกระทาได้ในกรณีที่
เร่งด่วนและจาเป็น หากไม่ดาเนินการจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประชาชนการให้
การสนับสนุนแก่ประชาคม องค์กรประชาชน ควรเป็นไปในลักษณะของการส่งเสริมความสามารถ
ดาเนินการ โดยใช้ศักยภาพของตนเองในการบริหารจัดการในลักษณะของการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับ
ผลประโยชน์ โดยไมใ่ ห้การสนบั สนนุ ในลักษณะของการใหส้ ่ิงของหรือการเขา้ ไปดาเนนิ การแทน

15

ข้อ 4 หากมีปัญหา ข้อขัดข้อง ในการดาเนินงานตามอานาจและหน้าท่ีขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดตามท่ีกาหนดไว้ในข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทาหน้าท่ีในการวินิจฉัยและ
ดาเนินการตามประกาศน้ี

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีถือเป็นหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีสาคัญที่จะดูแล
ความเป็นอยู่ของประชาชนในจังหวัดให้มีความสุข ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้มี
การจัดโครงสร้างการบริหารงานแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายนิติบัญญัติ สาหรับการ
แบ่งส่วนราชการฝ่ายบริหารขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งเป็น 1 สานัก 11 กอง และ 1
หนว่ ยตรวจสอบ ดงั นี้

1. สานกั ปลดั องค์การบริหารสว่ นจังหวดั
2. กองกจิ การสภา
3. กองแผนและงบประมาณ
4. กองคลัง
5. กองชา่ ง
6. กองพัสดุและทรัพยส์ ิน
7. กองส่งเสริมคุณภาพชวี ติ
8. กองการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
9. กองทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
10. กองกจิ การพาณชิ ย์
11. กองพัฒนาชนบท
12. กองการเจา้ หน้าที่
13. หนว่ ยตรวจสอบภายใน

การด้าเนินงานการแพทยฉ์ ุกเฉินขององค์การบริหารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี

ในการประชุมวชิ าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และผลักดันงานการแพทยฉ์ ุกเฉินขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน ประจาปี 2561 (ฝ่ายส่งเสริมสาธารณสุข กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต องค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี, 2561) ได้ให้รายละเอียดของงานการแพทย์ฉุกเฉินขององค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี ดงั นี้

1. ความเป็นมาของการแพทยฉ์ ุกเฉินจังหวดั อุบลราชธานีและการจดั หารถพยาบาล
จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่มีพื้นท่ีขนาดใหญ่ เน้ือที่ประมาณ 16,112.61 ตารางกิโลเมตร
หรือประมาณ 10.07 ล้านไร่ ประกอบด้วย 25 อาเภอ ประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีพ้ืนท่ีทุรกันดาร
ติดชายแดนประเทศเพ่ือนบ้าน การเข้าถึงบริการสาธารณสุขเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินค่อนข้างลาบาก เนื่องจาก
ระยะทางจากหมู่บ้านถึงสถานบริการสาธารณสุขบางแห่งอยู่ห่างไกล เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน หน่วยบริการจาก
โรงพยาบาลชุมชนไม่สามารถเข้าถึงจุดเกิดเหตุภายในระยะเวลาอันควร ทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลไม่ทั่วถึง
ทุกพน้ื ที่ การดาเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในจัดหวัดอุบลราชธานีในระยะเริ่มแรก เม่อื วนั ที่ 30
มนี าคม 2547 ศูนยบ์ รกิ ารการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ต้งั อยู่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอบุ ลราชธานี มีหน่วยบริการ
ทีเ่ ข้าร่วมประกอบด้วย

- หน่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินระดับสูง (Advance Life Support : ALS) สังกัด
โรงพยาบาลสรรพสทิ ธิประสงค์ โรงพยาบาลชุมชน จานวน 23 แห่ง

16

- หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินระดับต้น (Basic Life Support : BLS) สังกัดมูลนิธิเอกชน
จานวน 5 หนว่ ย สังกัดสถานอี นามยั 56 หน่วย

- หน่วยปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ เบอื้ งต้น (First Response : FR) สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบล
38 หนว่ ย

แต่ละหน่วยผ่านการประเมินยานพาหนะ เคร่ืองมือตามเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยบริการ ซ่ึงหน่วย
ปฏิบัติการของสถานีอนามัยและองค์การบริหารส่วนตาบล มีการปฏิบัติงานออกเหตุค่อนข้างน้อย จากผล
การปฏิบัตงิ านของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินระยะแรก ปี พ.ศ. 2548 ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินทั้งสิ้น
5,271 คร้ัง เฉล่ียวันละ 14 ราย ร้อยละ 5.77 ของผู้ป่วยฉุกเฉิน ปี พ.ศ. 2549 ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ทั้งสิ้น 6,201 ครั้ง เฉลี่ยวันละ 16 ราย ร้อยละ 7.08 ของผู้ป่วยฉุกเฉิน (สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
อบุ ลราชธานี : 2549) เนอื่ งจากมขี อ้ จากดั ดา้ นบคุ ลากร รวมทงั้ ขาดการประชาสัมพันธใ์ นภาพกว้าง

ในปี พ.ศ. 2549 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการประสานจากสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ในฐานะสานักระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินประจาจังหวัด เพ่ือร่วมกัน
พฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจงั หวัดอุบลราชธานี โดยจัดทาโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์
ฉุกเฉินจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี และกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุม
พื้นท่ีในจังหวัดอุบลราชธานี ในการให้บริการประชาชนที่เจ็บป่วยอย่างทั่วถึง ซึ่งประกอบด้วยการจัดระบบ
การแจ้งเหตุ การพัฒนาบุคลากรให้ได้มาตรฐาน มีความมั่นคงสามารถประกอบอาชีพ มีรายได้ม่ันคง
มีการบริหารจัดการระบบให้เกิดความย่ังยืน การจัดให้มีรถพยาบาลฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานในการรับส่งผูป้ ่วย
โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้สนับสนุนรถพยาบาลฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยชีวิตตาม
มาตรฐาน จานวน 42 คัน เพ่ือประจาหน่วยบริการทั้ง 25 อาเภอ ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี มีหน่วยงาน
รบั ผิดชอบ 4 หน่วยงาน ดังนี้

1) จังหวัดอุบลราชธานี ได้มอบหมายให้สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานีเป็นหน่วยงาน
สนับสนุนการบริหารระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีหน่วยบริการให้
ครอบคลมุ การบรกิ ารประชาชนไดอ้ ย่างทั่วถึง

2) สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนระบบบริการ
การแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดอุบลราชธานี โดยจ่ายล่วงหน้าเป็นคาชดเชยการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ตาม
ปริมาณงานทเ่ี กดิ ขึน้ จริง

3) กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาวิชาการและการพัฒนาบุคลากรทั้งการติดตามและประเมินผล
เพอื่ พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉนิ ของจังหวดั อุบลราชธานอี ย่างตอ่ เนือ่ ง และการดาเนินงานของศูนย์
ส่ังการการแพทย์ฉุกเฉนิ จงั หวัดอบุ ลราชธานี

4) องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี สนับสนุนรถพยาบาลฉุกเฉิน จานวน 42 คัน ถือเป็น
ความสาเร็จก้าวแรกในการประสานความร่วมมืออย่างมีส่วนร่วม โดยจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วมกับผู้นา
ท้องถ่ิน เพ่ือสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ เพื่อร่วมกาหนดรูปแบบการบริหารจัดการระบบบริการการแพทย์
ฉุกเฉินจังหวัดอุบลราชธานี ท้ังในด้านงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และการบริหารจัดการหน่วย
บรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉินและระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

ปี พ.ศ. 2550 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มูลนิธิ และ
สมาคมมีความประสงคข์ อรับการสนบั สนนุ รถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เน่ืองจากจานวนที่มอี ยู่ไม่เพยี งพอใน
การบริการประชาชน และจากสถิติทผ่ี ่านมาของหนว่ ยกูช้ ีพเฉลิมราชย์ 60 ปี ได้ให้บริการนาส่งผปู้ ่วยฉกุ เฉิน

17

ไปยังสถานพยาบาลจานวนมาก องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี จึงได้จัดหารถพยาบาลฉุกเฉินโดย
วธิ กี ารเชา่ เพิม่ ข้นึ อีก จานวน 18 คัน

ปี พ.ศ.2553 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี เช่ารถกระบะดัดแปลงหลังคายกสูงพร้อม
อุปกรณ์ช่วยชีวิต จานวน 60 คัน (ทดแทน 42 คัน และ 18 คัน ที่หมดสัญญาเช่า) เพ่ือให้การดาเนินงาน
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดอุบลราชธานี ดาเนินไปอย่างต่อเน่ือง และเพ่ือให้มีระบบบริการ
การแพทย์ฉุกเฉนิ ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีดี
ท่ีประชาชนม่ันใจในการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ ซึ่งเป็นการสานต่อนโยบายรัฐบาลในการสร้าง
หลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมประชากรคนไทยทุกคน เพ่ือให้ทุกคนได้รับบริการอย่างมีคุณภาพตาม
ความจาเปน็ อยา่ งเสมอภาคเท่าเทียมกันดว้ ยระบบการบริหารจดั การและการบริการทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

ปี พ.ศ. 2554 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมี
ความประสงค์ขอรับการสนับสนุนรถบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพิ่ม เนื่องจากจานวนที่มีอยู่ไม่เพียงพอใน
การบริการประชาชนประกอบกับท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัด
อุบลราชธานี มีประเด็น Response time (ร้อยละ 55) ยังอยู่ในเกณฑ์ต่า อาจพิจารณาได้ถึงความ
ครอบคลุมพื้นที่ในการให้บริการ เพื่อรับผิดชอบประชาชน 20,000 คน/หน่วยกู้ชีพ อาจทาให้ลดปัญหา
การเร่งรบี ในการปฏบิ ัติงาน และไดจ้ ัดหารถพยาบาลฉุกเฉนิ เพิ่มอีก จานวน 30 คัน

ปี พ.ศ. 2555 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดตั้งหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน "กู้ชีพ
คุณธรรม" เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษาครบ 84 พรรษาในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
อุบลราชธานี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนรถพยาบาลฉุกเฉินเพ่ิม
เนือ่ งจากจานวนรถพยาบาลทม่ี ีอย่ไู มเ่ พยี งพอในการใหบ้ ริการ และเพือ่ พัฒนาระบบบริการการแพทยฉ์ ุกเฉิน
จังหวัดอุบลราชธานี โดยขยายเครือข่ายลงสู่ท้องถ่ิน ครอบคลุมพ้ืนท่ีทุกตาบล ประกอบกับผู้ว่าราชการ
จังหวัดอุบลราชธานี มีนโยบายให้ดาเนินการ 1 ตาบล 1 หน่วยกู้ชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบ
บริการกู้ชพี กู้ภยั และเป็นการเตรยี มความพรอ้ มในการเผชิญเหตุ และช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อยา่ งถกู ต้อง
การให้การรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุก่อนนาส่งโรงพยาบาล (Emergency
Medical Service) เป็นบริการข้ันพื้นฐานท่ีประชาชนพึงได้รับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี จึง
ได้จัดหารถยนต์กระบะดดั แปลง เป็นรถพยาบาลฉุกเฉินพรอ้ มอปุ กรณช์ ่วยชีวติ จานวน 130 คัน และรถยนต์
ตู้ดัดแปลง เปน็ รถพยาบาลฉุกเฉินพร้อมอปุ กรณช์ ่วยชวี ิต จานวน 2 คนั

ปี พ.ศ.2557 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ดาเนินโครงการเช่ารถปฏิบัติการฉุกเฉิน
เนื่องจากสานัก งานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความประสงค์ขอรับ
การสนับสนุนรถพยาบาลฉุกเฉิน ทดแทนรถพยาบาลฉุกเฉินที่หมดสัญญาเช่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานี จงึ ได้จดั หารถยนตก์ ระบะดัดแปลง เป็นรถพยาบาลฉุกเฉินพร้อมอปุ กรณ์ช่วยชีวิต จานวน 60
คัน และ 26 คัน (คนละสัญญาเช่า) และรถยนต์ตู้ดัดแปลง เป็นรถพยาบาลฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยชีวิต
จานวน 4 คัน รวมเปน็ 90 คัน

ปี พ.ศ. 2558 องค์การบริหารสว่ นจังหวัดอุบลราชธานี ได้รบั แจ้งความประสงค์ขอรับการสนับสนุน
รถพยาบาลฉุกเฉิน จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทดแทน
รถพยาบาลฉุกเฉนิ ทีห่ มดสญั ญาเชา่ จานวน 110 คัน ซ่ึงปจั จบุ นั อยู่ในระหว่างดาเนินการจดั หา

18

ตารางท่ี 2.4 จานวนการจดั หารถพยาบาลฉุกเฉนิ ขององค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี

ปงี บประมาณ จ้านวนรถพยาบาลฉกุ เฉนิ (คัน)

พ.ศ. 2549 รถยนต์กระบะดดั แปลง รถยนตต์ ูด้ ัดแปลง
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2553 42 -

พ.ศ. 2554 18 -
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2557 60 -

(ทดแทน 42 คนั และ 18 คัน

ทีห่ มดสัญญาเชา่ )

30 -

130 2

60 -

(ทดแทน 60 คนั ทีห่ มดสัญญาเชา่ )

26 4

(ทดแทน 26 คัน ทหี่ มดสัญญาเช่า)

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้ดาเนินการและพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
มาอย่างต่อเน่ือง โดยหน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุนรถพยาบาลฉุกเฉินจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุบลราชธานีจะต้องเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ร่วมกัน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดาเนินงานและบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินของจังห วัด
อุบลราชธานี กาหนดบทบาทและภารกจิ หนา้ ทข่ี องแตล่ ะหน่วยงานอยา่ งชดั เจน

2. การบริหารจัดการระบบการรับแจ้งเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการจังหวัด
อุบลราชธานี

องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ได้รับการถ่ายโอนภารกิจงานศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
จังหวัดอุบลราชธานี จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี เม่ือเดือน พฤษภาคม 2557 เป็นศูนย์
รับแจ้งเหตุและสังการจังหวัดแห่งแรกของประเทศไทยที่ดาเนินงานและบริหารจัดการโดยองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด โดยเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุทุกเหตุนอกเหนือจากเหตุการแพทย์ฉุกเฉินเพียงอย่างเดียว ภายใต้
ระบบที่เรียกว่า Integrate Emergency Management System (I-EMS) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
ประชาชน โดยมีการวางโครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยีการสื่อสารเพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้รวดเร็ว
ง่าย สะดวก จากเดิม 8 คู่สาย เป็น 50 คู่สาย ซึ่งเพียงพอสาหรับการให้บริการ มีระบบควบคุมและอานวย
ความสะดวกในการใช้งานโทรศพั ท์โดยผา่ นตู้ควบคมุ ตสู้ าขาอตั โนมตั ิ (PASX) ระบบ Hybrid IP PBX PABX
ทาหน้าท่ีบันทึกหมายเลขโทรศัพท์และการประชุมสาย การเชื่อมสัญญาณไปสู่หมายเลขภายนอกอ่ืน เช่น
191 (ตารวจ) 1129 (ไฟฟ้า) เพ่ือให้ประชาชนสามารถแจ้งเหตุอ่ืน บริการด้านไฟฟ้าขัดข้อง เพลิงไหม้ เป็น
ต้น ตลอดจนให้คาปรึกษาด้านสุขภาพ การนาส่งผู้ป่วยระยะสุดท้ายกลับไปเสียชีวิตท่ีบ้าน (โครงการ
พาคนรกั กลบั บา้ น) รวมไวใ้ นหมายเลขเดียว คอื 1669 บรกิ ารตลอด 24 ชวั่ โมง

19

2.1 หนา้ ทแ่ี ละเป้าหมาย
การรับแจ้งเหตุ การสั่งการ การควบคุม กากับ พร้อมให้คาปรึกษาแก่หน่วยปฏิบัติการ ขณะที่
กาลังปฏิบตั กิ ารเพ่อื ให้เป็นไปตามมาตรฐานทีส่ ถาบนั การแพทยฉ์ กุ เฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กาหนด
2.2 ขอบเขตการให้บริการ
เปน็ ศูนย์ประสานงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Integrate Emergency Medical Service :
I-EMS) รับแจ้งเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุ ทางโทรศัพท์ หมายเลข 1669 ทางวิทยุสื่อสาร และทาการ
สอบถามข้อมูลผู้เจ็บป่วย / ข้อมูลสถานที่เกิดเหตุ การคัดกรองอาการ/ การให้คาแนะนาเบื้องต้นก่อน
รถพยาบาลไปถึง การจัดหน่วยปฏิบัติการออกไปชว่ ยเหลือ การประสานงาน / ส่ังการทีมปฏิบัติการในพื้นท่ี
การประสานงานหน่วยปฏิบัติการเพ่ือจัดบริการการช่วยเหลือนาส่งสถานพยาบาล และสิ้นสุดท่ีการบันทึก
และจัดเกบ็ ข้อมลู / การรบั รายงานผลการปฏิบัติการของทมี ปฏิบตั ิการ
กรณีการแจ้งเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ เช่น ไฟไหม้ ไฟฟ้าดบั นา้ ท่วม น้าไม่ไหล งูเข้าบ้าน โครงการพา
คนรักกลับบ้าน หรือให้คาปรึกษาปัญหาสุขภาพหรือให้คาแนะนาทางโทรศัพท์แก่ประชาชนโดยพยาบาล
วิชาชพี และบคุ ลากรสาธารณสขุ
2.3 ความตอ้ งการของผูร้ บั บริการ

ตารางท่ี 2.5 ความตอ้ งการของผู้รับบริการงานระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน

ผรู้ บั บริการ ความต้องการของผูร้ ับบริการ
ผปู้ ว่ ยและญาติ / ผแู้ จง้ เหตุ
-ประชาชนได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน และ
หนว่ ยปฏิบัตกิ าร รวดเรว็
โรงพยาบาลทีน่ าส่ง - สอบถามข้อมูลด้วยความกระชับ รวดเร็ว และได้รับการช่วยเหลืออย่าง
ถูกตอ้ ง และรวดเรว็

-ได้รับข้อมูลท่ีถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน รวดเร็ว จากศูนย์รับแจ้งเหตุและ
สั่งการ

-ได้รับการประสานการนาส่ง / ข้อมูลก่อนชุดปฏิบัติการจะนาผู้ป่วยส่ง
โรงพยาบาล

2.4 ทรัพยากรบุคคล

อัตรากาลังบุคลากรท่ีปฏิบัติงานผลัดเปลี่ยนเวรกันตลอด 24 ช่ัวโมง ประจาศูนย์รับแจ้ง

เหตุและส่ังการจงั หวัดอุบลราชธานี ประกอบด้วย

1) แพทยอ์ านวยการปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน (Medical Director) จานวน 1 คน

2) ผกู้ ากับการปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ (Supervisor) จานวน 2 คน

3) ผู้จ่ายงานการปฏิบตั ิการฉกุ เฉิน (Emergency Medical Dispatcher) จานวน 15 คน

4) ผู้ประสานงานเหตุการณ์ (Co-ordinator) จานวน 4 คน

5) ผู้รับแจง้ และจ่ายงาน (Call Taker & Dispatcher) จานวน 27 คน

20

ตารางที่ 2.6 ตารางการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรศูนย์รับแจ้งเหตแุ ละสัง่ การจงั หวดั อุบลราชธานี

ลา้ ดบั การปฏบิ ตั ิงาน เวรเชา้ เวรบ่าย เวรดกึ

1 แพทยอ์ านวยการปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉิน (คน) (คน) (คน)
2 ผกู้ ากบั การปฏิบตั ิการฉกุ เฉิน
3 ผจู้ า่ ยงานการปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ 111
4 ผปู้ ระสานงานเหตุการณ์
5 ผรู้ บั แจ้งและจ่ายงาน 222

รวม 111

111

775

12 12 9

2.6 บทบาทหน้าที่ของบุคลากรศูนยร์ ับแจ้งเหตุและสง่ั การ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานโครงสร้างบุคลากรของศูนย์รับแจง้ เหตุและสง่ั การท่ีเหมาะสม และ

สอดคล้องภายใต้ระเบียบและข้อกาหนดของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ
จังหวัดอุบลราชธานี จึงปรับโครงสร้างดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐานกลาง โดยมีโครงสร้างด้านบุคลากร
ดงั นี้

2.6.1 หัวหน้าศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ ปฏิบัติงาน ตาแหน่ง หัวหน้าฝ่ายส่งเสริม
สาธารณสุข (นักบริหารงานสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม ระดับต้น) หน้าท่ีและความรับผิดชอบหลัก ซึ่งมี
ลักษณะงานที่เก่ียวกับการวางแผน การบริหารจัดการ จัดระบบงาน อานวยการ สั่งราชการ มอบหมาย
กากับ แนะนา ตรวจสอบประเมินผลงาน ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในงานที่ต้องใช้ความรู้ ความชานาญงานเฉพาะ
ด้าน ซึ่งลักษณะหน้าท่ีรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.จ. กาหนด
และปฏิบัติงานอ่ืนตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้

1) ด้านแผนงาน
- ร่วมกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายแนวทาง เพื่อวางแผนและ

จัดทาแผนงานโครงการในการพฒั นาศูนย์รบั แจง้ เหตฯุ
- ร่วมวางแผนงาน/โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงานของศูนย์รับแจ้งเหตุฯ รวมท้ัง

เป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือเป็นแบบแผนในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพสงู สุดและสอดคล้องนโยบายและแผนกลยทุ ธ์ของหน่วยงาน

- ติดตาม เร่งรัด การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการหรือ
แผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนประเมินผลและรายงานการดาเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายแล ะ
ผลสมั ฤทธขิ์ องหน่วยงานตามท่ีกาหนดไว้

- ร่วมวางแผน และกาหนดนโยบายสาธารณสุขในพ้ืนท่ี เพ่ือควบคุมดูแลให้ประชาชน
ในท้องถิ่นมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี

21

- ร่วมวางแผนแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนวทางกาหนดและพัฒนา
มาตรฐานและกลวิธีในการดาเนินงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนการทางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ภายใต้
ข้อจากัดทางดา้ นงบประมาณ บคุ ลากร และเวลา

- ค้นคว้าประยุกต์เทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในภารกิจของ
หน่วยงานในภาพรวมเพื่อนามาปรับปรุงในการปฏิบัติงาน ระบบงาน หรือกระบวนการทางานมี
ประสิทธิภาพมากขึน้

- วางแผนการให้บริการประชาชน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน และประมวลผล
วเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิตทิ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับงานให้สอดคลอ้ งกับปญั หา

2) ด้านบรหิ ารงาน
- จัดระบบงานของศูนย์รับแจ้งเหตุฯ และวิธีการปฏิบัติราชการ เพ่ือเป็นแนวทาง

ปฏบิ ตั ริ าชการของเจา้ หน้าที่
- มอบหมาย กากบั ดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ใหค้ าแนะนา ปรับปรงุ แกไ้ ข ในเร่อื งต่าง ๆ

ท่ีเกี่ยวขอ้ งเพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านบรรลเุ ปา้ หมายและผลสมั ฤทธ์ติ ามที่กาหนดไว้
- พิจารณาอนุมัติ อนุญาตการดาเนินการต่าง ๆ ตามภารกิจท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้บรรลุ

เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามท่ีกาหนดไว้
- ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ เอกชน และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง

เพื่อเกิดความรว่ มมอื หรือบูรณาการงานใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนผู้รับบริการ
- ช้ีแจงข้อเท็จจริง พิจารณาให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในท่ีประชุมคณะกรรมการ

และคณะทางานต่าง ๆ ที่ได้รับแต่งต้ัง หรือเวทีเจรจาต่าง ๆ ในฐานะผู้แทนหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อ
รกั ษาผลประโยชนข์ องทางราชการและประเทศชาติ

- มอบหมาย ตรวจสอบ ติดตาม ให้คาแนะนา ปรับปรุงแก้ไข และควบคุมดูแลการ
ให้บริการของศูนย์รับแจ้งเหตุฯ เพื่ออานวยการให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ดี และได้รับบริการที่รวดเร็ว
มีมาตรฐานถกู ตอ้ งและมีประสิทธภิ าพสูงสุด

- ตอบปัญหา ชี้แจงและดาเนินการเป็นกรรมการหรือผู้บริหารงานตามภารกิจที่ได้รับ
มอบหมาย เช่น เปน็ กรรมการตรวจรบั พัสดุ เปน็ ตน้ เพือ่ ควบคมุ ให้ภารกิจดังกลา่ วเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไวอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพสูงสดุ

- ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ เอกชน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือให้เกิดความร่วมมือหรือบูรณาการงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นประโยชน์ต่อประชาชน และอานวยการ
ปฏิบัติงานและสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ี
สังกดั บรรลภุ ารกิจทีก่ าหนดไว้

- กาหนดนโยบายด้านการบริหารงานของศูนย์รับแจ้งเหตุฯ สนับสนุนการดาเนินงาน
ในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนามาตรฐานและใช้ในการดาเนินงาน การเสนอแนวทางกาหนดการพัฒนา

22

มาตรฐานและวิธีการดาเนินงานของศูนย์รับแจ้งเหตุฯ ให้มีคุณภาพโดยยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี
เพื่อประโยชนส์ ุขของประชาชน

- จัดระบบการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนวิเคราะห์ผลดี ผลกระทบ
ปญั หา อุปสรรค เพื่อให้การสนับสนุนหรอื ทาการปรบั ปรงุ แก้ไข

- อานวยการ ปฏิบัติงานและสนับสนุนงานอ่ืน ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุน
ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ที่สังกัดบรรลภุ ารกิจที่กาหนดไว้

3) ดา้ นการบรหิ ารงานทรพั ยากรบุคคล
- จัดระบบงานและอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ในศูนย์รับแจ้งเหตุฯ ให้สอดคล้องกับภารกิจ

ปรมิ าณงานและงบประมาณเพ่ือให้ปฏบิ ัติราชการเกิดประสิทธภิ าพ และความคมุ้ คา่
- ติดตามและประเมินผลงานของเจ้าหน้าท่ีในบังคับบัญชา เพื่อให้การปฏิบัติงาน

สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคข์ องหนว่ ยงาน และบรรลเุ ปา้ หมายและผลสัมฤทธ์ิตามท่ีกาหนดไว้
- ให้คาปรึกษา แนะนา ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในบังคับ

บญั ชา ให้มีความสามารถ และสมรรถนะท่ีเหมาะสมกบั งานท่ปี ฏบิ ัติ
- จัดรูปแบบและวางแนวทางการปฏิบัติราชการของบุคลากรในศูนย์รบั แจง้ เหตุฯ ให้มี

ความเหมาะสม และมีความยืดหย่นุ ต่อการปฏบิ ัติงาน โดยกาหนดหรอื มอบอานาจให้เจา้ หน้าท่ี ทม่ี ีลกั ษณะ
งานสอดคลอ้ งหรอื เก้อื กูลกนั สามารถปฏิบัติงานแทนกนั ได้ทุกตาแหน่ง เพ่ือให้การดาเนินงานคลอ่ งตัวและมี
ความต่อเน่ือง

- สอนงาน พัฒนาการปฏิบัติงาน ฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
เพอ่ื พฒั นาเจ้าหนา้ ทที่ กี่ ากับ ใหม้ ีความเชยี่ วชาญ และสามารถปฏิบัติงานใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างยัง่ ยนื

4) ดา้ นบรหิ ารทรัพยากรและงบประมาณ
- กาหนดนโยบายและวางแผนการให้ทรัพยากร และงบประมาณ เพ่ือให้สอดคล้องกับ

นโยบาย พันธกจิ และเปน็ ไปตามเปา้ หมายของส่วนราชการ
- ติดตาม ตรวจสอบ การใช้ทรัพยากรและงบประมาณ ให้เกิดประสิทธิภาพ

ความคุ้มคา่ และเปน็ ไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้
- ควบคุม กากับ ตรวจสอบ การจัดหาพัสดุให้เกิดความโปร่งใสและถูกต้องตาม

ระเบียบเพื่อให้การใช้งบประมาณเกิดความคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุดและริเร่ิม คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้
เกดิ ความเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพ ตอ่ การปฏิบัติงาน

- ร่วมมือหรือวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากร ท้ังด้านงบประมาณ
อาคารสถานท่ี และอปุ กรณใ์ นการทางาน เพื่อใหก้ ารทางานเกดิ ประสทิ ธภิ าพ คมุ้ ค่า และบรรลเุ ป้าหมาย

2.6.2 ผู้กากับการปฏิบัติการฉุกเฉิน (Supervisor) ปฏิบัติงาน ตาแหน่งพยาบาลวิชาชีพ
มีคุณสมบตั ิผ่านการอบรมหลักสูตรผกู้ ากบั การปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินตามท่ี อศป. กาหนด ซ่ึงต้องผ่านการแต่งต้ัง
จากผู้บริหารการแพทย์ฉุกเฉินหรือตกลงหรือมอบหมายตามกฎหมายหรือตามสัญญาด้วยการช้ีแนะของ
แพทยอ์ านวยการปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉิน โดยมอี านาจหน้าที่ ขอบเขต ความรบั ผิดชอบ และข้อจากัดในการกากับ

23

การตามการอานวยการ คาสั่งการแพทย์ หรือคาสั่งประจา รวมท้ังช่วยอานวยการในการวิเคราะห์ วางแผน
กาหนด และดาเนินการแผนงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินในท้องถิ่นหรือพ้ืนที่น้ัน และการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ของหนว่ ยปฏิบัตกิ ารและสถานพยาบาล ดังนี้

1) ควบคุม กากับ การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานในศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

2) เปน็ ทปี่ รึกษา และช่วยแกไ้ ขปัญหา ที่เกินศักยภาพของผู้ปฏิบัติการอานวยการทุกระดับ
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ วิจยั และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแกผ่ บู้ รหิ ารระดบั สูง
4) จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบตั ิการของผปู้ ฏบิ ตั กิ ารอานวยการได้อย่างเหมาะสม
5) จดั ตารางมอบหมายหน้าท่ีให้บุคลากรในศนู ย์รับแจง้ เหตุและสั่งการทุกระดบั ได้อย่าง
เหมาะสม
6) ประสานงานกับแพทย์อานวยการปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินได้อย่างเหมาะสม
7) บรหิ ารจัดการความเสย่ี งของศูนย์รบั แจ้งเหตแุ ละสง่ั การได้อยา่ งเหมาะสม
8) บรหิ ารจัดการข้อมลู และทรัพยากรในสถานการณ์สาธารณภัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
9) ชว่ ยผ้ปู ฏิบตั งิ านในบทบาทหน้าท่ีของพนักงานรบั แจ้งการเจ็บปว่ ยฉุกเฉนิ ผูป้ ระสาน
ปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ และผจู้ า่ ยงานปฏิบัติการฉุกเฉินได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
10) ใหค้ าแนะนาวธิ ีการคัดแยกและให้คาแนะนาแก่ผปู้ ฏบิ ัติงานในศนู ยร์ บั แจ้งเหตแุ ละส่ัง
การทุกระดับไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
11) ให้คาปรึกษาการจัดการความเครียดแก่พนักงานรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉินผู้ประสาน
ปฏิบัตกิ ารฉุกเฉนิ และผูจ้ า่ ยงานปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินได้อยา่ งเหมาะสม
2.6.3 ผู้จา่ ยงานปฏบิ ัติการฉุกเฉิน (Emergency Medical Dispatcher) ทาหนา้ ท่ีจ่ายงานและชว่ ย
กากับการ โดยมีอานาจ หน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบและข้อจากัดในการจ่ายงานตามการอานวยการ
คาสั่งการแพทย์ หรือคาสั่งประจา รวมทั้งช่วยกากับการปฏิบัติการฉุกเฉินในท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ีนั้น และ
การปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ ของหน่วยปฏิบัติการและสถานพยาบาล ดงั น้ี
1) ประเมนิ คัดแยกและจดั ลาดับระดบั ความรนุ แรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉนิ ได้อย่างถูกต้อง
2) ให้คาแนะนาในการดูแลแก้ไขภาวะฉุกเฉินเบอื้ งต้น ก่อนชุดปฏิบัติการไปถงึ ท่ีเกิดเหตุได้
อยา่ งถกู ต้อง
3) ดาเนินการชว่ ยเหลือที่เหมาะสมกับเหตกุ ารณ์
4) จ่ายงานชดุ ปฏบิ ัตกิ ารทสี่ อดคลอ้ งกบั การคดั แยก
5) ประสานและถ่ายทอดคาสั่งการแพทย์จากแพทย์อานวยการปฏิบัติการฉุกเฉินไปยัง
ผู้ปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินไดอ้ ย่างถูกต้อง
6) ควบคุม กากับการปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามคาส่ังของแพทย์อานวยปฏิบัติการฉุกเฉิน
วเิ คราะห์ขอ้ มลู รบั แจง้ เหตุไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

24

7) บันทึกข้อมูลการจ่ายงานไดอ้ ย่างถูกต้อง
8) ช่วยปฏิบัติงานในบทบาทหน้าท่ีของพนักงานรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉินและผู้ประสาน
การปฏิบัติการฉกุ เฉินได้
9) ตรวจสอบความถูกต้องในการรับแจ้งเหตุและการให้คาแนะนาในการชว่ ยเหลือเบ้ืองต้น
แก่ผแู้ จ้งเหตุ
10) ควบคุม กากับและช่วยเหลือการปฏิบัติงานของพนักงานรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
และผูป้ ระสานปฏิบัติการฉกุ เฉนิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามสถานการณ์
11) ใหค้ าแนะนาวธิ กี ารช่วยเหลือแก่ผูแ้ จง้ เหตุและผปู้ ฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ ได้อยา่ งถกู ต้อง
12) ให้คาปรึกษาการจัดการความเครียดแก่พนักงานรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉินและ
ผูป้ ระสานปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ได้อย่างถกู ต้อง
2.6.4 ผู้ประสานปฏิบัติการฉุกเฉิน (Co-ordinator) ผู้บริหารการแพทย์ฉุกเฉินแต่งต้ังหรือตกลง
หรือมอบหมายตามกฎหมายหรอื ตามสัญญาดว้ ยการชี้แนะของแพทยอ์ านวยการปฏบิ ัติการฉุกเฉินทาหน้าท่ี
1) การประสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง
2) การติดตามการปฏบิ ตั ิงานของชดุ ปฏิบตั กิ าร และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้องจนสน้ิ สุด
การปฏบิ ัตงิ าน
3) การรายงานผลการประสานแก่ผู้จ่ายงานปฏบิ ตั ิการฉุกเฉิน
4) การบันทึกข้อมูลการประสานงาน
5) การปฏบิ ตั งิ านในบทบาทหน้าท่ีของพนักงานรับแจ้งการเจ็บปว่ ยฉกุ เฉิน เมอื่ จาเป็น
6) การชว่ ยจา่ ยงานปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน
2.6.5 พนักงานรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน (Call taker) มีการควบคุมกากับการรับแจ้งเหตุทาง
โทรศัพท์ และคาช้ีแนะของพยาบาลวิชาชีพประจาศูนย์ฯ และแพทย์อานวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน เพ่ือให้
ประชาชนได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินท่ีมีคุณภาพ มาตรฐานและรวดเร็ว ตลอด 24 ชั่วโมง มีบทบาท
หนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ ดังนี้
1) การรับแจ้งการเจบ็ ป่วยฉกุ เฉิน
2) การให้คาแนะนาท่จี าเป็นเบื้องต้นแกผ่ ูแ้ จง้ การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
3) การรายงานขอ้ มูลการรบั แจง้ แก่ผู้จา่ ยงานเพ่ือการดาเนินการทเี่ หมาะสมกับเหตุการณ์
4) การบันทึกข้อมูลการรับแจ้ง
5) การช่วยประสานการปฏิบัติการฉุกเฉิน

แนวคิดเกี่ยวกบั การให้บรกิ ารสาธารณะ

สุริยะ วิริยะสวัสด์ิ (2530) ได้ให้ความหมายเก่ียวกับการให้บริการสาธารณะว่าเป็นการให้บริการ
ของเจ้าหน้าท่ีองค์กรรัฐบาล ซ่ึงสิ่งท่ีรัฐบาลมอบบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญต่อ
ความเป็นอยู่ของประชาชน เป็นส่งิ ทีป่ ระชาชนหลีกเล่ียงท่ีจะไปรับบริการไมไ่ ด้ และนับวันการให้บริการของ
รัฐบาลยิง่ เพ่มิ ความสาคญั มากข้ึน

25

บรรจบ กาญจนดุล (2533) ได้ให้ความหมายว่า การให้บริการสาธารณะ หมายถึง กิจการ
ทุกประเภทที่รัฐบาลจัดทาขึ้นเพ่ือสนองความต้องการส่วนรวมของประชาชนซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ได้แก่ กิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการท่ีได้รับความปลอดภัยอย่างหนึ่ง และกิจกรรมที่ตอบสนอง
ความต้องการในดา้ นความสะดวกสบายในการดาเนนิ ชีวติ อยา่ งหนึ่ง

เมคคัลโลว (Mecullough, 1989 : 8) ได้ให้คานิยามของการให้บริการสาธารณะว่าต้องประกอบ
ดว้ ยสว่ นสาคญั 3 ส่วน คือ

1. หนว่ ยส่งมอบบริการ เป็นหน่วยงานที่ทาการผลิตและรับมอบบริการนั้นไปสู่ผู้ใช้บริการ ซ่ึงความ
รับผิดขอบในการส่งมอบบริการของแต่ละหน่วยงานก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ลักษณะและบทบาทหน้าที่
ของแตล่ ะหนว่ ยงาน

2. บริการ คือ ประโยชน์ที่หน่วยงานได้ส่งมอบต่อผู้รับบริการ ระดับบริการเหล่าน้ีจะแตกต่างกนั ไป
ตามระดับคณุ ภาพของการบริการ ซง่ึ ตดั สนิ ด้วยตน้ ทนุ ของการจดั ทาและสง่ มอบบริการน้นั

3. ผู้รับบริการ คือ ผู้ใช้บริการและผู้รับประโยชน์จากการบริการ ประโยชน์ของคุณค่าบริการน้ัน
ผู้รับบริการจะตระหนักได้ในจิตใจ (ประโยชน์ในที่น้ีต้องเกิดจากการบริการที่ได้รับจริง เช่น ได้รับบริการ
น้าประปาหรอื ได้รับบริการเกบ็ ขยะ)

แนวคิดเกยี่ วกบั หลักการใหบ้ ริการ

กลุ ธน ธนาพงศธร (2530 : 303-304) ชีใ้ หเ้ ห็นถึงหลักการให้บรกิ ารทีส่ าคัญมี 6 ประการ คือ
1. หลักความสอดคล้องกับความต้องการของบุคคลเป็นส่วนใหญ่ กล่าวคือ ประโยชน์และ
การบริการที่องค์การจัดให้น้ันจะต้องตอบสนองความต้องการของบุคลากรเป็นส่วนใหญ่หรือท้ังหมด มิใช่
เป็นการจัดใหบ้ ุคคลกล่มุ หน่งึ โดยเฉพาะ
2. หลักความสม่าเสมอ คือ การให้ประโยชน์และบริการนั้น ๆ จะต้องดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ มิใช่ทา ๆ หยุด ๆ ตามความพอใจของผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ท้ังนี้เพราะถ้าหากดาเนินการ
อย่างไมต่ อ่ เน่ืองแลว้ จะทาใหบ้ ุคลากรขององค์การไม่เกิดความรู้สึกผูกพนั และจงรักภักดีตอ่ องค์การได้
3. หลักการตอบสนองความต้องการอย่างแท้จริงของบุคลากร ประโยชน์และบริการท่ีจะจัดให้
จะต้องตอบสนองความต้องการอย่างแท้จริงของบุคลากร มิใช่ตรงตามความต้องการของผู้บริหารระดับสูง
ดังนั้น ควรมีการสารวจความต้องการท่ีแท้จริงของบุคลากรในองค์กรก่อนเพ่ือให้ประโยชน์และบริการ
ท่จี ดั สง่ ให้ไม่สญู เปล่า
4. หลักความเสมอภาค บริการที่จัดให้น้ันจะต้องให้แก่ผู้มาใช้บริการทุกคนอย่างสม่าเสมอและ
เท่าเทียมกัน ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคล เลือกปฏิบัติแก่ผู้ใดหรือกลุ่มใดในลักษณะที่แตกต่างจาก
กลุม่ อืน่ อย่างเหน็ ได้ชัดเจน
5. หลกั ความประหยดั ค่าใชจ้ ่ายท่ตี ้องใชใ้ นการบริการจะต้องไม่มากเกนิ กวา่ ทจ่ี ะไดร้ บั
6. หลักความสะอาด บริการที่จัดให้แก่ผู้มารับบริการ จะต้องเป็นลักษณะท่ีปฏิบัติได้ง่าย
สะดวกสบาย ส้ินเปลืองทรัพยากรไม่มากนัก ท้ังยังไม่เป็นการสร้างภาระยุ่งยากใจให้แก่ผู้ให้บริการหรือ
ผู้ใชบ้ รกิ ารจนเกินไป

26

แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจ

ความหมายของความพึงพอใจ ได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจใน
ลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี

Applewhite (1965 : 6) ได้ให้ความหมายของความพงึ พอใจไว้วา่ เปน็ ความสุข ความสบายที่ได้รับ
จากสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ เปน็ ความสขุ ความสบายทีเ่ กิดจากการเขา้ รว่ มได้รู้ได้เหน็ ในกิจกรรมนัน้ ๆ

Donabedian (1980) กล่าวว่า ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายถึง ผู้บริการประสบ
ความสาเร็จในการทาให้สมดุลระหว่างส่ิงที่ผู้รับบริการให้ค่ากับความคาดหวังของผู้รับบริการ และ
ประสบการณน์ ้นั เปน็ ไปตามความคาดหวัง

Wolman (1973 : 384) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึงความรู้สึกมีสุขเมื่อคนเรา
ไดร้ ับความสาเร็จตามจุดมงุ่ หมาย ความต้องการ หรือแรงจูงใจ

ชริณี เดชจินดา (2530 : 50) กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติที่มีต่อส่ิงใด
สิ่งหน่ึงหรือปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเม่ือความต้อ งการของบุคคลได้รับ
การตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดขึ้นหากความ
ต้องการหรอื จดุ มุ่งหมายนัน้ ไม่ได้รับการตอบสนอง

จากความหมายที่กลา่ วมาท้ังหมด สรุปความหมายของความพึงพอใจไดว้ ่า เปน็ ความรสู้ ึกของบุคคล
ในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจต่อสภาพแวดล้อมในดา้ นต่าง ๆ หรือเป็นความรู้สึกท่ีพอใจ
ตอ่ สิง่ ทีท่ าให้เกดิ ความชอบ ความสบายใจ และเปน็ ความรสู้ กึ ทบี่ รรลุถึงความต้องการ

ความพงึ พอใจในบรกิ าร
ความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถึง ระดับความรู้สึกของผู้ใช้ที่มีผลมาจากการเปรียบเทียบ
ระหว่างสิ่งท่ีไดร้ ับกับส่งิ ท่ีคาดหวัง ระดับความพงึ พอใจของผู้ใช้เกิดจากความแตกต่างระหวา่ งส่ิงที่ได้รับกับ
ส่ิงท่ีคาดหวัง (สมิต สัชฌุกร, 2542 : 18) ซ่ึงหากพิจารณาถึงความพึงพอใจของการบริการว่าจะเกิด
ความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด ถ้าได้รับการบริการต่ากว่าความคาดหวังทาให้เกิดความไม่พอใจ แต่ถ้า
ระดบั ผลของการบริการสงู กว่าความคาดหวัง ผ้ใู ช้ก็จะเกดิ ความประทับใจ ก็จะส่งผลให้ผใู้ ชก้ ลับไปใช้บรกิ าร
ซ้าอีก จงึ กล่าวได้วา่ ความพึงพอใจในบริการหมายความถงึ การแสดงออกถึงความรู้สกึ ในทางบวกของบุคคล
อันเป็นผลมาจากการเปรียบเทียบการรับรู้สิ่งที่ได้รับจากการบริการ ไม่ว่าจะเป็นการรับบริการหรือการให้
บริการในระดับที่ตรงกับการรับรู้ส่ิงท่ีคาดหวังเกี่ยวกับการบริการน้ัน ซ่ึงจะเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของ
ผู้รบั บริการและความพงึ พอใจในงานของผใู้ หบ้ ริการ
Millet (1954 : 397-400) ชี้ให้เห็นความสาคัญของการบริการ คือ การสร้างความพึงพอใจใน
การให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนโดยมหี ลกั และแนวทางคอื
1. การให้บริการอย่างเสมอภาค คือ การบริการท่ีมีความยุติธรรม ทุกคนเท่าเทียมกัน ได้รับ
การปฏิบัติเหมือนกัน ไม่มีการแบ่งแยกกีดกันในการให้บริการ และใช้มาตรฐานการบริการเดียวกัน ดังน้ัน
ประชาชนทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันในแง่มุมของกฎหมาย ไม่มีการแบ่งแยกกีดกันใน
การให้บริการ ประชาชนจะได้รบั การปฏิบตั ิในฐานะท่เี ป็นปัจเจกบคุ คลที่ใช้มาตรฐานการให้บรกิ ารเดียวกนั
2. การใหบ้ ริการทท่ี นั เวลา คอื การให้บรกิ ารทต่ี รงตอ่ เวลา ตรงตอ่ ความตอ้ งการ
3. การให้บริการอย่างพอเพียง คือ การให้บริการด้านสถานท่ี บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
อย่างเพยี งพอ และเหมาะสม
4. การใหบ้ รกิ ารอย่างต่อเน่อื ง คือ การใหบ้ ริการและดแู ลอย่างต่อเนอื่ ง

27

5. การให้บริการอย่างก้าวหน้า คือ การให้บริการท่ีมีการพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพให้มี
ความก้าวหน้าไปเร่ือย ๆ ดังนั้น ผู้ให้บริการจึงควรรู้และปฏิบัติตามหลักการให้บริการท่ีดี 6 ประการ
ตามความหมายของคาว่า Service (วรี พงษ์ เฉลิมจริ ะวัฒน์, 2539 : 7-8) คือ

5.1 บริการด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใจและความเข้าใจ (Smile) ด้วยความรู้สึกว่าผู้เข้ารับบริการ
มีความยงุ่ ยากใจในการแสวงหาส่ิงที่ต้องการและกาลงั อยากไดค้ วามช่วยเหลอื

5.2 บริการสนองตอบด้วยความรวดเร็ว (Early Response) ส่ิงน้ีเป็นคุณสมบัติของผู้ให้บริการ
เชงิ รุกซ่ึงจะสรา้ งความประทบั ใจได้ดี

5.3 บริการพร้อม ๆ ไปกับการให้เกียรติ (Respectful) โดยไม่แสดงอาการดูถูกผู้ใช้บริการไม่ว่า
จะอยใู่ นระดบั ใดกต็ าม

5.4 บริการด้วยความเต็มใจ (Voluntariness Manner) โดยไม่คิดว่างานเป็นเพียงภาระ
รับผดิ ชอบที่ผา่ นเข้ามาเท่านั้น แตแ่ สดงออกด้วยความจริงใจ ดว้ ยความรู้สกึ สร้างสรรค์

5.5 บริการเพ่ือสรา้ งภาพลกั ษณ์ของตนเองและหนว่ ยงาน (Image Enhancing) โดยให้ผู้พบเห็น
มคี วามรู้สกึ ทดี่ ี และอยากสนับสนนุ เก้อื กูลในภารกจิ ทกี่ าลงั ดาเนินอยู่

5.6 บริการด้วยความกระตือรือร้น (Enthusiasm) การแสดงอาการกระฉับกระเฉงในลักษณะ
งดงามและพอเหมาะพอดี

จากทก่ี ล่าวข้างต้น จะเหน็ ได้วา่ ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการต่าง ๆ จะเป็นเรอ่ื ง
เก่ียวกับความรู้สึก อารมณ์ ทัศนะ หรือเกณฑ์การวัดของแต่ละบุคคล ว่ามีระดับความพึงพอใจเกิดขึ้น
มากน้อยเพียงใด เพยี งพอหรือไม่ เมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการจากการให้บรกิ ารขององค์การตา่ ง ๆ
สาหรับการวิจัยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้นาแนวคิดของ Millet มาใช้เป็นตัวกรองแนวคิดในการศึกษาความพึง
พอใจของผู้รับบริการ

การวัดความพงึ พอใจ
ในการวัดความพงึ พอใจน้นั บญุ เรือง ขจรศิลป์ (2529) ได้ใหท้ รรศนะเก่ยี วกับเร่อื งนี้ว่า ทัศนคตหิ รือ
เจตคติเป็นนามธรรมเป็นการแสดงออกค่อนข้างซับซ้อน จึงเป็นการยากท่ีจะวัดทัศนคติได้โดยตรง
แต่เราสามารถท่ีจะวัดทัศนคติได้โดยอ้อม โดยวัดความคิดเห็นของบุคคลเหล่าน้ันแทน ดังนั้น การวัด
ความพึงพอใจก็มีขอบเขตท่ีจากัดด้วย โดยอาจมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น ถ้าบุคคลเหล่าน้ันแสดง
ความคิดเห็นไม่ตรงกับความรู้สึกที่แท้จริง ซ่ึงความคลาดเคล่ือนเหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นได้เป็นธรรมดาของ
การวัดโดยท่วั ไป
ภณดิ า ชยั ปัญญา (2541) ไดก้ ล่าวไว้วา่ การวดั ความพึงพอใจน้นั สามารถทาได้หลายวิธีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การใช้แบบสอบถาม โดยผู้ออกแบบสอบถาม เพ่ือต้องการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถกระทา
ได้ในลักษณะกาหนดคาตอบให้เลอื กหรือตอบคาถามอสิ ระ คาถามดังกลา่ วอาจถามความพอใจในด้านต่าง ๆ
2. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการวัดความพึงพอใจทางตรง ซ่ึงต้องอาศัยเทคนิคและวิธีการท่ีดี จึงจะได้
ข้อมลู ทเี่ ปน็ จรงิ
3. การสังเกต เป็นวิธีวัดความพึงพอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมายไม่ว่าจะ
แสดงออกจากการพูดจา กริยา ท่าทาง วิธีนี้ต้องอาศัยการกระทาอย่างจริงจัง และสังเกตอย่างมีระเบียบ
แบบแผน
โดยในงานวิจัยของ ภณิดา ชัยปัญญา คณะผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ในการวัด
ความพึงพอใจของผู้รับบริการใน 3 ภารกิจงาน คือ การจดทะเบียนพาณิชย์ การบริการสถานีขนส่ง
การประสานการจดั ทาแผนพัฒนาท้องถ่นิ

28

วธิ กี ารก้าหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง

มารยาท โยทองยศ และ ปราณี สวัสดิสรรพ (ออนไลน์ http://www.fsh.mi.th/km/wp-
content/uploads/2014/ 04/resch.pdf สืบคน้ เมือ่ 6 กุมภาพันธ์ 2560) ได้กลา่ วถึง วิธีการกาหนดขนาด
ของกลุ่มตัวอย่างมีด้วยกันหลากหลายวิธี ในท่ีน้ีจะเสนอการกาหนดขนาดของ กลุ่มตัวอย่างจากการกาหนด
เกณฑ์ การใชส้ ูตรคานวณและการใชต้ ารางสาเร็จรูป ซ่งึ แต่ละวิธสี ามารถอธิบายไดต้ อ่ ไปนี้

1. การกา้ หนดเกณฑ์
ในกรณีนี้ผูว้ จิ ัยต้องทราบจานวนประชากรทีแ่ นน่ อนก่อนแล้ว ใช้เกณฑโ์ ดยกาหนดเป็นร้อยละของ
ประชากรในการพจิ ารณา ดงั นี้

ถา้ ขนาดประชากรเป็นหลกั ร้อย ควรใช้กลุ่มตวั อย่างอยา่ งน้อย 25%
ถา้ ขนาดประชากรเป็นหลกั พัน ควรใช้กล่มุ ตวั อย่างอย่างน้อย 10%
ถา้ ขนาดประชากรเป็นหลกั หมน่ื ควรใชก้ ลุ่มตวั อยา่ งอยา่ งนอ้ ย 5%
ถา้ ขนาดประชากรเปน็ หลกั แสน ควรใชก้ ลมุ่ ตวั อย่างอยา่ งนอ้ ย 1%
2. การใช้ตารางสา้ เรจ็ รูป
การกาหนดขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ งด้วยตารางสาเร็จรูป มอี ยหู่ ลายประเภท ขึน้ อยู่กับ ความต้องการ
ของผู้วิจัย ตารางสาเร็จรูปท่ีนิยมใช้กันในงานวิจัยเชิงสารวจ ได้แก่ ตารางสาเร็จของทาโร ยามาเน่
(Yamane) เป็นตารางที่ใช้หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วนของประชากร โดยคาดว่า
สัดส่วนของลักษณะทส่ี นใจในประชากร เท่ากับ 0.5 และระดบั ความเช่ือม่ัน 95% ดังตารางท่ี 1 วิธีการอ่าน
ตารางผ้วู จิ ยั จะต้องทราบขนาดของประชากร และกาหนดระดับความคลาดเคลื่อนทย่ี อมรบั ได้

29
ตารางที่ 2.7 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเช่ือม่ัน 95 % และ
ความคลาดเคลือ่ นต่าง ๆ

ผลงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง

สไทร์เพ็ค (Stipec B., 1979 : 46-52) ได้ศึกษาวิจัยในลอสแอนเจลิสเพื่อทดสอบว่าบริการที่จัดหา
โดยหน่วยงานการปกครองส่วนท้องถ่ินมีส่วนกระทบต่อการประเมินผลการให้บริการหรือไม่ โดยใช้ข้อมูล
ด้านปัจเจกบุคคล สามะโนประชากรการบรกิ าร และอ่ืน ๆ เพื่อนามาใช้ในการประเมินทางด้านลักษณะของ
บริการ ลักษณะของผู้ใหบ้ ริการ ลักษณะของแตล่ ะบริเวณและลกั ษณะของปัจเจกบคุ คล เกณฑ์ การประเมิน
ด้านอัตวิสัย สร้างขึ้นจากการสารวจสอบถามความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการบริการ ด้านตารวจ
สวนสาธารณะ การกาจัดขยะ และบริการอ่ืน ๆ ส่วนเกณฑ์การประเมินด้านวัตถุวิสัย พิจารณาจากจานวน
ตัวเลข อัตราการปราบปรามของตารวจ อัตราของทรัพย์สินท่ีได้กลับคืน ค่าใช้จ่ายต่อหัวและอัตราการเกิด

30

อาชญากรรม ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนที่มีความรู้น้อยในเรื่องเกี่ยวกับรัฐบาลและกิจกรรมของรัฐบาล
แม้ว่าเขาจะขาดแคลนข้อมูลข่าวสารแต่ต้องการจะแสดงทัศนคติทางการเมืองด้วย จึงเต็มใจที่จะประเมิน
การให้บริการท่ีหน่วยการปกครองท้องถิ่นจัดหา ดังนั้นจึงทาใหก้ ารประเมินการให้บรกิ ารไมส่ ามารถสะท้อน
ถึงคุณภาพของการบรกิ ารทแี่ ตกต่างกันได้

ฟิตเกอร์รัลด์ และดูแรนท์ (Fitggerald and Swrant, 1980 : 585-594) ได้ศึกษาความคิดเห็นของ
ประชาชนในรัฐเทนเนสซี ที่มีต่อการบริการท่ีได้รับ 5 ประเภทคือ บริการด้านตารวจ อัคคีภัย อนามัย
การศึกษาและถนนหนทาง โดยศึกษาเน้นการประเมินจากอัตวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ใน
เทนเนสซีมคี วามพึงพอใจในบริการท่ีได้รบั ปัจจัยทางด้านภูมิหลังของประชาชน และปัจจยั ทางดา้ นทศั นคติ
เป็นปัจจัยท่ีกาหนดความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อบริการที่ได้รับ กับความต้องการของประชาชนท่ีจะ
เข้ามามีอิทธิพลตอ่ การส่งมอบบริการ ถ้าจะศึกษาถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อบริการที่ได้รับ
และระดับความต้องการของประชาชนที่จะเข้ามามอี ิทธิพลในระบบการส่งมอบบริการ สามารถศึกษาได้โดย
การพิจารณาจากปัจจัยเรื่องเชื้อชาติ รายได้ และทัศนคติที่เกิดจากการเปรียบเทียบระหว่างค่าใช้จ่ายท่ีตน
เสียกบั ผลประโยชน์ท่ีได้รบั แต่ถ้าจะศึกษาปฏิกริ ิยาของประชาชน หรือความตอ้ งการท่ีจะเข้ามามีอทิ ธิพลใน
ระบบการสง่ มอบบรกิ ารต้องพจิ ารณาจากระดบั ความพงึ พอใจของประชาชนทีม่ ตี อ่ บริการที่ได้รบั เทา่ นั้น

ธวัชชัย นาคสุวรรณ (2539 : 90) ได้ศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการ
สานักงานเขตลาดกระบัง พบว่า กลุ่มข้าราชการท่ีมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 15 ปี จะมี
ความพึงพอใจในการทางานมากกว่ากลุ่มข้าราชการที่มีประสบการณ์ในการทางานน้อยกว่า 10 ปี และมี
ประสบการณ์ระหว่าง 10-15 ปี

อารี เพชรผุด (2530 : 56) ได้สารวจความพึงพอใจ โดยได้สรุปองค์ประกอบพื้นฐานที่ทาให้เกิด
ความพึงพอใจในการทางานไว้คือ งาน ค่าจ้าง โอกาสท่ีจะได้เลื่อนตาแหน่ง การยอมรับจากผู้บังคับบัญชา
และเพือ่ นร่วมงาน ผลประโยชน์หรอื สิ่งตอบแทนที่บุคคลไดร้ บั จากการทางาน สภาพการทางาน หัวหน้าหรือ
ผบู้ ังคบั บญั ชา เพ่อื นรว่ มงานหรอื องคก์ าร และการจดั การหรือการบริหาร

ณรงค์ศักดิ์ โกศัลวัฒน์ (2550) ศึกษาความต้องการของประชาชนเพ่ือพัฒนายุทธศาสตร์การ
ให้บริการของเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์สามประการ คือ (1) ศึกษาความ
พึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ (2) ศึกษาความต้องการของประชาชนด้านการให้บริการและ (3)
เพ่ือเสนอแนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์การให้บริการประชาชน โดยมีขอบเขตการศึกษาเฉพาะกองช่าง
งานพัฒนาปรับปรุงระบบการจราจร และกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม งานกาจัดขยะมูลฝอยของ
เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร โดยใช้วิธกี ารศึกษาเชิงสารวจ ผลการวิจัยพบว่า

1. ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการให้บริการ 4 ด้าน คือ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้าน
บคุ ลากร ด้านส่ิงอานวยความสะดวก และด้านผลงานโดยรวม พบวา่ 1) ความพงึ พอใจต่อการให้บริการของ
กองช่าง งานพัฒนาปรับปรุงระบบการจราจร ท้ัง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก และ 2) ความพึงพอใจต่อการ
ให้บรกิ ารของกองสาธารณสขุ และสิ่งแวดลอ้ ม งานกาจดั ขยะมูลฝอย ทงั้ 4 ด้าน อยู่ในระดบั มาก เชน่ กัน

2. ความต้องการของกลุ่มตัวอย่างด้านการให้บริการ พบว่า 1) ต้องการให้กองช่าง งานพัฒนา
ปรับปรุงระบบจราจรปรับปรุงการให้บริการด้านการซ่อมแซมและติดต้ังสัญญาณไฟจราจร การให้บริการ
ทั่วไป และบุคลากร ตามลาดับ และ 2) ต้องการให้กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม งานกาจัดขยะมูลฝอย
ปรับปรุงการให้บริการด้านการเพ่ิมถังขยะและอุปกรณ์จัดเก็บขยะ การให้บริการจัดเก็บขยะ และบุคลากร
ตามลาดบั

31

3. แนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์การให้บริการประชาชน เสนอให้ 1) กองช่าง งานพัฒนา
ปรบั ปรงุ ระบบการจราจร พัฒนายุทธศาสตรก์ ารใหบ้ รกิ ารใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ การปรับปรงุ และติดตงั้ สัญญาณ
ไฟจราจร กระบวนการให้บริการ และการพัฒนาการให้บริการของบุคลากร 2) กองสาธารณสุขและ
ส่ิงแวดล้อม งานกาจัดขยะมูลฝอย พัฒนายุทธศาสตร์การให้บริการใน 3 ด้าน ได้แก่ การเพิ่มถังขยะและ
อุปกรณ์จัดเก็บขยะ การให้บริการจัดเก็บขยะ และการพัฒนาการให้บริการของบุคลากร โดยเสนอให้ท้ัง
สองกองดาเนินการให้บริการอย่างท่ัวถึงทุกพ้ืนท่ีโดยเฉพาะเขตที่ 2 และ เขตที่ 3 และที่อยู่อาศัยประเภท
บา้ นแถว/อาคารพาณิชย์ บ้านพักสวัสดิการ และแฟลต/คอนโด นอกจากนี้ เสนอให้มกี ารพัฒนายุทธศาสตร์
การประชาสัมพันธ์ด้านการให้บริการของท้ังสองกองเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้ให้บริการและ
ประชาชน

4. มีข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้งน้ี คือ 1) ในการนาผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ กองช่างควร
ปรับปรุงการให้บริการเพ่ิมเติม ได้แก่ การบารุงรักษาท่อระบายน้า ขุดลอกคลอง ส่วนกองสาธารณสุขและ
ส่ิงแวดล้อมควรปรับปรุงการให้บริการกาจัดยุงและ 2) ในการวิจยั ครง้ั ต่อไป กรอบแนวคิดในการศึกษาครงั้ น้ี
สามารถนาไปใช้ในการศึกษาแนวทางการให้บริการของกองงานอื่นๆ ภายในเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร
หรือการให้บริการในหน่วยงานที่คล้ายคลึงได้ แต่ควรปรับปรุงตัวแปรอิสระด้านความพึงพอใจให้เหมาะสม
กบั การให้บรกิ ารของหนว่ ยงานนัน้ ๆ ให้ครอบคลมุ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (2549) ดาเนินการวิจัยสารวจความพึง
พอใจของผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ครอบคลุม 3 ภารกิจงาน
คอื การจดทะเบียนพาณิชย์ การบรกิ ารสถานขี นส่ง การประสานการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น ผลการสารวจ
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในภาพรวมพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมากในทุก ๆ
ด้านของการให้บริการ ทั้งในด้านกระบวนการให้บริการ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และส่ิงอานวยความสะดวก
ท่ีได้รับจากงานบริการจดทะเบียนพาณิชย์ งานบริการสถานีขนส่ง และงานประสานการจัดทาแผนพัฒนา
ท้องถิน่

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (2552) ศึกษาเร่ือง การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการใน
งานบริการขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2552 ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมทั้ง 3 ภารกิจ
งาน ผู้รับบริการในงานบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี มีความพึงพอใจในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 4.33 (ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 86.68)

1. ความพึงพอใจของผู้รับบริการในงานบริการการจัดเก็บค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรม
ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจการให้บริการงานด้านการจัดเก็บค่าธรรมเนียมผู้เข้าพักโรงแรมขององค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นค่าเฉล่ีย 4.20 (ค่าร้อยละเฉลี่ย 84.02)
จาแนกเป็น ด้านเจ้าหน้าที่ หรือบุคลากร ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.32 (ค่าร้อยละเฉล่ีย
86.49) รองลงมา ได้แก่ ด้านส่ิงอานวยความสะดวกและอาคารสถานที่ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
คา่ เฉลี่ย 4.27 (ค่ารอ้ ยละเฉลี่ย 85.32) ด้านขน้ั ตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจอยใู่ นระดับ
มาก ค่าเฉลยี่ 4.13 (คา่ รอ้ ยละเฉล่ยี 82.64) และด้านความคุ้มค่า และการประชาสมั พันธ์ ความพึงพอใจอยู่
ในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.08 (ค่าร้อยละเฉลยี่ 81.73) ตามลาดับ

2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการงานด้านการช่วยเหลือสาธารณภัย ผู้วิจัยได้สารวจความพึงพอใจ
ใน 2 ภารกจิ งานยอ่ ย ได้แก่ 1) ความพึงพอใจของผรู้ ับบริการงานดา้ นการชว่ ยเหลือสาธารณภยั (ผ้าห่ม เส้ือ
กันหนาว และถุงยังชีพ) และ 2) ความพึงพอใจของผู้รับบริการงานด้านการช่วยเหลือสาธารณภัย
(การสนับสนุนน้าอุปโภคบริโภค) ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวมผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก


Click to View FlipBook Version