รายงานปัญหาสุขภาพในชุมชนโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เสนอ ครูศรีรดา ดอกตาลยงค์ จัดท าโดย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 1.ด.ช.ชนน บุญประสม เลขที่ 5 2.ด.ช.ธนณัฏฐ์อมรเศรษฐชัย เลขที่ 9 3.ด.ช.ธัญเทพ นาวีเรืองรัตน์เลขที่ 11 4.ด.ช.วงศธร เขียน เขต เลขที่ 23 5.ด.ช.ศุภฤต เกตุพันธ์ุ เลขที่ 28 6.ด.ช.สิทธิ์ชานน รังษีหิรัญรัตน์เลขที่ 30 7.ด.ช.สุวภัทร สุดโต เลขที่ 33 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษา (พ23103) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
ค าน า รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สุขศึกษา (พ23103) จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวม ปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิต การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาสุขภาพในชุมชน และการเสนอแนว ทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน คณะผู้จัดท าคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดท ารายงานฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ ศึกษาปัญหาสุขภาพเป็นอย่างดี คณะผู้จัดท า 1.ด.ช.ชนน บุญประสม เลขที่ 5 2.ด.ช.ธนณัฏฐ์อมรเศรษฐชัย เลขที่ 9 3.ด.ช.ธัญเทพ นาวีเรืองรัตน์เลขที่ 11 4.ด.ช.วงศธร เขียน เขต เลขที่ 23 5.ด.ช.ศุภฤต เกตุพันธ์ุ เลขที่ 28 6.ด.ช.สิทธิ์ชานน รังษีหิรัญรัตน์เลขที่ 30 7.ด.ช.สุวภัทร สุดโต เลขที่ 33
สารบัญ เรื่อง หน้า กระบวนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชน…………………………………………………………………………...1 2. การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาสุขภาพในชุมชน……………………………………………………………………..3 3. แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน………………………………………………………………………………………..4 บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………………………………………………………….6 ภาคผนวก - แบบส ารวจปัญหาสุขภาพในชุมชนโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย (Google form) - การตอบกลับข้อมูลสรุป (ชื่อ-นามสกุล) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิที่ 1 (เลขที่) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 2 (ระดับชั้น) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 3 (ห้อง) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 4 (เพศ) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 5 (ปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตมากที่สุด) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 6 (สาเหตุใดที่ท าให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ส่งผลให้คนไทย เสียชีวิตมากที่สุด) - การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 7 (การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตมากที่สุด)
กระบวนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาสุขภาพ จากการส ารวจปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตกับกลุ่มเป้าหมาย (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1) ในโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย จ านวน 11 คน พบได้ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงจ านวนและร้อยละของเพศกลุ่มเป้าหมาย เพศ จ านวน ร้อยละ ชาย 9 81.8 หญิง 2 18.2 รวม 11 100 จากตารางที่ 1 พบว่า เป็นเพศชายมากที่สุด ร้อยละ 56.8 รองลงมาเป็นเพศหญิง ร้อยละ 43.2 ตารางที่ 2 แสดงจ านวนและร้อยละของปัญหาสุขภาพในชุมชนที่ท าให้คนไทยเสียชีวิต ปัญหาสุขภาพ จ านวน ร้อยละ ปัญหาการไม่ให้ความส าคัญในการดูแลสุขภาพ 2 18.2 ปัญหาความเครียด 1 9.1 ปัญหาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ 3 27.3 ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5 45.5 รวม 11 100 จากตารางที่ 2 พบว่า ปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตมากที่สุด ได้แก่ ปัญหาการไม่ให้ ความส าคัญในการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 67.6 รองลงมา ปัญหาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ ร้อยละ 20.6 ปัญหาความเครียด ร้อยละ 11.8 ตามล าดับ
ตารางที่ 3 แสดงจ านวนและร้อยละของสาเหตุที่ท าให้เกิดปัญหาสุขภาพ สาเหตุของปัญหาสุขภาพ จ านวน ร้อยละ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง 5 45.5 สภาพเศรษฐกิจและสังคม 2 18.2 เชื้อโรคต่าง ๆ 2 18.2 มีสถานบันเทิง สถานเริงรมย์ต่าง ๆ มากมาย 2 18.2 รวม 11 100 จากตารางที่ 3 พบว่า สาเหตุที่ท าให้เกิดปัญหาสุขภาพมากที่สุด ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ร้อยละ 68.1 รองลงมา เชื้อโรคต่าง ๆ ร้อยละ 19.1 สภาพเศรษฐกิจและสังคม ร้อยละ 10.6 และมีสถานบันเทิง สถานเริงรมย์ต่าง ๆ มากมาย ร้อยละ 2.1 ตามล าดับ ตารางที่ 4 แสดงจ านวนและร้อยละของการแก้ไขปัญหาสุขภาพ การแก้ไขปัญหาสุขภาพ จ านวน ร้อยละ 1. ศึกษา รวบรวมข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชน 1 9.1 2. มีสุขนิสัยที่ดีในการป้องกันโรค 3 27.3 3. เข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนหรือชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ 0 0 4. ช่วยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารปัญหาสุขภาพในชุมชน 1 9.1 5. ชักชวนเพื่อน สอดส่อง ดูแล แก้ไขปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพใน ชุมชน 2 18.2 6. หลีกเลี่ยงการกระท าที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในชุมชน 2 18.2 7. หากมีปัญหาทางด้านสุขภาพควรรีบปรึกษาผู้ใหญ่ 2 18.2 8. มีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน 0 0 รวม 11 100
จากตารางที่ 4 พบว่า แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพที่นักเรียนอยากมีส่วนร่วมมากที่สุด ได้แก่ หลีกเลี่ยง การกระท าที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 38.3 รองลงมา มีสุขนิสัยที่ดีในการป้องกันโรค ร้อย ละ 17 ช่วยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารปัญหาสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 8.5 ชักชวนเพื่อน สอดส่อง ดูแล แก้ไข ปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 8.5 มีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลในการ แก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 8.5 ศึกษา รวบรวมข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชน ร้อยละ 6.4 เข้าร่วมใน กิจกรรมของโรงเรียนหรือชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 6.4 และหากมีปัญหาทางด้านสุขภาพควรรีบ ปรึกษาผู้ใหญ่ ร้อยละ 6.4 ตามล าดับ 2. การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาสุขภาพในชุมชน จากการส ารวจปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตกับกลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย จ านวน 20 คน พบว่าปัญหาสุขภาพที่ท าให้คนไทยเสียชีวิตจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด มีสาเหตุ ดังนี้ อันดับที่ 1 ปัญหาการไม่ให้ความส าคัญในการดูแลสุขภาพ ซึ่งโดยทั่วไปบุคคลมักหาเหตุผลเข้าข้าง ตนเอง หรือหาข้ออ้างว่า “ไม่มีเวลา” เช่น ไม่มีเวลาในการออกก าลังกาย ไม่มีเวลาไปตรวจสุขภาพประจ าปี ไม่ มีเวลาในการกินอาหารโดยเลือกบริโภคอาหารจานด่วนหรืออาหารปรุงส าเร็จเป็นประจ า เพราะคนในชุมชน เมืองส่วนใหญ่ต้องเร่งรีบกับการตื่นแต่เช้าเพื่อเดินทางไปที่ท างาน เนื่องจากการจราจรค่อนข้างติดขัดและเวลา ว่างในการใช้ชีวิตประจ าวันระหว่างวันท างานมีน้อยมาก ปัญหาการไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพของคนที่อาศัย อยู่ในชุมชนเมือง จะส่งผลท าให้เกิดโรคอ้วน เป็นผลมาจากการไม่มีเวลาในการออกก าลังกาย เพราะเมื่อกิน อาหารเข้าไปแต่ไม่มีการออกก าลังกายก็จะท าให้เกิดการสะสมของไขมันที่บริเวณส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และ โรคอ้วนยังส่งผลกระทบท าให้เกิดโรคต่าง ๆ อีกด้วย เช่น - โรคความดันเลือดสูง คนอ้วนมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดภาวะความดันเลือดสูงมากกว่า คนไม่อ้วน เนื่องจากผู้ที่มีน้ าหนักมากขึ้นจะมีระดับความดันเลือดสูงขึ้น และพบว่าคนอ้วนประมาณร้อยละ 46 เป็นโรคความดันเลือดสูง - โรคเบาหวาน โรคอ้วนมีผลอย่างมากกับอัตราการเกิดโรคเบาหวาน โดยที่คนอ้วนแบบ อ้วนลงพุงจะมีความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานมากกว่าคนอื่น - โรคที่เกี่ยวกับระบบหัวใจ คนอ้วนจะหายใจเข้าออกล าบาก เนื่องจากไขมันที่มากขึ้น บริเวณทรวงอกจะขัดขวางการขยายตัวของทรวงอกรวมทั้งไขมันในหลอดเลือด ท าให้เหนื่อยง่าย และคนอ้วน มากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวมากกว่าคนอื่น - โรคข้อเสื่อม คนอ้วนจะมีอาการข้อเสื่อม กระดูกสันหลังเสื่อม ปวดเข่า ปวดหลัง เนื่องจากข้อต่อต่าง ๆ ต้องแบกรับน้ าหนักที่มากเกินจ าเป็น
อันดับที่ 2 ปัญหาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ เพราะในชุมชนเมืองนั้นจะมีฝุ่นละออง ก๊าซต่าง ๆ และควันพิษจากท่อไอเสียรถยนต์ เมื่อหายใจและสูดดมเป็นเวลานาน อาจท าให้เกิดการเวียนศีุรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือในบางรายอาจหมดสติได้ และถ้าสะสมนาน ๆ ก็จะกลายเป็นสารก่อมะเร็งให้แก่คนที่ หายใจเข้าไปเป็นประจ าได้ อันดับที่ 3 ปัญหาความเครียด เป็นปัญหาทางสุขภาพจิต เพราะสังคมเมืองมีการแข่งขันสูงมาก เรุ่ม ตั้งแต่ออกจากบ้าน ก็มักมีความเครียดเข้ามาตลอดเวลา เช่น รถเมล์วันนี้จะมีที่นั่งหรือไม่ การจราจรวันนี้จะ ติดขัดขนาดไหน จะถึงที่ท างานทันหรือไม่ วันนี้จะโดนเจ้านายต าหนิหรือไม่ วันนี้ต้องเตรียมตัวไปน าเสนอแข่ง กับบริษัทอื่นอย่างไร เพื่อให้บริษัทของผู้ว่าจ้างงานสนใจ รวมถึงความเครียดจากสภาพเศรษฐกิจและสังคม อันดับที่ 4 ปัญหาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ เพราะในชุมชนเมืองนั้นจะมีฝุ่นละออง ก๊าซต่าง ๆ และควันพิษจากท่อไอเสียรถยนต์ เมื่อหายใจและสูดดมเป็นเวลานาน อาจท าให้เกิดการเวียนศีุรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือในบางรายอาจหมดสติได้ และถ้าสะสมนาน ๆ ก็จะกลายเป็นสารก่อมะเร็งให้แก่คนที่ หายใจเข้าไปเป็นประจ าได้ อันดับที่ 4 ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในชุมชนเมืองส่วนใหญ่จะมีสถานบันเทิง สถานเริงรมย์ ต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น เมื่อมีสถานบันเทิงในชุมชนเมืองมากก็จะท าให้มีโอกาสเสี่ยงให้คนที่ชอบท่องราตรี หรือ เที่ยวกลางคืนมีโอกาสติดโรคทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคเอดส์ โรคซิฟิลิส โรคหนองใน โรคหนองในเทียม และ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น ๆ 3. แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน ในฐานะที่นักเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ควรมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน ดังนี้ 1. ศึกษา รวบรวมข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนจากแหล่งต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน หรืออาจเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยใช้การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ว่ามีปัญหาสุขภาพในชุมชนอะไรบ้าง เพื่อจะได้ทราบ ปัญหาที่ชัดเจนและป้องกันได้อย่างถูกต้อง 2. มีสุขนิสัยที่ดีในการป้องกันโรค และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดตุ่อสู่ชุมชน เช่น ล้างมืุอด้วย น้ าและสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการกินอาหาร และหลังการใช้ห้องน้ า ใช้ช้อนกลางในการกินอาหารทุกครั้ง ใส่ หน้ากากอนามัยปิดปาก ปิดจมูกเมื่อทราบว่าตนเองมีความผิดปกติที่เกิดกับระบบทางเดินหายใจ หรือมีปัญหา การแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน เช่น โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคไข้หวัดนก 3. เข้าร่วมในกิจกรรมของโรงเรียนหรือชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ หรือแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน เช่น เป็นอาสาสมัครในการพัฒนาชุมชน หรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมเป็นสสมาชิกของชมรมหรือกลุ่มสนใจ
การออกก าลังกาย การคุ้มครองผู้บริโภค การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การป้องกันสารเสพติด รวมทั้งชักชวนเพื่อน สมาชิกในครอบครัวและบุคคลใกล้ชิดเข้าร่วมในกิจกรรมดังกล่าวตามความเหมาะสม 4. ช่วยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในชุมชน หรือสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ใน ปัจจุบันให้แก่บุคคลในครอบครัวและสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชน 5. ชักชวนเพื่อน สมาชิกในครอบครัว บุคคลที่คุ้นเคย และสมาชิกของชุมชนในการร่วมกันสอดส่อง ดูแล แก้ไขปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในชุมชน เช่น เมื่อพบภาชนะที่มีน้ าขัง เช่น กะลา ยางใน รถยนต์ กระถางต้นไม้ที่แตก ควรคว่ าทิ้งเสียเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง หรือเลี้ยงปลาหางนกยูงในอ่างน้ า เพื่อขจัดลูกน้ ายุงลาย 6. หลีุกเลี่ยงการกระท า หรือพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในชุมชน เช่น การเผาขยะ เพราะ จะท าให้เกิดมลพิษทางอากาศ ควรใช้วิธีการแยกขยะและน าไปทิ้งในสถานที่ที่ทางเทศบาล เขต หรือหน่วยงาน ส่วนท้องถิ่นจัดเตรียมไว้ 7. หากมีปัญหาทางด้านสุขภาพควรรีบปรึกษาผู้ใหญ่ และเลือกใช้บริการสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนให้ตรง กับปัญหาสุขภาพนั้น 8. นักเรียนมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนทุกครั้ง เพื่อจะ ได้ทราบว่าปัญหาสุขภาพในชุมชนนั้นลดลงไปหรือไม่ เช่น อาจใช้วิธีการสังเกต สอบถาม หรือสัมภาษณ์บุคคลที่ เกี่ยวข้อง การศึกษาข้อมูลสถิติทางด้านสุขภาพที่หน่วยงานต่าง ๆ เก็บรวบรวมไว้
บรรณานุกรม กิตติปรมัตถผล, ศิริรัตน์สีเหลือง, ปรีชา ไวยโภคา, วิชาญ มะวิญธร, ก าไลทิพย์ระน้อย และประภาพร พหุโล (2563) สุขศึกษา ๓ นนทบุรี: เอมพันธ์จ ากัด
ภาคผนวก
แบบส ารวจปัญหาสุขภาพในชุมชนโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย (Google form)
การตอบกลับข้อมูลสรุป (ชื่อ-นามสกุล)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิที่ 1 (เลขที่)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 2 (ระดับชั้น)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 3 (ห้อง)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 4 (เพศ)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 5 (นักเรียนคิดว่าปัญหาใดท าให้วัยรุ่นเจ็บป่วยมากที่สุด)
ตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 6 (สาเหตุใดที่ท าให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ส่งผลให้วัยรุ่นเจ็บปวดมากที่สุด)
การตอบกลับข้อมูลสรุปแผนภูมิวงกลมที่ 7 (การแก้ไขปัญหาสุขภาพ)
คณะผู้จัดท า 1.ด.ช.ชนน บุญประสม เลขที่5 2.ด.ช.ธนณัฏฐ์อมรเศรษฐชัย เลขที่9 3.ด.ช.ธัญเทพ นาวีเรืองรัตน์เลขที่11 4.ด.ช.วงศธร เขียน เขต เลขที่23 5.ด.ช.ศุภฤต เกตุพันธ์ุ เลขที่ 28 6.ด.ช.สิทธิ์ชานน รังษีหิรัญรัตน์เลขที่ 30 7.ด.ช.สุวภัทร สุดโต เลขที่ 33