The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yuwanit906, 2021-11-16 02:27:30

การเกิดมรสุม

ป.6

รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รหสั วชิ า ว16101
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

การเกดิ มรสมุ (3)

ครผู สู้ อน ครูวทิ วัฒน์ ศรเี มฆ
ครธู ดิ ารตั น์ เมฆหมอก

ทบทวนความรู้

รูปที่ 1 รูปที่ 2

มรสมุ มรสุม
ตะวันออก ตะวนั ตก
เฉียงเหนอื เฉยี งใต้

รปู ใดแสดงมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ รปู ใดแสดงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ผลของมรสุมและชว่ งเปล่ยี นมรสมุ ต่อการเกิดฤดขู องประเทศไทย

ช่วงเปล่ยี นมรสมุ หรือได้รับ มรสุม มรสมุ
ผลจากมรสมุ ลดลง ตะวนั ตกเฉียงใต้ ตะวันออกเฉียงเหนือ

ฤดู ฤดู ฤดู
รอ้ น ฝน หนาว

ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

ผลของมรสุมทมี่ ตี ่อสิง่ มชี ีวิตและส่ิงแวดล้อม

มีผลตอ่ ปริมาณฝน น้าทว่ มฉบั พลัน-น้าปา่ ไหลหลาก

ผลของมรสมุ ทีม่ ีต่อส่งิ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม

ทาให้เกดิ การกัดเซาะชายฝง่ั มีผลตอ่ การออกดอก-ตดิ ผลของพชื

กจิ กรรมที่ 1

การเกดิ มรสุมเกี่ยวข้องกบั
ฤดูของประเทศไทยอยา่ งไร

จดุ ประสงค์

เปรยี บเทยี บการเกิดลมบก ลมทะเล
และมรสุม

วธิ ีทากจิ กรรม

5. ร่วมกันอภิปรายและเปรียบเทียบการเกิดมรสุมกับ
ลมบก ลมทะเล ว่ามีการเกิดเหมือนและแตกต่าง
กนั อย่างไร บันทึกผล

ใบงาน 01 : การเกิดมรสมุ หน้า 33 - 34

การเปรียบเทยี บการเกิดมรสมุ กบั ลมบก ลมทะเล

สง่ิ ท่ีเหมือนกัน

การเปรยี บเทยี บการเกดิ มรสุมกบั ลมบก ลมทะเล

สงิ่ ท่ีต่างกัน

คาชแ้ี จงบทบาท คาชี้แจงบทบาท
นักเรยี นปลายทาง ครปู ลายทาง

1. ทาใบงาน 01 : การเกดิ 1. ตรวจสอบความถูกต้อง
มรสมุ หน้า 33-34 2. ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรียน

ขณะทากจิ กรรม

ผลการอภปิ ราย

การเปรียบเทียบการเกดิ มรสมุ กบั ลมบก ลมทะเล

สงิ่ ที่เหมอื นกัน
มีหลกั การเกิดเหมือนกนั

อุณหภูมติ า่ อณุ หภมู ิสงู

การเปรียบเทียบการเกดิ มรสุมกับลมบก ลมทะเล

สง่ิ ทตี่ า่ งกนั ลมบก ลมทะเล

o ขนาดของบริเวณท่เี กิด เกดิ ในช่วงเวลา 1 วัน
o ช่วงระยะเวลาการเกิด

มรสมุ

เกดิ ตอ่ เนื่องและยาวนาน

การเปรียบเทียบการเกิดมรสุมกับลมบก ลมทะเล

สงิ่ ทเ่ี หมือนกัน

มีหลักการเกิดเหมือนกัน โดยเกิดจากความแตกต่าง
ระหว่างอุณหภูมิของอากาศเหนอื พื้นดินและอุณหภูมิของ
อากาศเหนือพื้นน้า จึงเกิดการเคลื่อนที่ของอากาศ
จากบริเวณทม่ี ีอณุ หภมู ติ ่าไปยังบรเิ วณทีม่ ีอุณหภมู สิ งู

การเปรียบเทียบการเกิดมรสุมกบั ลมบก ลมทะเล

สิ่งทต่ี า่ งกนั

o ขนาดของบริเวณที่เกิด กล่าวคือ มรสุมเกิดเป็นบริเวณกว้างระดับทวีป
ในบริเวณเขตร้อนของโลก ส่วนลมบก ลมทะเล เกิดในบริเวณท่ี
แคบกวา่ ได้แก่ บริเวณชายฝัง่

o ช่วงระยะเวลาการเกดิ กล่าวคือ มรสุมแต่ละครั้งจะเกิดต่อเนื่องยาวนาน
หลายเดือนเป็นฤดู เป็นลมประจาฤดู ส่วนลมบก ลมทะเล เกิดในช่วง
เวลา 1 วัน ในเวลากลางวันและกลางคนื เปน็ ลมประจาถนิ่

คาถามหลงั กิจกรรม

1. ถา้ ไม่มมี รสมุ จะมผี ลต่อฤดขู องประเทศไทยอย่างไร

คาถามหลงั กิจกรรม

2. มรสมุ มีผลตอ่ สงิ่ มีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ มอย่างไรบา้ ง

คาถามหลงั กิจกรรม

3. มรสมุ เหมือนและแตกต่างจากลมบก ลมทะเล
อย่างไร

คาถามหลงั กจิ กรรม

4. จากกิจกรรมนี้ สรปุ ได้ว่าอยา่ งไร

ใบงาน 01 : การเกิดมรสมุ หน้า 35 - 36

คาช้แี จงบทบาท คาช้แี จงบทบาท
นกั เรยี นปลายทาง ครูปลายทาง

1. ทาใบงาน 01 การเกดิ 1. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
มรสมุ ตอบคาถามหลงั จาก 2. ให้ความช่วยเหลือนกั เรียน
ทากจิ กรรม หนา้ 35-36
ขณะทากิจกรรม

เฉลย
คาถามหลังกิจกรรม

คาถามหลงั กจิ กรรม

1. ถา้ ไมม่ มี รสุมจะมผี ลตอ่ ฤดูของประเทศไทยอย่างไร

ถ้าไม่มีมรสุม ประเทศไทยซึ่งอยู่เขตร้อนของโลกจะได้รับ
พลังงานความร้อนจาก ดวงอาทิตย์มากตลอดทั้งปี ส่งผลให้

ประเทศไทยร้อนตลอดปี จงึ อาจมเี พยี งฤดูรอ้ น

คาถามหลังกิจกรรม

2. มรสมุ มีผลตอ่ ส่งิ มชี ีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไรบา้ ง

o มีผลต่อปริมาณฝนและอุณหภูมิของอากาศของประเทศไทย
o มีผลตอ่ การออกดอกและตดิ ผลของพชื บางชนดิ
o มผี ลทาให้ในบางพืน้ ท่มี อี ากาศหนาวเย็น หรือมฝี นตกหนกั

อยา่ งตอ่ เน่อื งจนอาจทาให้เกดิ น้าทว่ มฉับพลนั น้าป่าไหลหลาก
o มีผลต่อการกัดเซาะชายฝัง่

คาถามหลังกจิ กรรม

3. มรสมุ เหมือนและแตกตา่ งจากลมบก ลมทะเล อยา่ งไร

เหมอื น แตกตา่ ง

• หลักการเกิด • ขนาดของบริเวณทเี่ กิด
• ช่วงระยะเวลาการเกดิ

o สิ่งที่เหมือนกัน คือหลักการเกิด โดยเกิดจากความ
แตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและ
อุณหภูมขิ องอากาศเหนอื พน้ื น้า

o สิ่งที่แตกต่างกัน คือขนาดของบริเวณที่เกิดและช่วง
ระยะเวลาการเกิด

ขนาดของบริเวณที่เกดิ

o ลมบก ลมทะเลเกดิ บรเิ วณชายฝง่ั
o มรสมุ เกิดขึ้นในบริเวณที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งจะเกิดบริเวณเขต

ร้อนของโลก

ชว่ งระยะเวลาการเกดิ

o ลมบก ลมทะเล เกิดในช่วงเวลา 1 วัน คือช่วงเวลากลางวัน
และกลางคนื

o มรสมุ เกดิ ในชว่ งระยะเวลานานตอ่ เนอ่ื งหลายเดอื น

คาถามหลงั กิจกรรม

4. จากกิจกรรมน้ี สรุปได้ว่าอยา่ งไร

ลมบก ลมทะเล มรสมุ

• เป็นลมประจาถิ่น • เป็นลมประจาฤดู
• เกดิ บริเวณชายฝงั่ • เกดิ ข้ึนในบรเิ วณทม่ี ขี นาดใหญ่
• มรี ะยะเวลาในการเกดิ • มรี ะยะเวลาในการเกิดตอ่ เน่อื ง

ในช่วงเวลา 1 วนั ยาวนาน

ใบงาน 02 : แบบฝกึ หดั เร่อื งการเกิดมรสุม หนา้ 37 - 38

แบบฝกึ หดั

1. ทศิ ทางการเคล่ือนที่ของอากาศทที่ าให้เกดิ มรสมุ
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้เปน็ อย่างไร

เขียนลกู ศรแสดงทิศทางการเคลอ่ื นที่ของอากาศท่ีทาใหเ้ กดิ
มรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือและมรสมุ ตะวันตกเฉียงใตล้ งในรปู
และทาเครือ่ งหมาย  ลงใน ▢ หน้าข้อความฤดทู ่เี กดิ จากมรสุมดงั กลา่ ว

แบบฝกึ หัด

มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื

▢ ฤดฝู น
▢ ฤดหู นาว

แบบฝึกหดั

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้

▢ ฤดูฝน
▢ ฤดูหนาว

แบบฝกึ หัด

2. ถ้าวางแผนไปเที่ยวทะเลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของ
ประเทศไทย ควรจะไปชว่ งเดอื นใดบ้าง เพราะเหตใุ ด

แบบฝึกหดั

3. ถ้ากรมอุตุนิยมวิทยารายงานว่า ปีนี้ประเทศไทยจะได้รับผล
จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนานกวา่ ทุกปี เกษตรกรในบริเวณ
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือควรวางแผนการใช้น้า
อยา่ งไร เพราะเหตุใด

คาชี้แจงบทบาท คาชี้แจงบทบาท
นักเรียนปลายทาง ครปู ลายทาง

1. ทาใบงาน 02 แบบฝึกหัด 1. ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
เรอ่ื งการเกดิ มรสมุ 2. ให้ความชว่ ยเหลือนกั เรียน
หนา้ 37-38
ขณะทากจิ กรรม

เฉลยแบบฝกึ หดั

แบบฝกึ หดั

1. ทศิ ทางการเคล่ือนที่ของอากาศทที่ าให้เกดิ มรสมุ
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้เปน็ อย่างไร

เขียนลกู ศรแสดงทิศทางการเคลอ่ื นที่ของอากาศท่ีทาใหเ้ กดิ
มรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือและมรสมุ ตะวันตกเฉียงใตล้ งในรปู
และทาเครือ่ งหมาย  ลงใน ▢ หน้าข้อความฤดทู ่เี กดิ จากมรสุมดงั กล่าว

แบบฝึกหดั

มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื

▢ ฤดฝู น

▢ฤดูหนาว

แบบฝกึ หดั

มรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้

▢ฤดูฝน

▢ ฤดูหนาว

แบบฝกึ หัด

2. ถ้าวางแผนไปเที่ยวทะเลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของ
ประเทศไทย ควรจะไปชว่ งเดือนใดบ้าง เพราะเหตใุ ด

ควรไปช่วงกลางเดอื น ต.ค. - ก.พ. เพราะชายฝั่งทะเลภาคใต้
ฝั่งตะวันตกจะได้รับผลจากมรสุมน้อย คลื่นทะเลไม่รุนแรง
เหมาะกบั การท่องเทย่ี วทางทะเล

แบบฝึกหดั

3. ถ้ากรมอุตุนิยมวิทยารายงานว่า ปีนี้ประเทศไทยจะได้รับผล
จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนานกวา่ ทุกปี เกษตรกรในบริเวณ
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือควรวางแผนการใช้น้า
อยา่ งไร เพราะเหตุใด

ใช้นา้ อยา่ งประหยดั มรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
สารองน้าไว้ใช้ เปน็ ลมท่ีมอี ุณหภมู ติ ่าและมี
ความชนื้ น้อย ฝนทต่ี กใน
ประเทศไทยที่จะมปี ริมาณฝน

ตกนอ้ ยลงตามไปดว้ ย

ปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ

สรุปบทเรยี น

ลมบก ลมทะเล เกดิ จากความแตกตา่ ง มรสมุ
ระหว่างอณุ หภมู ิของ
เปน็ ลมประจาถน่ิ อากาศเหนอื พื้นดนิ และ เปน็ ลมประจาฤดูเกดิ ขน้ึ ใน
เกดิ บรเิ วณชายฝง่ั พน้ื น้า จึงเกดิ การเคลื่อนท่ี บริเวณที่มขี นาดใหญ่กว่า
มีระยะเวลาในการเกิด ของอากาศจากบริเวณท่ีมี ลมบก ลมทะเล โดยเกิดตรง
ในช่วงเวลา 1 วนั คือ อุณหภูมิตา่ ไปยงั บริเวณที่ บริเวณเขตร้อนของโลก
ชว่ งเวลากลางวนั และ และมรี ะยะเวลาในการเกิด
มีอณุ หภูมสิ งู
กลางคืน ต่อเนื่องยาวนาน

บทเรยี นคร้งั ต่อไป

ปรากฏการณ์เรอื นกระจก
และภาวะโลกร้อน (1)

สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี www.dltv.ac.th

ส่งิ ท่ตี อ้ งเตรยี มในช่ัวโมงต่อไป

1. ขวดพลาสติกใส 1.5 ลติ ร
2. นาฬิกา
3. น้าโซดา
4. ฝาขวดท่เี จาะรตู รงกลาง
5. กระดาษสขี าว
6. เทอรม์ อมเิ ตอร์

ส่งิ ท่ตี อ้ งเตรยี มในชั่วโมงต่อไป

7. แก้วพลาสตกิ ใส
8. ไม้บรรทดั
9. โคมไฟ
10. เทปใส
11. กรรไกร
12. บีกเกอร์

สงิ่ ทต่ี อ้ งเตรยี มในชวั่ โมงต่อไป

13. ดินน้ามัน
14. นา้
15. ใบงาน 01 : ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก
ของโลก

สามารถดาวน์โหลดไดท้ ี่ www.dltv.ac.th


Click to View FlipBook Version