The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เนื้อหาบทที่5 ภาษาและวรรณกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ptpatcharin, 2020-06-12 03:44:14

บทที่5 ภาษาและวรรณกรรม

เนื้อหาบทที่5 ภาษาและวรรณกรรม

บทที่ 5
ภาษาและวรรณกรรมไทย
ภาษาและวรรณกรรมเป็นสิ่งท่ีสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความเจริญของชาติไทยได้อีกสิ่งหน่ึงเพราะ
การที่เรามีภาษาเป็นของเราเองโดยมิต้องยืมภาษาของชาติอื่นมาใช้นับว่าเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่ง และถ้า
เราสามารถนาภาษาท่ีใช้มาพัฒนาให้สูงข้ึนเช่น กาหนดให้การเขียนมีสัมผัสมีเสียงสูงตา่ มีความหลากหลายใน
คาประพันธ์ซึ่งพัฒนาการเหล่าน้ีหากมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลานับร้อยๆ ปี ยิ่งทาให้คุณค่าของภาษาและ
วรรณกรรมมีมากข้ึนเป็นทวีคูณ สมควรที่ผู้ใฝ่รู้เรื่องความเป็นไทยจะได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อร่วมภาคภูมิใจกับคน
ไทยทมี่ ภี าษาและวรรณกรรมเป็นของตนเองไม่น้อยกว่า 700 ปมี าแล้ว ดงั ทีผ่ เู้ ขียนจะไดน้ าเสนอตอ่ ไปน้ี
ความหมายของภาษา
ภาษา คอื เสยี งหรือทา่ ทางท่ีใช้สอื่ สารหรอื ใชท้ าความเข้าใจซงึ่ กันและกัน จาแนกเปน็
จกั ษุภาษา คือ ภาษาทใ่ี ชส้ ่ือสารทาความเข้าใจ โดยอาศัยดวงตา เชน่ ตราสัญลักษณ์
รูปภาพ
โสตภาษา คือ ภาษาที่ใช้ส่ือสารทาความเขา้ ใจ โดยอาศัยหู เช่น เสยี งนกหวีด เสียงเพลง
สัมผัสภาษา คือ ภาษาท่ีใช้สอ่ื สารทาความเข้าใจ โดยอาศยั การสัมผัส เชน่ ตกั อักษรสาหรับ
คนตาบอด
นอกจากน้ีจะแบ่งประเภทของภาษาดังกล่าวข้างตน้ แล้ว ยงั สามารถแบง่ ประเภทของภาษาในลักษณะ
อ่นื ไดอ้ ีก คอื
วจั นภาษา หมายถงึ ภาษาทีต่ ้องใชค้ าพดู ประกอบในการสอื่ ความหมาย
อวัจนภาษา หมายถึง ภาษาท่ไี มต่ ้องใชค้ าพูดประกอบในการสือ่ ความหมาย
ทมี่ าของภาษา
นกั วิชาการส่วนใหญส่ นั นษิ ฐานวา่ ภาษามีท่ีมาจาก
1. การเลียนเสียงแวดล้อมที่ดังก้องข้ึน เช่น เสียงฟ้าผ่า เสียงร้องของสัตว์ เสียงร้องของคน เสียงตก
กระทบของวตั ถุ เป็นต้น
2. เสยี งอทุ านทเ่ี ปลง่ ขณะเกดิ ความรู้สึกตา่ งๆ เชน่ วา้ ย เฮ ว้า เป็นต้น
3. เสียงท่ีเปลง่ ออกมาขณะเกดิ ความรู้สกึ ต่างๆ เช่น ฮยุ เลฮุย ฮุเลฮุเล เปน็ ต้น
4. การคิดคาขึ้นใหม่พร้อมทั้งกาหนดความหมายของคานั้น เพ่ือใช้เฉพาะกลุ่ม เช่น วัยรุ่นคิดคาท่ีใช้
แทนคาวา่ “ธรรมดา” ข้ึนมาใหม่ คอื “ชวิ ชิว” เปน็ ตน้
5. การบญั ญตั ิคา เพ่ือใชใ้ นสาขาวชิ าการตา่ งๆ
องคป์ ระกอบของภาษา
องค์ประกอบของภาษาหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โครงสร้างของภาษา โดยท่ัวไปอาจจาแนกได้ 3
ประเภท ดังนี้

1. องค์ประกอบหรือโครงสร้างทางเสียง ได้แก่ ระบบเสียงในภาษาต่างๆ ซึ่งระบบเสียงน้ีจะมีท่ีเกิด
แตกต่างกัน เช่น ในภาษาไทย เสยี ง พ จะเกดิ ท่ีรมิ ฝปี าก เสยี ง ธ เกิดระหวา่ งปลายลิ้นกบั ปุ่มเหงอื ก

2. องค์ประกอบหรือโครงสร้างทางไวยากรณ์ ได้แก่ การสร้างคาและเรียบเรียงคาเข้าในรูปของ
ประโยค

3. องค์ประกอบหรือโครงสร้างทางความหมาย ได้แก่คาต่างๆ ที่เรานามาใช้จะต้องมีความหมายเม่ือ
อยใู่ นรปู ของวลหี รือในรปู ของประโยค
ความเป็นมาและลกั ษณะสาคัญของภาษาไทย

จานงค์ ทองประเสริฐ ได้กล่าวไว้ในหนังสือการใช้ภาษา-หลักภาษา เก่ียวกับความเป็นมาของ
อกั ษรไทยว่า “ในดินแดนที่เปน็ ประเทศไทยน้ีได้เคยใช้ตัวอักษรขอมมาตงั้ แต่สมัยทีก่ รุงสโุ ขทัยเปน็ ราชานีแลว้ ...

ราวพ.ศ. 1500 เม่ือพวกขอมได้แผ่อาณาเขตมาถึงดินแดนของไทยท่ีต้ังอยู่ทางริมแม่น้ายม และได้
ปกครองเมืองเชลียงและเมืองสุโขทัย พวกไทยก็คงจะได้ศึกษาอักษรขอมหวัดอันเป็นอักษรสาคัญท่ีใช้ใน
ราชการบา้ นเมอื ง จงึ แปลงตัวอักษรเดมิ ของไทยมาเป็นรปู คล้ายตัวอักษรขอมหวดั ......

เมื่อถึงสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชพระองค์ทรงพระราชดาริเห็นว่า อักษรท่ีพวกไทยเอาแบบอย่าง
มาจากมอญ ไม่สะดวกแก่การเขียนภาษาไทย ท้ังการท่ีจะใช้อักษรขอมล้วนก็ไม่เป็นการสมควร เพราะเมือง
สุโขทัยก็ได้เป็นอิสระขึ้นแล้ว พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงเอาอักษรหวัดของขอมซ่ึงพวกไทยเปล่ียนแปลงและใช้
เขียนภาษาไทยมาแก้ไขให้ดีขึน้ ....”

จากข้อความดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า ก่อนที่พ่อขุนรามคาแหงมหาราชจะทรงประดิษฐ์อักษรไทย
ข้ึนมาในปี พ.ศ. 1826 นัน้ คนไทยใชต้ ัวอักษรของชนชาติอื่น ส่วนตัวอักษรท่ีพระองค์ทรงแก้ไขจากอักษรขอม
และมอญนั้น มดี ังนี้

1.เปล่ียนรูปอกั ษรขอมท่ีมีหนามเตยดา้ นบน โดยใชว้ ธิ ีตดั หนามเตยออก
2. เปล่ยี นรูปตัวอักษรจากทม่ี ขี ีด 2 เสน้ 3 เสน้ ใหเ้ หลือเพยี งเส้นเดียว
3. ใหเ้ ขยี นสระเรียงทางด้านซา้ ยของพยัญชนะ
4. ใหต้ วั อกั ษาอยบู่ รรทัดเดยี วกนั
5. กาหนดเสียงสูงต่าของคาด้วยวรรณยุกต์โดยในสมัยแรกน้ัน มีวรรณยุกต์ 2 ตัว คือ ไม้เอก และ
ไม้จตั วา
ชาวไทยในสมัยต่อๆมาต้ังแต่อยุธยาถึงปัจจุบันก็ยังคงใช้ตัวอักษรสมัยสุโขทัย แม้จะมีการปรับปรุง
เปลย่ี นแปลงไปบ้าง สาหรบั ลักษณะสาคญั ของภาษาไทยอาจสรปุ ไดด้ งั น้ี
1. คาไทยทว่ั ไปจะเป็นคาพยางคเ์ ดียวโดดๆ เชน่ คง มด กบ ม้า
2. คาไทยจะมตี วั สะกดที่สะกดตรงตามมาตรา เชน่

แม่กก ใช้ ก สะกด ไดแ้ ก่ ชก ปก
แม่กด ใช้ ก สะกด ได้แก่ ลด มด
แมก่ ง ใช้ ก สะกด ได้แก่ ชง ลง

3. คาไทยแต่เดิมไม่นิยมคาควบกล้า ส่วนท่ีมีคาควบกล้าเพราะรับอิทธิพลจากภาษาอื่น เช่น คาว่า
ทรง แทรก ทรุด

4. คาในภาษาไทยไมม่ ีวภิ ัตติปัจจัย หมายถึง แต่ละคาจะไม่มีรากศัพท์ ดังนน้ั เมอื่ จะนาคาเหล่านี้มาใช้
เปน็ คานาม คากริยา หรอื คาวิเศษณ์ จะไม่มกี ารแปลงรปู ด้วยการประกอบวิภัตติปัจจยั

“วิภัตติ” หมายถึง คาหรอื เคร่ืองหมายท่ีใช้ลงท้ายคาเพ่ือบอกการและกาล
“ปัจจัย” หมายถงึ คาท่ีประกอบหลงั รากศัพทเ์ พ่ือแสดงความหมาย
รากศัพท์ เม่ือประกอบด้วยวิภัตตปิ จั จบั แล้วจะทาให้ทราบพจน์ เพศ กาล มาลา วาจก เปน็ ต้น
แม้คาในภาษาไทยไม่มีวิภัตติปัจจัยดังกล่าวแต่จะมีคาแวดล้อมท่ีบ่งบอกว่าเป็นพจน์ หรือกาลอะไร
เชน่ เขาเหล่านั้น ดม่ื แลว้ เป็นต้น
5. คาขยายจะอยูห่ ลังคาทถี่ กู ขยาย เช่น เดก็ ดี สาวงาม หน่มุ หล่อ เปน็ ต้น
6. คาไทยแท้จะไมม่ ตี วั การนั ต์ ดงั นั้น คาทุกคาจะออกเสยี งไดต้ ลอด
7. การประสมคาเพื่อใหม้ ีความหมายต่างกันไปจากเดิม จะใช้วธิ ีเรยี งความ
8. คาในภาษาไทยจะไม่แสดงหน้าที่จนกว่าจะเข้าประโยค ท้ังนี้เพราะคาที่สะกดเหมือนกันบางคาทา
หน้าทไ่ี ม่เหมือนกัน เช่น คาว่า “ขนั ” อาจจะทาหน้าทเ่ี ป็นไดท้ ั้งคานามและคากริยา
9. วรรณยุกตท์ าใหค้ วามหมายของคาเปลี่ยนไป เช่น อา อ่า อ้า อา๊ อ๋า เปน็ ตน้
10. คาต่างชนิดกนั จะมลี กั ษณะนามตา่ งกนั เช่น ยักษ์ 1 ตน ปลา 2 ตวั เลื่อย 1 ปื้น ไข่ 1 ฟอง ฯลฯ
11. ภาษาไทยมที ง้ั คาราชาศัพท์และคาสภุ าพ
จากลักษณะสาคัญของภาษาไทยท่ีกล่าวมาน้ีจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันเราจะพบคาไทยท่ีมีมากกว่าหน่ึง
พยางค์ ท่ีเปน็ เช่นน้อี าจเปน็ เพราะผลจากการติดต่อกับชนชาติอื่นซ่งึ ใช้คาหลายพยางค์ เชน่ คาในภาษามลายูที่
แปลว่างามจะมีสองพยางค์ คือ “สาหรี” คาที่แปลว่า นา คือ “บุหลง” เป็นต้น ด้วยเหตุน้ีจึงได้มีการดัดแปลง
คาไทยให้มหี ลายพยางค์ตามชาติตา่ งๆ เหล่านัน้ ด้วย
กล่าวโดยสรุปจากความรู้เรื่องภาษาที่กล่าวมาทั้งหมดสามารถสะท้อนให้เห็นว่าภาษาไทยคือ
วัฒนธรรมที่คนไทยสร้างข้ึน เพื่อยืนยันความเป็นชาติที่เจริญมีภาษาที่มีเอกลักษณ์ของตน ซ่ึงสามารถดารง
ความมีลักษณะพิเศษทางภาษามาได้ไม่น้อยกว่า 700 ปี สมควรที่เราลูกหลานไทยจะได้ช่วยอนรุ ักษเ์ อกลักษณ์
ของชาติให้คงอยู่ต่อไปโดยไม่พูดไม่อ่านไม่เขียนในสิ่งที่จะทาให้ภาษาไทยวิบัติ อีกท้ังไม่สมควรดูถูกภาษาไทย
และทส่ี าคญั อีกสิง่ หน่ึงในการอนุรกั ษภ์ าษาไทย คือการศกึ ษาเรอื่ งภาษาถิน่ และเร่ืองวรรณกรรม
ความหมายและท่ีมรของภาษาถน่ิ
ภาษาถ่ินตามความหมายที่อาจารย์สมทรง บรุ ุษพฒั น์ ได้ใหค้ าจากดั ความไว้ในหนังสือภูมศิ าสตร์ภาษา
ถิ่น คือ ภาษาย่อยที่พูดในบริเวณใดบริเวณหนง่ึ และมีความแตกต่างทางด้านเสียง คาศัพท์ และไวยากรณ์ จาก
ภาษายอ่ ยที่พดู ในบริเวณอ่นื ความแตกต่างของภาษาถ่นิ ย่อยจะขึ้นอย่กู บั ท้องท่ี

ภาษาถิ่นมีที่มาได้หลายอย่าง เช่น เกิดจากการติดต่อรับวัฒนธรรมท่ีต่างกันมาผสมผสานกันหรือเกิด
จากการชงักงันในการใช้ภาษาด้ังเดิมอย่างต่อเน่ือง ทาให้ขากการติดตามความต่อเน่ืองของวิวัฒนาการของ
ภาษาเดิมจนเปน็ เหตใุ หร้ ปู ความหมาย เสียง และไวยากรณข์ องภาษาเพ้ียนไป เปน็ ต้น
ภาษาถน่ิ ในประเทศไทย

ภาษาถ่ินในประเทศไทยที่นักวิชาการนิยมเรียกว่าภาษาถิ่นตระกูลไทในประเทศไทยน้ันสามารถ
จาแนกไดด้ งั นี้

1. ภาษาไทยถนิ่ กลาง เปน็ ภาษาทีใ่ ช้พดู บริเวณภาคกลางของประเทศ คือ
1.1 ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพฯ หรอื ภาษาไทยมาตรฐานใช้พดู ในกรุงเทพฯ และจงั หวัดใกลเ้ คียง
1.2 ภาษาไทยถ่ินตะวันตก ไดแ้ ก่ ภาษาทใ่ี ช้พูดในเขตจงั หวดั อ่างทอง สุพรรณบุรี กาญจนบุรี
1.3 ภาษาไทยถ่ินตะวันออก ได้แก่ ภาษาทีใช้ในเขตจังหวดั ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด
1.4 ภาษาไทยถิน่ สโุ ขทยั ส่วนใหญ่ใชพ้ ดู ในจังหวัดสโุ ขทัย
1.5 ภาษาไทยถิน่ โคราช ใชพ้ ูดในจังหวดั นครราชสีมา

2. ภาษาไทยถ่ินเหนือ หรือภาษาล้านนา หรือภาษาไทยวน เป็นภาษาท่ีใช้ทางภาคเหนือของประเทศ
ไทย ตั้งแต่สุโขทัยข้ึนไป แต่จะพบว่ามีการใช้ภาษาน้ีในจังหวัดนครราชสีมา สระบุรี ราชบุรี ซึ่งอาจเป็นเพราะ
การอพยพโยกย้ายถ่ินจากเมืองเชียงแสนในอดีตภาษาถิ่นเหนือหากมีการใช้ในพ้ืนท่ีท่ีมิได้ต้ังอยู่ในภาคเหนือจะ
เรยี กวา่ “ภาษาญวน” หรือ “ภาษาลาวยวน”

3. ภาษาไทยถ่ินอีสาน เป็นภาษากลุ่มเดียวกับภาษาท่ีคนในประเทศลาวใช้ ภาษาไทยถ่ินน้ีจะพูดใน
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของไทย

4. ภาษาไทยถิ่นใต้ เป็นภาษาที่ใชพ้ ดู ทางภาคใตข้ องไทยต้ังแตจ่ งั หวัดชุมพรลงไป
5. ภาษาไทยใหญ่ หรือภาษาไตใหญ่ หรือภาษาเงี้ยว ใช้พูดในจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก ตาก เชียงใหม่
และเชียงราย เปน็ ภาษาเดียวกบั ทใี่ ชใ้ นรฐั ฉานของประเทศพม่า
6. ภาษาไทยเขิน เป็นภาษาท่ีใช้พูดในอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย อาเภอสันป่าตอง จั งหวัด
เชียงใหม่
7. ภาษาไทลื้อ ผู้ท่ีใช้ภาษาไทยกลุ่มนี้จะพบในจังหวัดลาปาง แพร่ พะเยา เชียงใหม่ เชียงราย และ
แมฮ่ ่องสอน
8. ภาษาไทยยอง หรือภาษาไตยอง ผู้ที่พูดภาษาไทยถิ่นน้ีจะอาศัยอยู่ในจังหวัดลาปาง แพร่ น่าน
ลาพูน เชียงใหม่ และเชียงราย
9. ภาษาไทยหย่า หรอื ภาษาไตหยา่ มีใช้พดู ในจงั หวัดเชียงราย
10. ภาษาไทยดา หรือภาษาไตดา หรือภาษาไทยโซ่ง หรือภาษาลาวโซ่ง ผู้ท่ีใช้ภาษานี้กระจายกันอยู่
ตามภาคต่างๆ ของไทย ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร นครปฐม กาญจนบุรี
สุพรรณบุรี ลพบุรี สระบรุ ี พิจติ ร พษิ ณุโลก สโุ ขทยั และเลย

11. ภาษาไทยพวน หรือภาษาลาวพวน เป็นภาษาที่มีใช้กระจายตามภาคต่างๆ ได้แก่ จังหวัดเลย
หนองคาย อุดรธานี แพร่ สุโขทัย กาแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง
สุพรรณบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี นครนายก ปราจีนบรุ ี สระบุรี และนครราชสีมา

12. ภาษาผู้ไทย เป็นภาษาท่ีใช้พูดในจังหวัดนครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองคาย อุบลราชธานี
และกาฬสินธุ์

13. ภาษากะเลิง ใช้พดู ในจังหวดั สกลนคร และนครพนม
14. ภาษาญ้อ ใช้พูดในจังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย มหาสารคาม สระบุรี และปราจีนบรุ ี
15. ภาษาโย้ย ใช้พดู ในจังหวัดสกลนคร
16. ภาษาแสก ใช้พดู ในจงั หวัดนครพนม
17. ภาษานครไทย เป็นภาษาถิ่นที่ใช้พูดในอาเภอนครไทย อาเภอชาติตระกาล อาเภอวัดโบสถ์
จังหวัดพษิ ณุโลก อาเภอนา้ ปาด จังหวัดอุตรดติ ถ์ อาเภอหลม่ สัก จงั หวัดเพชรบูรณ์ และอาเภอด่านซา้ ย จงั หวัด
เลย
18. ภาษาตากใบ หรือภาษาเจ๊ะเห เป็นภาษาท่ีใช้พูดในอาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส อาเภอปะนา
เระ อาเภอมายอ ก่งิ อาเภอทงุ่ ยางแดง อาเภอสายบุรี และก่งิ อาเภอไมแ้ ก่น จงั หวดั ปัตตานี
คณุ ค่าของการศึกษาภาษาถน่ิ
1. ช่วยสร้างความสมานฉันท์ให้กับคนในชาติ เพราะการที่เราทุกคนเข้าใจในความแตกต่างทางภาษา
ถ่ินของเพ่ือนร่วมชาติว่า ภาษาถ่ินแต่ละภาษาจะมีลักษณะพิเศษของตนแตกต่างกันแต่ในความต่างนั้นจะมี
ความเหมือนสอดแทรกอยู่ด้วย เช่น ความหมายของคาที่ต้องการสื่อสาร อาจมีเสียงเพื้ยนไปจากที่เราใช้หรือ
คาพูดท่ีพูดอาจแปลกไปจากที่เราพูดไปบ้าง เราก็ควรท่ีจะได้ศึกษาทาความเข้าใจเพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
สุขมิใช่ให้ภาษาถ่ินมาแบ่งแยกคนไทย แต่ใช้ภาษาถิ่นเป็นหลักฐษนยืนยันพัฒนาการความก้าวหน้าของ
ภาษาไทยใหท้ ุกคนได้ประจักษ์
2. ช่วยในการสืบค้นชาติพันธ์ของคนที่ใช้ภาษาเดียวกันหรือใช้ภาษาตระกูลเดียวกันว่าคนเหล่านี้มี
ภูมิลาเนาเดิมอยู่ในประเทศใด มีประวตั คิ วามเป็นมาอย่างไร และมีตน้ ตอทางวัฒนธรรมเชน่ ไร
3. ช่วยสนับสนุนการศึกษาด้านภาษาของชาติ เพราะการศึกษาจารึกหรือวรรณกรรมโบราณส่วนใหญ่
เราจะได้พบคาหรือข้อความที่ไม่มีใช้ในภาษาปัจจุบันที่เราใช้เป็นภาษาราชการห รือภาษามาตรฐานแต่คา
เหล่าน้ีอาจยงั มใี ช้ในภาษาถน่ิ บางที่ ซง่ึ เราสามารถนามาเช่ือมโยงกับภาษาในวรรณกรรมโบราณเหลา่ น้นั ทาให้
เราทราบความหมายและทราบวิวัฒนาการทางภาษาของเรา อีกท้ังยังส่งเสริมให้เกิดการศึกษาวิจัยทางด้าน
ภาษาได้อีกดว้ ย
จากคุณค่าของการศึกษาภาษาถ่ินที่ผู้เขียนได้นาเสนอมานี้เป็นเพียงแนวคิดท่ีนาเสนอในภาพรวมซ่ึง
หากจะนาเสนอในลักษณะแยกย่อยก้จะได้คุณค่อมากกว่านี้ แต่ถึงอย่างไรก็ตามเราทุกคนคงตระหนักร่วมกัน
แล้วว่า ภาษาถ่ินเป็นภาษาที่มีคณุ ค่า เป็นภาษาท่ีใช้ส่ือสารทาความเขา้ ใจของบุคคลแม้จะเป็นเพียงกลมุ่ คนท่ีมี
จานวนไม่มากหากเทียบกับจานวนคนท้ังประเทศ แต่ก็ถือว่าบุคคลเหล่าน้ีเป็นส่วนหน่ึงของชาติ และเป็นส่วน

เดียวกับเราท่ีเป็นคนไทย ดั้งนั้น ภาษาถิ่นของบุคคลเหล่านั้นจึงมีคุณค่า มีความสาคัญ มีวิวัฒนาการที่เราทุก
คนควรยกย่องให้เกียรติกับผู้ใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารภายในกลุ่มภาษาถ่ินเดียวกันมใิ ช่เห็นเป็นเรื่องสนุก หรือ
นาภาษาถ่นิ มาล้อเล่นโดยปราศจากการใหเ้ กียรติซ่ึงกนั และกันและควรระลึกเสมอว่าเราคนไทยทุกคนใชภ้ าษา
ตระกลู เดียวกนั คือ “ภาษาตระกลู ไท”
ความหมายของวรรณกรรมและวรรณคดี

จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คาจากัดความของวรรณกรรมและวรรณคดี
ไวด้ ังนี้

วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสือ งานนิพนธ์ที่ทาข้ึนทุกชนิด ไม่ว่าแสดงออกมาโดยวิธีหรือในรูป
อยา่ งใด เช่น หนังสอื จลุ สาร สิ่งเขยี น ส่ิงพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คาปราศัย สุนทรพนจ์ สิง่ บนั ทึกเสยี งภาพ

วรรณคดี หมายถงึ หนังสอื ท่ไี ด้รบั การยกย่องวา่ แตง่ ดี
ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน หรือท่านเสฐียรโกเศศ ได้กล่าวถึง ความหมายของวรรณคดีไว้ใน
หนังสือการศึกษาวรรณคดีแง่วรรณศิลป์ สรุปความได้ว่า “วรรณคดี” คือ ข้อเขียนท่ีแต่งข้ึนเป็นหนังสือ
นอกจากนี้เรื่องที่เล่าสืบต่อกันมา อาจจะเป็นเร่ืองความรู้หรือเรื่องนิยายนิทาน แม้จะไม่จดเป็นหนังสือไว้ ใน
ภาษาอังกฤษก็เรียกว่า วรรณคดีได้เหมือนกัน สรุปว่า วรรณคดีในลักษณะดังกล่าวข้างต้นเป็น วรรณคดีท่ัวไป
แต่ยังมีวรรณคดีอีกความหมายหน่ึง คือหมายถึง บทประพันธ์ซึ่งมีลักษณะเด่นในเชิงประพันธ์มีค่าทางอารมณ์
และความรู้สกึ แก่ผอู้ ่าน ผู้ฟัง เปน็ วรรณคดมี ีวรรณศิลป์
วรรณศิลป์ ตามความหมายที่ระบุไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 คือ ศิลปะใน
การแตง่ หนังสอื ศิลปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมท่ีถึงข้นั เปน็ วรรณดคี หนงั สือที่ได้รบั ยกย่องว่าแตง่ ดี”
จากความหมายที่นาเสนออาจสรุปได้ว่า งานเขียนทั่วๆ ไปท่ีทาข้ึนเพ่ือใช้ในการส่ือสารน้ัน เรียกว่า
วรรณกรรม ส่วนวรรณคดี คือ วรรณกรรมท่ีมีวรรณศิลป์ หรือวรรณกรรมท่ีแต่งดีจนได้รับการยกย่องว่าเป็น
วรรณคดี
ความเป็นมาของคาว่า “วรรณคดี” น้ีมีปรากฏเป็นคร้ังแรกในพระราชกฤษฎีกาต้ังวรรณดคีสโมสร
เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 (สมัยรชั กาลที่6) และในมาตราที่7 แห่งพระราชกฤษฎกี าฉบับนี้ได้กาหนด
ประเภทหนังสือทเี่ ปน็ วรรณดคไี ว้ 5 ประเภท ดังน้ี
1.กวีนพิ นธ์ คือ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลลิ ติ
2. ละครไทย คือ การแต่งเป็นกลอนแปด มีการกาหนดหน้าพาทย์เพ่ือประกอบการเคล่ือนไหวของตัว
ละคร เปน็ ตน้
3. นิทาน คือ เรื่องท่ีแต่งข้ึนเป็นร้อยแก้ว ซึ่งปัจจุบันได้ขยายความหมายของนิทานออกเป็นนวนิยาย
และเรื่องส้นั
4. ละครพูด หรือละครปัจจบุ ันทีค่ นไทยเอาแบบอยา่ งจากยโุ รป
5. คาอธบิ าย (essay) ในรปู ของบทความตา่ งๆ
ในมาตราท่ี8 กลา่ วถงึ คุณสมบัติของวรรณคดสี าหรับหนังสอื 5 ประเภทข้างต้น ได้แก่

1. เป็นหนังสือดี กล่าวคือ เป็นเรื่องที่สาธารณชนอ่านได้โดยไม่เสียประโยชน์ เป็นเรื่องที่ไม่ชักจูง
ความคดิ ผู้อ่านไปในทางที่ไม่มแี กน่ สาร หรือชักชวนใหค้ ดิ วุ่นวายในทางการเมืองเป็นตน้

2. เป็นหนงั สอื แต่งดี กล่าวคือ จะใช้วิธีเรยี บเรียงอย่างใดก็ตาม ภาษาไทยทีใ่ ช้ต้องถูกต้อง ไม่ใช้วิธแี ต่ง
ประโยคเลียนแบบภาษาตา่ งชาตเิ ช่น ไม่ใช่ “เขามาสาย” แทน “เขามาชา้ ” เปน็ ต้น
องคป์ ระกอบของวรรณคดี

วรรณคดีเป็นหนง่ึ ในประเภทของ Fine Arts หรอื ศิลปะบรสิ ุทธิ์ ซง่ึ มที ้งั ส้นิ 5 ประเภท
1. สถาปตั ยกรรม (Architecture)
2. ประตมิ ากรรม (Sculpture)
3. จติ รกรรม (Painting)
4. ดุรยิ างค์ศลิ ป์ (Music)
5. วรรณคดี (Literature)
ศิลปะท้ัง 5 ประเภทนี้ ยังมีอีกช่ือหนึ่งว่า Creative Arts หรือศิลปะสร้างสรรค์ เพราะสร้างขึ้นจาก
อารมณ์สะเทือนใจ (Emotion) หรือสร้างจากจินตนาการ (Imagination) ด้วยการแสดงออก(Expression)
ตามเทคนิคหรือกลวิธี(Technique) องค์ประกอบ(Composition) และท่าทางท่ีแสดงออกหรือท่วงทานองใน
การแตง่ (Style) ดังนัน้ วรรณคดจี งึ ประกอบดว้ ย
1.อารมณ์สะเทือนใจ(Emotion) เป็นอารมณ์อันก่อให้เกิดความนึกคิดทางศิลปะเป็นบทนาความคิด
ทั้งหลายในรูปทงั้ ความสขุ และความทุกข์
2. ความนึกคิดหรือจินตนาการ(Imagination) ความนึกคิดนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลให้เกิดอารมณ์
สะเทือนใจได้ และในทางกลบั กนั เม่ือเกิดอารมณส์ ะเทือนในขนึ้ บางครัง้ ทาให้หวนคิดถึงเร่อื งเกา่ ๆ ได้ ความนึก
คิดหรือจินตนาการจึงมสี ่วนในการสร้างเร่อื งให้งดงามย่ิงขึน้
3. การแสดงออก(Expression) เป็นการถอดเอาอารมณ์สะเทือนใจและจินตนาการของผู้แต่งมาสู่
ผอู้ า่ น
4. เทคนิคหรือกลวิธี(Technique) คือวิธีการที่ผู้แต่งใช้ในการถ่ายทอดจินตนาการหรือถ่ายทอด
อารมณ์ของตนส่ผู ูอ้ า่ นเพอื่ ใหเ้ กิดความประทบั ใจ เปน็ ต้น
5. องคป์ ระกอบ(Composition) ตอ้ งเหมาะสมประสานกลมกลนื
6. ท่วงท่าทีแสดงออกหรือท่วงทานองในการแต่ง(Style) ซึ่งเป็นท่วงทานองในการแต่งเฉพาะตัวของ
แต่ละบุคคล
ประเภทของวรรณคดี
การจาแนกประเภทของวรรณคดีนน้ั อาจพิจารณาไดจ้ าก
1. ลกั ษณะการเขียน สามารถแบ่งไดเ้ ป็น

1.1 วรรณดครี อ้ ยแก้ว คือ เขยี นในลกั ษณะของความเรยี งธรรมดา

1.2 วรรณคดีร้อยกรอง คือ เขียนในลักษณะของการบังคับรูปแบบด้วยฉันทลักษณ์ลักษณะ
ต่างๆ

2. ประโยชน์หรือจุดมุ่งหมาย ที่วรรณคดีเรื่องน้ันมุ่งเน้นนอกเหนือจากความเพลิดเพลินทางอารมณ์
แบง่ ไดเ้ ป็น

2.1 วรรณคดบี ริสุทธ์ิ เปน็ วรรณคดีท่ผี ู้แตง่ เน้นประโยชนค์ วามงามของเรอ่ื งด้วยตัวอกั ษร
2.2 วรรณคดปี ระยกุ ต์ เปน็ วรรณคดที เ่ี น้นการนาวรรณคดีไปใชใ้ ห้เป็นประโยชน์อย่างใดอย่าง
หนงึ่ เช่น เพื่อเปน็ คตสิ อนใจ หรือเพอ่ื ประกอบพธิ ีกรรม เป็นตน้
3. ลักษณะเน้ือเรอื่ ง สามารถแบง่ ได้ดังน้ี
3.1 วรรณคดีเฉลิมพระเกยี รติ
3.2 วรรณคดเี กี่ยวกับศาสนา
3.3 วรรณคดีเกย่ี วกบั ประเพณี
3.4 วรรณคดีสภุ าษิต
3.5 วรรณคดกี ารละคร หรอื นาฏวรรณคดี
3.6 วรรณคดเี ชิงนิยาย หรือ กลอนประโลมโลก
3.7 วรรณคดนี ิราศ
4. หลักฐานการได้มา ของวรรณคดีเล่มน้ันสามารถแบ่งไดด้ งั นี้
4.1 วรรณคดีทบี่ นั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐานหรอื เปน็ ตวั อักษร
4.2 วรรณคดีท่ีไม่ไดบ้ ันทึกไว้เป็นหลักฐาน หรือมุขปาฐะ จะใช้วธิ ีถ่ายทอดโดยการจดจา เล่า
ขาน สืบต่อกนั มา
การแบ่งสมัยทางวรรณคดีไทย
นกั วชิ าการได้แบง่ สมยั ทางวรรณคดีไวห้ ลายแบบ เช่น
1.แบ่งตามการบั อทิ ธพิ ลตะวนั ตก คอื
1.1 สมยั กอ่ นรับอิทธพิ ลตะวนั ตก(สโุ ขทัย-รัตนโกสินทรต์ อนต้น พ.ศ.1800-พ.ศ.2411)
1.2 สมัยรับอทิ ธพิ ลตะวนั ตกถึงปัจจบุ นั
2. แบง่ ตามเมอื งหลวง หรือยึดศูนย์อานาจทางการเมืองเป็นหลัก คอื
2.1 วรรณคดสี มยั สุโขทยั (พ.ศ.1800 – พ.ศ.1920)
2.2 วรรณคดสี มยั อยธุ ยา (พ.ศ.1893 – พ.ศ.12310) แบง่ เปน็ 3 ระยะไดแ้ ก่

2.2.1 สมยั อยธุ ยาตอนตน้ (พ.ศ.1893 – พ.ศ.2072)
2.2.2 สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2163 – พ.ศ.2231)
2.2.3 สมัยอยธุ ยาตอนปลาย (พ.ศ.2275 – พ.ศ.2310)
2.3 วรรณคดสี มยั ธนบุรี (พ.ศ.2311 – พ.ศ.2324)
2.4 วรรณคดสี มัยรัตนโกสนิ ทร์ (พ.ศ.2325 – ปัจจุบนั ) แบ่งเปน็ 2 ระยะไดแ้ ก่

2.4.1 สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ (พ.ศ.2325 – พ.ศ.2411)
2.4.2 สมัยรัตนโกสินทร์ยุครับอิทธิพลตะวันตกถึงปัจจุบัน (หลังพ.ศ.2411 –
ปัจจบุ ัน)
ลกั ษณะทว่ั ไปของวรรณกรรมสมยั สุโขทัย
วรรณกรรมสมัยนี้ปรากฏในรูปของศิลาจารึก และวรรณกรรมท่ีถูกคัดลอกดัดแปลงแล้วซึ่งเชื่อกันว่า
ต้นฉบับเดิมน่าจะมีข้ึนในสมัยสุโขทัย วรรณกรรมเหล่าน้ีจะมีเนื้อเรื่องเกยี่ วกบั การสดุดีพระมหากษัตรยิ ์ บันทึก
เหตุการณบ์ า้ นเมือง เรอ่ื งคาสอนของพทุ ธศาสนา คติสอนใจ และประเพณีต่างๆ
ลกั ษณะทวั่ ไปของวรรณกรรมสมยั อยธุ ยา
ในสมัยน้ีวรรณกรรมที่แต่งเป็นร้อยกรองมี 5 ประเภท คือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย ส่วน
วรรณกรรมร้อยแก้วนั้นมีแต่ไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะนิยมร้อยกรองมากกว่าร้อยแก้ว และร้อยกรองที่นิยมแต่ง
มากทีส่ ุดคอื โคลง ซงึ่ สามารถจาแนกลักษณะวรรณกรรมตามลกั ษณะของเน้ือเร่ืองได้ดงั นี้
1. วรรณกรรมพิธีกรรม ผแู้ ต่งจะเปน็ พราหมณ์เพือ่ นาไปใชใ้ นพีศกั ดส์ิ ิทธ์ิซ่งึ มกั จะเก่ียวข้องกับพระราช
พิธี
2. วรรณกรรมสดุดี คือ วรรณกรรมท่ีเกดิ จากความยินดี ความภาคภูมิใจในตวั วรี บรุ ษุ
3. วรรณกรรมศาสนาและคาสอนทางพระพุทธศาสนา ประกอบดว้ ย 3 ประเภท คือ
3.1 ประเภททม่ี ตี ัวละครดาเนินเรอ่ื ง
3.2 ประเภทปญั หาธรรม
3.3 ประเภทตัดตอนมาจากเรือ่ งอน่ื เพ่ือมุง่ สงั่ สอนประชาชนและใชใ้ นการปกครองบ้านเมอื ง
4. วรรณกรรมเพ่อื ความบันเทงิ
5. วรรณกรรมวิชาการ คือวรรณกรรมที่ให้ความรู้ เช่น ตาราสงคราม ตารายา ตาราข่ีช้าง และตารา
ทางภาษา เปน็ ต้น
6. วรรณกรรมประวตั ิศาสตร์ ซงึ่ รวมตั้งตานานบันทกึ เหตกุ ารณ์ และหนังสือราชการ
ลกั ษณะทั่วไปของวรรณกรรมสมัยธนบรุ ี
ในสมัยธนบุรีแม้จะมีระยะเวลาสั้นเพียง 15 ปี แต่วรรณกรรมที่เกิดข้ึนนิยมแต่งเป็นร้อยกรอง โดยมี
วัตถุประสงค์ในการแต่งเพ่ือปลอบใจใหค้ ลายจากความหวาดกลัวสงคราม และปลกุ ใจให้รักชาติ วรรณกรรมใน
สมยั นมี้ ี 4 ประเภท คอื
1. วรรณกรรมการละครและนทิ าน
2. วรรณกรรมสดดุ ี
3. วรรณกรรมคาสอน
4. วรรณกรรมนริ าศ

ลกั ษณะทั่วไปของวรรณกรรมสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้
วรรณกรรมในสมัยนี้รับอิทธิพลจากวรรณกรรมสมัยอยุธยาทั้งด้านรูปแบบ เน้ือหา แนวคิด อุดมคติ

และจุดมุ่งหมายของวรรณกรรม ลกั ษณะการประพันธ์ ได้แก่ ร้อยแก้ว บทละคร บทเสภา โคลง ฉันท์ ลลิ ิต คา
กลอน ปกณิ คดี หรอื วรรณกรรมประเภทวชิ าการ
ลกั ษณะท่ัวไปของวรรณกรรมสมัยรตั นโกสินทรย์ ุครับอิทธิพลวรรณกรรมตะวนั ตกถึงปัจจบุ ัน

วรรณกรรมยคุ นม้ี ลี ักษณะสาคัญ 3 ประการ คอื
1. นิยมวรรณกรรมสนั สกฤตทแ่ี ปลจากตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษ
2. นิยมเขียนร้อยแก้วมากกวา่ รอ้ ยกรอง
3. มีการแปลและแปลงวรรณกรรมตะวนั ตก
คณุ คา่ ของวรรณกรรมไทย
วรรณกรรมไทยมีคุณค่าต่อผู้อ่านและผู้ศึกษาท้ังทางตรงและทางอ้อม เช่นผู้อ่านวรรณกรรมจะซึมซับ
ความไพเราะและความงามของภาษาท่ีกวีสรา้ งขึ้น รวมทั้งคุณค่าทางอารมณ์ ซ่ึงจัดเป็นคุณค่าทางตรงที่ผู้อ่าน
ได้รับ ส่วนคุณค่าทางอ้อม ได้แก่ ความรู้ต่างๆ ที่สอดแทรกในเนื้อเรื่องทั้งด้านประวัติศาสตร์ สภาพสังคม
วัฒนธรรม คติชีวิต และความภาคภูมิใจในชาติและบรรพชนของชาติ เป็นต้น อนึ่ง อรรถรสของวรรณกรรม
ไทยจะยิ่งทรงคุณค่ามากข้ึน หากผู้อ่านจะได้ศึกษาจุดประสงค์ของผู้แต่งหรือกวี ว่าท่านแต่งเพื่ออะไรเพราะ
บางครงั้ การทเี่ ราเข้าไมถ่ ึงคุณคา่ ของสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ อาจเป็นเพราะเราไม่ทราบวา่ สิ่งน้นั มีไว้เพอื่ อะไร

เชงิ อรรถบทท่ี 5
1 จานงค์ ทองประเสริฐ. การใชภ้ าษา-หลักภาษา. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น,์ 2523. หน้า 107-108.
2 สมทรง บุรุษพฒั น์. ภูมิศาสตร์ภาษาถิ่น. กรุงเทพฯ: เอกพิมพ์ไทจากดั , 2543. หน้า 27-29.
3 กตญั ญู ชูชืน่ . ประวตั วิ รรณคดไี ทย. กรุงเทพฯ: ทิพย์อกั ษร, 2527. หน้า 61-65.

บรรณานุกรมบทที่ 5
บญุ ยงค์ เกศเทศ. ประวัตศิ าสตร์วรรณกรรม. กรุงเทพฯ: ทพิ ย์อกั ษรการพิมพ์, ม.ป.ป..
พิมลชัย ศกึ ษาภรณ.์ ศิลาจารกึ พ่อขนุ รามคาแหง. กรงุ เทพฯ: ไทยสัมพันธ,์ ม.ป.ป..
สทิ ธา พนิ ิจภูวดล และคณะ. ความรูท้ ่ัวไปทางวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง,

2514.


Click to View FlipBook Version