บทที่ 4
การปฏิบัตงิ านในการนาเท่ียวของมัคคุเทศก์
มัคคุเทศก์คือ ผู้ให้บริการแก่นักท่องเที่ยวท่ีมีใจรักในการบริการ ย้ิมแย้มแจ่มใส สร้างความอบอุ่นใจ
ให้กับนักท่องเที่ยว มัคคุเทศก์เป็นบุคคลท่ีสาคัญในการนานักท่องเท่ียวออกเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยว
ต่างๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ มัคคุเทศก์ทาหน้าที่ในการให้ความรู้เก่ียวกับประเทศ หรือสถานท่ี
ทอ่ งเท่ยี วที่พานกั ท่องเทย่ี วไปชม คอยชีแ้ นะ และดแู ลอานวยความสะดวกให้แก่นักท่องเท่ียว โดยจะมกี ารแบ่ง
การปฏิบัตงิ านของมัคคุเทศก์ทีส่ าคญั ดังนี้
4.1 การปฏบิ ตั ิงานนาเที่ยวภายในประเทศ
การนาเท่ียวนักท่องเท่ียวท่ีมาจากต่างประเทศหรือนานักท่องเท่ียวไทยท่องเที่ยวภายในประเทศ
ภารกิจที่มัคคุเทศก์ต้องปฏิบัติในการนาเที่ยวจะมีขั้นตอนเริ่มต้ังแต่การไปรับนักท่องเที่ยว ณ จุดรับเข้า หรือ
จุดรับนักท่องเท่ียว การนาเที่ยว และส่งนักท่องเท่ียวกลับยังโรงแรมท่ีพักหรือจุดหมายปลายทางจนกระทั่ง
ส่งกลับประเทศในที่สุด โดยท่ัวไปแล้วมัคคุเทศก์จะปฏิบัติงานในหน้าท่ีหลัก 3 ประการ ดังน้ี การรับเข้า
นักท่องเท่ียว การส่งออกนักท่องเที่ยว และการนาเท่ียวมัคคุเทศก์บางคนได้รับคาส่ังจากบริษัทนาเที่ยวให้
ปฏิบัตหิ น้าทเ่ี ฉพาะการรับเขา้ และส่งออกนักทอ่ งเทีย่ ว บางคนกท็ าหนา้ ท่ีนาเที่ยวอย่างเดยี ว ดังน้นั ไมจ่ าเปน็ ว่า
มัคคุเทศก์จะต้องปฏิบัติหน้าท่ีครบทั้ง 3 ประการ ข้ึนอยู่กับความสามารถ ความถนัด ท่ีสาคัญอยู่ที่ใบงานจาก
บริษัทนาเทีย่ วทีต่ นสังกดั มอบหมายมา
4.1.1 การรับเขา้ นกั ท่องเทย่ี ว (Transfer-In)
การรับเข้านักท่องเท่ียวหมายถึง การไปรับนักท่องเท่ียวจากจุดเข้าเมือง เช่น ที่ท่าอากาศยาน ท่าเรือ
สถานีรถไฟ หรือสถานีรถยนต์(ขนส่ง) แล้วนามาส่งยังสถานที่พักแรม ดูแลให้นักท่องเท่ียวเข้าท่ีพักอย่าง
เรยี บร้อย หรอื พาไปท่องเทีย่ วต่อยงั แหล่งทอ่ งเท่ยี วโดยท่วั ไปการรับเข้านักท่องเทย่ี ว มคั คเุ ทศกค์ วรยึดแนวทาง
ในการปฏิบัตดิ ังนี้ (ฉนั ทชั วรรณถนอม, 2551: 64-69)
1) รับใบงาน (Tour Order หรือ Job Order) จากแผนกทวั ร์ (Operation) ของบริษัท ท่ี
รบั งาน
2) ตรวจและศึกษารายละเอียดในใบส่ังงานที่ได้รับมอบหมายให้เข้าใจ ตรวจรายการ เช่น
จะต้องไปรับนักท่องเท่ียว ณ จุดใด วันเวลาอะไร โดยเที่ยวบิน รถไฟ หรือทางรถยนต์เท่ียวใด มีนักท่องเที่ยว
กี่คน มีการพักแรมรับประทานอาหารที่ใดบ้าง ต้องพานักท่องเท่ียวไปชมสถานที่ไหน (กรณีต้องนาเที่ยวด้วย)
ระยะเวลาท่ีพานักอยู่ในประเทศไทย และวนั เวลาเดินทางกลับ เป็นต้น รวมทัง้ รายละเอียดเก่ียวกบั การบริการ
ท่ีจะไดร้ ับอ่นื ๆ ถ้ามปี ัญหาสงสยั ให้รบี สอบถามคนให้งานของบริษทั ทันที
3) จัดเตรียมอุปกรณ์เอกสารเก่ียวกับการนาเท่ียว สาหรับนักท่องเท่ียวให้เรียบร้อย เช่น
บตั รเขา้ ชมสถานที่ ใบจองและเอกสารอน่ื ๆ ท่ีจาเป็นเก่ียวขอ้ งและระบุในใบงาน
4) จัดเตรียมป้าย หรือจัดทาสัญลักษณ์เคร่ืองหมายของบริษัทนาเท่ียว อาจเป็นป้ายบริษัท
หรือป้ายท่ีมีรายช่ือนักท่องเท่ียว (กรณีมาแบบ F.I.T) หรือชื่อกลุ่มทัวร์ (กรณีมาเป็นกลุ่ม) และหมายเลข
เท่ยี วบินเพื่อเป็นการตอ้ นรับและแสดงใหน้ กั ท่องเท่ียวเหน็ ณ จุดรับเข้า
5) ตรวจสอบวันเวลาข้าวของเคร่ืองบิน รถยนต์ รถไฟ แล้วแต่กรณี ถ้านักท่องเท่ียวเดินทาง
โดยเครื่องบินจะต้องตรวจสอบการมาถึงอย่างน้อยก่อนเคร่ืองบินลงครึ่งช่ัวโมงหรือ 1 ชั่วโมง และตรวจสอบ
เวลาถงึ เป็นระยะๆ
6) นัดหมายคนขบั รถที่จุดหมาย หรืออาจไปรับนกั ท่องเทย่ี วพร้อมกัน
7) ควรเดินทางถึงท่าอากาศยานหรือจุดหมายก่อนเวลานักท่องเท่ียวมาถึงอย่างน้อยเป็น
ช่ัวโมง กรณีบริษัทที่ว่าจ้างมัคคุเทศก์เป็นสมาชิกของสมาคมไทยธุรกิจการท่องเท่ียว(ATTA) มัคคุเทศก์ก็ต้อง
ติดต่อสอบถาม ATTA ท่ีประจาอยู่ที่ท่าอากาศยาน ซ่ึงจะมีอยู่ 2 ฝั่ง ที่ประตูทางออก B และ C ยื่นฝ่ังใดก็ได้
เพอ่ื แจง้ ความประสงคโ์ ดยการกรอกแบบฟอร์มว่าจะมารบั นักทอ่ งเที่ยวมาจากไหนสายการบินอะไร เทย่ี วบนิ ที่
เทา่ ไหร่ จานวนนกั ทอ่ งเทีย่ วกค่ี น ช่ือหรอื กรุ๊ปนกั ท่องเทยี่ วสัญชาติอะไร พกั ที่โรงแรมไหน เลขทะเบียนรถท่ีมา
รับ ชื่อของมัคคุเทศก์ท่ีมารับและข้อมูลอื่นๆ เพื่อใช้ในการรับลูกค้าเข้ามายังประเทศไทย ถ้าหากเกิดปัญหา
ข้ึนทาง ATTA ก็จะได้ติดต่อกับมัคคุเทศก์หรือบริษัทนาเท่ียวได้และเมื่อเคร่ืองลงจอดเจ้าหน้าที่ก็จะเรียกรถ
ท่ีมารบั จากลานจอดรถใหญ่ ให้เข้ามาจอดในบริเวณท่ีเจ้าหน้าที่สมาคมฯ กาหนดไว้ มัคคุเทศกต์ ้องไปยนื รอรับ
นักท่องเท่ียว และหัวหน้าทัวร์(ถ้ามี) พร้อมชูป้ายช่ือกลุ่มหรือป้ายช่ือนักท่องเท่ียวในบริเวณที่ทางออกของ
ผู้โดยสารขาลงจากเคร่ือง หรือบริเวณที่เจ้าหน้าท่ีสมาคมจัดไว้ให้ แต่หากเป็นการมารับนักท่องเที่ยวเป็น
โดยท่ัวไปมัคคเุ ทศก์มักรอรบั ลูกค้าท่ีประตูทางออก ซึง่ ภายในสนามบินจะมีประตูทางออกท้ังหมด 3 ประตู คือ
A, B และ C เราจะสังเกตได้จากบอร์ดที่จะแจ้งให้ทราบวา่ เท่ียวบินน้ีทางออกอะไร เราก็ไปยืนรับนักท่องเท่ียว
ทป่ี ระตูทางเขา้ น้นั ได้
8) เม่ือพบนักท่องเท่ียวท่ีมาแบบF.I.Tมัคคุเทศก์ควรกล่าวต้อนรับและแนะนาตัวแต่ถ้าเป็น
กรุ๊ปทัวร์มัคคุเทศก์จะต้องเข้าไปแนะนาตัวกับหัวหน้าทัวร์ และทั้งสองควรกล่าวทักทายพร้อมแนะนาตัว
สอบถามว่าการเดินทางเป็นอย่างไรบ้าง จากนั้นก็ตรวจสอบจานวน รายชื่อนักท่องเที่ยว จานวนสัมภาระและ
ตรวจเก็บ Voucher การใช้บริการต่างๆ จากหัวหน้าทัวร์ รับมอบเอกสารต่างๆ จากหัวหน้าทัวร์ของ
นักท่องเท่ียว เพ่ือจะได้ทราบว่านักท่องเท่ียวได้ใช้บริการตรงกับใบงานที่มัคคุเทศก์ได้รับมาหรือไม่ จากนั้นก็
ชว่ ยตรวจสอบยา้ เตือนเร่ืองสัมภาระของนักท่องเทย่ี วก่อนชว่ ยขนขึ้นไวใ้ ต้ทอ้ งรถ
9) นานักท่องเที่ยวไปส่ง ณ ที่พักตามที่ระบุ(กรณีต้องเข้าที่พักก่อน)โดยระหว่างการเดินทาง
มคั คุเทศกค์ วรสนทนาสรา้ งความเปน็ กันเองให้ข้อมลู เบ้ืองตน้ เกย่ี วกับประเทศของตนในเรื่องตา่ งๆ เช่น เวลาใน
ประเทศไทยเทียบกับเวลาของประเทศเขาเร็วหรือช้ากว่ากันก่ีช่ัวโมง สภาพอากาศ ภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์ วิถี
ชีวติ สถานทท่ี ่องเทีย่ วทีน่ ่าสนใจ(โดยเฉพาะสถานท่ีมีในโปรแกรม) อัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตรา ภาษาถน่ิ ทจ่ี าเป็น
อย่างง่ายท่ีใช้ในชีวิตประจาวันเพ่ือให้นักท่องเท่ียวได้ใช้ประโยชน์และควรแนะนาข้อควรปฏิบัติตนระหว่างอยู่
ในประเทศ เช่น มารยาทในการชมวัดหรือสถานทศ่ี กั ด์สิ ทิ ธ์ิ ข้อควรปฏิบตั ไิ มค่ วรปฏบิ ตั ิระหวา่ งการท่องเทย่ี วใน
แต่ละจุด เป็นต้น และถ้าเป็นเพียงการรับจากสนามบินไปส่งท่ีโรงแรม การปฏิบัติแค่ข้ันตอนน้ีก็ถือเป็นการ
เสร็จส้นิ ภารกจิ
10) ดูแลส่งนักท่องเท่ียวเข้าที่พัก พร้อมนัดหมาย วันเวลา ในการท่องเที่ยววันรุ่งข้ึน(กรณีท่ี
ต้องรับนักทอ่ งเท่ยี วไปเทยี่ วตอ่ ในวันถดั ไป)
4.1.2 หน้าทีใ่ นการส่งออกนกั ทอ่ งเทีย่ ว (Transfer-Out)
หลังจากนักท่องเท่ียวจบสนิ้ โปรแกรมท่องเท่ียวแล้ว มัคคุเทศก์หรือผู้นาเที่ยวก็จะต้องนานักท่องเท่ยี ว
ไปส่งยังท่าอากาศยาน ท่าเรือ สถานีรถไฟหรือสถานีเดินรถ(ขนส่ง) เพื่อเดินทางกลับ กรณีนักท่องเที่ยวมี
หัวหน้าทัวร์มาด้วยมัคคุเทศก์ก็จะต้องช่วยเหลือหัวหน้าทัวร์ในการส่งออกหรือส่งนักท่องเท่ียวกลับประเทศ
ส่วนนักท่องเท่ียวท่ีขอใช้บริการเฉพาะการให้ไปส่ง ซ่ึงต้องใช้มัคคุเทศก์รับส่งหรือ Transfer Guide ก็อาจใช้
แนวปฏบิ ตั ิเดียวกันดงั นี้ (ฉันทัช วรรณถนอม, 2551: 70)
1) ตรวจสอบยืนยันบัตรโดยสารควรยืนยันก่อนเวลาเดินทางไม่น้อยกว่า 72 ช่ัวโมงกรณีไป
เคร่อื งบิน
2) ตรวจสอบเวลาออกท่แี น่นอนของเทย่ี วบิน
3) ตรวจสอบ นดั แนะเวลากับคนขบั รถเพอื่ รับนกั ทอ่ งเทยี่ วไปสง่ ยังสนามบิน
4) ดูแลการคืนห้องพัก(Check-Out) ของนักท่องเที่ยวให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตรวจสอบยา้ เตือนเรือ่ งสัมภาระไม่ใหห้ ลงลมื
5) นานักท่องเที่ยวไปส่งยังท่าอากาศยาน ก่อนเครื่องออกอย่างน้อย 2 ช่ัวโมง ย้าเตือนไม่ให้
เขาลมื สิ่งของ
6) ดูแลการ Check-In หรือการตรวจบัตรท่ีน่ังของนักท่องเท่ียว ณ เคาน์เตอร์สายการบินให้
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ดูแลกาเอ็กซเรย์ การชั่งน้าหนักกระเป๋า อานวยความสะดวกในการตรวจสอบบัตร
โดยสารผา่ นข้นึ เครอ่ื ง (Boarding Pass) กรณีนักทอ่ งเทีย่ วมีหวั หน้าทวั ร์มาด้วย มคั คุเทศกต์ ้องประสานงานกับ
หัวหนา้ ทวั ร์ เรื่องเอกสารสัมภาระต่างๆ ไมใ่ หห้ ลงลืม เช่น พาสปอรต์ ใบตรวจคนเขา้ เมือง ใบสาแดงสง่ิ ของต่อ
ศุลกากร การขอคนื ภาษีต่างๆ
7) มัคคุเทศก์กล่าวขอบคุณต่อนักท่องเท่ียวท่ีใช้บริการ กล่าวคาอาลาและเชื้อเชิญให้เขา
กลับมาเที่ยวอีก ขอบคุณอาลาหัวหน้าทัวร์ ตรวจสอบเอกสารสิ่งของไม่ให้หลงลืมอีกครั้ง จากนั้นกลับเข้าไป
รายงานบริษทั นาของท่เี บกิ ใช้ คา่ ใช้จ่ายตา่ งๆ ที่เหลอื ระหว่างการนาเทีย่ วคืนบรษิ ัท
4.1.3 หน้าท่ใี นการนาเทีย่ ว (Tourist Guide)
บางครั้งการนาเท่ียวจะเริ่มจากการรับนักท่องเที่ยวท่ีสนามบินแล้วไปท่องเท่ียวต่อเลยข้ึนอยู่กับเวลา
มาถึงของเท่ียวบนิ บางครั้งตอ้ งพานกั ท่องเทยี่ วเข้าสู่ทีพ่ ักให้เขาได้พกั ผ่อนจากการเดินทางไกลเสยี ก่อน ตอ่ ไปนี้
จะเปน็ หน้าที่การปฏิบัติงานนาเที่ยว ซง่ึ มคั คเุ ทศก์สามารถนาไปปรับใช้ไดท้ ้ังการนาเทย่ี วแบบ Inbound Tour
แบบ Outbound Tour และแบบ Domestic Tour โดยก่อนนาเท่ียวมัคคุเทศก์ต้องเตรียมการในเร่ืองต่างๆ
ดังนี้ (ฉนั ทัช วรรณถนอม, 2551: 70-89)
4.1.3.1 การเตรยี มตวั ก่อนออกเดินทาง
1) ด้านการเตรียมงาน ตรวจสอบแฟ้มงานออกทัวร์ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่ง
ท่องเที่ยวต่างๆ ที่จะแวะเยี่ยมชมไม่ว่าจะเป็นทางด้านประวัติศาสตร์ เกร็ดความรู้ ศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมวิถีชีวิต จุดเด่นของแหล่งท่องเที่ยว สินค้าพ้ืนเมือง ความเป็นมาของจังหวัดท่ีแหล่งท่องเท่ียว
ต้ังอยู่ ตลอดจนจังหวดั หรอื เมอื งที่ผ่าน รวมไปถงึ ประชากร อาชีพ การคมนาคม ภมู ิประเทศ ซ่ึงควรดาเนินการ
ดังน้ี
1.1) ประชุมรับงาน ฟงั การสรุปจากผใู้ หง้ านก่อนเวลาเดินทางพอสมควร
1.2) ศกึ ษารายละเอยี ดของโปรแกรมท่องเทีย่ วให้เข้าใจ ศึกษารายการนา
เทีย่ ว กาหนดการว่ามีกว่ี ัน และพักกจ่ี งั หวัด พักที่ไหน ตอ้ งผ่านเมืองอะไรบ้าง แวะทจ่ี ดุ ไหน ผา่ นเส้นทางใดบา้ ง
รา้ นอาหารทีจ่ ะไปรับประทานมชี ื่อเสียงดา้ นใด ใชย้ านพาหนะอะไรบา้ งในการเดนิ ทาง การเดนิ ทางแตล่ ะจุด
หา่ งกนั แค่ไหน ใช้เวลาในการเดนิ ทางมากน้อยเพียงใดเพื่อจะได้จัดกิจกรรรมบนรถได้ถกู ต้อง
1.3) ศึกษาขอ้ มลู เกี่ยวกับท่ีพักแรม เชน่ โรงแรมที่พกั เป็นโรงแรมระดบั ใด
อปุ กรณ์บนห้องพกั ใชอ้ ยา่ งไร การบรกิ ารเป็นอยา่ งไร มีบรกิ ารอะไรบา้ ง มีสิ่งอานวยความสะดวกอะไรบา้ ง
1.4) ศึกษาแผนที่การเดินทางว่า ไปเส้นทางใด และควรมีแผนที่ติดตัวไป
ด้วยโดยเฉพาะในทที่ ่ไี มเ่ คยไป
1.5) ศึกษาประเภทของนักท่องเที่ยวได้แก่ข้อมูลส่วนตัว เบอร์โทรศัพท์ รูป
ถ่าย วันเดือนปีเกิด บันทึกสุขภาพ ตรวจสอบว่ามีการขอบริการพิเศษอื่นหรือไม่ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับ
นักท่องเที่ยวว่าเป็นใคร ทีอาชีพ มีความต้องการพิเศษอะไร เช่น รับประทานอาหารมังสวิรัติ ไม่รับประทาน
เนือ้ ววั เปน็ ตน้ ควรสังเกตถงึ วันเกดิ ของนักท่องเที่ยวแต่ละคน ถ้าชว่ งวันเดนิ ทางตรงกบั วันเกิดนักท่องเท่ียวคน
ใด ก็ควรเตรียมของขวัญอวยพรวนั เกดิ ไปให้ดว้ ย เปน็ ตน้
1.6) ศึกษาเส้นทางและข้อมูลสถานท่ีท่องเท่ียวเพื่อจะได้สามารถให้ความรู้
แก่นักท่องเที่ยว ถ้าไปต่างประเทศควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศที่ไปเยือน ประวัติความเป็นมา ประชากร
วิถีชีวิตของคน อากาศ ภาษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี สิ่งท่ีควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติระหว่าง
การท่องเทยี่ ว
1.7) ศึกษารายการทัวร์ หรือบริการอ่ืนๆ ของบริษัทเพ่ือสามารถให้
รายละเอียดแกน่ ักทอ่ งเท่ียวได้
1.8) เชค็ รา้ นอาหาร ทีพ่ ัก สถานทต่ี า่ งๆ ในโปรแกรมวา่ ทางบริษัทได้จองไว้
เรียบรอ้ ยถูกตอ้ งตรงจานวนแลว้ หรอื ยงั
1.9) ศึกษาและเตรียมสันทนาการต่างๆ ให้เหมาะสมเพ่ือสร้างความ
เพลิดเพลินแกน่ กั ทอ่ งเที่ยว
1.10) ศึกษาข้อมูลอ่ืนท่ีจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานหรือแนะนา
นักท่องเท่ียว เช่น กรณีไปต่างประเทศ ให้ศึกษาเร่ืองค่าของ เงิน ค่าครองชีพ อัตราแลกเปลี่ยนเงิน ส่ิงของที่
ต้องนาติดตัวไป ระบบไฟฟ้า รูเสียบปลั๊กไฟในห้องพัก แรงดันไฟฟ้า ถ้าจะนาอุปกรณ์ไฟฟ้าจากประเทศไทยไป
จะใช้ได้หรือไม่ ถ้าได้จะต้องเตรียมอย่างไร โทรศัพท์มือถือสามารถนาระบบใดไปใช้ได้บ้าง เร่ืองความแตกต่าง
ของเวลา เร่ืองการใช้ภาษาบางคาหรือบางประโยคง่ายๆ ท่ีจาเป็นสาหรับการทักทาย การต่อรองราคาสินค้า
เปน็ ต้น
1.11) แบ่งงานกันรับผิดชอบ ตามความถนัด ตามความสามารถของแต่ละ
คนพรอ้ มทัง้ ประชมุ วางแผนงานไวล้ ่วงหนา้ ทุกขน้ั ตอน(กรณีมีผู้ชว่ ยมัคคุเทศก์)
1.12) เบกิ อปุ กรณส์ ่ิงอานวยความสะดวกในการทางานให้พร้อม
1.13) ตรวจสอบและเตรียมเอกสารท่ีจาเป็นในการนาเท่ียว เช่น โปรแกรม
เดินทาง รายชื่อท่ีนั่งบนรถ (นิยมมีในการนาเที่ยวแบบ Domestic) ใบจัดนักท่องเที่ยวเข้าที่พัก กรณีไป
ต่างประเทศต้องมีบัตรโดยสารเคร่ืองบิน เอกสารการเข้าออกประเทศ แบบฟอร์มแจ้งรายการสิ่งของต่อ
ศุลกากร และเอกสารอนื่ ๆ ท่เี ก่ียวข้อง
1.14) ถ้าไปนาเท่ียวต่างประเทศบางบริษัทมีนโยบายให้มัคคุเทศก์ต้องเข้า
บริษัทมาจัดการเรื่องหนังสือเดินทาง วีซ่า รวมถึงจัดการเร่ืองเอกสารในการเดินทางไปต่างประเทศของ
นักท่องเที่ยวโดยกรอกข้อมูลเตรียมเอกสารต่างๆ ให้นักท่องเที่ยวใหเ้ ว้นเฉพาะช่องที่นักท่องเท่ียวต้องเขียนเอง
เช่น ชอ่ งลงชื่อ
1.15) สรุปและรับทราบแนวทางการทางาน รวมทั้งซักถามปัญหาให้เข้าใจ
กับผู้ให้งานของบริษัท ศึกษารายละเอียดค่าใช้จ่ายตลอดการเดินทางว่ามีการจ่ายล่วงหน้าไปยังสถาน
ประกอบการใดบา้ งแล้ว
1.16) เบิกค่าใช้จ่ายจากฝ่ายบัญชี ตรวจสอบค่าใช่จ่ายแต่ละรายการให้
ถกู ตอ้ ง ศึกษารายละเอียดค่าใชจ่ ่ายตลอดการเดนิ ทางวา่ รายการไหนยงั ไม่ไดจ้ ่าย หรือรายการไหนท่ไี ดว้ างมัด
จาไปบา้ งแล้ว โดยอาจดจู ากสาเนาใบจองประกอบดว้ ย
อนึ่งการเตรียมตัวก่อนออกเดินทางของมัคคุเทศก์ ถ้ามีส่ิงใดท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมตัว
ของนักท่องเทีย่ วดว้ ย มคั คเุ ทศก์หรือบริษัทนาเท่ียวก็ควรแจ้งให้นักท่องเที่ยวได้ทราบและได้เตรียมตวั ล่วงหน้า
เปน็ ระยะเวลาพอสมควรดว้ ย เพอ่ื เปน็ การลดปญั หาตา่ งๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นระหวา่ งการเดนิ ทาง
2) ในดา้ นการเตรียมเอกสาร ส่ิงทีต่ อ้ งเตรียมไปมีดงั นี้
2.1) กาหนดการทอ่ งเทยี่ วหรือโปรแกรมนาเที่ยว
2.2) ใบส่ังงาน (Job Order) ว่าจะต้องทาอะไรที่ไหนอย่างไรซ่ึงอาจจะมี
หมายเลขโทรศัพท์ และที่อยขู่ องผปู้ ระกอบการต่างๆ ท่ีตอ้ งติดตอ่ เช่นทพี่ ัก รา้ นอาหาร รถเชา่ และสถานทเ่ี ข้า
ชมต่างๆ (โดยมากใบสง่ั งานจะนยิ มใช้สาหรบั การนาเทีย่ วแบบ Inbound)
2.3) สัญญาเช่าใบจองใบมัดจาต่างๆ (Voucher) ของโรงแรม ร้านอาหาร
สถานประกอบการอน่ื ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง
2.4) รายการสรปุ ค่าใช้จ่ายที่บริษทั กาหนด
2.5) แผนท่ีน่ังบนรถของนักท่องเท่ยี วทีน่ ักท่องเทยี่ วได้จองมา
2.6) แบบฟอร์มการจัดห้องพัก(Rooming List) คนท่ีจะนอนห้องเดียวกัน
ควรทารายชื่อให้อยู่ติดกันหรืออยู่ช่องเดียวกัน ถ้ามาเป็นคณะก็ควรจัดห้องให้อยู่ใกล้กัน โดยมากแบบฟอร์ม
การจดั หอ้ งพักมกั มีขอ้ มูลเก่ยี วกับรายชื่อนกั ท่องเทีย่ วพรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์
2.7) แผนที่สถานท่ที ่องเทีย่ ว หรือสถานประกอบการตา่ งๆ ที่คิดว่าไมร่ ทู้ าง
2.8) เอกสารข้อมลู ความรปู้ ระกอบการบรรยายเกีย่ วกับจังหวัด หรือแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี ว เมือ่ เวลาติดขดั จะไดเ้ ปิดหาขอ้ มลู ไดก้ ่อนที่จะบรรยาย
2.9) เอกสารดา้ นสันทนาการ(ถา้ ม)ี
2.10) หมายเลขโทรศัพท์สาคัญๆ ท่ีต้องติดต่อ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร
สถานทที่ ่องเท่ียว เปน็ ตน้
2.11) แบบสอบถามการบริการของบริษัท เพื่อให้นักท่องเท่ียวได้แสดง
ความคิดเห็นในการบริการด้านตา่ งๆ ในวนั เดินทางกลับ
2.12) นามบตั ร เพอื่ ประชาสัมพนั ธแ์ กน่ ักท่องเที่ยว
2.13) บัตรติดกระเป๋าเดินทาง (Tag) ควรมีสีสันสดใสจาง่าย โดยเขียนชื่อ
สกลุ รายการทัวรต์ ดิ กระเป๋า มคั คุเทศก์ควรเขียนช่ือใน Tag ของนักท่องเทย่ี วแต่ละคนด้วยตวั เอง เพ่อื จะได้จา
ช่ือและทาความรู้จักนักท่องเที่ยว และควรเตรียม Tag เผื่อไว้พอประมาณ เนื่องจากนักท่องเที่ยวบางคนอาจมี
สมั ภาระมากกว่าหน่ึงใบ หรอื อาจเผ่ือไว้กรณนี ักท่องเท่ียวทาหลดุ หาย
2.14) สาเนาใบประกอบการของบริษทั เผ่อื กรณีตารวจท่องเทยี่ วขอตรวจ
2.15) ป้ายชือ่ บริษทั สาหรบั ตดิ หน้ารถ หลงั รถ
2.16) กรณีไปต่างประเทศต้องมีแบบฟอร์มการเข้าออกประเทศ ได้แก่ ใบ
ตรวจคนเข้าเมือง และแบบฟอร์มการแจง้ รายการส่งิ ของตอ่ ศุลกากร ใบตรวจสุขภาพ(สาหรับบางประเทศ) ซึ่ง
โดยมากบริษัทหรือมัคคุเทศก์ได้กรอกข้อความในเอกสารดังกล่าวไว้เรียบร้อยแล้ว เพียงแต่นาไปแจกให้
นักท่องเท่ียวได้ลงชื่อเท่าน้ัน นอกจากนยี้ ังต้องมีหนังสือเดินทาง วซี า่ (กรณตี ้องไปในต่างประเทศทต่ี ้องใช้วีซ่า)
บตั รโดยสารเคร่อื งบิน
2.17) เอกสารข้อมูล ความรู้ประกอบการบรรยายเก่ียวกับข้อมูลในแหล่ง
ท่องเทยี่ วทไ่ี ป เพื่อไดอ้ ่านประกอบความรใู้ นเวลาอนั สมควร
2.18) เตรียมกิจกรรมที่จะให้นักท่องเท่ียวทาระหว่างการเดินทาง เช่น
กิจกรรม เกมต่างๆ โดยมากมัคคุเทศก์จะต้องเป็นผู้จัดเตรียมเอง ท้ังนี้ต้องศึกษากิจกรรมความช่ืนชอบของ
นักท่องเท่ียวแต่ละประเภทดว้ ย
2.19) รายช่ือนักท่องเที่ยวเผื่อไว้ 2-3 ชุด ในกรณีท่องเท่ียวหลายวนั เผ่ือไว้
สาหรับการจดั ทน่ี ัง่ บนเครือ่ งบิน หรือจดั เขา้ ทพี่ ัก เปน็ ตน้
3) ในด้านการเตรียมอุปกรณท์ ่ีต้องใช้ในการนาเทยี่ ว ส่งิ ที่ต้องเตรยี มมีดังน้ี
3.1) กระตกิ น้า แก้วน้า ถาดเสริ ฟ์ น้า
3.2) ถังนา้ สาหรบั ลา้ งแกว้ หรอื ใสน่ ้าท่กี นิ เหลอื ทิง้
3.3) เครื่องดื่มต่างๆ เช่น น้าเปล่า น้าอัดลม ชา กาแฟ น้าผลไม้ เป็นต้น
3.4) ยาสามัญประจาบ้านท่ัวไปยาทั่วๆ ไป เช่น ยาหม่อง ยาแก้ปวดศีรษะ
ปวดท้อง แก้ท้องเสีย เป็นต้น รวมถึงของใช้ส่วนตัว เช่น ด้าย เข็มเย็บผ้า อุปกรณ์หลายๆ อย่าง ถึงแม้บาง
โรงแรม หรือในแหลง่ ที่ไปจะมใี หห้ รอื หาไดง้ ่าย มัคคุเทศก์ก็ควรเตรียมไปเองดว้ ยเผ่อื ฉกุ เฉินระหวา่ งเดนิ ทาง
3.5) ถุงใสข่ ยะ กระดาษชาระ ผา้ เยน็
3.6) อาหารวา่ ง ของขบเค้ียว ลูกอม
3.7) อุปกรณ์ในการสันทนาการ เกมต่างๆ
3.8) ของรางวัล ของแจกต่างๆ เช่น หมวก ปากกา ร่ม เป็นต้น ของรางวัล
สาหรับผู้ท่ีเลน่ เกมบนรถ หรอื กจิ กรรมการแสดงชว่ งกลางคนื มีของรางวัลเลก็ ๆ น้อยๆ ให้แกผ่ ู้เข้าร่วมกิจกรรม
เพื่อกระตุ้นการมีส่วนรว่ ม
3.9) โทรโขง่ ไมโครโฟนสารองสาหรับใชพ้ ูดนอกรถ
3.10) อปุ กรณ์ๆ ทจี่ าเปน็ ต้องใชใ้ นแต่ละสถานที่
3.11) อาหารไทย เช่น น้าพริก อาหารกระป๋อง น้าปลาพริก น้าจ้ิมซีฟู๊ด
(กรณไี ปตา่ งประเทศแล้วอาหารไมถ่ ูกปาก) โดยประเทศน้นั ต้องอนญุ าตใหน้ าเข้าด้วย
3.12) เพื่อความบันเทิงควรเตรียมเทปเพลง VCD CD หนัง สารคดีต่างๆ
โดยคานึงถึงกลุ่มนักท่องเท่ียว และสถานท่ีที่จะไปด้วย เช่น ไปร่วมงานลอยกระทง ก็นาเพลงเกี่ยวกับลอย
กระทงไป เป็นต้น
3.13) แฟ้มหรือกระเป๋าคาดเอว สาหรับใส่เงิน ใส่เอกสารท่ีจาเป็น เช่น
นามบตั ร ใบ Voucher ต่างๆ
4.1.3.2 วันเดินทาง
1) กรณีเดนิ ทางโดยรถโค้ช
1.1) นัดหมายพนกั งานขับรถ และมัคคุเทศก์ต้องมาถึงก่อนเวลานัดที่บริษัท
หรือจุดนัดหมายอย่างน้อย 1 ช่ัวโมง เพ่ือจะได้มาดูความเรียบร้อยของยานพาหนะ เมื่อมาถึงรถทักทายคนขับ
สังเกตดูคนขับวา่ อยู่ในสภาพท่ีพร้อมทจ่ี ะทางานหรือไม่ ถา้ ไมพ่ รอ้ ม เช่น ตาปรือ มีกลิน่ เหล้า แต่งตัวสกปรกไม่
เรยี บร้อย ควรขอเปลี่ยนทนั ที
1.2) ตรวจสอบสภาพความพร้อมของอุปกรณ์ส่ิงอานวยความสะดวกที่ต้อง
ใช้บนรถ เช่น ไมโครโฟน เสียงดังใช้ได้หรือเปล่า สารวจห้องน้า ความสะอาดบนรถ ปรับเบาะนั่ง สภาพท่ัวไป
ของรถให้เข้าท่ีเขา้ ทาง เปน็ ตน้
1.3) จัดอุปกรณ์และสัมภาระต่างๆ ท่ีจะบริการแก่นักท่องเที่ยวไว้บนรถให้
พรอ้ มสาหรับบรกิ าร เช่น แกว้ น้า ถาดใส่นา้ ถุงขยะ น้าแข็ง เครื่องด่มื อาหารวา่ ง ของขบเค้ยี ว ผา้ เยน็ เป็นตน้
1.4) จากนั้นให้ลงมารอต้อนรับนักท่องเท่ียว โดยมีใบรายชื่อนักท่องเที่ยว
พร้อมแผนผังท่ีนั่งบนรถ (กรณีนาเท่ียวคนไทยภายในประเทศควรมี แต่ถ้าไปต่างประเทศหรือนาเที่ยว
ชาวต่างชาตไิ ม่จาเป็นตอ้ งมแี ผนท่ีนั่งน้ี)
1.5) เมอื่ นักทอ่ งเที่ยวมาถึงควรแนะนาตัวและทักทายจากนั้นติด Tag แสดง
ความเป็นเจ้าของสัมภาระ จัดวางให้เรียบร้อย จากน้ันจัดท่ีน่ังบนรถ ทาความข้าใจเร่ืองเส้นทางท่องเท่ียวกับ
พนักงานขบั รถ ให้คนขับมีส่วนรว่ มในการให้คาแนะนาปรึกษาเรอื่ งเส้นทางเดนิ ทาง
1.6) ตรวจสอบดูแลนักท่องเท่ยี วให้ครบ ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีอาจ
เกดิ ข้นึ กบั นกั ท่องเท่ียว เพื่อให้สามารถออกเดนิ ทางได้ตามเวลาทก่ี าหนด และเมือ่ ลูกค้าครบจึงออกเดินทาง
2) กรณีเดินทางโดยเครอ่ื งบนิ
2.1) มัคคุเทศก์ควรมาก่อนเครื่องบินออก 2-3 ชั่วโมง กรณีไปต่างประเทศ
แต่ถ้าเปน็ การบนิ ภายในประเทศ ควรนัดนกั ทอ่ งเทยี่ วกอ่ นเครื่องบินออกอยา่ งนอ้ ย 45 นาที เม่อื มีนกั ท่องเที่ยว
มาถึง ควรแนะนาตัวทักทาย และทาการติด Tag เช่นเดียวกับการเดินทางโดยรถยนต์ อธิบายเรื่องการจัด
กระเปา๋ การโหลดสัมภาระเขา้ ใตท้ อ้ งเครอ่ื ง การนาสงิ่ ของติดตวั ข้นึ เคร่ือง
2.2) นาตั๋วไปข้ึนที่น่ังบนเคร่ืองบิน (Boarding Pass) ตรวจสอบเที่ยวบินวา่
ตรงตามกาหนดเวลาหรือไม่ แจกจ่ายบัตรโดยสารให้แก่นักท่องเท่ียวโดยมอบแนบไปพร้อมกับภาษีสนามบิน
พาสปอร์ต แบบฟอร์มการตรวจคนเข้าเมือง แบบฟอร์มการแจ้งรายการส่ิงของต่อศุลกากร และใบตรวจ
สุขภาพ(กรณีไปในประเทศท่ีต้องใช้) โดยเอกสารทั้งหมดมัคคุเทศก์ควรกรอกข้อมูลเตรียมไว้ให้หมดจากน้ันให้
อธิบายการใช้เอกสารแต่ละช้ิน ดูแลการเข้าห้องผู้โดยสาร อธิบายขั้นตอนกระบวนการระหว่างอยู่ท่ีท่าอากาศ
ยาน ตั้งแต่การเอ็กซเรย์สัมภาระท่ีจะนาขึ้นเครื่อง การเช็คอินตั๋วเดินทาง การตรวจหนังสือเดินทาง วีซ่า การ
ตรวจเอ็กซเรย์หาอาวุธหรือส่งิ ผิดกฎหมาย
2.3) เมื่อขึ้นเครื่องบิน มัคคุเทศก์ควรจัดหาท่ีน่ังให้เรียบร้อย พร้อมช่วยจัด
สัมภาระเก็บเข้าที่ ควรดูแลอธิบายนักท่องเที่ยวเก่ียวกับส่ิงอานวยความสะดวกบนเครื่อง เช่น การกดปุ่มให้
พนักเกา้ อี้เอนลง การใชไ้ ฟอา่ นหนังสอื หรอื การเปดิ ทวี ีจอเลก็ ส่วนตัวชมรายการภาพยนตร์ เปน็ ตน้
2.4) ระหว่างอยู่บนเครื่องพยายามเดินแวะทักทายนักท่องเท่ียวเป็นระยะๆ
ควรทาความรู้จกั กับพนักงานบนเครื่องบิน เมอ่ื เครื่องใกล้ถึงจุดหมายปลายทาง อธิบายเร่ืองกระบวนการตรวจ
คนเข้าเมือง ย้าเตือนเรื่องการยื่นเอกสารแบบฟอร์มการตรวจคนเข้าประเทศ และแบบฟอร์มการแจ้งรายการ
สิ่งของต่อศุลกากร
2.5) กรณีเคร่ืองบินต้องจอดพักเครื่อง เปล่ียนเคร่ือง หรือจอดรับคนควร
เตือนเรื่องของมีค่าใหน้ าติดตัวไป แนะนาขัน้ ตอนการปฏบิ ัติตนระหว่างการจอดแวะ นดั แนะเวลา จุดนัดพบให้
ชัดเจน
2.6) เมื่อถึงสนามบินควรเดินนานักท่องเที่ยวไปยังจุดรับสัมภาระ ช่วยดูแล
เร่ืองสัมภาระให้นกั ท่องเที่ยวไดท้ าภารกิจส่วนตัว จากนั้นนาคณะผ่านการตรวจคนเข้าเมือง และรวบรวมคณะ
อีกครง้ั ก่อนเดนิ นาออกจากสนามบนิ ไปจุดขึ้นรถ
2.7) มัคคุเทศก์ควรแนะนาให้นักท่องเที่ยวรู้จักทาความคุ้นเคยมัคคุเทศก์
ทอ้ งถน่ิ (หากไปในประเทศท่ีมีมคั คุเทศกท์ ้องถน่ิ ) และคนขบั รถ และตกลงในรายละเอียดในเร่ืองของเส้นทางหรื
กาหนดการต่างๆ ให้ชัดเจน และก่อนเร่ิมเดินทางต่อมัคคุเทศก์ควรย้าเตือนให้นักท่องเที่ยวสารวจ Passport
บตั รโดยสารเคร่ืองบินขากลับ เอกสาร และสัมภาระต่างๆ ให้ครบ แล้วจงึ ค่อยเดนิ ทาง
4.1.3.3 เมื่อเริม่ ต้นเดนิ ทาง
1) กล่าวต้อนรับนักท่องเท่ียว แนะนาทีมงาน และหน้าที่ของแต่ละคนโดยเริ่มจาก
คนขับรถและผู้ช่วยคนขับ แล้วจึงค่อยแนะนาทีมงานสต๊าฟ และสุดท้ายคือการแนะนาตัวมัคคุเทศก์เองอาจ
แนะนาช่อื จรงิ หรือชือ่ เล่นที่จาง่าย แนะนาส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ บนรถและวธิ กี ารใช้ เช่น การปรบั เก้าอ้ี
ชอ่ งแอรร์ ะบายอากาศ ไฟอ่านหนังสือ หอ้ งนา้ แนะนาให้ทาตวั ตามสบายอยา่ คิดถึงเรื่องงาน เร่ืองส่วนตวั เพราะ
จะทาให้การเดินทางท่องเท่ียวไม่สนุก กรณีนาทัวร์ระหว่างประเทศให้ย้าเรื่องการปรับตั้งเวลาให้เป็นท้องถิ่น
แนะนาเรือ่ งที่ควรรู้ เชน่ การปฏิบตั ิตนในแต่ละสถานท่ี ค่าของเงิน ภาษาทจี่ าเปน็ ตอ้ งใชอ้ ยา่ งงา่ ย เปน็ ตน้
2) ถ้าในโปรแกรมต้องเข้า Check-In ที่โรงแรมก่อน มัคคุเทศก์ก็ต้องให้ข้อมูลว่า
โรงแรมมีสิ่งอานวยความสะดวกอะไรบ้าง ส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ ใช้อย่างไรอยู่ตรงไหน ห้องทานอาหาร
ชอ่ื หอ้ งอะไร ใหเ้ ร่มิ ทานได้ในเวลาใดถงึ เวลาใด เป็นตน้
3) เม่ือเร่ิมต้นการท่องเท่ียวมัคคุเทศก์ควรช้ีแจงรายการในแต่ละวันให้นักท่องเที่ยว
ทราบ และดาเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามรายการอย่างเคร่งครัด
4) ย้าเร่ืองกาหนดการท่องเที่ยวให้ชัดเจนอีกคร้ังโดยอธิบายให้ฟังดูแล้วสนุกสนาน
น่าตดิ ตาม
5) แนะนาการปฏบิ ัตติ นขณะทอ่ งเท่ยี วในแตล่ ะจดุ บอกถงึ ขอ้ ตกลงร่วมกนั
6) ระหว่างแนะนาเรื่องต่างๆ ควรบริการอาหารว่าง เครื่องดื่มเป็นระยะๆ
(โดยเฉพาะนาเท่ียวแบบ Domestic จะนิยมมาก) ซ่ึงการบริการอาหารและเครื่องด่ืมน้ีจะมีประเภทอาหาร
การจดั เตรยี มทีแ่ ตกตา่ งกนั ไปขนึ้ อยกู่ ับนโยบายของแต่ละบรษิ ัท
7) ให้ความรู้ต่างๆ แก่นักท่องเท่ียว โดยเฉพาะความรู้ในแหล่งท่องเท่ียวท่ีระบุใน
โปรแกรม รวมถึงการสร้างบรรยากาศให้เป็นกันเอง สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลินระหว่างการเดินทาง
หลังจากนั้นให้นักท่องเท่ียวได้พักผ่อนโดยอาจเปิดเพลงพ้ืนบ้านหรือเพลงท้องถ่ินที่กาลังจะไปเบาๆ เพ่ือให้เข้า
กบั บรรยากาศ ระหว่างนนั้ มคั คเุ ทศก์อาจหาโอกาสทกั ทายเพื่อสรา้ งความคุ้นเคยกบั นักท่องเท่ยี วเปน็ รายคน
8) ช่วงกลางคืนก็ให้นักท่องเท่ียวได้พักผ่อน (กรณียังอยู่บนรถ) และควรให้รถแวะ
จอดพักรมิ ทางหรือห้องน้าเปน็ ระยะๆ หรือเพื่อเปลยี่ นอริ ยิ าบถ ถา้ เดินทางกลางวัน และเปน็ การเดนิ ทางระยะ
ยาว ควรมีการจัดกิจกรรมบนรถเป็นครั้งคราว เพ่ือมิให้บรรยากาศเงียบเหงา แต่ก็ต้องดูความต้องการของ
นกั ท่องเท่ยี วด้วยว่าอยากรว่ มกิจกรรมหรือไม่
9) ใหส้ ญั ลกั ษณน์ ักทอ่ งเท่ียวในกล่มุ ของตน เช่น ตดิ เข็มกลดั หมวก หรอื มัคคุเทศก์
อาจทาตวั เองใหส้ งั เกตได้ง่าย เชน่ การถือธง การถอื รว่ มให้สงู เหนือศรี ษะ เปน็ ต้น
10) ปรับแผนการทางานใหเ้ หมาะสมตลอดเวลา
4.1.3.4 เม่อื ถึงแหล่งทอ่ งเท่ยี วหรอื จุดแวะชม
1) กรณีท่ีตอ้ งปลุกนักท่องเท่ียวใหต้ ่ืนตัวขึน้ มาเตรียมลงไปเทย่ี วให้ปลุกโดยเปดิ เพลง
เบาๆ หรือเปิดไฟหร่ีๆ หรือใช้น้าเสยี งท่นี มุ่ นวลแลว้ อาจตามดว้ ยการเสริ ์ฟน้า หรือผ้าเย็น
2) ควรอธบิ ายเรื่องราวเก่ียวกับท้องถ่ิน หรือสถานที่ตา่ งๆ ขณะรถแล่นผ่านและก่อน
ถึงแหล่งท่องเท่ียวมัคคุเทศก์ควรอธิบายประวัติเรื่องราวความเป็นมา ข้อควรปฏิบัติในสถานท่ีท่องเท่ียวน้ัน
เสียก่อน เพือ่ เป็นการให้ความรู้ และไดป้ ฏบิ ตั ติ นในการเข้าชมได้อย่างถกู ต้อง การไดอ้ ธิบายขอ้ มลู ลว่ งหน้าก่อน
ตอนอยู่บนรถเป็นส่ิงจาเป็น เพราะบางครั้งการไปอธิบายในแหล่งท่องเที่ยวจรงิ อาจทาได้ยาก เนื่องจากอาจได้
ยินไม่ทั่วถึงเหมือนอยู่บนรถ ในแหล่งท่องเท่ียวอาจมีนกั ท่องเที่ยวกลุ่มอ่ืนปะปนเดนิ ผ่านไปมา ทาให้มัคคุเทศก์
และนักทอ่ งเท่ยี วเสียสมาธิ แหล่งท่องเทยี่ วบางจดุ ก็ไมเ่ อือ้ อานวยต่อการให้มัคคเุ ทศก์ได้อธิบาย ไม่มีท่ีนงั่ ไม่มีที่
ในร่ม ท่ีสาคัญนักท่องเที่ยวแต่ละคนก็จะมีความสนใจในแต่ละจุดต่างกัน มัคคุเทศก์จึงควรอธิบายข้อมูลบนรถ
คร่าวๆ ก่อน และในกรณีท่ีมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นนาเที่ยวมัคคุเทศก์ต้องเป็นผู้คอยช่วยเหลือ แปลภาษาถิ่นให้
นักท่องเที่ยวได้เข้าใจ (กรณีนาเท่ียวแบบ Outbound) และขออนุญาตมัคคุเทศก์ท้องถิ่นในการเสริมความรู้
ให้กบั นกั ทอ่ งเทย่ี วในสว่ นที่ขาดหายไปดว้ ย
3) การให้เข้าชมหรือเวลาพักผ่อนแต่ละจุดควรคานึงถึงความสาคัญของแหล่ง
ท่องเที่ยวนนั้ ๆ ควรบอกเวลาในขณะนน้ั และบอกถงึ เวลาที่จะอยู่ ณ จดุ นน้ั ประมาณกี่นาที บอกเวลาข้ึนรถการ
ที่บอกเวลาในขณะนั้นเพื่อให้นักท่องเที่ยวทุกคนทราบเวลาเหมือนกันหมด มัคคุเทศก์ต้องนัดแนะเวลานัดจุด
ข้นึ รถที่ชัดเจน และยา้ ใหน้ ักทอ่ งเท่ียวรกั ษาเวลา เพ่อื จะไดเ้ ที่ยวในทตี่ อ่ ไปอยา่ งไมเ่ ร่งรีบ
4) มัคคุเทศก์ยืนใกล้ประตูทางข้ึนลงรถ เพื่อบอกทาง ดูแลช่วยเหลือนักท่องเท่ียวให้
ขน้ึ ลงรถไดอ้ ย่างสะดวกปลอดภัย โดยเฉพาะคนสูงอายแุ ละเดก็
5) หลังลงจากรถมัคคุเทศก์ควรเดินนานักท่องเที่ยวไปยังจุดที่ต้องการชมโดยไม่ท้ิง
ระยะห่างจากนักทอ่ งเทยี่ วมากเกนิ ไป ไมเ่ ดินวกไปวนมาจนนกั ทอ่ งเที่ยวสับสน อาจจะพานกั ท่องเทย่ี วไปชมจุด
ทส่ี าคญั ๆ ตามทีจ่ ะอธบิ ายไว้บนรถแล้ว และเมอ่ื จะบรรยายต้องเลือกสถานท่ีที่มที ่ีน่ังหรือในร่มเลือกยืนในจุดที่
เห็นนักท่องเที่ยวได้อย่างท่ัวถึง ไม่ควรยืนอธิบายในจุดที่บดบังทัศนียภาพ ควรเลือกยืนในจุดท่ีนักท่องเที่ยว
สามารถเห็นจุดสาคัญของแหล่งท่องเท่ียว และควรสังเกตให้นักท่องเท่ียวมาพร้อมเพรียงกันก่อน แล้วค่อยพูด
อธิบายขอ้ มลู
6) การนาชมต้องไม่มีท่าทีรีบเร่ง ไม่จี้เร่งนักท่องเท่ียวระวังให้ทุกคนเดินทางไปได้
อย่างราบรื่น หากมีการเลี้ยวขวาก็ต้องหยุดรอบอกทางด้วย พยายามให้นักท่องเที่ยวอยู่กันเป็นกลุ่มไม่ให้
กระจัดกระจายใส่ใจดูแลเด็ก คนชรา คนพิการให้มากเพราะเป็นการป้องกันอันตราย อุบัติเหตุ หรือการพลัด
หลง มัคคุเทศก์เองต้องควบคุมรักษาเวลาในการเข้าชมแต่ละจุดให้เป็นไปตามกาหนดการ และถ้ามีเวลาเหลือ
พอท่ีจะแวะท่ีอื่นได้มัคคุเทศก์ก็ควรแวะเป็นการแถมรายการให้นักท่องเท่ียวเพื่อให้นักท่องเท่ียวรู้สึกว่าคุ้มค่า
กับการได้มาเทยี่ วกบั เรา
7) หากมีคาถามให้พึงสันนิษฐานไว้ก่อนว่าคาถามนั้นยังได้ยินไม่ทั่วถึง ต้องทวน
คาถามซ้า
8) ควรอธิบายข้อมูลของแหล่งท่องเท่ียวให้เข้าใจง่าย ไม่ยืดยาวหรือส้ันเกินไปเปิด
โอกาสให้นักทอ่ งเท่ยี วได้ซกั ถามตามสมควร
9) เอาใจใส่ดูแลสวัสดิภาพ ย้ากับนักท่องเที่ยวเรื่องความปลอดภัยระหว่างการ
ท่องเทยี่ ว โดยเฉพาะเร่ืองอุบัติเหตุ การขา้ มถนน การฉกชงิ วง่ิ ราว เป็นต้น
10) ห้ามหรือตักเตือนนักท่องเท่ียวให้ระมัดระวังในการเข้าชมสถานท่ีท่องเท่ียวบาง
แห่งท่ีเป็นเขตหวงห้าม จุดอันตราย หรือสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิควรเคารพ พร้อมให้คาแนะนาข้อปฏิบัติตนในแต่ละ
สถานท่ี
11) ถ้ามีสต๊าฟผู้ช่วยมัคคุเทศก์ควรแบ่งหน้าที่กันดูแลนักท่องเที่ยวต้องมีคนนาหน้า
และคนปิดท้ายขบวนนักท่องเที่ยวเสมอ เพ่ือเป็นการเก็บรายละเอียดและป้องกันความผิดพลาดต่างๆ ที่อาจ
เกิดขึ้น
12) ช่วยลูกค้าถ่ายรูปโดยไม่ต้องให้เขาเอ่ยปากขอ ควรแนะนามุมหรือบริเวณท่ีจะ
ถ่ายภาพให้ไดส้ วยงาม
13) ควรให้เวลานักท่องเที่ยวได้อิสระเดินชมจุดท่ีน่าสนใจและเก็บภาพความงาม
ต่างๆ ด้วยตนเองบ้าง และสต๊าฟทีมงานควรกลับมาถึงท่ีรถก่อนเวลานัดอย่างน้อย 10 นาที เพ่ือเตรียมความ
พร้อมเรอ่ื งรถและการบรกิ ารบนรถ เร่ืองการไปในสถานทตี่ ่อไป
14) ก่อนออกเดินทางเม่ือนักท่องเที่ยวขึ้นรถแต่ละคร้ังต้องนับจานวนให้ครบควรใช้
สายตานับอย่าช้ีน้ิวนับเพราะดูไม่สุภาพ เม่ือพร้อมแล้วอาจแนะนาจุดที่จะแวะพักจุดต่อไปว่าเป็นอย่างไร และ
ทุกคร้ังท่ีข้ึนรถหลังจากการชมสถานที่แล้ว ถ้าเป็นช่วยกลางวันอากาศรัอนควรแจกผ้าเย็นและบริการน้าด่ืม
ดว้ ย ถ้าไม่อธบิ ายความรกู้ ็ควรมกี จิ กรรมบันเทงิ หรอื ไม่กใ็ หน้ ักทอ่ งเท่ยี วไดพ้ ักผอ่ น
15) เชค็ ยนื ยันการไปถึงสถานทต่ี ่อไปทกุ คร้ัง
4.1.3.5 เม่อื ถงึ ร้านบรกิ ารอาหาร
1) ก่อนถึงร้านอาหารควรโทรศัพท์ยืนยันเวลาถึงกับทางร้าน ควรแนะนาร้าน
ประเภทของอาหาร รายการอาหารที่ข้ึนช่ือประจาร้าน วิธีการรับประทาน การเข้านั่งโต๊ะในร้านอาหาร นัด
แนะเวลาขึน้ รถ
2) เม่ือถึงร้านอาหารควรจัดลูกค้าให้นั่งครบเป็นโต๊ะๆ (กรณีอาหารเป็นเซ็ตคือมี
กับข้าวอยู่กลางโต๊ะ) ควรเสิร์ฟโต๊ะท่ีนั่งครบก่อน ควรให้กลุ่มคณะทัวร์ท่ีมาด้วยกันน่ังบริเวณโซนเดียวกันและ
จัดให้ผู้ที่มาด้วยกันนั่งด้วยกัน นักท่องเท่ียวคนใดต้องการส่ังอาหารพิเศษเพ่ิมเติม ควรย้าให้เขาต้องจ่ายเงิน
เพิม่ เติมเอง
3) อย่าลืมตรวจสอบนักท่องเท่ียวว่ามีใครท่ีทานอาหารมังสวิรัติ หรืออาหารมุสลิม
อาหารเจ เป็นต้น
4) ตรวจเช็คจานวนรายการอาหารว่าครบตามที่ตกลงกันหรือไม่ เช็คดูว่ารายการ
ไหนเพ่ิมได้เพ่ิมไม่ได้ ปริมาณ คุณภาพของอาหารเป็นอย่างไร วิธีการรับประทานอาหารหากอาหารนนั้ ดูแปลก
ใหม่ในสายตานักท่องเที่ยว และอย่าลืมว่านักท่องเท่ียวจะไม่ว่าอะไรเลยหากจะต้องบุกป่าลุยโคลนท่องเที่ยว
เพ่ือให้ได้เห็นสิ่งสวยงาม แต่เขาจะรับไม่ได้เลยหากต้องเหน็ดเหนื่อยจากการเดินทางท่องเที่ยวมาท้ังวัน
แล้วต้องมาเจออาหารที่ไม่สะอาด ฉะนั้นหากเป็นไปได้มัคคุเทศก์จึงควรพยายามหม่ันตรวจสอบความสะอาด
ของอาหารดว้ ยตวั เองทุกครั้งกอ่ นเสริ ฟ์ ใหน้ ักท่องเทีย่ วรับประทาน
5) อย่าละเลยจดั ทน่ี ่งั ใหเ้ ดก็ และคนขับรถ
6) ดูแลให้พนักงานเสิร์ฟบริการอาหารให้ท่ัวถึงต่อเนื่อง และมัคคุเทศก์ควรช่วย
พนักงานในการเสริ ์ฟอาหารดว้ ยเพอื่ ความรวดเรว็
7) เมื่อนักท่องเที่ยวเร่ิมรับประทานอาหาร และอาหารลงครบแล้วควรตรวจ ดูแล
ความเรียบร้อยอีกคร้ังแล้วทีมงานมัคคุเทศก์จึงค่อยรับประทาน(ต้องยึดหลักกินท่ีหลัง แต่ต้องอิ่มก่อน
นกั ท่องเทย่ี ว
8) อาจจาแกว้ น้าสัมภาระบนรถมาลา้ งทาความสะอาดท่ีร้านอาหารด้วยก็ได้
9) ชาระค่าอาหารและจัดหาส่ิงของที่ต้องใช้ในการบริการเพ่ิมเติม เช่น น้าแข็ง
เครอื่ งดมื่
10) ให้เวลานักท่องเที่ยวได้นั่งพักเพ่ือให้อาหารได้ย่อยสักระยะ ก่อนเร่ิมเดินทางไป
ยงั จดุ อื่นตอ่ ไป
11) กรณีที่ให้นักท่องเที่ยวรับประทานอาหารเองตามอัธยาศัย ควรจอดรถในจุดที่มี
ร้านอาหารให้เลือกมากพอสาหรับนักท่องเท่ียว จะได้กระจายกันออกไปรับประทานได้ พร้อมบอกอาหารที่มี
ชอ่ื ของทอ้ งถิน่ เพอื่ ให้นักท่องเท่ยี วได้ลองรบั ประทาน
12) หากเป็นมื้อเช้า ณ ที่พักมัคคุเทศก์ควรอธิบายรายละเอียดการใช้คูปองอาหาร
เช้า
13) เมื่อนักท่องเที่ยวขึ้นรถมัคคุเทศก์ควรสอบถามเร่ืองอาหาร เพื่อจะได้ปรับปรุง
บรกิ ารในม้อื ต่อไป
ข้อควคานึงในการบริการอาหารคือ มัคคุเทศก์หรือหัวหน้าทัวร์ควรหม่ันสังเกตคุณภาพของ
อาหารในร้าน การบรกิ าร ความพึงพอใจจากนกั ท่องเที่ยวดว้ ย
4.1.3.6 ระหว่างการเดินทาง
ถ้าทางไกลและคดเค้ียว มัคคุเทศก์ควรสอบถามถึงการเมารถ ควรให้ยาแก้เมารถแก่
นักท่องเท่ียวทานล่วงหน้าก่อนมีอาการ แต่ถ้าถนนสะดวกไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าท่ีนาเที่ยวของ
มคั คเุ ทศก์ก็ควรมีการใช้เวลาด้วยการพูดข้อมลู สถานที่สาคัญท่นี ่าสนใจ อาจมีการสร้างกิจกรรมความครื้นเครง
เพื่อสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานมีชีวิตชีวา ด้วยการเล่นเกม เล่าเร่ืองสนุกๆ ดูหนังฟังเพลง หรือพูดคุยกัน
อย่างเป็นกันเอง เป็นต้น โดยการเลือกกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงให้อยู่ในดุลพินิจของมัคคุเทศก์ว่ามีความ
เหมาะสมกบั เพศ วัย อาชพี ความชอบของนกั ท่องเท่ียวแต่ละประเภทหรือไม่ เพราะหากกจิ กรรมอยบู่ นความ
สนใจ ก็จะได้รับความร่วมมือจากนักท่องเท่ียวซ่ึงจะทาให้บรรยากาศของการท่องเท่ียวมีความเป็นกันเอง
นักท่องเท่ียวเกดิ ความประทบั ใจ โดยมัคคเุ ทศก์อาจเตรยี มของรางวลั สาหรบั ความร่วมมือ เพ่อื เพ่ิมความอยาก
มีส่วนร่วมจากนักท่องเที่ยว แต่ถ้านักท่องเที่ยวมีอาการเหน่ือยล้าอยากพักผ่อนมัคคุเทศก์ก็ไม่ควรฝืน ควรให้
นักท่องเที่ยวพักผ่อน และระหว่างการเดินทางช่วงท่ีนักท่องเที่ยวยังพักผ่อนควรหม่ันเดินสารวจดูนกั ท่องเทย่ี ว
เป็นระยะๆ เผ่ือนักท่องเที่ยวบางคนอยากได้รับบริการ เช่น บางคนนอนไม่หลับเนื่องจากแอร์เย็นอยากได้ผ้า
ห่ม หรือบางคนอยากแวะเข้าห้องน้า เป็นต้น และถ้าต้องเปลี่ยนพาหนะในการเดินทาง ให้เตือนนักท่องเที่ยว
เรอ่ื งสง่ิ ของมคี ่า
4.1.3.7 จุดแวะพกั หรอื จดุ ถ่ายรปู
มัคคุเทศก์ควรมีประสบการณ์ระหว่างเดินทางหากเส้นทางมีระยะไกล รถควรจะมีการหยุด
พักระหว่างทาง(อย่างน้อยทุกๆ 2-3 ชั่วโมง) เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ทาธุระส่วนตัว เปล่ียนอิริยาบถ โดยเฉพาะ
นักท่องเที่ยวสูงอายุจะมีปัญหาการน่ังรถทัวร์เป็นเวลานานและเพื่อให้คนขับรถได้คลายความเม่ือยล้า ให้
คนขับรถได้เติมน้ามันรถ เช็คสภาพรถ โดยการหยุดแต่ละคร้ังโดยทั่วไปใชเ้ วลาประมาณ 15-30 นาที การแวะ
ชมผลิตภัณฑ์พ้ืนเมืองริมทาง การผ่อนคลายด้วยการเปิดวีดีโอเทป มีผลอย่างมากในการดูแลสุขภาพจิตและ
สขุ ภาพกายของนักท่องเท่ียวทกุ ชาติ เช่นเดียวกับการหยดุ เพือ่ ถ่ายรปู เม่ือเหน็ ว่ามวี ิวทวิ ทศั น์สวยเปน็ ที่น่าสนใจ
ของนักทอ่ งเท่ียวสว่ นใหญ่ แม้จะไมม่ รี ะบุในรายการ มคั คเุ ทศก์กอ็ าจบอกคนขับรถให้หยดุ เพ่ือลงไปถ่ายรูป แต่
ควรใช้เวลาสั้นๆ และต้องแน่ใจว่ามีท่ีจอดรถ มีความปลอดภัย และมัคคุเทศก์ควรเตือนให้ระมัดระวังเรื่องการ
รักษาเวลาและอันตรายจากการข้ามถนน เปน็ ตน้
4.1.3.8 ขนั้ ตอนการเขา้ รา้ นขายของทรี่ ะลกึ
1) ควรเลือกแวะร้านท่ีมีชื่อเสียงสินค้าดีมีคุณภาพ ราคาไม่แพง ไม่ควรเลือกร้านท่ี
มัคคุเทศก์ได้ประโยชน์แต่เพียงอย่างเดียว ควรคานึงถึงจิตใจ ความพึงพอใจของนักท่องเท่ียวด้วย ท่ีสาคัญควร
แวะร้านตามทีร่ ะบใุ นโปรแกรมหรือตามเส้นทางผ่านเทา่ นั้น
2) ก่อนถงึ ร้านมัคคเุ ทศกค์ วรแนะนาสินค้าที่ระลึกวา่ มีอะไรน่าสนใจ ดูและเลอื กของ
ที่มคี ณุ ภาพไดอ้ ย่างไร เตือนเรอื่ งน้าหนักเพราะอาจถูกชาร์จจากสายการบินในวนั เดินทางกลบั เตอื นหรืแนะนา
เรอ่ื งการตอ่ รองราคา การเกบ็ ใบเสรจ็ เพราะบางประเทศจะได้รบั คนื ภาษี
3) อย่าลมื นัดเวลาสถานท่ขี ึ้นรถให้ชดั เจน
4) มัคคุเทศก์อาจช่วยแนะนานักท่องเทยี่ วในการซื้อของ โดยอาจช่วยต่อรองราคาให้
นกั ทอ่ งเทีย่ วดว้ ยก็ได้
5) พยายามควบคุมเวลาไม่ให้นักท่องเท่ียวซ้ือของเพลิน จนต้องไปเร่งรีบในสถานที่
ท่องเท่ียวอน่ื
6) หลายคร้ังทางบริษัทได้กาหนดในรายการนาเที่ยวให้มัคคุเทศก์ต้องนาพา
นักทอ่ งเที่ยวไปซื้อสินค้าที่ระลึกในร้านค้าที่กาหนด มัคคุเทศก์ก็ไมค่ วรเปล่ียนแปลงร้านตามอาเภอใจเนื่องจาก
บริษัทอาจมีสัญญากันอยู่กับทางร้านค้า ในบางประเทศ เช่น ประเทศจีนในรายการนาเท่ียวจะต้องนา
นักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเข้าแวะซ้ือของที่ร้านค้าท่ีตัวแทนบริษัทนาเท่ีวในจีนหรือรัฐบาลจีนกาหนด เป็นการ
ขอความรว่ มมือ ดังน้ันมัคคเุ ทศก์ท่ดี คี วรศึกษาข้อมูลของทางร้านค้าในแตล่ ะเมอื งแตล่ ะประเทศใหด้ ีดว้ ย
4.13.9 ขั้นตอนการเขา้ ท่พี กั แรม
1) ก่อนจบรายการนาเท่ียวในแต่ละวัน ควรอธิบายให้นักท่องเที่ยวทราบว่าวันถัดไป
จะมีรายการอะไรบ้าง เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้เตรียมตัว
2) ก่อนถึงท่ีพักควรโทรศัพท์ยืนยันการเข้าพัก จานวนห้อง หมายเลขห้อง รวมท้ัง
เวลาไปถึงกับทางโรงแรมล่วงหนา้
3) มัคคุเทศก์ควรอธิบายการใช้ห้องพักการใช้อุปกรณ์ต่างๆ บนห้องพัก แนะนา
ขอ้ มลู เกยี่ วกับทพ่ี ักส่ิงอานวยความสะดวกในโรงแรมแทนพนักงานของโรงแรม เช่น การเปิดประตโู ดยใช้กุญแจ
หรอื บัตร การเสียบบัตรเพื่อเปดิ หอ้ งพักและอุปกรณไ์ ฟฟ้า การใช้อปุ กรณ์ส่งิ ของตา่ งๆ ในห้องพักได้แก่ การเปดิ
ปิดไฟหรือโทรทัศน์จากหัวนอน การเปิดปิดน้า วิธีการใช้โทรศัพท์ภายใน หรือการโทรไปต่างประเทศ การเปิด
เตียงนอนเพ่อื สอดตวั ระหว่างผ้าปูที่นอนและผ้าห่ม ไมค่ วรนอนบนผา้ คลมุ เตียง การใช้ผา้ ทาความสะอาดแต่ละ
ชนดิ เชน่ ผ้าเชด็ ตัว ผ้าเชด็ เทา้ ผา้ เช็ดศีรษะ ผา้ เช็ดมือ การใช้มินิบาร์ อธบิ ายดว้ ยว่ารบั ประทานหรือเกบ็ ส่ิงของ
อะไรจากห้องพักไปแล้วต้องเสียค่าใช้จ่าย การใช้บริการใดๆ ในโรงแรมจะต้องถูกชาร์จหรือกิจกรรมอะไรท่ี
ใหบ้ ริการฟรีบ้าง เช่น สระวา่ ยน้า เซาวน์ า่ การให้ทิปพนักงาน เปน็ ตน้
4) เม่ือถึงโรงแรมมัคคุเทศก์ควรทักทายแนะนาตัวเองกับพนักงานโรงแรมเพ่ือขอรับ
กุญแจ โรงแรมจะจัดการลงทะเบียนล่วงหน้า (Pre-Register) พร้อมกุญแจห้องพักเตรียมไว้ให้ ถ้าบริษัทส่งใบ
รายช่ือผู้เข้าพัก (Rooming List) มาแล้วล่วงหน้าพร้อมความต้องการพิเศษ เช่น คนสูงอายุให้พักช้ันต่าสุดใกล้
ลิฟท์ มัคคุเทศก์สอบถามถึงบรกิ ารต่างๆ ที่มีในโรงแรม (กรณีที่ไม่เคยมาพัก) เช่น การรับประทานอาหารเช้าที่
ห้องไหน ใช้คูปองหรือไม่ มีอะไรน่าสนใจรอบๆ โรงแรมบ้าง ถ้ามีกิจกรรมตอนค่าก็แจ้งให้นักท่องเที่ยวทราบ
แต่ถ้าไม่มีกิจกรรมก็อาจจะแนะนาสถานท่ีท่ีนักท่องเท่ียวสนใจในตอนกลางคืนแนะนาการเก็บทรัพย์สินมคี ่าใน
ตู้นิรภัยของโรงแรมก่อนออกจากห้อง บอกข้อควรระวังทั่วไปหากนักท่องเที่ยวประสงค์จะออกไปเดินดูจุดที่
นา่ สนใจนอกโรงแรม โดยระหวา่ งการเดนิ ทางมาถงึ โรงแรมนัน้ ทางโรงแรมอาจมีเคร่ืองด่ืมต้อนรับไวค้ อยบริการ
หลังจากนนั้ มัคคุเทศก์จะแจง้ หมายเลขห้องและมอบกญุ แจให้กบั นักท่องเท่ียว ตามแบบฟอร์มการจดั ห้องพักที่
เตรียมมา ควรให้นักท่องเท่ียวท่ีมากลุ่มเดียวกันพักห้องใกล้กัน ควรแจกกุญแจให้นักท่องเที่ยวสูงอายุก่อน
นอกจากน้ีมัคคุเทศก์ควรคานึงถึงธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของนักท่องเที่ยวผู้ใช้บริการเข้าพักด้วย เช่น
การจัดห้องพักให้กับสามภี รรยาชาวญป่ี ุ่นควรทราบวา่ เขาไม่ชื่อชอบห้อง Double Bedded Room แตค่ วรจัด
ห้อง Twin Bedded Room ซ่ึงจะตรงข้ามกับนักท่องเที่ยวชาติอ่ืนๆ จากน้ันมัคคุเทศก์ต้องบอกหมายเลข
ห้องพักของตนเองให้นักท่องเที่ยวทราบด้วย ท่ีสาคัญไม่ควรลืมนัดแนะเวลาปลุก เวลารับประทานอาหารเช้า
และเวลาออกเดินทาง ซ่งึ สว่ นใหญ่จะนิยมเรียกเป็นสูตรการเดนิ ทาง เช่น 6-7-8 หรือ 7-8-9 ตามลาดับ การนัด
เวลาดังกล่าวขึ้นอยู่กับรายการนาเท่ียวของแต่ละวันด้วย มัคคุเทศก์ควรบอกถึงการแต่งกายท่ีเหมาะสมในการ
ท่องเทยี่ วในวันตอ่ ไป บอกนัดเวลานากระเปา๋ เดนิ ทางไว้หน้าห้องในวันเชค็ เอาท์ สาหรับผทู้ ่ีมกี ระเป๋าเดินทางใบ
ใหญ่และไม่ประสงค์จะยกลงมาเอง รวมท้ังบอกจุดที่วางกระเป๋าไว้ท่ีล็อบบ้ี จากนั้นให้พนักงานโรงแรม
ขนสัมภาระ โดยการขนสัมภาระไปยังห้องพักพนักงานจะดูรายชื่อจาก Rooming List ให้ตรงกับช่ือบน Tag
ที่ติดกระเป๋า โดยหัวหน้าทัวร์ก็ต้องอยู่ดูแลด้วย จากน้ันมัคคุเทศก์เดินตรวจตามห้องพัก เผ่ือนักท่องเท่ียว
ขอความชว่ ยเหลอื ดูแลใหพ้ นกั งานขนสัมภาระขนึ้ ห้องให้ครบโดยเร็ว เป็นต้น
5) มคั คเุ ทศกค์ วรให้รายชอื่ นกั ทอ่ งเที่ยกับทางฝ่ายต้อนรบั ของโรงแรม เผ่อื การตดิ ต่อ
กับนักท่องเที่ยวและมัคคเุ ทศก์ก็ควรมสี าเนาเกบ็ ไว้ด้วย
6) แจ้งเวลาท่ีจะให้ทางโรงแรมปลุกนักท่องเท่ียว(Morning Call) และเวลาขน
กระเป๋า
7) ขณะท่รี อให้นักท่องเท่ียวเข้าห้องพักมัคคุเทศก์อาจยนื คอยตรงลอบบส้ี ักระยะเผ่ือ
นักท่องเที่ยวมีปัญหาจะลงมาสอบถามหลังจากน้ันให้เดินสารวจบริเวณตัวโรงแรมว่ามีอะไรน่าสนใจเพื่อ
ประโยชน์ในการให้ขอ้ มลู แก่นกั ท่องเทย่ี ว
8) สาหรับกลางคืน มัคคุเทศก์อาจพานักท่องเที่ยวไปเที่ยวตามคาขอร้อง แต่ก็ต้อง
หัดปฏิเสธอย่างสุภาพบ้าง ถ้ารู้สึกว่าตัวเองเหนื่อยและเพลีย หรือมีงานท่ีต้องสะสาง ไม่ควรนอนดึกควรมีเวลา
ทบทวนงานในวันรุ่งขนึ้ หากเป็นการไปเทยี่ วต่างประเทศและนักท่องเทีย่ วต้องการเท่ยี วชมเมืองควรแนะนาให้
นักทอ่ งเท่ยี วเก็บนามบตั รโรงแรมท่ีพักไวป้ ้องกันการพลัดหลง หรืออาจใช้เป็นบตั รนาให้แท็กซี่พากลับสทู่ ี่พักได้
อยา่ งถกู ต้อง
9) ก่อนนอนทีมงานควรสรุปปัญหาการทางานท่ีผ่านมา พร้อมหาวิธีป้องกันแก้ไข
มัคคุเทศก์ควรบันทึกรายการ เช็ครายละเอียดด้านต่างๆ ให้รอบคอบเป็นปัจจุบันที่สุด เช่น เงินที่มีเหลือพอใช้
จ่ายไหม มีค่าใช้จ่ายส่วนไหนท่ีต้องจ่ายเพิ่มเติม ประเมินผลการทางานที่ผ่านมาว่ามีข้อผิดพลาดตรงไหน
โปรแกรมในวันถัดไปจะสรรรายการนาเท่ียวอย่างไร จากน้ันพักผ่อนให้เพียงพอ ต่ืนขึ้นมาด้วยความสดช่ืน
พรอ้ มทางานด้วยความกระช่มุ กระชวย
10) เช้าวันใหม่ มัคคุเทศก์จะต้องลงมาก่อนนักท่องเที่ยว ดูรถว่าคนขับและรถอยู่ใน
สภาพพรอ้ มหรือไม่ จากน้ันไปตรวจดูหรือรอรับนักท่องเท่ียวทหี่ ้องอาหาร และคอยตรวจสอบวา่ ห้องไหนยังไม่
ลงมารบั ประทานอาหาร ถา้ เลยเวลาที่กาหนดควรโทรศพั ทข์ ้นึ ไปตามทหี่ ้องพัก
11) เม่ือถึงเวลาเช็คเอาท์ มัคคุเทศกควรดูแลเร่ืองการคืนกุญแจห้องพัก การเรียก
เก็บคา่ ใช้จา่ ยส่วนตัวจากนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการเป็นคา่ โทรศัพท์ ค่าอาหาร เครอื่ งด่ืม หรือคา่ อนื่ ๆ บนห้องพัก
มัคคุเทศก์ควรจัดการชาระค่าห้องพักให้เรียบร้อยโดยแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบล่วงหน้า จะได้เตรียมยอดท่ีต้อง
ชาระโดยควรชาระเสียแตเ่ นนิ่ ๆ เผ่อื เกิดปญั หาใดๆ จะได้แก้ไขไดท้ ัน
12) ก่อนออกเดินทาง มัคคุเทศก์ต้องสอบถามย้าเตือนเร่ืองการลืมส่ิงของไว้บนห้อง
หรือการเผลอลืมนากุญแจติดตัวไปด้วย จากนั้นบอกรายการท่องเท่ียวในวันน้ัน เม่ือพร้อมแล้วจึงเริ่มออก
เดินทาง
4.1.3.10 การปฏบิ ตั ิต่อเพอื่ นรว่ มงานและพนกั งานขบั รถ
ในส่วนของเพ่ือนร่วมงานซ่ึงได้แก่ผู้ช่วยมัคคุเทศก์ หรือหัวหน้าทัวร์น้ัน ควรมีการพูดคุยวาง
แผนการทางานกันเป็นระยะๆ ช่วยกันสอดส่องดูแลนักท่องเท่ียว ถ้ามีอะไรผิดสังเกตก็ควรมีการปรึกษาหารือ
เพือ่ หาทางออกให้งานเป็นไปดว้ ยความราบรืน่ ในส่วนของพนักงานขับรถ มคั คเุ ทศกค์ วรปฏบิ ัตติ ่อเขาเสมือนที่
ปฏิบตั ิต่อนักทอ่ งเท่ียว ควรใหเ้ กียรติและสร้างมนุษยสัมพันธท์ ่ีดตี ่อเขาต้ังแต่แรกเจอ เพราะพนักงานขับรถเป็น
บุคคลหนึ่งที่สามารถเสริมให้งานประสบผลสาเร็จได้ ถ้ามัคคุเทศก์ปฏิบัติต่อเขาอย่างดีแล้ว เขาก็พร้อมที่จะ
ให้บริการท่ีดีตอบกลับมาเช่นกัน มัคคุเทศก์ไม่ควรคาดหวังให้เขาตอ้ งมาบริการตนอย่างดี โดยที่มัคคุเทศก์มิได้
เริ่มตน้ ท่ดี ีก่อน เนื่องจากพนักงานขับรถส่วนใหญ่มักเปน็ ลูกจ้างทอ่ี าจมีวุฒิการศึกษาหรือจติ วิทยาการบริการไม่
มากนัก ดังน้ันมัคคุเทศก์ที่ดีควรเป็นฝ่ายเร่ิมต้นสร้างมนุษยสัมพันธ์ก่อน เพ่ือให้งานบริการเดินทางเป็นไปได้
ด้วยดี การซ้ือเครื่องด่ืมให้เขาระหว่างพักริมทาง การเชิญชวนให้เขามาร่วมทานอาหารกับทีมงานเป็นส่ิงท่ี
มัคคุเทศก์ควรกระทา เป็นมารยาทที่ดีท่ีจะสร้างความประทับใจให้กับเพื่อนร่วมงานได้อย่างดี พนักงานขับรถ
บางคนเป็นเจ้าของรถเองบางคนมีประสบการณ์เร่ืองเล่ามากมายมัคคุเทศก์มือใหม่หลายรายอาจได้พนักงาน
ขับรถเป็นพี่เลี้ยงประคับประคองในการทางานได้เป็นอย่างดี ดังน้ันมัคคุเทศก์จึงควรให้ความสาคัญกับบุคคลผู้
น้เี สมือนเพือ่ นร่วมงานทต่ี ้องช่วยเหลือเก้อื กูลกัน
4.1.3.11 การเดินทางกลับสู่จดุ หมายปลายทาง
1) ในวันสุดท้ายก่อนเดินทางกลับถึงปลายทางมัคคุเทศก์ควรให้นักท่องเที่ยวกรอก
แบบสอบถามการบรกิ ารดา้ นตา่ งๆ
2) เมื่อใกลถ้ ึงจดุ หมายควรประชาสัมพันธโ์ ปรแกรมท่องเท่ียวต่างๆ ของบรษิ ัท กล่าว
ขอบคณุ ทมี งานพนักงานขบั รถ ขอบคณุ นักท่องเท่ียวที่เลือกใช้บริการนาเที่ยวจากทางบริษัทขอบคุณที่ให้ความ
ร่วมมอื อย่างดตี ลอดการเดินทาง ขออภยั ในบางสง่ิ ที่ขาดตกบกพร่อง เช้อื เชญิ ใหเ้ ขากลบั มาเท่ยี วกับเราอีก โดย
การพูดปิดรายการก่อนการวางไมค์ มัคคุเทศก์อาจปิดรายการแบบพูดให้ซึ่งกินใจ ปิดแบบสนุกสนาน ปิดแบบ
ตลกสนกุ สนาน ปิดแบบพูดเชิญชวนประชาสัมพันธ์การบริการอืน่ ๆ จากทางบริษัท โดยการพูดปดิ รายการทัวร์
ควรนาแต่สิ่งท่ีดีๆ หยิบยกความประทับใจมาพูดคุย และเตือนนักท่องเที่ยวให้ตรวจดูสัมภาระไม่ให้หลงลืม
ทมี งานชว่ ยตรวจดอู ีกครัง้ จากนน้ั กก็ ล่าวขอบคณุ และกล่าวคาอาลาต่อนกั ท่องเท่ียว
3) พยายามรักษาเวลาให้ถึงปลายทางตามกาหนด เพราะนักท่องเที่ยวบางคนมีนัด
หรอื ภารกิจต้องรีบกลับไปทางานให้ทันตามกาหนด
4) นดั แนะทมี งานผู้ช่วยเพอ่ื เข้าไปรายงานผลการทางานกับทางบริษทั
4.1.3.12 การรายงานผลการทางานตอ่ บริษทั
1) ถ้าไม่เหน่ือยเกินไปมคั คเุ ทศก์ควรเข้าไปรายงานผลกับทางบริษัททนั ที
2) ทารายการและนาเงินค่าใช้จ่ายที่เหลือ รวมถึงอุปกรณ์ในการนาเที่ยวคืนแก่
บริษทั
3) รวบรวมแบบสอบถาม สรุป รายงานผล ให้ข้อเสนอแนะการทางานท่ีผ่านมากับ
ทางบรษิ ทั
จากการปฏิบัติงานในการรับเข้า ส่งออก และการนาเท่ียวนั้น ถ้าเป็นการรับส่งนักท่องเท่ียว
ณ สถานีรถไฟ ทา่ เรอื สถานีรถยนต์ ขนส่งต่างๆ กส็ ามารถใช้แนวปฏิบตั ิเดยี วกัน ซงึ่ มคั คุเทศกท์ ี่ทาหนา้ ท่ีรับส่ง
ดังกล่าวมักเรียกว่า Transfer Guide ส่วนมีคคุเทศก์ในการนาเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ จะเรียกว่า
Tourist Guide หรอื Guide แต่โดยท่วั ไปเม่ือมัคคเุ ทศก์ได้รบั มอบหมายให้ดูแลนักท่องเท่ียวกลุ่มใดก็มักหมาย
รวมถงึ การปฏิบตั ิงานรบั เข้า การนาเทยี่ ว และการส่งออกนักทอ่ งเท่ยี ว
4.2 การปฏิบตั งิ านนาเทย่ี วในต่างประเทศ
การปฏิบัติงานนาเท่ียวในต่างประเทศเป็นการบริการนาเท่ียวให้กับนักท่องเที่ยว ชาวไทยที่มีความ
ตอ้ งการจะเดนิ ทางทอ่ งเที่ยวไปตา่ งประเทศ มีวธิ กี ารปฏบิ ัติงานดงั นี้ (พิมพรรณ สุจารนิ พงค์, 2559: 59-62)
4.2.1 การเตรยี มตวั ก่อนการนาเทีย่ ว
1) การประชมุ รับงาน
2) ตอ้ งทราบจานวนนักท่องเทีย่ ว
3) ขอ้ มลู ส่วนตัวของนกั ท่องเทย่ี ว
4) บคุ คลทส่ี ามารถตดิ ต่อได้ในประเทศไทยพรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ที่สามารถติดต่อได้
5) เตรยี มรายการนาเท่ยี วฉบบั สมบรู ณ์
6) เอกสารต่างๆ ท่ีจะต้องนาติดตัวไปใช้ในระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว เช่น ใบรายช่ือ
นักท่องเที่ยวยสาหรับการจัดที่นั่งบนเครื่องบิน ใบรายช่ือนักท่องเท่ียวสาหรับการจัดเข้าห้องพักที่โรงแรม
สาเนาจดหมายตดิ ตอ่ ธุรกิจต่างๆ เอกสารเก่ยี วกับการแลกเปลีย่ นเงนิ ตรา แบบฟอรม์ การเข้า และออกประเทศ
(ต.ม.6) เอกสารเดนิ ทางของนักท่องเที่ยว เชน่ หนังสือเดินทาง บัตรโดยสารเครอ่ื งบนิ และเอกสารการจ่ายเงิน
เชน่ ใบสาคญั แทนการชาระเงิน (Voucher) เครดติ การด์
7) ศึกษาข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง เช่น ศึกษาข้อมูลประวัติ และประสบการณ์การเดินทางของ
นักท่องเท่ียว ศึกษาเส้นทางการเดินทาง เช่น เมืองสาคัญ ถนนหนทาง จุดหยุดพัก ศึกษารายการนาเท่ียว
แหล่งท่องเที่ยวท่ีจะไปก่อนหลัง จุดแวะรับมัคคุเทศก์ท้องถ่ิน เบอร์โทรศัพท์ของสถานที่ที่จะติดต่อ ศึกษา
ข้อมูลเก่ียกับประเทศท่ีจะไปเยือน เช่น ศึกษาประวัติความเป็นมา วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี อากาศ ภาษา
เงินทอ้ งถน่ิ สนิ ค้าและของทร่ี ะลกึ
8) การเตรียมอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ป้ายชื่อสาหรับผูกติดกระเป๋า ยาทั่วไป เทปเพลง เข็ม ด้าย
ของที่ระลกึ
9) การเตรียมเคร่ืองใช้ส่วนตวั ของมัคคุเทศก์ เชน่ ต๋วั เครือ่ งบิน หนงั สือเดินทาง เสอ้ื ผา้ เคร่ือง
แตง่ กาย นาฬกิ าข้อมือ นาฬิกาปลุก
4.2.2 การปฏิบัติงานระหวา่ งนาเท่ียว
การปฏิบัติงานและการนาเท่ียวในต่างประเทศน้ัน มัคคุเทศก์คนไทย จะทาหน้าที่เป็นหัวหน้า
ทัวร์(Tour Leader) และเมอ่ื ไปถึงตา่ งประเทศกจ็ ะมีมัคคเุ ทศก์ทอ้ งถิ่นมาคอยบริการนาเที่ยวต่อดงั นี้
1) มัคคุเทศก์ควรเดินทางถึงสนามบินก่อนนักท่องเที่ยวก่อนอย่างน้อย 2 ช่ัวโมง เพ่ืออานวย
ความสะดวกเร่ืองจัดกระเป๋า ดูแลเรื่องบัตรข้ึนเครื่องบิน (Boarding Pass) แบบฟอร์มการตรวจคนเข้าและ
ออกประเทศ แบบฟอร์ม ตม.6 (Immigration Form) 1และแบบฟอร์มการแจ้งรายการส่ิงของต่อศุลกากร
(Customs Declaration Form)
2) บนเคร่ืองบิน มัคคุเทศก์ต้องดูแลที่น่ังของนักท่องเท่ียว ทักทายทาความรู้จักกับ
นักท่องเที่ยวทุกคนและเมื่อใกล้ถึงจุดหมายปลายทางแจกแบบฟอร์ม ตม.6 (Immigration Form)และ
แบบฟอรม์ การแจ้งรายการสง่ิ ของต่อศลุ กากร (Customs Declaration Form)
3) เม่อื ถงึ สนามบนิ มัคคุเทศก์ควรดูแลความสะดวกเรื่องพธิ ีการตรวจคนเขา้ เมือง หลังจากนั้น
ช่วยนักท่องเท่ียวเรื่องกระเป๋าสัมภาระและนับจานวนนักท่องเที่ยวให้ครบและหลังจากนั้นจะได้พบกับ
มัคคุเทศก์ท้องถิ่นท่ีได้ประสานงานกันไว้กับบริษัทนาเที่ยวในต่างประเทศ และแนะนาให้นักท่องเท่ียวรู้จักกับ
มคั คเุ ทศกท์ อ้ งถิ่นกอ่ นรถจะออก
4) ถึงโรงแรมที่พัก ประสานกับแผนกต้อนรับส่วนหน้าเรื่องการลงทะเบียนของนักท่องเที่ยว
และแจกกุญแจให้กับนักท่องเท่ียวพร้อมแนะนาการให้ความปลอดภัยต่างๆ ในขณะท่ีพักอยู่ในโรงแรม การ
ปลุกตอนเชา้ และแนะนาอาหารเชา้
5) ขณะเดินทางท่องเที่ยวบนรถโค้ช ควรมีการจัดกิจกรรมบนรถเพ่ือให้เกิดความรู้ ความ
บันเทิง ความสนุกสนาน เช่นการเล่นเกมส์ การร้องเพลง การดีวีดีทัศน์ การพูดคุยกัน การเล่าเร่ืองตลก การ
เลอื กกจิ กรรมมาใช้ให้ข้นึ อยู่กับดุลยพินจิ ของมคั คุเทศก์ เพราะข้นึ อยุ่กับโอกาส ความชอบของนกั ท่องเท่ยี วและ
ความเหมาะสมกบั กาลเทศะ
6) นานักท่องเทีท่ยวชมสถานที่ต่างๆ ให้ครบถ้วนตามที่กาหนดในรายการ และตรงตามเวลา
ท่กี าหนด ดแู ลอานวยความสะดวก ชว่ ยเหลอื แกไ้ ขปญั หาให้นักทอ่ งเทีย่ ว
7) พานักท่องเท่ียวเข้าที่พัก และนัดหมายวนั เวลาคร้ังตอ่ ไป ถา้ มีรายการตอ่
8) หากไม่มีรายการอะไร มคั คเุ ทศก์ควรจะพกั ผอ่ น เพ่ือทีจ่ ะไมเ่ หนือ่ ยเกนิ ไป
9) วันสุดท้ายของการเดินทาง มัคคุเทศก์เคลียร์ค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าโรงแรม ค่ามัคคุเทศก์
ท้องถิ่น และช่วยดูสัมภาระ และเตือนนักท่องเท่ียวเรื่องการคืนกุญแจ และของมีค่าในตู้นิรภัยหลังจากนั้นนา
นักท่องเที่ยวไปสนามบินก่อน 2 ชว่ั โมง ทาพธิ ีการตรวจคนเขา้ เมือง และพิธกี ารตรวจของศุลกากร
10) เมื่อถึงเมืองไทยควรช่วยดแู ลเร่ืองสมั ภาระและกระเป๋าของนกั ท่องเท่ียวอีกครั้ง กล่าวคา
ขอบคุณ และดแู ลนักท่องเท่ยี วจนกวา่ นกั ท่องเที่ยวกลับบ้านหมดทุกคน
4.2.3 การปฏิบตั ิงานหลังการนาเท่ียว
หากไม่เหน่ือยเกินไปมัคคุเทศก์ควรเข้าไปบริษัทเพ่ือจัดการเก่ียวกับเอกสารต่างๆ และควรทาบันทึก
เสนอต่อบริษัทเก่ียวกับ ข้อดี ข้อเสีย และข้อบกพร่องต่าง ๆ เก่ียวกับการบริการของบรษิ ัทนาเท่ียว มัคคุเทศก์
ทอ้ งถน่ิ และการบริการของผปู้ ระกอบการในตา่ งประเทศท่ีบริษทั นาเท่ียวไปใชบ้ รกิ าร
สรปุ
การปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์ให้ประสบผลสาเร็จ มัคคุเทศก์ต้องมีการเตรียมงานล่วงหน้าอย่างเป็น
ระบบคือ มีการศึกษางานต้ังแต่ได้รับมอบหมายจากบริษัท โดยการจัดเตรียมเอกสาร อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
นาเท่ียว ประสานงานกับสถานประกอบการท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้การดาเนินงานบริการนาเที่ยว สะดวกสบาย
ปลอดภัย ไม่มีปัญหาใดๆ เกิดข้ึน ทาให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ เกิดความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน ความ
ประทับใจ และกลับมาใช้บรกิ ารอกี คร้ัง