The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แก้ปัญหา นักศึกษา กศน.ตำบลควนกาหลง กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง
ไม่ตั้งใจเรียนในห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้กิจกรรม Active Learning

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายสมนึก เตบฮางะ, 2022-05-06 04:31:00

วิจัยในชั้นเรียน 2/2564

แก้ปัญหา นักศึกษา กศน.ตำบลควนกาหลง กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง
ไม่ตั้งใจเรียนในห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้กิจกรรม Active Learning

วิจัยในช้นั เรยี น

แก้ปญั หา นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลควนกาหลง กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง
ไม่ตง้ั ใจเรียนในห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้กิจกรรม Active Learning

ผูว้ ิจัย
นายสมนึก เตบฮางะ
ครู กศน.ตำบลควนกาหลง

กศน.ตำบลควนกาหลง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอควนกาหลง

งานวจิ ยั ในช้ันเรียน

ชื่อเร่ือง : แก้ปัญหา นักศึกษา กศน.ตำบลควนกาหลง กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง ไม่ต้ังใจเรียนในห้องเรียน

ออนไลน์ โดยใช้กจิ กรรม Active learning

ช่อื ผวู้ จิ ยั : นายสมนกึ เตบฮางะ พนกั งานราชการ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล

สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอควนกาหลง

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหาการวิจยั

ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนสอน

นักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลควนกาหลง เน่อื งด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ

เช้ือไวรัสโควิด 19 ทำให้ไม่สามารถเปิดทำการเรยี นการสอนในห้องเรียนได้ ต้องใชร้ ูปแบบการสอนแบบ

ออนไลน์ และพบปัญหาท่ีสำคัญ คือ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลควนกาหลง

ไม่ตั้งใจเรียนขณะอยู่ในห้องเรียนออนไลน์ เพ่ือให้เกิดการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าว ข้าพเจ้าจึง

คิดหาแนวทางในการจัดทำวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว และค้นพบการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ

ออนไลน์ท่ที ำให้เกดิ การเรียนรเู้ ชิงรุก หรอื Active learning เพื่อให้นกั ศึกษามีความสนใจและต้ังใจเรยี น

ขณะอย่ใู นห้องเรยี นออนไลน์

ปญั หาการวิจัย

นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลควนกาหลง กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง

จำนวน 5 คน ไมส่ นใจและไม่ต้ังใจเรยี นขณะอย่ใู นหอ้ งเรียนออนไลน์

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย

1. เพื่อศึกษาแนวทางในพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้มีความน่าสนใจ

และเกิดประสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น

2. เพอ่ื แกป้ ญั หา นักศึกษา กศน.ตำบลควนกาหลง ไม่ตั้งใจเรยี นในหอ้ งเรียนออนไลน์

กรอบแนวคิดของการวิจัย

ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม

นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบล กิจกรรม Active learning ช่วยให้นักศึกษาระดับ

ควนกาหลง ต้ังใจเรียนขณ ะอยู่ในห้องเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลควนกาหลง

ออนไลน์ สนใจและตัง้ ใจเรียนมากข้ึน

วิธดี ำเนินการวจิ ยั

กลุ่มเป้าหมาย
นกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มฟ้ารุ่งควนกาหลง จำนวน 5 คน ภาคเรยี นท่ี
2 ปกี ารศกึ ษา 2564
การวิเคราะห์ปญั หา
ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนออนไลน์ของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
และพบว่า นกั ศึกษา จำนวน 5 คน ไม่ตัง้ ใจเรียนขณะอยู่ในห้องเรยี นออนไลน์
การแกป้ ัญหา
หลังจากท่ีพบปัญหาของการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แล้วน้ัน ครูดำเนินการ
แกป้ ัญหา ดังน้ี
1. ครูศึกษาแนวทางในการปรับปรุงวิธีการสอนท่ีนอกเหนือจากการสอนแบบบรรยาย
อย่างเดยี ว เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ พฤตกิ รรมการเรยี นของนกั ศกึ ษาขณะอยใู่ นห้องเรียนออนไลน์
2. ครูค้นพบการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ โดยใช้กิจกรรม Active
learning
3. ครนู ำกจิ กรรม Active learning มาใช้ในการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียนออนไลน์ของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย หลังจากเรมิ่ ใช้กิจกรรม Active learning จำนวน 10 ครั้ง
สรุปผลการวิจัย
จากการพัฒนาและปรับปรุงพฤติกรรมของนักศึกษาที่มีปัญหาไม่สนใจและไม่ต้ังเรียน

โดยใช้กิจกรรม Active learning สามารถสรปุ ผลการวจิ ยั ได้ดังนี้

1. กิจกรรม Active learning เป็นกิจกรรมที่ทำให้การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ
ออนไลน์มีความน่าสนใจมากข้ึน

2. กิจกรรม Active learning ทำให้นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายให้ความ
สนใจและตงั้ ใจเรยี นขณะอยูใ่ นหอ้ งเรยี นออนไลน์มากข้นึ อยู่ในระดบั ดี
ข้อเสนอแนะ

จากการวิจัยพบว่า ควรนำกิจกรรม Active learning มาใช้อย่างต่อเนื่องท้ังในรูปแบบ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (online) และออนไซต์ (on-site) จะช่วยให้นักศึกษาน้ันเกิดการ
เรียนรู้ทคี่ งทน และทำให้มีความสนใจและต้งั ใจในบทเรียนน้ันๆ

ตารางบนั ทกึ ผล

แก้ปัญหานกั ศกึ ษาไมต่ ้ังใจเรียนในหอ้ งเรยี นออนไลน์

โดยใชก้ ิจกรรม Active Learning

กศน.ตำบลควนกาหลง ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 2/2564

ที่ วัน เดอื น ปี ขั้นตอนการดำเนินการ จำนวนนกั ศึกษา

1 วนั ที่ 1 ธันวาคม 2564 - สังเกตพฤติกรรมการเรียนของ 16 คน

นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน

ป ล าย ก ลุ่ ม ฟ้ ารุ่งค ว น ก าห ล ง

ขณะอยู่ในหอ้ งเรยี นออนไลน์

ผลการดำเนินการ 5 คน

- ไม่ต้ังใจเรียนขณะอยู่ในห้องเรียน

ออนไลน์

2 ครั้งท1ี่ วนั ท่ี8 ธันวาคม 2564 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครั้งท2ี่ วนั ที่15 ธันวาคม 2564 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครงั้ ท3่ี วนั ที่22 ธนั วาคม 2564 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

คร้งั ท4ี่ วนั ท่ี29 ธนั วาคม 2564 - กิจกรรม Active learning 5 คน

ครั้งท5ี่ วันท่ี5 มกราคม 2565 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครง้ั ท6่ี วนั ท่ี12 มกราคม 2565 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครง้ั ท7่ี วนั ท่ี19มกราคม 2565 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครงั้ ท8่ี วนั ที่26 มกราคม 2565 - กิจกรรม Active learning 5 คน

คร้งั ท9ี่ วันที่9กุมภาพนั ธ์ 2565 - กจิ กรรม Active learning 5 คน

ครั้งท1่ี 0วนั ท่ี23กุมภาพนั ธ์ 65 - กิจกรรม Active learning 5 คน

ผลการดำเนนิ การ

- นั ก ศึ ก ษ าทุ ก ค น เรี ย น รู้ ผ่ า น 5 คน

กิ จ ก ร ร ม Active learning แ ต่

ค รู ผู้ ส อ น สั ง เก ต แ ล ะ บั น ทึ ก

พ ฤ ติ ก ร ร ม เฉ พ า ะ นั ก ศึ ก ษ า ท่ี มี

ปญั หา

3 วนั ที่ 1 มนี าคม 2565 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล - นักศกึ ษา จำนวน 5

และรายงานผล กบั นักศึกษา คน มคี วามตง้ั ใจเรยี น

ขณะอยใู่ นห้องเรียน

ออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ

100

การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active learning
ปัจจุบันน้ี เรื่องของ Active Learning นับเป็นส่ิงที่ถูกกล่าวถึงมากท่ีสุดในการศึกษา
ช่วงศตวรรษที่ 21 นี้ ด้วยเพราะเป็นแนวจัดการเรียนรู้ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และตอบสนอง
ต่อการพฒั นาของสงั คมโลกทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปอย่างรวดเรว็
Active Learning (การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ) หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น
ให้ผู้เรยี นสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยผ่านการกระทำและร่วมมือกนั ระหว่างผู้เรียน
ดว้ ยกัน ซง่ึ เกิดขึ้นจากสมมติฐาน 2 ประการ อนั ไดแ้ ก่
1. การเรียนรเู้ ป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนษุ ย์
2. แตล่ ะคนมแี นวทางในการเรยี นรูท้ ี่แตกต่างกัน
การเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะความคิดระดับสูง
อย่างมีประสิทธิภาพช่วยให้ผู้เรียนวเิ คราะห์สังเคราะห์และประเมินข้อมูลในสถานการณ์ใหม่ได้ดีในท่ีสุด
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจจนสามารถช้ีนำตลอดชีวิตในฐานะผู้ฝักใฝ่การเรียนรู้ ธรรมชาติของการ
เรียนรแู้ บบ Active Learning ประกอบดว้ ยลกั ษณะสำคัญต่อไปน้ี
1. เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งลดการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนสู่ผู้เรียนให้น้อยลงและพัฒนา
ทกั ษะใหเ้ กิดกับผู้เรยี น
2. ผ้เู รยี นมสี ่วนร่วมในชน้ั เรยี นโดยลงมอื กระทำมากกวา่ นัง่ ฟังเพยี งอยา่ งเดยี ว
3. ผเู้ รยี นมสี ่วนในกิจกรรมเช่นอ่านอภิปรายและเขยี น
4. เนน้ การสำรวจเจตคตแิ ละคณุ ค่าท่มี อี ยใู่ นผ้เู รียน
5. ผู้เรียนได้พัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินผลการ
นำไปใชแ้ ละ
6. ทง้ั ผ้เู รียนและผสู้ อนรบั ขอ้ มูลปอ้ นกลับจากการสะท้อนความคดิ ได้อยา่ งรวดเรว็
ลกั ษณะของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นดังนี้
1. เป็นการเรยี นการสอนทีพ่ ัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแกป้ ัญหา และ
การนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้
2. เป็นการเรียนการสอนทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้สูงสุด
3. ผเู้ รียนสร้างองคค์ วามรู้และจดั กระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนท้ังในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้าง
ปฏสิ มั พนั ธ์ร่วมกัน รว่ มมอื กันมากกวา่ การแข่งขัน
5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าท่ี
ความรับผิดชอบ
6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะ
เปน็ ผจู้ ัดระบบการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
7. เป็นกิจกรรมการเรยี นการสอนที่เน้นทกั ษะการคิดขั้นสงู

8. เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และ
หลักการความคดิ รวบยอด

9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติ
ด้วยตนเอง

10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวน ของ
ผเู้ รยี น

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
นักศกึ ษาไมต่ ั้งใจเรยี นในหอ้ งเรยี นออนไลน์

โดยใช้กิจกรรม Active Learning
กศน.ตำบลควนกาหลง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 2/2564

นกั ศกึ ษา ครั้งท่ี

คนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
1 3 1 111111 1 1
1
2 3 2 211111 1 1
1
3 3 1 111111 1

4 2 2 211111 1

5 3 2 111111 1

ครง้ั ที่ 1 กิจกรรมนำเสนอขอ้ มลู ส่วนตวั ของตนเองเป็นรายบุคคล
ครั้งที่ 2 กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของตนเอง
ครงั้ ที่ 3 กิจกรรมสนทนาแลกเปล่ียนทบทวนความรู้เดิมสู่ความรใู้ หม่
ครั้งท่ี 4 กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรสู้ ่คู วามรู้ในบทเรยี นใหม่
ครั้งที่ 5 กิจกรรมแบ่งปันเกร็ดความร้สู ขุ ภาพดีทำได้อย่างไรบ้าง
ครง้ั ที่ 6 กิจกรรมแบ่งปนั ความรดู้ แู ลตนเองในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด 19
ครัง้ ที่ 7 กิจกรรมแลกเปลีย่ นความรูอ้ าชพี อย่รู อดในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโควดิ 19
คร้ังท่ี 8 กจิ กรรมนำความร้สู กู่ ารประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ
ครง้ั ที่ 9 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ารเตรยี มความพร้อมก่อนสอบ
ครง้ั ที่ 10 กจิ กรรมสะท้อนผลจากการจัดการสอนด้วยกิจกรรม Active learning

***หมายเหตุ
1 เข้ารว่ มกจิ กรรมสนใจเรียนอย่างดีมาก มีการสือ่ สารระหว่างครูและผเู้ รยี นและตอบคำถาม

ได้ดีมาก
2 เขา้ ร่วมกิจกรรมสนใจเรียนปานกลาง มกี ารส่ือสารและตอบคำถามได้บา้ ง ไม่กลา้ พูด เปดิ

กล้องไม่นาน แล้วก็ปิด ครตู ้องส่งั ถงึ จะเปิดกลอ้ งขณะเรียนออนไลน์
3 ไม่สนใจเรยี น ในห้องเรยี นออนไลน์ แคเ่ ข้าร่วม ถาม ตอบ ไม่มีการสื่อสารท่ีดี ไม่กล้าเปิด

กลอ้ งขณะเรียนออนไลน์


Click to View FlipBook Version