The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.5 พัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย สมัยอยุธยาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thawarat Kluanmuang, 2022-12-18 22:58:35

1.5 สมัยอยุธยาตอนปลาย

1.5 พัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย สมัยอยุธยาตอนปลาย

พัฒนาการทางการเมอื งการปกครองไทย

สมัยอยุธยา ตอนปลาย

(พ.ศ.2231-2310)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนทา่ แซะรัชดาภเิ ษก จังหวดั ชมุ พร

รายนามพระมหากษตั รยิ ์ไทย สมยั อยธุ ยา สมยั อยุธยา ตอนปลาย

28. สมเดจ็ พระเพทราชา ***
29. สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 8 (สมเดจ็ พระสุรเิ ยนทราธบิ ด)ี (พระเจา้ เสอื )
30. สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 9 (สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ)
31. สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 3 (สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ) ***
32. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 4

(สมเดจ็ พระเจา้ อทุ ุมพร/ขุนหลวงหาวัด)
33. สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 3

(สมเดจ็ พระทนี่ ง่ั สุรยิ าศนอ์ มั รนิ ทร์/พระเจา้ เอกทศั )

พฒั นาการทางการเมืองการปกครองไทย
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2231-2310)

เปน็ ระบอบ สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
รูปแบบการปกครอง “ราชาธิ ปไตย”

“กษัตริย์” ยังมีอานาจสูงสุด

พัฒนาการทางการเมอื งการปกครองไทย
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2231-2310)

ชว่ งเวลาตงั้ แต่.. สมยั สมเดจ็ พระเพทราชา ถึง
สมัยสมเดจ็ พระทนี่ ง่ั สรุ ยิ าศน์อมรนิ ทร์ หรอื พระเจ้าเอกทศั

(พ.ศ. 2231 – 2310)

รูปแบบการปกครองในสมยั อยุธยาตอนปลาย
ยังคงยึดรูปแบบการปกครองตามที่

สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงจัดระเบยี บไว้
แต่มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปแบบการปกครองบางสว่ น

ในสมัยสมเด็จพระเพทราชา

รปู แบบการปกครอง

สมุหกลาโหม สมหุ นายก พระยาโกษาธิบดี
(เสนาบดีกรมทา่ )

หัวเมอื งใต้ หวั เมอื งเหนอื หวั เมืองชายทะเล
ภาคตะวันออก

ทหาร พลเรือน ทหาร พลเรอื น ควบคุมดูแล
ราชการท้งั หมด

ช่วงเวลาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชาถึงสมัยสมเด็จพระที่น่ังสุริยาศน์อมรินทร์ หรือ
พระเจา้ เอกทัศ (พ.ศ. 2231 - 2310) รปู แบบการปกครองในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ยงั คงยดึ รปู แบบ
การปกครองตามท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงจัดระเบียบไว้ แต่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
การปกครองบางส่วนในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ดังน้ี

1. ยกเลิกการแยกความรบั ผดิ ชอบของอคั รมหาเสนาบดี
ดา้ นงานพลเรอื น และดา้ นงานทหาร

2. ให้สมหุ กลาโหม (กรมกลาโหม) รบั ผดิ ชอบทง้ั ดา้ นทหารและพลเรอื น
ปกครองหวั เมอื งฝ่ายใตต้ งั้ แตเ่ พชรบรุ ลี งไป

3. ใหส้ มหุ นายก (กรมมหาดไทย) รบั ผดิ ชอบทงั้ ดา้ นทหารและพลเรอื น
ปกครองหวั เมอื งฝา่ ยเหนอื และดแู ลจตสุ ดมภใ์ นสว่ นกลาง

4. ให้เสนาบดกี รมคลงั (พระยาโกษาธบิ ดี )รับผิดชอบทง้ั ดา้ นทหารและพลเรอื น
ปกครองหวั เมอื งชายฝั่งตะวนั ออก และดแู ลเกย่ี วกับรายไดข้ องแผ่นดนิ
และการตดิ ตอ่ คา้ ขายกับตา่ งประเทศ

รปู แบบการปกครอง

เปลีย่ นอานาจทหาร พระคลัง สมหุ นายก

(พระโกษาธิบด)ี

หวั เมืองใต้ หัวเมอื งเหนือ

ทหาร พลเรอื น ทหาร พลเรือน

สรปุ

พฒั นาการทางการเมอื งการปกครองไทยสมยั อยธุ ยา

ก า ร ป ก ค ร อ ง ส มั ย อ ยุ ธ ย า มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
สถานการณ์ทางการเมือง โดยมีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือ พยายามรวม
อานาจการปกครองสู่ ส่วนกลาง และ ควบคุมการ ปกครอง
หัวเมืองต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น พร้อมกับพยายามจัดรูปแบบ
การปกครอง เพอ่ื ถ่วงดลุ อานาจกบั กลมุ่ เจา้ นายและขนุ นาง ซงึ่ เปน็ กลไก
สาคัญในการปกครอง ดังนั้น สมัยอาณาจักรอยุธยา จึงเกิดการแย่งชิง
อานายทางการเมืองระหว่างพระมหากษัตริย์ เจ้านาย และขุน
นาง ตลอดจนสิน้ อยุธยา

เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างการเมอื งการปกครองไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง กับ สมัยอยธุ ยาตอนปลาย

สมัยอยธุ ยา ตอนกลาง สมัยอยธุ ยา ตอนปลาย

1.สมุหกลาโหม (กรมกลาโหม) 1.สมุหกลาโหม (กรมกลาโหม)
ดูแลฝา่ ยทหาร (อยา่ งเดยี ว) ดูแลทงั้ ฝ่ายทหารและฝา่ ยพลเรอื น
ทวั่ ราชอาณาจกั ร เฉพาะหวั เมอื งใต้

2.สมุหนายก (กรมมหาดไทย) 2.สมุหนายก (กรมมหาดไทย)
ดูแลฝา่ ยพลเรอื น (อย่างเดยี ว) ท่ัว ดแู ลท้งั ฝ่ายทหารและฝา่ ยพลเรอื น
ราชอาณาจกั ร เฉพาะหวั เมอื งเหนอื

2.พระโกษาธิบดี (กรมคลงั ) 2.พระยาโกษาธบิ ดี (กรมคลงั /กรมท่า)
ยงั ไมไ่ ดร้ บั ผดิ ชอบในการดูแล ดูแลทง้ั ฝา่ ยทหารและฝา่ ยพลเรอื น
ฝ่ายทหารและฝา่ ยพลเรอื น เฉพาะหวั เมอื งชายฝงั่ ตะวนั ออก

4.ยังไมม่ กี ารถ่วงดลุ อานาจทหาร 4.มีการถว่ งดลุ อานาจทหารระหวา่ ง
มีเพยี งสมหุ กลาโหมท่มี อี านาจ สมุหกลาโหม กบั สมุหนายก

คำถาม

ทำไม !! อยธุ ยาตอ้ งปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลง
การปกครองค่อนข้างบอ่ ย

คำตอบ

เหตุผลก็เพื่อความมั่นคงของสถาบนั กษตั รยิ ์
ที่เป็นหลกั ในการปกครองนั่นเอง

จงทำทุกสงิ่
ด้วยความรกั

1 โครนิ ธ์ 16 : 14

Power Point น้ี เป็นลขิ สทิ ธขิ์ อง

ครูทวารตั น์ เกล่อื นเมอื ง (ครูพุดตาน)

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษาฯ
โรงเรยี นทา่ แซะรชั ดาภเิ ษก

Thawarat Kluanmuang
thawarat.p27


Click to View FlipBook Version