The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางธุรกิจดิจิทัล 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 63202040036, 2022-11-29 07:43:04

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางธุรกิจดิจิทัล 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางธุรกิจดิจิทัล 3

1

1

2

ความรู้พ้นื ฐานทางธุรกิจดิจิทัล 1
2

สาระสำคัญ

ปัจจบุ ันลกกำลงั เปลย่ี นแปลงเข้าสู่ยุคของเศรษฐกจิ ดิจิทลั (Digital Economy) ซง่ึ เป็นยคุ ที่มีการนำระบบ
ดิจิทัลและเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เข้ามาสนับสนนุ ในการดำเนนิ การของธรุ กิจ โดยปรับเปล่ียนรปู แบบหรอื โครงสร้างธุรกิจ
แบบเดิม ๆให้เปลี่ยนมาสู่รูปแบบออนไลน์แพลตฟอร์ม โดยการนำเสนอในรูปแบบโฆษณาผ่านเว็บไชหรือสื่อสังคม
ออนไลน์ ประกอบกับกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความทันสมยั ให้กับการเลือกซื้อสินค้าหรือ
บริการแกผ่ ู้บรโิ ภค ทงั้ ยงั เพิม่ ผลประโยชน์ให้แกผ่ ู้ประกอบการ ความรพู้ ้ืนฐานทางธุรกิจดิจทิ ัล จงึ เป็นสง่ิ สำคญั เพ่อื ให้
ได้เรียนรูแ้ ละศกึ ษาเกี่ยวกบั กระบวนการการทำธุรกจิ แบบดงั้ เดิมและการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทเี่ ขา้ มาชว่ ยปรับเปลย่ี น
และพัฒนาโครงสรา้ งและการดำเนินงานทางธุรกิจอย่างทันสมยั

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายของธุรกจิ 6. ลกั ษณะของธรุ กจิ ทั่วไปและธรุ กิจดิจิทัล
2. รปู แบบการจัดตง้ั ธุรกจิ 7. การเปล่ียนแปลงเขา้ สูย่ คุ เศรษฐกิจดจิ ิทลั
3. ประเภทของธรุ กจิ 8. ความหมายและแนวคิดธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล
4. ปัจจยั พน้ื ฐานในการดำเนินธุรกจิ 9. ความสำคัญของธุรกิจดจิ ทิ ัล
5. หนา้ ท่ใี นการจดั การองคก์ รธุรกจิ 10. ธุรกิจดจิ ิทัลและการเปลยี่ นแปลง

สมรรถนะประจำหนว่ ย

แสดงความรู้เร่อื งธรุ กจิ ดิจิทลั ในเรอื่ งของการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เขา้ มาชว่ ยในการดำเนนิ ธรุ กิจ

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายเก่ยี วกบั ความหมายและรปู แบบธรุ กจิ ได้
2. อธิบายเกยี่ วกับประเภทของธุรกจิ ได้
3. อธบิ ายเกย่ี วกับปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธรุ กจิ ได้
4. อธิบายเกย่ี วกับหนา้ ท่ีและลกั ษณะธรุ กจิ ดิจทิ ลั ได้
5. อธบิ ายเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงเขา้ สู่ยคุ เศรษฐกจิ ดิจิทลั ได้
6. อธบิ ายเก่ียวกับความหมายและความสำคญั ของธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั ได้
7. อธิบายเกยี่ วกับธุรกจิ ดจิ ิทลั และการเปลย่ี นแปลงได้

3

3

1.ความหมายของธุรกิจ

พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พทุ ธศกั ราช 2554 ใหค้ ำนิยามของธุรกิจวา่ “ธุรกิจ คือ การงานประจำเกย่ี วกับ
อาชพี คา้ ขาย หรือกจิ กรรมอยา่ งอ่นื ท่ีสำคญั และท่ไี มใ่ ช่ราชการ และหรืออกี ความหมายหนึ่งคอื การประกอบกจิ การเพือ่
มงุ่ เนน้ การค้าหากำไร”

ธุรกจิ คือ กจิ กรรมต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกับการผลติ สนิ คา้ หรือการบรกิ าร โดยการจดั สรรทรพั ยากรหรอื ปจั จัยทมี่ ีอยู่ มา
เปลย่ี นสภาพอยา่ งมรี ะบบ จนกระทั่งได้เปน็ สินค้าหรือบรกิ าร แล้วนำสิง่ เหล่านน้ั มาจำหน่ายซ้ือขาย หรอื แลกเปลย่ี น เพอื่
นำไปสู่ผลกำไรหรอื สิ่งตอบแทนตามจุดประสงค์ของผปู้ ระกอบการ

2. รปู แบบการจัดตั้งธุรกิจ

องค์การธุรกจิ หรอื การประกอบการธรุ กิจท้ังทางด้านการค้าหรอื บริการมกี ารดำเนินการไดใ้ นหลากหลาย
รปู แบบ ทงั้ การดำเนนิ การแบบบคุ คลเดียวหรือหลายบคุ คลตกลงลงทุนรว่ มกันเปน็ กลุ่มคณะ การจะตดั สินใจเลอื ก
ประกอบธุรกิจว่าจะเป็นไปในแบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะตอ้ งคำนงึ ถงึ หลายองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญ เชน่ เงินลงทนุ
ลักษณะของธรุ กจิ หรอื ความรู้ความสามารถในการดำเนนิ การในธรุ กิจ เป็นต้น เพ่ือทผ่ี ปู้ ระกอบการจะได้ประสบ
ความสำเร็จและนำมาซงึ่ ผลประโยชน์หรือกำไรทเ่ี หมาะสม

2.1 ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี ว (Single or Sole Proprietor) เปน็ กิจการแบบมผี ู้ประกอบการ
เพยี งคนเดยี ว ทั้งการตัดสินใจและการบริหารดา้ นต่าง ๆ เปน็ สทิ ธขิ าดของผปู้ ระกอบการเพยี งคนเดียวธุรกิจประเภท
นส้ี ว่ นมากเปน็ ธรุ กิจสว่ นตวั ที่มขี นาดเล็ก ใช้เงนิ ทุนในการดำเนนิ การไม่มาก ขอบเขตการดำเนินการหรอื การบริหาร
เรยี บงา่ ยไม่ซับซอ้ น ข้ันตอนการทำงานไมเ่ ยอะ และสว่ นมากจะเน้นไปทีค่ วามสมั พันธ์ระหวา่ งผู้ประกอบการกบั
ลกู คา้

ขอ้ ดีของธรุ กจิ แบบเจ้าของคนเดยี ว คือ

1. ธุรกจิ หรอื กจิ การแบบเจา้ ของคนเดียวผปู้ ระกอบการสามารถนำหลกั ฐานต่าง ๆ ไปขออนญุ าตและจดทะเบยี น
พาณิชย์ไดด้ ้วยตนเอง โดยไม่ตอ้ งรอการรบั รองจากเนตบิ ณั ฑิตยสภา แตกตา่ งจากการจดั ตงั้ ธรุ กจิ ประเภทหา้ ง
หุน้ ส่วนและบรษิ ัทจำกดั

2. ผู้ประกอบการมสี ิทธิขาดและอสิ ระในการดำเนนิ การและการตัดสินใจตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั ธุรกจิ ทำให้มคี วามคล่องตัว
และสะดวกในการดำเนนิ งาน

3. ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดียวสามารถรกั ษาความลับได้ดี เพราะนอกจากจะไม่มขี อ้ บงั คบั ในทางกฎหมายในการ

4

4

เผยแพรข่ ้อมูลแก่บคุ คลภายนอกแลว้ ในการดำเนินการต่าง ๆ ยงั มเี พียงเจ้าของกิจการในการปฏิบัตงิ าน ทำให้
สามารถเกบ็ ความลับเก่ียวกบั เคลด็ ลับในความสำเรจ็ ของธุรกิจไมแ่ พร่กระจายออกไปและทำให้เกิดการ
ลอกเลียนแบบไดย้ าก
4. ผลกำไรจากธุรกจิ ทไี่ ด้ตกแกผ่ ูป้ ระกอบการทัง้ หมด โดยไม่ต้องแบง่ ส่วนแบบธรุ กจิ แบบทา้ งหนุ้ สว่ นแบ่งธุรกจิ แบบ
หา้ งหุ้นส่วนหรอื บริษทั จำกัด
5. ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดยี วมขี อ้ บงั คับทางดา้ นกฎหมายน้อย ทำให้การชำระภาษขี องธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว ไม่
จำเปน็ ตอ้ งแสดงงบการเงินต่อกรมสรรพากรทกุ งวดสน้ิ เดือนเพ่ือเสียภาษีเพราะเป็น
การเสียภาษแี บบเหมาจา่ ยโดยหักคา่ ใชจ้ ่ายจากเงนิ ไดพ้ ึงประเมินตามอตั ราตา่ ง ๆ ซึง่
ชว่ ยลดภาระในการทำบัญชีและหรือการใชผ้ สู้ อบบญั ชีในการรับรองงบการเงิน และ
ในการคำนวณภาษี ตามกฎหมายถือว่าผูป้ ระกอบการหรอื เจ้าของธรุ กจิ และธุรกจิ ถอื
เปน็ บคุ คลเดียวกนั จงึ เพียงชำระภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา (ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด.
94) ไดเ้ ลย ไมจ่ ำเปน็ ต้องชำระภาษชี บั ซอ้ นเหมือนกบั ธรุ กิจในรูปแบบอ่ืน

ข้อเสียของธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว คือ

1. เมอ่ื ธรุ กจิ แบบเจ้าของคนเดยี วเกิดปญั หาดา้ นเงินลงทนุ ผูป้ ระกอบการไม่เพยี งสญู เงิน
ลงทุนไปท้ังหมด ยังต้องรบั ผิดชอบนำทรัพยส์ นิ สว่ นตัวมาชำระหนสี้ นิ ที่เกิดข้ึนอยา่ งไม่
จำกดั จำนวนเพราะตามกฎหมายถือว่าธรุ กจิ และผ้ปู ระกอบการถือเปน็ บุคคลเดยี วกัน

2. เมอื่ ผู้ประกอบการต้องบรหิ ารธรุ กิจดว้ ยตวั คนเดียวในทกุ เรือ่ ง อาจมีการตดั สินใจ
ผดิ พลาดได้ในบางเรือ่ งส่งผลให้ธุรกจิ หรือผลประกอบการลม้ เหลว เพราะโดยส่วนมาก
คนเรามกั มคี วามชำนาญแบบเฉพาะดา้ นไม่เก่งทกุ ด้าน

3. ธรุ กิจแบบเจา้ ของคนเดยี วขยายกจิ การได้ยาก เพราะการทำเรอื่ งกู้ยืมจากผอู้ นื่ หรอื จาก
สถาบันยมื จากผู้อ่ืนหรอื จากสถาบันการเงินนนั้ ทำไดย้ าก เน่อื งจากภาพลักษณ์ของธรุ กจิ
แบบเจ้าของคนเดียวนั้นขาด ความมน่ั คงขาดความน่าเชือ่ ถอื แตกตา่ งจากธุรกจิ รปู แบบอื่น ๆ

4. ระยะเวลาหรอื อายุของธรุ กจิ ค่อนขา้ งจำกดั เพราะหากผู้ประกอบการเสียชีวิตหรือกลายเปน็ ผู้ไรค้ วามสามารถ ธรุ กิจ
น้นั ๆ กจ็ ะส้ินสดุ ลงทนั ที

5

ข้นั ตอนการจดั ตงั้ ธรุ กิจแบบเจา้ ของคนเดยี ว มดี ังน้ี 5

1) การจดทะเบียนพาณิชย์ ผู้ประกอบการจำเป็นต้องจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เริ่มประกอบ
ธุรกิจ โดยการนำหลักฐานไปจดทะเบียนที่สำนักทะเบียนธุรกิจของแต่ละเขตหากผู้ประกอบการหรือกิจการตั้งอยู่ใน
กรุงเทพมหานคร หรือถ้าอยู่จังหวัดอื่น ๆ ให้ผู้ประกอบการไปจดทะเบียนที่สำนักพาณิชย์จังหวัดหรือที่ทำการอำเภอหรือก่ิง
อำเภอ และผู้ประกอบการตอ้ งแสดงใบทะเบียนพาณิชย์ท่ีได้ ณ สำนักงานตรงบริเวณท่เี หน็ ไดง้ า่ ยและชดั เจน พร้อมกบั ทำป้าย
ชือ่ ธรุ กจิ ที่ใช้ในการประกอบการพาณิชย์ไว้หน้าสถานท่ีประกอบการภายใน 30 วนั นับตัง้ แตว่ ันที่จดทะเบียนพาณิชย์ โดยบน
ปา้ ยต้องเปน็ ภาษาไทย และสามารถใช้ภาษาตา่ งประเทศไดแ้ ต่ต้องตรงกับช่ือทไ่ี ดจ้ ดทะเบียนพาณชิ ย์

2) การขอเลขประจำตวั ผเู้ สยี ภาษี ผปู้ ระกอบการตอ้ งยื่นเร่อื งขอบัตรและเลขประจำตวั ผเู้ สยี ภาษีของนติ ิบุคคลที่
สำนกั งานภาษีสรรพากรพ้ืนทีท่ ี่ 1-16 ถา้ สำนักงานใหญห่ รือสถานประกอบการตงั้ อยู่ในกรงุ เทพมหานคร หรือถา้ อยู่ต่างจังหวดั
ผ้ปู ระกอบการสามารถยนื่ ขอได้ทสี่ ำนกั งานสรรพากรจังหวดั

3) การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ธุรกิจที่มีรายได้ 1,200,000 บาทขึ้นไปต่อปี จะต้องจดทะเบียน
ภาษมี ลู คา่ เพ่ิมและยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพอ่ื แสดงยอดภาษมี ูลค่าเพิม่ ซึง่ มียอดดลุ เป็นเครดิตและเดบติ ท่ไี ด้จากการนำภาษีขายหัก
ออกด้วยภาษีซื้อ โดยการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะกระทำได้เมื่อมีการขอเลขประจำตัวผู้เสีย
ภาษีเรียบร้อยแล้ว ธุรกิจที่มีผลประกอบการไม่ถึงหนึ่งล้านสองแสนบาทต่อปี จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่จดก็ได้ แต่หากมีการติดต่อซื้อขายหรือมีความเกี่ยวข้อจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม เจ้าของกิจการแบบเจ้าของคนเดียวก็ควรจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มด้วยเพ่ือ
ประโยชน์ในการได้ภาษซี อ้ื คืนและยงั สามารถออกใบกำกับภาษีได้

2.2 ห้างหนุ้ ส่วน (Partnership) คือ กจิ การหรอื องค์การทางธุรกจิ ท่มี ีผปู้ ระกอบการหรือ
ผดู้ ำเนนิ การมากกว่าสองคนขน้ึ ไปโดยทุกคนมคี วามรบั ผิดชอบร่วมกันในการดำเนินธุรกจิ และ
มีการแบง่ ผลกำไรออกเปน็ สดั สว่ นตามท่ตี กลงกนั ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หา้ ง
หุน้ สว่ นแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

2.2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปลงทุนและเป็น

เจ้าของกิจการร่วมกัน ดังนั้นบุคคลที่ลงทุนและถือเป็นหุ้นส่วนก็คือ "หุ้นส่วนไม่จำกัดความ
รับผิดชอบ" หมายถึง เมื่อกิจการธุรกิจห้างหุ้นส่วนเกิดภาวะหนี้ขึ้นหุ้นส่วนทุกคนต้องร่วม
รับผิดชอบหนีท้ ัง้ หมด โดยไมจ่ ำกัดจำนวน

ห้างหุ้นส่วนสามัญจะจดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนก็ได้ หากจดทะเบียนจะถูก
เรียกว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล และห้างหุ้นส่วนนั้นจะมีสภาพเป็นนิติบุคคลตาม
กฎหมาย

6

6

2.2.2 หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั เป็นห้างหุน้ ส่วนท่มี หี ุ้นส่วน 2 ประเภท ได้แก่
1) หุ้นสว่ นจำกดั ความวบั ผิดชอบ หมายถงึ บุคคลท่รี ่วมลงทนุ หรือหุ้นสว่ นมีความวบั ผิดชอบต่อจำนวนหนี้ท่ีไม่เกิน

เงินที่ได้ลงทุน และไม่มีสิทธิเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ หุ้นส่วนประเภทนี้มีสิทธิในการตรวจสอบการดำเนินการของห้าง
หุ้นสว่ น อาทิ หนุ้ สว่ นคนเดียวหรือหลายคนจะรับผิดขอบจำกดั เพยี งในส่วนของจำนวนเงินที่ตนลงทุนในห้างหุ้นส่วน
เท่าน้นั

2) หุ้นส่วนไม่จำกัดความวับผิดชอบ หมายถึง หากห้างหุ้นส่วนมีหนี้สินจากการประกอบการหุ้นส่วนจะต้อง
รับผิดชอบหน้ีทง้ั หมดโดยไม่จำกัดจำนวน และมสี ทิ ธเ์ิ ป็นได้ทั้งหนุ้ ส่วนผจู้ ัดการและหุ้นสว่ นธรรมดา อาทิ หุ้นส่วนคน
เดียวหรอื หลายคนต้องรับผิดชอบในหน้ีสนิ ทั้งหมดของห้างหุ้นสว่ นโดยไม่จำกดั จำนวน

2.2.3 หนา้ ท่ขี องหา้ งหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจำกัด เมื่อทำการจดทะเบียนตามประมาลกฎหมาย

แพงและพาณิชย์ มีหน้าที่จัดทำงบประมาณด้านการเงินประจำปี เพื่อยื่นให้กับสำนัก
บริหารธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า หรือสำนักงานทะเบียนการค้าจังหวัด ภายใน
ระยะเวลา 5 เดือน นับตั้งแต่วันที่ปิดรอบบัญชีแม้ห้างหุ้นส่วนนั้น ๆ จะยังไม่ได้ประกอบ
กิจการกต็ าม

2.2.4 การจดั ตัง้ หา้ งหนุ้ ส่วน
1) การจดทะเบียนห้างหุ้นสว่ นต้องทำท่ีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยข้อมูลท่ีต้องเตรียมและ

ใช้ในการจดทะเบียนประกอบไปด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนเงินลงทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน
วัตถุประสงค์ของกจิ การธรุ กิจ การแต่งต้งั หุ้นสว่ นผู้จดั การ สถานที่ตงั้ ของกจิ การและสาขา (ถ้าม)ี

7

7

2) เมื่อจดทะเบยี นเรยี บร้อยแลว้ หา้ งหุน้ ส่วนจะมสี ภาพเปน็ นติ บิ ุคคลตามกฎหมายแยกจากบคุ คลผูเ้ ปน็ ห้นุ ส่วน และจะได้รับเลข
1 3 หลัก ซึ่งเปน็ เลขประจำตัวผ้เู สยี ภาษี

3) ในส่วนของการใชช้ ื่อของห้างหุ้นสว่ นในดวงตรา ป้ายชื่อ หรือเอกสารอ่ืน ๆ ที่ต้องใช้ในธุรกิจห้างหุน้ สว่ นจำกัด จะต้องมี "ห้าง
หุน้ สว่ นจำกดั " ประกอบชอ่ื หรือหากเป็นภาษาตา่ งประเทศใหใ้ ชค้ ำทีม่ ีความหมายเดยี วกนั เชน่ "Limited Partnership" ประกอบชอ่ื เป็นต้น

4) เร่ืองการเสยี ค่าธรรมเนียมจะเป็นการเสียค่าธรรมนียมโดยการนับจำนวนผู้เปน็
หนุ้ สว่ น เชน่ มีผู้เปน็ ห้นุ สว่ นไม่เกิน 3 คน จะเสยี ค่าธรรมเนยี ม 1,000 บาท แตห่ ากมีผเู้ ป็น
หุ้นสว่ นมากกว่า 3 คน จะตอ้ งเสยี คา่ ธรรมเนยี มทีเ่ กนิ เพมิ่ 200 บาทต่อคน และเม่อื จดทะเบยี น

จัดตัง้ ห้างหุ้นส่วนแล้วจะไดร้ บั หนังสอื รบั รองและใบสำคญั เปน็ หลักฐาน

2.3 บรษิ ทั จำกัด (Limited Company) คอื องคก์ ารธุรกิจหรือกิจการที่มบี ุคคลตัง้ แต่ 3 คนข้นึ ไปลงทุนรว่ มกนั ทำ
กจิ กรรมหรือประกอบกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไรจากการประกอบการนน้ั ๆ มาแบ่งกนั บรษิ ัทจำกัด
นัน้ จะมกี ารแบง่ ทุนออกเปน็ หนุ้ โดยมูลคา่ แต่ละหนุ้ นัน้ เท่ากนั ผู้ลงทุนสำหรบั บรษิ ัทจำกดั จะเรยี กว่า ผูถ้ อื ห้นุ และผู้ถอื หนุ้
จะรบั ผิดเพยี งเฉพาะจำนวนไมเ่ กนิ จำนวนเงินที่ถอื หนุ้ อยู่

เมื่อบริษทั จำกัดได้รบั การจดทะเบียนแล้วจะถอื สภาพเป็นนิตบิ คุ คลตามกฎหมายและแยกตา่ งหากจากผู้ถอื หนุ้ และ
จะได้รบั หมายเลข 13 หลกั ซึง่ จะใชเ้ ปน็ หมายเลขผเู้ สยี ภาษอี ากรของกรมสรรพากรและเมือ่ จดทะเบยี นแล้ว สญั ญาหรือ
ข้อผกู พนั ใด ๆ ทบี่ ริษัทไดก้ ระทำข้นึ จะผูกพนั เฉพาะตวั บรษิ ทั เทา่ นัน้ ไม่ตอ้ งรับผิดหรือกอ่ ให้เกดิ สทิ ธิใด ๆ แก่ผ้อู น่ื หุน้ ท่ี
อาจเรยี กรอ้ งต่อบุคคลท่ีสาม และขอ้ ความท่รี ะบใุ นเอกสารทะเบียนการจดั ต้งั บรษิ ัทนน้ั ถือว่าประชาชนไดร้ ับรู้แล้ว

สำหรับการนำชือ่ ของบริษัทไปใชน้ นั้ หากเปน็ ดวงตรา
ปา้ ยชือ่ หรือเอกสารตา่ ง ๆ ซึง่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท
จะตอ้ งใชค้ ำวา่ "บริษัท" นำหน้าช่ือ และลงท้ายดว้ ย "จำกดั "
และถา้ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศตอ้ งลงท้ายชื่อดว้ ย "Company
Limited" หรือ "Co., Ltd."

8 8

2.3.1 บรษิ ัทจำกดั แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

บริษัทเอกชน จำกัด บรษิ ทั มหาชน จำกดั คือ
คือ บริษัทจำกดั ที่มี บรษิ ัทจำกดั ที่มีผถู้ อื หนุ้ ใน
ผ้ถู อื หุ้นไมเ่ กิน 100 คน บรษิ ัทตั้งแต่ 100 คนข้นึ ไป

2.3.2 ขอ้ ดีของบริษัทจำกัด

สามารถมารถจัดหาเงนิ เป็นจำนวนมากโดยการออกจำหน่ายหนุ้ เพ่ิม หรอื กยู้ ืมจาก
สถาบนั การเงิน ซง่ึ จะได้รับความนา่ เชื่อถือกวา่ กจิ การประเภทอนื่

การดำเนนิ กจิ การของบริษทั ไมจ่ ำกัดระยะเวลาอายขุ องผูถ้ อื หุ้น ดังน้ันระยะเวลาหรืออายุ
ของการประกอบการจึงยาวกว่ากจิ การประเภทอื่น

ผถู้ ือหุ้นจะรับผดิ ชอบเฉพาะมูลคา่ ของหุ้นส่วนตามท่ียังชำระค่าห้นุ ไม่ครบโดยไมต่ อ้ ง
รับผิดชอบตอ่ หนใี้ ด ๆ ของบริษทั

การบริหารกิจกรรมสามารถหาผมู้ คี วามร้เู ชย่ี วชาญ มีความสามารถ หรือ มปี ระสบการณ์
มาจดั การแทนได้ เพอื่ ประสทิ ธิภาพในการบริหารกิจการ

ผู้ถือหนุ้ สามารถจัดการหนุ้ ไมว่ ่าจะโอนหรือขายหุน้ ให้กบั ผู้ใดกไ็ ด้โดยไม่ต้องขอ
ความเห็นชอบจากบรษิ ทั ก่อน

9

9

2.3.3 ข้อจำกดั ของบริษทั จำกัด

1 ข้ันตอนในการจัดต้งั บรษิ ทั ตามกฎหมายน้นั
มเี ยอะและย่งุ ยาก

เน่อื งจากต้องเปดิ เผยขอ้ มลู ให้กบั ผถู้ ือห้นุ และบคุ คลภายนอกไดท้ ราบ

2 ทำใหไ้ มอ่ าจรักษาความลบั ได้

เนอื่ งจากในการดำเนินการของบริษัทจำกดั นนั้ มีท้ังผถู้ อื หนุ้ คณะกรรมการบริษทั และ

3 พนักงาน ดังนัน้ ในการปฏบิ ัตงิ านอาจจะมีบางส่วนท่ขี าดความตั้งใจในการทำงานเน่อื ง

จากตนนัน้ ไม่ใชเ่ จา้ ของกจิ กา

การเสยี ภาษขี องกิจการประเภทบรษิ ัทจำกัดค่อนขา้ งสูงและซับซ้อน เนื่องจากบริษทั

4 จำกดั นน้ั เม่อื จดทะเบียนพาณิชย์แล้วถอื ว่าเป็นนิติบุคคลแยกจากผู้ถือหุ้น ดงั นัน้ จะตอ้ ง

เสยี ภาษีนติ บิ ุคคล และเม่ือบริษทั จา่ ยเงินปันผลใหแ้ ก่ผู้ถอื หนุ้ ในฐานะผู้ถอื ห้นุ ยงั ต้อง

เสียภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาอีกดว้ ย

2.4 สหกรณ์ (Co – Operative Society) คือ
องค์การธุรกิจที่มีกลุ่มบุคคล ซึ่งมีอาชีพ ความสนใจ หรือ
ความต้องการเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกันหรือคลา้ ยคลงึ กนั มาก
รวมตวั กนั ทำหน้าในประกอบธรุ กจิ เพื่อชว่ ยเหลือสมาชิก เช่น
สหกรณก์ ารเกษตร สหกรณ์ ออมทรพั ย์ครู เปน็ ตน้

10 10

2.5 รัฐวสิ าหกิจ (State Enterprise) คือ องคก์ ารธรุ กจิ
หรือหนว่ ยงานรัฐได้จัดต้ังข้ึน โดยมีเงินทนุ ทั้งหมดเป็นของรัฐ หรอื รฐั มี
ทุนรว่ มกันอยู่ดว้ ยกว่ามากกวา่ 50% องคก์ ารรัฐวสิ าหกิจน้นั ตอ้ งมีการ
บริหารให้ไดก้ ำไรและคือกำไรให้แกร่ ฐั เชน่ การประปานครหลวง การ
ไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย เป็นตน้

3. ประเภทของธุรกจิ

การประกอบธรุ กจิ ของผปู้ ระกอบการนอกจากตอ้ งรรู้ ูปแบบของธุรกิจแล้ว ยงั จำ
เป็นต้องรูห้ รือศึกษาเกย่ี วกับประเภทของธรุ กจิ อีกดว้ ย เพื่อช่วยให้ผปู้ ระกอบการรกั ษาผล
ประโยชนต์ ่าง ๆ ทีค่ วรไดร้ ับจากธุรกิจและสามารถปฏิบตั ิตามขอ้ กำหนดหรอื ข้อบังคับทาง
กฎหมายได้อยา่ งถกู ต้อง

3.1 ธุรกจิ แบบซอื้ มาขายไป (Merchandising Firm)
หมายถึง กจิ การทซ่ี ้ือขายสินค้า ซึ่งมที ั้งขายสง่ และขาย
ปลกี โดยท่ไี มใ่ ช่ผู้ผลติ มรี ายไดห้ ลกั คือ เงนิ หรือกำไรที่
ได้จากการขายสนิ ค้า มีค่าใช้จ่าย คือ ต้นทุนของสินค้า
และค่าใช้จา่ ยในการขายและบริการ

3.2 กิจการผลติ (Manufacturing Firm) หมายถึง
กจิ การผลิตทม่ี ีโรงงานสำหรับผลติ สินค้า หรือกจิ การพวก
อุตสาหกรรม มีรายไดห้ ลักจากกำไรที่ไดจ้ ากการขายสินคา้
มีคา่ ใชจ้ า่ ย คือ ค่าต้นทนุ ในการซอื้ วัตถดุ บิ คา่ จ่างคนงาน
และค่าใช้จา่ ยในกระบวนการผลติ

3.3 กิจการใหบ้ ริการ (Serving Firm) เช่น บรกิ าร 11
จองตั๋วเคร่ืองบิน หรือธนาคาร กจิ การประเภทนม้ี รี ายได้หลัก
มาจากค่าธรรมเนยี ม หรอื คา่ บริการส่วนค่าใชจ้ ่าย คือ คา่ จ้าง 11
พนักงานหรอื เงนิ เดือนพนักงานคา่ วัสดสุ ิน้ เปลือง หรอื คา่ เชา่

4. ปัจจัยพืน้ ฐานในการดำเนนิ ธรุ กจิ

ปัจจยั พนื้ ฐานในการดำเนินธุรกจิ มี 6 ประการ หรือเรียกว่า 6M ไดแ้ ก่
4.1 คน (Man) ธรุ กิจต่าง ๆ จะเกิดขน้ึ ไดก้ ต็ อ้ งมคี น คอื ต้องอาศยั ความคดิ
ของคนเพ่อื ดำเนินการ ทัง้ ในระดับของผูบ้ ริหาร ฝา่ ยผปู้ ฏบิ ัตงิ าน และมคี วาม
เชี่ยวชาญเก่ียวกบั ธรุ กิจที่ตอ้ งการมาดำเนนิ งานรว่ มกนั จงึ สามารถประสบความ
สำเร็จในการประกอบธุรกิจ

4.2 เงิน (Money) เมื่อมคี นแลว้ อนั ดบั ต่อมาก็คอื การนำเงนิ มาลุงทนุ เพอื่ ใหเ้ กดิ ผล
ประกอบการธรุ กจิ โดยผู้ประกอบการจะต้องมีการวางแผนในการใช้เงินทุนและจดั หา
เงินทุนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ไมใ่ หป้ ระสบปัญหาดา้ นเงนิ ทนุ และต้องวางแผนใหเ้ กดิ ผล
ตอบแทนสูงสดุ ทีธ่ ุรกจิ จะไดร้ บั

4.3 วสั ดหุ รือวตั ถุดิบ (Material) เมอ่ื มีเงนิ แลว้ กต็ อ้ งมกี ารบรหิ ารในด้าน
ของวัตถดุ ิบใหม้ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อใหเ้ กิดต้นทุนวัตถดุ ิบขนั้ ตำ่ สดุ ส่งผลให้
ธรุ กจิ มีผลกำไรสูงสุดตามมา

12

12

4.4 วิธีปฏบิ ตั ิงาน (Method) การปฏบิ ัตงิ านในแต่ละขนั้ ตอนของการดำเนิน
ธรุ กจิ ผู้ประกอบการหรือผู้ปฏิบัติงานจะตอ้ งรู้เก่ยี วกบั งานหรอื ธรุ กิจนนั้ ๆ และ
ต้องมกี ารวางแผนและควบคมุ เพ่ือใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ิงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

4.5 การจดั การ (Management) เป็นข้นั ตอนกระบวนการท่ที ำให้ธรุ กิจ
บรรลหุ รอื สำเร็จตามเปา้ หมายที่ไดว้ างแผนเอาไว้ และต้องเกิดประโยชน์
สงู สุดตอ่ ธุรกจิ

4.6 ขวัญและกำลงั ใจ (Morale) ผู้บรหิ าร ผูจ้ ัดการ หรือเจ้าของโรงงานนน้ั
จะต้องรจู้ กั คอยสังเกต คอยดแู ลเอาใจใส่ หรือใหข้ วัญและกำลงั ใจแกพ่ นักงาน
หรือลูกจ้าง เพราะว่าความสำเรจ็ ของธรุ กิจนน้ั ๆ องค์ประกอบทีส่ ำคัญก็คือ
การท่ีพนกั งานหรอื ลูกจ้างมขี วัญและกำลังใจทีด่ ใี นการปฏิบัติงาน

5. หนา้ ที่ในการจัดการองค์กรธุรกิจ

ผู้บรหิ ารขององค์กรธรุ กิจมหี น้าท่ีในการจัดการองค์กรหรือธรุ กิจให้ประสบ
ความสำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ได้กำหนดเอาไว้ โดยมหี นา้ ทห่ี ลกั ทส่ี ำคัญแบง่ ออกได้ 4 ด้าน คือ

5.1 การวางแผน ผู้บริหารต้องกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กรขึ้นมา และวางแผนกำหนด
นโยบายการบริหารงานขึ้นไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นแนวทางหรือแนวในการปฏิบัติในการดำเนินงานของ
องค์กรให้บรรลวุ ัตถุประสงค์หลัก หรือเปา้ หมายที่ไดก้ ำหนดเอาไว้ เพื่อลด
ความเสยี่ งของความไม่แนน่ อนตา่ ง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และป้องกันการเกิด
ปัญหามากกว่าคอยตามแก้ไขปญั หาในภายหลงั

13

13

5.2 การจัดองค์กร ผู้บริหารจะต้องจัดทรัพยากรต่าง ๆ ให้ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ โดย
การกำหนดโครงสร้างขององค์กรขึ้นเพื่อแสดงโครงสร้างของงาน อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบและ
เสน้ ทางของการติดต่อประสานงานภายในองคก์ รและผู้
บริหารจำเป็นตอ้ งจดั สรรทรพั ยากรใหส้ อดคลอ้ งและมี
ความเหมาะสม

5.3 การอำนวยการ ผู้บริหารหรือผู้นำควรจะใช้ความสามารถในการจูงใจหรือการโน้มน้าวเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน
พนกั งานหรอื ลูกจ้าง คลอ้ ยตามอย่างเตม็ ใจในการดำเนินการทีไ่ ดร้ บั มอบหมายให้สำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ที่กำหนด
ไว้ เชน่ สร้างแรงจงู ใจท่ีนอกเหนือจากการให้เงนิ เดือนแกพ่ นักงานหรอื ลูกจา้ ง มีการติดต่อสอ่ื สารในการปฏิบัติงาน
ในการถ่ายทอดข้อมลู ขา่ วสารและความเขา้ ใจระหว่างบคุ คลทีเ่ ก่ยี วข้องกนั เชน่ การตดิ ตอ่
สือ่ สารระหวา่ งฝ่ายทรัพยากรและฝ้ายผลิต และส่ิงสำคญั กค็ ือ การทผ่ี ้บู รหิ ารมีความ
เปน็ ผู้นำ และมีอทิ ธพิ ลหรือเป็นตน้ แบบให้แก่ผู้ใต้บังคับบญั ชาหรือลูกน้อง ทำใหเ้ กิด
ความศรัทธาหรือความน่าเช่อื ถือแกพ่ นกั งานหรือลกู จ้าง เพ่ือใหน้ ำพาองคก์ รไปในทศิ
ทางธรุ กิจทไ่ี ด้กำหนดไว้

14

14

5.3 ดา้ นการควบคุม ผบู้ ริหารต้องมน่ั ใจว่าขน้ั ตอนท่ีไดด้ ำเนนิ การไปแลว้ น้ันสำเรจ็ ลุลว่ งปดว้ ยดี ดังนนั้ จึงจำเป็นต้อง
กำกับและตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงานที่ได้วางเอาไว้ เช่น การกำหนดมาตรฐานของงาน กำหนด
ระดบั ตำ่ สดุ ของงานท่ียอมรบั ได้ อาทจิ ำนวนลกู ค้า กำไร ขาดทุน หรือการวัดผลงานทตี่ อ้ งเปน็ การวัดผลงานที่เกิดข้ึน
จริง ว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือไม่ และเมื่อมีรายงานว่ามีข้อผิดพลาดหรือมีผลงานที่ต่ำกว่ามาตรฐาน
ผู้บรหิ ารจะตอ้ งตรวจสอบใหเทราบถงึ สาเหตุว่าข้อผดิ พลาดเกิดข้ึนจากอะไร และตอ้ งดำเนิน
การแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง และกำหนดมาตรการปอ้ งกันไมใ่ ห้ขอ้ ผิดพลาดเดิมเกดิ ขน้ึ ซ้ำอีก

6. ลกั ษณะของธุรกจิ ทั่วไปและธรุ กิจดจิ ิทลั

ธุรกิจดิจิทัล เป็นธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามาช่วยพัฒนาและดำเนินการในการ
ประกอบ ธรุ กจิ มรี ปู แบบการสอ่ื สารท่ีรวดเรว็ โดยการนำส่งข้อมลู ผา่ นเครอื ขา่ ยเข้าสู่คอมพิวเตอร์
ทันที่โดยไม่หยุด พักจึงสามารถทำงานได้ทันที แตกต่างจากรูปแบบของธุรกิจแบบเดิมที่ใช้
เทคโนโลยขี ้ันพ้นื ฐาน คือ จดหมาย โทรสาร และโทรศพั ท์ แสดงไดด้ งั ตารางที่ 1.1

15

15

ตารางท่ี 1.1 การเปรยี บเทียบระหวา่ งธรุ กิจแบบเดิมกบั ธรุ กจิ ยุคดจิ ทิ ัล

ธุรกิจแบบเดมิ ธรุ กจิ ยุคดิจทิ ลั

1. เป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดปานกลางและมักจะเป็น 1. มกี ารปฏบิ ตั งิ านโดยผู้มคี วามรู้และความชำนาญ
ธุรกจิ ในครวั เรือนหรือภายในครอบครัว

2. ใช้เพยี งเทคโนโลยีสื่อสารขั้นพนื้ ฐาน เชน่ โทรสาร 2. มีรปู แบบการสอ่ื สารทร่ี วดเรว็ เพราะนำเอาเทคโนโลยี
จดหมาย และโทรศัพท์ ซึง่ ใช้เวลาค่อนขา้ งชา้ สารสนเทศเขา้ มาประยุกต์ ทำให้มีความรวดเรว็

3. เนน้ ที่ใชแ้ รงงานมากกว่าจะใช้แรงงานมากกวา่ จะใช้ 3. นำเทคโนโลยีเข้ามาชว่ ยในกาดำเนนิ การ
เทคโนโลยีส่วนการประเมนิ นั้นจะพิจารณาจากพ้ืนท่ีคนและ
วัตถุดิบ

4. การบันทึกข้อมลู น้ัน จะใช้การจดบันทกึ ลงสมุดและการ 4. มีการใชฐ้ านข้อมูลของคอมพิวเตอรเ์ พือ่ จัดเก็บข้อมูลตา่ ง
จำ ๆ

5. การบริหารเป็นแบบเส้นใย ทงั้ ยงั พิจารณาตดั สินใจจาก 5. มกี ารบริหารงานด้วยข้อมลู ข่าวสารการตดั สินใจพิจารณา

แรงสังหรณ์มากกว่าใชข้ ้อมูล จากข้อมูลเปน็ หลัก

6. ขาดยุทธศาสตร์ในเชงิ รกุ 6. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเปน็ ตวั กำหนด
ยุทธศาสตรเ์ ชงิ รกุ โดยมงุ่ เนน้ นวัตกรรมท่ีกา้ วหนา้ กว่าคู่แข่ง
และมกี ารมอง
สถานการณ์เผื่ออนาคต

16 16

7. การเปลยี่ นแปลงเข้าสูย่ คุ เศรษฐกิจดจิ ทิ ัล

การเปลี่ยนแปลงเขา้ สยู่ คุ เศรษฐกิจดิจิทัล มาจากแนวคิด
" ประเทศไทยยุค 4.0" หรือ "ไทยแลนด์ 4.0" (Thailand 4.0) ซึ่งเป็น

วิสัยทัศน์ เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศไทยหรือ โมเดล
พัฒนาเศรษฐกิจ ของรัฐบาล ภายใต้การนำของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอซา
นายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ที่เข้ามาบริหารประเทศบน
วิสัยทัศน์ที่วา่ "มั่นคง มั่ง ยั่งยืน" เพื่อแก่ ปัญหาในการทำงานของประชาชนทีอ่ ยู่ในรูปแบบทำมาก
ได้น้อยให้เปลี่ยนทำน้อยได้มาก และมีการกิจ สำคัญในการชับเคลื่อนปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ
เพื่อปรับแก้ จัดระบบปรับทิศทาง และสร้างหนทาง พัฒนาประเทศให้เจริญ เพื่อสามารถรับมือกับ
โอกาสหรือภยั คุกคามรูปแบบใหม่ ๆ ทเ่ี ปลี่ยนแปลงอยา่ ง รวดเร็วและรุนแรงในศตวรรษที่ 21

Thailand 4.0

Stability ประเทศไทย 4.0 เปน็ ความมุง่ ม่นั ของนายกรฐั มนตรี
ม่ันคง ที่ต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบโครงสร้างของเศรษฐกิจ
แบบเดิม ให้ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Sustainability (Value - Base Economy) โดยมีฐานความคิดหลักคือ
ยั่งยืน เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าแบบ "โภคภัณฑ์" เป็นสินค้า
เชิง "นวัตกรรม" เปลี่ยนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบ
Prosperity อุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีความคิด
มน่ั คง่ั สร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปลี่ยนจากการเน้นภาค
การผลติ สินคา้ ไปสู่การเนน้ ภาคการบริการ

17

17

กอ่ นท่ีเศรษฐกิจในประเทศไทยจะมีนโยบายประเทศไทย 4.0 ในอดตี กไ็ ด้มีการพัฒนา
ทางดา้ น เศรษฐกิจมาอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ยุคแรก แสดงไดด้ งั ภาพที่ 1.1 คือ
ยุคแรก คอื "Thailand 1.0" หรือเรยี กวา่

ยคุ เกษตรกรรม เป็นยุคทเ่ี น้นการทำการเกษตรเปน็ หลัก
คือการผลติ สินคา้ และขายสินค้าจากพชื ไร่และพืชสวน

ยคุ ทส่ี อง คือ "Thailand 2.0" หรอื เรยี กว่า ยคุ อตุ สาหกรรม
เบา เป็นยุคที่เริ่มมีการใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการผลิต
สินค้าเช่น การผลิตเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า หรือผลิตน้ำดื่ม เป็น
ตน้ และเมอื่ ประเทศเร่ิมมีศักยภาพมากขน้ึ และโรงงานต่าง ๆ เปิด
เยอะขึน้ เศรษฐกจิ ของประเทศไทยจงึ ได้พฒั นาไปสยู่ ุคท่ีสาม

ยุคท่สี าม คือ "Thailand 3.0" เป็นยุคทีเ่ ป็นอุตสาหกรรม
เช่น กนั แต่เป็นอตุ สาหกรรมหนักและการส่งออก ประเทศไทยมกี าร
ผลิตและขายเหล็กกล้า รถยนต์ กลั่นน้ำมัน และแยกก๊าซ
ธรรมชาติเป็นตัน ซึ่งยุคที่สามนี้เกิดขึ้นในช่วง พ.ศ. 2559 และ
เพราะรายได้ของประเทศยังอยู่ในระดับปานกลางจากเศรษฐกิจ
ทั้งสามยุคจึงต้องรีบพัฒนาเศรษฐกิจสร้างประเทศ ด้วยเหตุนี้จึง
นำมาสู่ยุคทีส่ ี่ "ประเทศไทย 4.0"

18

โมเดล ประเทศไทย 1.0 18
ประเทศไทย
เกษตรกรรม ประเทศไทย 2.0
4.0 ประเทศรายไดต้ ่ำ
ขับเคลื่อนด้วยทรัพยากร อตุ สาหกรรมบา

ขบั เคล่ือนดว้ ยประสิทธิภาพ

ประเทศไทย 4.0 ประเทศไทย 3.0

8. ความหมายและแนวคิดธรุ กจิ ดิจทิ ลั อุตสาหกรรมหนัก

ขบั เคลื่อนดว้ ยวตั กรรม

ธุรกิจดิจิทัล (Digital Business) คือ การนำเทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามาช่วยปรับเปลี่ยน
โครงสร้างและพัฒนาธุรกิจ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้กับทั้งผู้ประกอบการ ผู้บริโภค ในการ
เลือกสนิ ค้าหรือบรกิ ารต่าง ๆ และเพือ่ เพ่ิมผลกำไรหรือยอดขายให้กับธรุ กิจ เชน่ การนำแอปพลิเค
ชันมาช่วยให้ผู้บริโภคเข้าถึงสินค้าหรือบริการได้ง่ายมากขึ้น เช่น การทำโฆษณาผ่านเว็บไซต์หรือ
ส่ือสังคมออนไลน์ รวมไปถึงการจัดซอื้ และจัดส่งสินคา้
ในรูปแบบออนไลน์

19

19

ธุรกิจดจิ ิทัล เป็นการสร้างสรรค์ธุรกิจใหม่ที่ออกแบบโดยการทำใหโ้ ลกทางกายภาพ และ
โลกดิจิทัลรวมเข้าด้วยกัน ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีดิจิทัลและการดำเนินการของ
คนทีท่ ำใหเ้ กดิ สินคา้ และบรกิ ารแบบใหม่ โดยทีก่ ารทำงานด้านการตลาด การซ้อื ขาย การชำระเงิน
หรอื กระท่งั บริการหลังการขายจะถูกทำให้อยู่ในรูปแบบของโลกดจิ ทิ ัล

ธุรกิจดิจิทัลได้พัฒนาแนวทางจากการทำธุรกิจแบบ แอนะล็อก (Analog) มาเป็น Web-
Base และถัดมาเป็นรูปแบบ E-Commerce/E-Business แล้วจึงพัฒนามาเป็นรูปแบบ Digital
Marketing จนกลายมาเป็นยคุ ธุรกิจดจิ ทิ ลั แสดงได้ดังตารางท่ี 1.2

ตารางที่ 1.2 การเปรยี บเทียบธุรกจิ ยุคแอนะล็อกมาเปน็ ธุรกจิ ยุคดิจทิ ลั ในดา้ นตา่ ง ๆ

ข้อมูล แอนะลอ็ ก เว็บไซต์ E-Commerce การตลาดดจิ ทิ ัล ธุรกิจดิจิทลั
/E-Business
จดุ มงุ่ เนน้ แข่งขนั ด้วยราคา ขยายความ อาศยั กลุ่มเทคโนโลยี พัฒนากลไกในการสร้างคุณค่า
แลความ สมั พนั ธก์ บั สรา้ งช่องทางการ Social, Cloud, ให้กับลูกค้นอกจากนี้ยังให้
เปน้ หมาย สัมพนั ธ์สว่ นตวั ลูกค้าและ ติดต่อทางการค้า Mobility และ ความสำคัญกบั "สรรพสิ่ง
ส่งิ ท่ี พนั ธมิตร ใหม่ ๆ ขยายไป Information Analytic / Thing"ทีส่ ร้างคุณคา่ ได้ เช่น
ความสมั พันธ์ท่ดี ี สตู่ ลาดใหม่ ทว่ั ภมู ภิ าคและ ร่วมกนั ให้เกดิ อุปกรณ์เซ็นเซอร์เครื่องจักรกล
เกย่ี วข้อง กับลูกค้า ทั่วโลก ทวั่ โลก ประสิทธภิ าพทดี่ ใี นการ อจั ฉริยะและอ่นื ๆ
Disruption ตวั บคุ คล แขง่ ขนั
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ขยายสมั พันธ์ที่ พัฒนาช่องทาง ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ ง สรา้ งโมเดลธรุ กจิ แบบใหม่ ๆ
เทคโนโลยี ดีต่อทกุ คนใน การค้าให้เข้มแข็ง ธุรกจิ ลูกค้า และ
ระบบ ERP, เครอื ขา่ ย พันธมติ ร ตัวบุคคล บริษัทและทุกสิ่งท่ี
CRM และ อนื่ ๆ บุคคลและ ตวั บุคคลและบริษัท ตวั บคุ คลและบริษทั สร้างคุณที่สร้างคุณคา่ ได้
บรษิ ัท สร้างคุณค่าใหม่ ๆ และกลุ่ม
อ ิ น เ ท อ ร ์ เ น็ต สร้างกระบวนการ สร้างความสัมพันธ์อันดี ลูกค้าใหม่ที่ไม่ใช่มนุษย์ (Non-
และเทคโนโลยี ทางธุรกิจที่สามารถ กับลูกค้าและเข้าใจ human)เช่นเครื่องปรับอากาศ
ดิจทิ ลั อ่นื ๆ ทำงานอตั โนมัติได้ ลกู ค้าอยา่ งลกึ ซงึ่ รถยนต์
เซ็นเซอร์, เคร่อื งพิมพส์ ามมติ ิ,
ระบบ CRM ระบบ EDI ,BI, โทรศพั ท์ , Big Data, สอื่
และ Web Portals และอนื่ ๆ สังคมออนไลน์ และการ เครื่องจกั รกลอัจฉริยะ
ประมวลผลแบบกลมุ่
เมฆ

20 20

9. ความสำคัญของธรุ กิจดิจิทัล

ความสำคัญของธุรกิจดจิ ิทัลการปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรอื รูปแบบของธุรกิจหรือการ
ประกอบการที่เป็นอยู่แบบเดิม หรืออยู่ในรูปแบบออฟไลน์ (Offline) ให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์
( Online Platform) แ ล ะ ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร ( Information
Communication Technology: ICT) ในการพัฒนาธรุ กิจให้กา้ วสดู่ จิ ิทลั เพือ่ ใหเ้ กดิ ความทันสมัย
และเหมาะสมกับยุคสมัยที่มีการพัฒนาเทคโนโลยี ต่าง ๆ มากขึ้น เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อ
ความต้องการของผู้บริโภคใหม่ ๆ เพิ่มความความสะดวกสบายและความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค
เพิ่มความรวดเร็วและถูกต้องในการดำเนินธุรกิจ สามารถลดขั้นตอนเพื่อเป็นการประหยัดเวลา
และเพือ่ ยอดขายหรอื ผลกำไรและช่วยลดต้นทนุ ให้กับผู้ประกอบการ

10. ธรุ กิจดิจิทลั การเปลย่ี นแปลง

คำว่า Digital Disruption หรือการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากเทคโนโลยีดิจิทัล หลาย
คนเข้าใจคำคำนี้ว่าเป็นแรงโจมตี เป็นภัยร้ายแรงต่อธุรกิจ แต่พวกเขาเข้าใจผิด เพราะการ
เปลี่ยนแปลงนี้ คือ การปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและโมเดลทาง
ธรุ กจิ แบบใหม่มาประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมทางเทคโนโลยแี ละโมเดลตา่ ง ๆ นี้ จะสามารถส่งผลกระทบ
ตอ่ สนิ คา้ และบริการในอุตสาหกรรมส่ิงตา่ ง ๆทเ่ี กิดจากการเปลีย่ นแปลงน้ีส่งผลกระทบต่อตลาดใน
ปจั จบุ นั และทำให้เกดิ ความจำเปน็
ในการบูรณาการส่งิ ตา่ ง ๆ ใหม่

21

21

Digital Disruption ในปัจจุบันนับได้ว่าเป็นปรากฎการณ์ที่เข้ามาปฏิวัติวงการ
อุตสาหกรรม โดยการนำเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้จำนวนมาก เช่น เทคโนโลยี
แบบทันที (Real-Time) การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) ข้อมูลเกินนับ (Big
Data) อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT) หรือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence: AI) เป็นต้นเข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ทำให้ธุรกิจต่าง ๆ
ต้องมกี ารปรบั ตัวใหต้ รงหรอื เขา้ กบั ความตอ้ งการของลกู ค้าผ่านทางการใช้งานในรูปแบบดิจทิ ลั ทำ
ให้องค์กรต่าง ๆ เองก็ต้องปรับตัวเพื่อพัฒนาให้มีการรองรับการทำธุรกิจผ่านดิจิทัลให้มากขึ้น
รวมถงึ การปรับตัวนตี้ อ้ งมีการพฒั นาและรวดเร็วแสดงไดด้ งั ภาพที่ 1.2

รูปแบบธรุ กิจท่เี กิดจากการเปลี่ยนแปลงอันเนอื่ งจากเทคโนโลยีดิจิทัล 5 รปู แบบทน่ี ่าสนใจ ดงั น้ี

Hypermarket Mode หรือรปู แบบอำนาจทางการตลาดขนาดใหญ่ มีลักษณะคล้ายกับ

1 ห้างสรรพสนิ ค้าแตเ่ ปลี่ยนมาเป็นรูปแบบการตลาดออนไลน์แทน ลกู ค้าสามารถเลือกซื้อสงิ่ ท่ี

ต้องการไดจ้ ากทเ่ี ดยี ว เช่น eBay หรือ Shopee เป็นตน้

The On-Demand Model หรือรูปแบบบรกิ ารตามความตอ้ งการ รปู แบบธรุ กิจนเ้ี นน้ การ

2 เขา้ ถงึ ลูกค้าตามความตอ้ งการที่แตกต่างกันโดยไมว่ ่าจะเปน็ สินค้าหรือบริการกลา่ วคอื ลกู คา้ นน้ั
มีความต้องการซ้ือแต่ไม่มีเวลาพอทจี่ ะทำเอง ดงั นั้นจงึ ต้องให้คนอ่ืนไปทำแทน และตอ้ งเสียค่า
คา่ บรกิ ารเพ่ิม เชน่ การส่งของ Kerry, Lalamove หรอื Line Man เป็นต้น

The Access-over-Ownership Model หรือรูปแบบการเขา้ ถงึ ผู้ใหบ้ รกิ าร เป็นการ

3 ทำให้ผู้บริโภคนัน้ เขา้ ถงึ สนิ ค้าและบรกิ ารต่าง ๆ เช่น บรกิ ารการจัดหาท่พี ักและส่งใหผ้ ู้ใช้
\ บรกิ ารโดยตรง โดยท่รี ายได้นนั้ มาจากคา่ บริการน่ันเอง เช่น Airibnb หรอื Uber เป็นตน้
\
\
\
\

22 22

4 Freemium Model หรือรูปแบบการขายสินคา้ และบริการ หรือรปู แบบการสมคั รสมาชกิ ซงึ่
เปน็ การใหบ้ ริการลูกคา้ ในรูปแบบท่ไี มม่ คี ่าใชจ้ ่ายแตจ่ ำกดั จำนวน และจะมกี ารเก็บค่าใชจ้ า่ ย
เมือ่ ลกู คา้ หรือผ้บู ริโภคน้ันตอ้ งการใช้งานมากขึน้ กว่าท่ีเปดิ ให้ใชฟ้ รี หรือสมัครสมาชกิ เพอ่ื ให้ใช้
บรกิ ารนน้ั ๆ ไดอ้ ย่างไม่จำกดั เช่น Joox Spotify HOOQ และ Netflix เปน็ ตน้

Ecosystem Model หรอื รปู แบบความเชื่อมโยงท่สี มั พันธก์ ัน มหี ลากหลายองค์กรท่ีใชก้ ลยุทธ์

5 รูปแบบนี้ในการขายผลิตภัณฑห์ รือสนิ ค้าตา่ ง ๆ เช่น Google ท่อี อกสนิ คา้ หรือผลติ ภณั ฑ์เพื่อ
เพม่ิ หรือเชอื่ มโยงกบั อีกผลติ ภัณฑ์หน่ึงท้ังระบบ เช่น สมารต์ โฟนทีม่ ีแอปพลเิ คชันหรือ
อปุ กรณ์เสรมิ ต่าง ๆ ทีใ่ ช้ควบคกู่ ันหรือใช้เพื่อเพ่ิมความสะดวกสบายเปน็ ตน้

ทม่ี า : https://pantip.com/topic/37402512

23

23

สรปุ

ในปัจจบุ นั ประเทศไทยกาลงั กา้ วเขา้ สยู่ คุ ประเทศไทย 4.0 ตามวิสยั ทศั นเ์ ชงิ นโยบายการพฒั นา
เศรษฐกิจของพลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรีและรฐั มนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เพ่ือ
แกไ้ ขปัญหาในการทางานของประชาชนท่ีย่าอยู่ตรง "ทำมำก ได้น้อย" ใหเ้ ปล่ียนเป็น "ทำน้อยได้
มำก" และยคุ 4.0 นยี้ งั เป็นยคุ ท่ีเทคโนโลยเี ขา้ มามบี ทบาทมากย่งิ ขนึ้ นอกจากบทบาทในชวี ิตประจาวนั
แลว้ ยงั เขา้ มามบี ทบาทในวงการตา่ ง ๆ เชน่ วงการธุรกิจ จนทาใหเ้ กิด "ธุรกิจดิจิทลั "ขนึ้ มา ธุรกิจดิจทิ ลั
นนั้ เดมิ พฒั นามาจากธุรกิจแบบดงั้ เดมิ เพยี งแต่นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร และเทคโนโลยี
เขา้ มาประยกุ ตใ์ ชม้ ากขนึ้ ในการออกแบบโมเดลธุรกิจใหม่ ๆ เพ่ือใหเ้ กิดผลประโยชนแ์ ละประสิทธิภาพ
ในการประกอบการท่ดี ีขนึ้ และยงั รวมถงึ เพ่อื ใหร้ องรบั ความตอ้ งการของลกู คา้ รายใหม่


Click to View FlipBook Version