The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pupeakakong, 2021-05-10 11:09:05

บ้านเศรษฐกิจ2

บ้านเศรษฐกิจ2

แหลง่ เรยี นรู้

หมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี งตน้ แบบบ้านแดงใหญ่
กลุม่ ปลกู ผักปลอดสารพลงั งานแสงอาทิตย์

กศน.ตาบลพทุ ไธสง

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
อาเภอพทุ ไธสง

แหลง่ เรยี นรู้ หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบบา้ นแดงใหญ่
(กลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสาร พลงั งานแสงอาทติ ย)์

หมทู่ ี่ ๑๓ ตาบลพทุ ไธสง อาเภอพทุ ไธสง จงั หวัดบรุ รี มั ย์

จดุ ประสงค์

เพอ่ื ให้ผูร้ ่วมกจิ กรรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ มีแหลง่ เรียนรู้ในชุมชนเป็นกลไกในการจัดการเรยี นรู้ และสามารถ
แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ในตาบลพุทไธสง อาเภอพทุ ไธสง จังหวดั บรุ ีรมั ย์

สาระสาคญั

บ้านแดงใหญ่ หมู่ท่ี ๑๓ ตาบลพุทไธสง เปน็ ชมุ ชนทีไ่ ด้เรยี นร้แู ละนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ประยกุ ต์ใชเ้ ปน็ หลกั คิด เปน็ หลักปฏบิ ัติในการขบั เคลอื่ นการพฒั นาผา่ นกระบวนการระเบิดจากขา้ งในเพื่อรว่ มกันแกไ้ ข
แก้ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นชุมชน โดยการดาเนนิ งานเรมิ่ จากกลมุ่ เลก็ ๆ ทม่ี ีความเหน็ รว่ มกนั ผา่ นการเรียนรคู้ วามสาเร็จความลม้ เหลว
จนกระท่ังเกิดความเช่ือมั่นแลว้ จึงขยายผลด้วยความรอบคอบ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปัจจบุ นั
เศรษฐกจิ สังคม สขุ ภาพ สภาพแวดล้อมของชมุ ชนหัวอา่ วดขี น้ึ ชดั เจน โดยเฉพาะครวั เรอื นทที่ าเกษตรอินทรีย์ หรือ
ครัวเรอื นทใ่ี ชป้ ๋ยุ อินทรยี ์ ซึง่ มิตทิ ี่มีการพัฒนาดีขึ้นชดั เจน คือ (๑) มสี ขุ ภาพกายดีข้นึ สารเคมีในเลอื ดลดลงอย่างเหน็ ได้ชัด
เน่ืองจากได้รบั ประทานอาหารปลอดสารพษิ และมชี วี ติ ประจาวนั หา่ งไกลจากสารเคมี (๒) ครอบครัวอบอุน่ สมาชกิ ในครอบครัว
ทางานร่วมกันในพนื้ ทข่ี องตนเอง ได้ใกล้ชดิ พูดคุยและแกป้ ญั หาร่วมกัน (๓) มีรายไดใ้ นครัวเรือนเพมิ่ ข้ึนและมนั่ คงแน่นอน
เนื่องจากผลผลิตมีตลาดรองรับ (๔) ลดต้นทุนการผลิต เพราะใชป้ ยุ๋ อินทรียท์ ชี่ ุมชนผลิตเอง (๕) สภาพแวดลอ้ มดขี ึน้
สภาพดนิ สมบรู ณ์ สภาพอากาศดี มแี มลงต่าง ๆ อาทิ ห่งิ ห้อย แมงปอ กิ้งกอื

นอกจากนี้ ชุมชนบ้านแดงใหญ่ถอื เปน็ ชมุ ชนท่ีประสบความสาเร็จอยา่ งสงู ในประยกุ ตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ที่เหน็ ผลเปน็ รูปธรรม ชาวบา้ นแดงใหญ่เริ่มจัดทาบัญชีครัวเรือน บันทกึ รายรับ รายจา่ ย รู้จักวิเคราะห์ตน้ ทุน
การวางแผนการผลติ ตลอดจนมจี ิตสาธารณะ เอื้อเฟอ้ื แบ่งปัน และเป็นศูนย์เรยี นรขู้ องชมุ ชนสงั คมไทยและสังคมโลกอย่าง
กว้างขวางต่อไป



เจ้าของแหลง่ เรยี นรู้

นายประดษิ ฐ์ จนั ทรอ์ าภาท
ผใู้ หญบ่ า้ นบา้ นแดงใหญ่ หมู่ที่ ๑๓ ประธานกลมุ่ กลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสาร พลงั งานแสงอาทติ ย์

ทต่ี ง้ั

เป็นพื้นท่ีสาธารณประโยชน์ ใช้รว่ มกันระหวา่ งบ้านแดงใหญ่ หมูท่ ่ี ๘ และ หม่ทู ่ี ๑๓ ตาบลพุทไธสง
อาเภอพทุ ไธสง จังหวดั บุรรี ัมย์ ๓๑๑๒๐

ประวตั คิ วามเปน็ มาของกลมุ่

เนอื่ งจากในสภาพการดารงชีวติ ของคนไทยในปัจจบุ ัน จากขอ้ มูลขา่ วสารของส่ือสารมวลชนต่าง ๆทง้ั ภายใน
และต่างประเทศในเรอ่ื งของส่ิงแวดลอ้ ม เราจะพบปญั หาต่าง ๆ มากมาย เป็นต้นว่า ปญั หาการลกั ลอบตัดไมท้ าลายปา่
แหล่งน้า เน่าเสียจากการทิง้ ของเสียจากโรงงาน ขยะสง่ิ ปฏิกูลและของเสยี อนื่ ๆ ลงในแหลง่ น้า ปัญหาภาวะโลกรอ้ น
ฝนแล้ง ไมต่ กตอ้ งตามฤดูกาลหรือบางครัง้ ตกมากจนเกดิ ภาวะนา้ ท่วมเฉยี บพลัน ปัญหาการใชด้ ินทางการเกษตรทีใ่ ช้สารเคมี
ท่ีมีพิษตกค้าง ขาดความรเู้ รอ่ื งการปรบั ปรงุ ดินให้มีสภาพสมบรู ณ์เหมาะแก่การปลูกพชื และความตระหนักในการอนุรักษ์
สงิ่ แวดล้อมขาดความรู้ความเข้าใจในการบรหิ ารจัดการการใช้ทรัพยากรสิง่ แวดล้อมที่มอี ยอู่ ย่างประหยัดและมีประสทิ ธิภาพ
ซงึ่ ถ้าหากปลอ่ ยไวใ้ ห้เปน็ ไปตามสภาพที่เป็นอย่อู ย่างน้ีตอ่ ไป สิ่งแวดลอ้ มและพลังงานก็จะถูกทาลายใหอ้ ยู่ในสภาพ
เส่ือมโทรมและลดปรมิ าณหรือสูญสน้ิ หมดไปซึง่ จะสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ วิถีการดารงชวี ติ ของคนในชาตแิ ละอนาคตอันใกลน้ ี้

กลมุ่ ปลูกผักปลอดสาร พลังงานแสงอาทิตย์ ดาเนินการก่อตงั้ เมื่อวนั ท่ี ๑ กันยายน ๒๕๕๖ มีสมาชิก
เรม่ิ แรกจานวน ๓๒ ราย ปัจจบุ ันมสี มาชกิ จานวน ๔๖ ราย พื้นที่ใช้ประโยชนร์ ่วมกนั จานวน ๓๓ ไร่ แบ่งพ้นื ทใ่ี น
ในการปลูกผักและกิจกรรม คนละ จานวน ๒ งาน โดยใชน้ ้าใต้ดนิ รายได้ตอ่ ครวั เรือน เดือนละ ๙,๐๐๐ บาท
กลมุ่ ปลกู ผักปลอดสาร พลังงานแสงอาทติ ย์ บ้านแดงใหญ่ใช้พลังงานแสงอาทิตยแ์ หง่ แรกในอาเภอพทุ ไธสง

2

การรวมกลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชน กลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสารพษิ

หลงั จากทไ่ี ดส้ ารวจพบแหลง่ นา้ ใต้ดินทีม่ ปี รมิ าณมาก และมีคุณภาพทเ่ี หมาะสมสาหรบั ใช้เปน็ นา้ เพื่อการเกษตรแลว้
หนว่ ยงานร่วมดาเนนิ การ ได้แก่ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลพทุ ไธสง สานกั งานพลังงานจังหวดั บุรรี มั ย์ และสมาคมพฒั นาประชากร
และชุมชน สาขาพุทไธสง จึงได้ร่วมกันประชาสมั พันธ์เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร การจดั ตงั้ กลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสารพษิ เผยแพรใ่ ห้
ประชาชนได้ทราบทั่วกัน โดยมสี าระสาคัญไดแ้ ก่ ทางราชการจะจัดตง้ั กลมุ่ ปลกู ผักปลอดสารพษิ ข้นึ โดยใช้ที่ดนิ สาธารณประโยชน์
จานวน ๒๐ ไร่ จัดสรรแบ่งแปลงให้สมาชกิ กลมุ่ ปลูกผักปลอดสารพษิ ท่ีจะจัดตัง้ ข้ึน จานวนไม่เกิน ๔๐ ครอบครวั ๆละ ๒ งาน
( ๑/๒ ไร)่ แต่ทางราชการไม่มงี บประมาณเพื่อดาเนนิ โครงการนี้ ฉะนน้ั ผูท้ ีส่ นใจจะเขา้ เปน็ สมาชกิ กลุ่มปลกู ผักปลอดสารพิษ
จะต้องรว่ มกันกเู้ งนิ จากธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธกส.) เพื่อดาเนินโครงการตามประมาณการ (ท่ีจะได้
กล่าวถึงในหวั ข้อตอ่ ไป) โดยจากการออกแบบเบ้ืองต้นและประมาณการ โดยสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน สาขาพุทไธสง
พบว่า สมาชิกแต่ละครอบครัวทีจ่ ะเขา้ ทาประโยชน์ จะต้องก้เู งินจากธนาคาร ธกส. ครอบครวั ละประมาณ ๑๙,๐๐๐.- บาท
รวมเป็นเงนิ กู้จานวน ๗๔๑,๐๐๐ บาท เพือ่ นามาใชใ้ นการดาเนนิ โครงการตอ่ ไป และจากการประชุมเพื่อรับฟงั ความคิดเหน็ และ
ช้แี จงรายละเอยี ดโครงการ รวมถึงรบั สมคั รสมาชิกกลมุ่ จานวน ๓ วัน ไดส้ มาชกิ กลุ่มปลูกผกั ปลอดสารพษิ ในเบื้องตน้
จานวนทงั้ ส้ิน ๓๙ ราย จากจานวนสมาชกิ ปจั จบุ ันจานวน ๔๑ ราย ( รายที่ ๔๐ - ๔๑ รบั เพิ่มภายหลัง
ไม่ไดร้ ว่ มกธู้ นาคาร ธกส.ดว้ ยตัง้ แตต่ น้ แต่ได้จา่ ยเงนิ ใหแ้ กก่ ลุม่ ภายหลัง จานวนรายละ ๒๐,๐๐๐ บาท)
และสมาชิกไดต้ ง้ั ชอ่ื กล่มุ วา่ “กลมุ่ ปลูกผักปลอดสารพษิ ด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์” รวมถึงเลอื กประธานกล่มุ
ไดแ้ ก่ นายประดิษฐ์ จันอาภาท ผใู้ หญบ่ ้านแดงใหญ่ หม่ทู ี่ ๑๓ และประธานเลือกคณะกรรมการฯ จากนนั้ คณะกรรมการฯจงึ ได้
ดาเนนิ การจดทะเบยี น วสิ าหกจิ ชุมชน กลุม่ ปลูกผักปลอดสารพษิ ดว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์ กบั สานักงานเกษตรอาเภอพุทไธสง

การนานา้ ใตด้ นิ มาใชใ้ นการเกษตรโดยใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์
- ไดร้ บั การสนบั สนนุ สานักงานพลังงานจงั หวัดบุรีรัมย์

จุดเรมิ่ และจดุ เปลย่ี นแปลงของหมูบ่ า้ นสกู่ ารพฒั นาทเี่ ขม้ แขง็ และยงั่ ยนื
เมื่อได้รับร้กู ระแสพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี ๙ ซึ่งเป็นสจั ธรรมของชวี ิต รวมทง้ั
ได้รับการถ่ายทอดจากหนว่ ยงานภาครฐั และองค์กรเอกชน ในเร่ืองเกี่ยวกบั ความหมายของคาวา่ “เศรษฐกิจพอเพียง”
ดังน้ี “เป็นการใช้ชวี ิตแบบพอมี พอกนิ ไมใ่ ช้จา่ ยเกนิ ตวั รจู้ กั ประหยัด อดออม ไม่สร้างหน้สี ินใหเ้ กินความจาเปน็ ไมฟ่ ้งุ เฟ้อ
โดยสร้างภมู ิคุ้มกนั ทางเศรษฐกิจทดี่ ี มคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ี มีความสุข ชุมชนมีภูมิคุ้มกนั ทางสังคม ชุมชนมคี วามม่ันคง
ทางเศรษฐกจิ และรูจ้ ักแบง่ ปนั ทาให้สามารถสร้างความสุขใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครัว หมู่บ้าน/ชมุ ชน รวมท้งั ประเทศชาตติ อ่ ไป”
แลว้ นามาประชุมเพ่อื ชี้แจงให้ลูกบา้ น/ประชาชนในหมูบ่ ้าน รวมท้ังการไดไ้ ปศกึ ษาดูงาน แล้วนามาสรปุ เพอื่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้
และได้นามาเปน็ แนวทางการดาเนินชวี ิตแบบค่อยเป็นคอ่ ยไป โดยชักชวน แนะนา และสร้างความเข้าใจในเรอ่ื งต่าง ๆ ดังน้ี

- รณรงค์การปลกู พชื แบบผสมผสาน แบบเกษตรอินทรีย์
- ใชว้ ตั ถดุ ิบทมี่ ใี นชุมชนใหไ้ ดป้ ระโยชน์สงู สดุ
- ให้ความช่วยเหลอื ในด้านการพัฒนาคนใหร้ ู้จกั รกั และสามัคคีกนั เพ่อื นาไปสกู่ ารพึ่งพาตนเอง
และชมุ ชนเข้มแขง็
- เราต้องเร่มิ ปรับเปล่ยี นตง้ั แตต่ ัวเองและผู้คนใกล้ ๆ ตัวเรา
- เราไดร้ ู้วิธที างาน แล้วคิดว่าเราตอ้ งทาใหไ้ ดบ้ า้ ง
- นาความรู้ไปถา่ ยทอดให้ชาวบา้ นทราบและปฏิบัติให้เห็นเปน็ รูปธรรม
- นาความรู้ทไี่ ด้รับเพมิ่ จากการปลูกผกั ปลอดสารพษิ ไปใช้ในการเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงในชุมชน

3

- นาความรทู้ ่ีได้รบั มาเปน็ แนวคิดในการใช้ทรัพยากรหรือทุนในชมุ ชนให้ได้ประโยชน์มากทส่ี ดุ
- เริม่ จากการถ่ายทอดการเรียนรทู้ ี่ได้รบั จากการประชมุ เพอื่ นาไปประยุกตใ์ ช้ตามเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้

- แนะนาให้ครัวเรอื นและคนใกล้เคยี งจัดทาบญั ชีครัวเรอื น
- การปลกู ผักสวนครัว และมีการแนะนาใหใ้ ช้ปยุ๋ ชีวภาพ การแนะนาใหป้ ลูกพชื ผักกนิ โดยไมใ่ ชส้ ารพษิ (ป๋ยุ เคมี)
และปลูกพืชผกั สวนครวั รว้ั กนิ ได้
- ทาการเกษตรโดยใชป้ ๋ยุ จากการผลิตเองตามธรรมชาติ เช่น มูลสตั ว์ ซากพืช
- การจัดทาบญั ชรี ายรับ-รายจ่ายในครวั เรือน ซึง่ จะไดป้ รับปรงุ ความเป็นอยู่ และประมาณตวั ในการใชจ้ ่าย
- ลดตน้ ทุนในการผลิตให้ตา่ ท่ีสดุ เพื่อเพมิ่ รายได้ให้มากขนึ้ อาทิเช่น ลดป๋ยุ เคมีจาก ๑๐๐% ใหเ้ หลือ นอ้ ยท่สี ุด
โดยใชป้ ุ๋ยหมกั /ชีวภาพ/อินทรีย์แทน และหากมพี ื้นทวี่ ่างขา้ งบ้าน จะปลูกพืชผกั สวนครวั เพื่อการบรโิ ภค เช่น ขา่ ตะไคร้
ใบมะกรดู เป็นตน้ รวมท้งั การปลูกพชื หมุนเวียน

เปา้ หมายการเรยี นรแู้ ละพฒั นา
๑. ชุมชนอยู่ดีมีสขุ สมดุล/ม่นั คง/ยง่ั ยนื
๒. ศูนยก์ ารเรยี นรูอ้ ยใู่ นชุมชน
๓. ศนู ยเ์ รยี นรูช้ มุ ชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. แหล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย

ความสาเร็จของโครงการ

ตั้งแต่สมาชิกกลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสารพษิ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ บ้านแดงใหญ่ เข้าดาเนินการทาประโยชน์
ในแปลงเกษตรของโครงการ เมื่อตน้ เดอื นกนั ยายน ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ มา แปลงเกษตรแห่งนไ้ี ด้รับการยอมรับจากทกุ ภาค
ไม่วา่ จากภาครฐั ภาคเอกชน ภาคองค์กรพัฒนาเอกชน ประชาชน และผู้สนใจเปน็ จานวนมาก
ปจั จบุ ันมีคณะขอเข้าศกึ ษาดูงานเป็นประจาทุกสัปดาห์ ความสาเร็จของโครงการน้ี สามารถพิจารณาได้จากหลายด้าน ดงั น้ี

ด้านการแกไ้ ขปญั หาภยั แลง้
จากการลงพ้ืนที่แปลงเกษตรเพอื่ เกบ็ รวบรวมข้อมูลงานวจิ ัยพบว่า ตั้งแตเ่ ดอื นกันยายน ๒๕๕๖ เปน็ ตน้ มา

แปลงเกษตรของสมาชิกกลมุ่ ปลูกผักปลอดสารพษิ สามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้แก่สมาชิก มนี า้ เพียงพอต่อการทาการเกษตรของ
สมาชกิ ไดต้ ลอดท้ังปี โดยไม่ประสบปญั หาภัยแล้ง ถึงแม้จะเป็นช่วงฤดแู ลง้ ท่ีพ้นื ที่จงั หวดั บุรีรัมย์ประกาศภยั แลง้ ท้ังหมดแล้วกต็ าม
อนั ทาใหส้ ามารถพสิ จู น์ได้ว่า บอ่ นา้ บาดาลทมี่ ีศักยภาพเพยี ง ๑ บ่อ สามารถสรา้ งรายได้ใหแ้ ก่สมาชิกถึง ๔๐ ครอบครวั ,
พ้นื ท่ที แ่ี ตเ่ ดมิ รกร้าง ไม่สามารถใช้ประโยชน์ใดๆได้ ใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า , กลุ่มซง่ึ ว่างงานหลงั ฤดทู านา
สามารถมงี านทาและมรี ายได้ทงั้ ปี

ดา้ นเศรษฐกจิ
สมาชิกกลุ่มมงี านทา มีรายไดจ้ ากแปลงเกษตรเฉล่ียเดือนละไมน่ อ้ ยกวา่ ๕,๐๐๐ บาท ตลอดทง้ั ปี เม่ือเทยี บกับเงิน

ที่สมาชกิ ลงทุน ๒๐,๐๐๐ บาทแลว้ จะเห็นไดว้ ่า สมาชิกสามารถคมุ้ ทุนในระยะเวลาเพยี ง ๔ – ๕ เดือน ซง่ึ คุ้มค่าต่อการ
ลงทุนมาก , สมาชิกมรี ายได้เสรมิ จากการรบั จา้ งทาอาหารวา่ ง-อาหารกลางวนั จาหนา่ ยใหก้ ับคณะท่ีมาศกึ ษาดงู าน ,
มีรายไดจ้ ากคา่ ตอบแทนวทิ ยากร และ สามารถจาหน่ายสินคา้ ให้แก่คณะท่มี าศกึ ษาดงู านได้ในราคาท่ตี ่ากวา่ ทอ้ งตลาดทั่วไป
เพราะ ไมม่ ีค่าขนส่งและไมต่ อ้ งใหก้ าไรแก่พอ่ คา้ คนกลาง

4

ด้านสงั คม
สมาชิกเกิดความภาคภมู ใิ จ จากแปลงเกษตรพลงั งานแสงอาทติ ย์ แหง่ แรกของประเทศ มผี ้ขู อมาศกึ ษาดูงานเปน็

จานวนมากและตอ่ เน่ือง มบี คุ คลสาคญั ตง้ั แตร่ ะดับชุมชน ระดับจงั หวัด ระดบั กระทรวง จนถงึ ระดบั ประเทศ ,
สร้างความภาคภูมิใจให้แก่สมาชิกจากการเปน็ วิทยากรใหค้ วามรแู้ กผ่ ู้ท่มี าศกึ ษาดูงาน ,เป็นทย่ี อมรับจากผู้ท่มี าศึกษาดงู าน
มีความนา่ เชอ่ื ถือทางสังคมสงู ขนึ้ , สรา้ งงานใหเ้ กิดขึ้นในท้องถ่ิน สามารถลดการอพยพแรงงานเข้าสู่เมืองได้ ,
ทาให้สมาชิกมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดีขนึ้ เกดิ เป็นครอบครวั ชมุ ชนเขม้ แข็ง ในท่ีสุด

ดา้ นวฒั นธรรม
สมาชกิ มีความสามัคคี รว่ มมอื รว่ มใจกันทากิจกรรมพฒั นาต่าง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ การทาความสะอาดถนนภายในหม่บู า้ น

การรว่ มกันทาความสะอาดลานวดั มกี ารจดั กจิ กรรมการอนรุ ักษ์และสบื ทอดวฒั นธรรมประเพณีอนั ดงี าม รว่ มกจิ กรรมทาง
วัฒนธรรม เชน่ งานบวช งานบุญบั้งไฟ งานฮีตสิบสอง คองสบิ ส่ี รว่ มการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม และ การจดั กจิ กรรมวันสาคญั
ทางศาสนา ฯลฯ ซง่ึ การรว่ มกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ เปน็ การสืบสานวัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงามของหมูบ่ า้ นให้ยืนยาว
และถ่ายทอดสูเ่ ยาวชนรนุ่ ต่อไปไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
ผกั ปลอดสารพิษ ด้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์ของกลุ่มฯแหง่ นี้ นบั ได้ว่า เปน็ การอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มต้นแบบท่ียงั ไมเ่ คยมี

ชมุ ชนใดทามาก่อน การทีใ่ ช้พลังงานแสงอาทติ ย์ในการสูบนา้ เปน็ การลดใชพ้ ลังงานท่ไี ด้มาจากฟอสซลิ เชน่ นา้ มัน ไฟฟ้า ฯ
ซึ่งเป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม และ ไม่มีการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์อันเป็นต้นเหตขุ อง การเกดิ สภาวะโลกร้อน
การทก่ี ลุม่ เลอื กทจ่ี ะปลกู ผักปลอดสารพิษ โดยไมใ่ ชย้ าฆ่าแมลง ไม่ใช้สารเคมี ทาให้ไม่เป็นอนั ตรายต่อแมลงธรรมชาติ ไม่เป็น
อันตรายต่อสงิ่ แวดล้อม และ ยังลดการใชพ้ ลงั งานจากกระบวนการผลติ ยาฆ่าแมลง และผลติ สารเคมลี งไดท้ างออ้ มอกี ดว้ ย

จดุ เดน่

๑. ปลกู ผกั ปลอดสารพลังงานแสงอาทติ ย์
๒. ทาการเกษตรโดยใช้ปยุ๋ จากการผลิตเองตามธรรมชาติ เช่น มูลสตั ว์ ซากพืชปลูก

๓. การปลูกผกั ปลอดสารตามฤดกู าล
๔. มีการนาเอาพลังงานแสงอาทิตยม์ าใช้

ภาคีเครอื ขา่ ยทสี่ นบั สนนุ
- สานักงานพลังงานจังหวัดบรุ รี ัมย์
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลพทุ ไธสง
- เกษตรอาเภอพทุ ไธสง
- พฒั นาชุมชนอาเภอพทุ ไธสง
- มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
- ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ สาขาอาเภอพุทไธสง
- ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอพุทไธสง
- หมู่บ้านใกล้เคียง

5

ประโยชนข์ องการปลกู ผกั ปลอดสารพลงั งานแสงอาทติ ย์

๑. การบริโภคผักทปี่ ลอดสารพษิ ในปริมาณท่ีเหมาะสมเปน็ ประจาจะช่วยทาให้ร่างกายมสี ขุ ภาพที่ดี มคี วามแขง็ แรง
ไมเ่ จ็บไดง้ า่ ย ทาให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขน้ึ

๒. ไดผ้ ักทมี่ ีคณุ ภาพ ไม่มสี ารพษิ ตกคา้ ง เกดิ ความปลอดภัยตอ่ ผูบ้ รโิ ภค
๓. ทาใหเ้ กษตรกรผ้ปู ลูกมีสขุ ภาพอนามยั ทด่ี ีขน้ึ ไมม่ ีการฉีดพ่นสารเคมปี อ้ งกันและกาจดั ศตั รูพืช
๔. เกษตรกรมีรายไดเ้ พม่ิ มากขึน้ จากการปลกู ผักปลอดสารพษิ
รางวลั ทไ่ี ดร้ บั

6

การปลูกผักแบบเกษตรอินทรยี ์
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. บอกความสาคญั ของเกษตรอินทรยี ์ได้
๒.บอกหลกั พื้นฐานในการปลกู ผักอนิ ทรียไ์ ด้
๓.เขา้ ใจเก่ยี วกับดนิ ทใ่ี นการปลกู ผกั อนิ ทรีย์
๔.รู้และเข้าในการเลอื กปลกู ผกั ได้ตลอดปี
๕.มเี จตนคติท่ีดตี ่อการเรยี นรู้

7

มารจู้ ักกับเกษตรอินทรีย์

การทาเกษตรอินทรยี ์ น้ันมีการปฏิบัติมาต้ังแต่สมยั โบราณแลว้ แต่ไมไ่ ด้รบั ความนิยมเนื่องจากได้
ผลผลติ น้อย จงึ มีการนาเอาเทคโนโลยีและสารเคมีเข้ามาใช้ในการเกษตร เชน่ ปุ๋ยเคมี ยาปราบศตั รพู ืช
วัชพชื สง่ ผลเสยี ระยะยาวมาจนถงึ ปจั จบุ นั ทาให้เกษตรกรมีหนีส้ ิน และสุขภาพเสอ่ื มโทรม เกดิ ปญั หาสารเคมี
ตกคา้ งในสง่ิ แวดล้อมและในสนิ คา้ เกษตรส่งผลกระทบต่อผูบ้ รโิ ภคทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายอ่อนแอ
จงึ มกี ารคดิ รูปแบบการเกษตรแนวใหม่ขนึ้ มาเพอ่ื แกไ้ ขปัญหาดังกลา่ ว เกษตรอนิ ทรีย์ก็เปน็ วิธหี นึ่งที่สามารถ
ชว่ ยแก้ปัญหาให้กบั เกษตรกรได้

เกษตรอินทรีย์ คือระบบการผลิตทคี่ านึงถงึ สภาพแวดลอ้ ม รักษาสมดลุ ของธรรมชาตแิ ละความ
หลากหลายทางชวี ภาพ โดยมีการจัดการนิเวศวิทยาทคี่ ลา้ ยคลึงกับธรรมชาติ หลกี เล่ยี งการใช้สารสังเคราะห์
ไมว่ า่
จะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกาจดั ศตั รูพชื และฮอรโ์ มนตา่ ง ๆตลอดจนไม่ใช้พชื สตั ว์ท่ีเกิดจากการตดั ต่อพันธุกรรม

ผกั อินทรยี ์

ผกั เป็นพชื ชนิดหน่งึ ทสี่ ามารถช่วยในเร่อื งระบบภายในของมนุษย์ได้เปน็ อย่างดี เมือ่ มี
การรณรงค์กนิ ผักดว้ ยแลว้ ผู้คนยิ่งหันมากินผักกนั มากขึน้ แตถ่ า้ ผักเหลา่ น้ันมสี ารพิษตกค้าง
รา่ งกายของเรากจ็ ะได้รบั สารพิษเข้าไปดว้ ย ทาใหเ้ ราเจ็บปว่ ยดว้ ยโรครา้ ยต่าง ๆ

ดังนัน้ เราควรเรยี นรวู้ ิธีการปลกู ผักทไ่ี มม่ ีสารพษิ ตกค้างทเ่ี รียกวา่ การปลูกผกั ระบบ
เกษตรอนิ ทรียห์ รอื ผกั อินทรยี ์

8

หลกั พื้นฐานของการปลกู ผกั อนิ ทรยี ์

๑.หา้ มใช้สารสังเคราะห์ เชน่ ปยุ๋ เคมี ยาฆา่ แมลง ยาปราบ
ศัตรพู ืช
๒. เน้นการปรับปรงุ ดนิ ด้วย ปยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ พชื สด
๓. ป้องกันการปนเปื้อนสารเคมีจากทอ่ี นื่ เชน่ ในน้า ในดนิ
๔. ไมใ่ ชพ้ นั ธุผ์ กั ทต่ี ัดตอ่ พันธกุ รรม
๕. ใช้สมุนไพรในการปอ้ งกนั หรือกาจดั ศัตรพู ืช
๖. ใชฮ้ อรโ์ มนท่ีได้จากธรรมชาติ เชน่ น้าสกดั ชวี ภาพ
๗.ป้องกนั ความชุ่มชนื้ ของดนิ ดว้ ยการคลุมดนิ
๘. นาทรัพยากรในทอ้ งถ่นิ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ

หัวใจของผกั อนิ ทรยี ค์ ือดิน...ดิน
ไม่ดีผกั ไมง่ ามโรคและแมลง
ทาลายได้งา่ ยนะคะ

9

ขอ้ ดีของการปลกู ผกั อนิ ทรยี ์

๑. สภาพแวดลอ้ มไมม่ ีพษิ อากาศบริสุทธิ์ เราจะปลอดภยั จากสาร
ระเหยที่เกิดจากการใช้ยาฆา่ แมลงและปยุ๋ เคมี

๒.สขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรงเพราะไม่ใช้สารเคมีในการเกษตร สารเหล่านั้นจะเป็น
อันตรายต่อรา่ งกายของเรา อาจโดยการสมั ผสั หรอื การหายใจ

๓. กินอย่างสบายใจ ไม่มคี วามกังวล มคี วามสุขกว่าไปซ้อื จากตลาดและลดการใชพ้ ลังงานในการ
เดินทาง นาไปแบ่งปันกบั คนรอบขา้ งเกดิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดี ช่วยเหลอื เก้ือกลู กนั

๔. สีสวย กลน่ิ หอม กินอรอ่ ย ผักอนิ ทรยี ท์ ่เี ราปลกู เองนอกจากจะทาใหเ้ ราสบายใจใน
การบริโภคแลว้ ยงั มคี ณุ ค่าทางอาหารสงู กวา่ พชื ผกั ทว่ั ไปอกี ด้วย

๕.ข้อดีอน่ื ๆ เช่นใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ มคี วามภูมใิ จ เกิดความสงบ รู้จกั รอคอย
ผลผลิต ไดเ้ รยี นรู้ธรรมชาติ ใช้พ้นื ทใี่ นบา้ นให้เกดิ ประโยชนแ์ ละมคี วามรเู้ รอ่ื งการปลูก
ผกั

10

สรุป

การปลูกผักอินทรีย์ คือ การปลูกผักในระบบเกษตรอินทรีย์ โดยเราต้อง
ไม่ใช้สารเคมีใดใด ใช้เฉพาะส่ิงท่ีได้จากธรรมชาติเท่าน้ัน เป็นการนาเอา
ทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้อย่างคุ้มค่าที่สดุ เป็นการปลูกผักที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อยู่ร่วมกับธรรมชาติ เป็นการทาเกษตรแบบยั่งยืนและยังสอดคล้องกับแนวคิด
หลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ ให้รู้จักวิถี
พอเพยี ง เนน้ การพงึ ตนเอง คือปลูกไว้กินเองเหลือกแ็ บ่งปันเพอ่ื นบ้านหรอื นาไป
จาหนา่ ย

เรามาปลกู ผกั อินทรยี ์
เพื่อสุขภาพกันเถอะ

11

ดิน (SOIL)

ดินคอื รากฐานของชวี ติ เกษตรกร
ดนิ เกิดจากการผุพงั สลายตวั ของหนิ และแร่ ผสมกับวากพืชซากสตั ว์ท่ีตายทับถมกันเป็นเวลา

หลายลา้ นปี หลังจากเปิดปา่ ใหม่ ๆ ดินยงั อดุ มสมบรู ณ์ ปลกู พืชกง็ าม ใหผ้ ลผลิตกส็ ูง แต่ถ้าปลกู พืช
ติดต่อกนั หลาย ๆ ปี โดยไม่มกี ารปรับปรงุ บารงุ ดนิ ดนิ จะเส่ือมโทรมลง เพราะอินทรยี วตั ถแุ ละธาตุอาหาร
พชื ในดนิ หมดไป ดนิ แนน่ ทึบ จนไม่สามารถใหผ้ ลผลิตสงู ไดอ้ ีกต่อไป

ดินเปน็ แหล่งผลิตปจั จัย 4 ของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ อาหาร เคร่อื งนงุ่ ห่ม ทอี่ ยู่อาศยั และยารกั ษาโรค
ดินมีความสาคญั ต่อพชื เปน็ ที่ยึดเกาะของรากพชื และนา้ ใชใ้ นการเจริญเตบิ โต ดนิ ยงั เปรียบเสมอื นเครอ่ื ง
กรองทม่ี ชี วี ติ ที่ชว่ ยกาจดั ของเสีย ทั้งในรปู ของแขง็ และของเหลว เปน็ แหล่งอาศยั ของจุลนิ ทรียท์ เ่ี ป็น
ประโยชนต์ อ่ พชื ซึง่ ทาหน้าทเ่ี ปลยี่ นสารประกอบตา่ ง ๆ ให้ไปอยู่ในรปู ทพี่ ืชใช้ประโยชนไ์ ด้

นอกจากพันธุ์พืช (พนั ธุกรรมพชื ) น้า (ฝน/ชลประทาน) ลม (ความชืน้ กา๊ ซ) ไฟ (แสงแดด
อณุ หภูม)ิ และการจดั การของเกษตรกรท่สี ่งผลตอ่ ความสาเร็จของการเพาะปลูกแล้ว คุณภาพของดนิ ยัง
เป็นอกี ปจั จัยหนึง่ ท่มี ีความสาคัญอยา่ งยง่ิ ซ่ึงเปรยี บเสมอื นรากฐานของชวี ิตเกษตรกร หรอื กล่าวอีกนยั หนงึ่
คณุ ภาพของดินเท่ากบั คณุ ภาพชวี ิตของเกษตรกร

12

คณุ สมบตั ขิ องดนิ ซงึ่ มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื
ดนิ เหนยี ว เปน็ ดินมีความละเอียดมากทีส่ ุด ยดื หยุน่ ได้ดีเมื่อเปยี กนา้ เหนยี วติดมือ สามารถป้นั
เป็นกอ้ นได้ จากความเหนยี วจึงทาให้พังได้ยาก อุ้มนา้ ดี รวมทั้งการจบั ยดึ และดูดธาตอุ าหารของ
พืช ทาได้ค่อนข้างสูง จึงมีแรธ่ าตอุ าหารของพชื อยูม่ าก เหมาะสาหรับใชป้ ลกู ข้าวเน่อื งจากกกั

เก็บน้าได้นาน
ดนิ ทราย เป็นดนิ รว่ น เกาะตวั กนั ไม่แน่น จงึ ทาให้ระบายท้ังน้าและอากาศได้อยา่ งดีเย่ียม แตอ่ ้มุ น้าได้
นอ้ ย พังทลายได้ง่าย มคี วามอุดมสมบรู ณต์ า่ เนื่องจากความสามารถในการจับธาตอุ าหารมีนอ้ ย ทาให้
พืชทขี่ น้ึ อยู่ในบริเวณดินทรายขาดนา้ และธาตอุ าหารได้ง่าย

ดนิ รว่ น เปน็ ดนิ คอ่ นขา้ งละเอยี ด จบั แล้วนุ่ม มคี วามยืดหยุ่นพอสมควร ระบายนา้ ไดด้ ีปานกลาง มแี ร่
ธาตุอาหารของพืชมากกว่าดนิ ทราย เหมาะสาหรับใชเ้ พาะปลกู เป็นอยา่ งมาก แต่ดินร่วนแบบของแท้
มักไม่ค่อยพบในธรรมชาติ แต่กจ็ ะพบดินซงึ่ มเี นอ้ื ดินใกลเ้ คยี งกนั เสยี มากกวา่

13

การเตรยี มการกอ่ นปลกู พชื

. การเตรยี มดนิ สาหรบั ปลกู พชื ผกั ไมว่ ่าจะปลกู ในกระถางหรอื ปลกู ลงดนิ กด็ ี หลกั การทส่ี าคญั นนั้
กค็ อื ดนิ ทน่ี ามาปลกู ตอ้ งมคี วามรว่ นซยุ นา้ ผ่านไดด้ ี นา้ ไม่ขงั ตอ้ งไมเ่ หนยี ว และดนิ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์
พชื ผกั จงึ จะเจรญิ เตบิ โตได้ดี

ดนิ กบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื

สงิ่ มชี วี ติ ทงั้ หลายต้องอาศยั ดินในการยังชีพและการเจรญิ เติบโต เชน่ มนษุ ย์และสตั วต์ ้องอาศัย

ดินเป็นท่ีต้ังของบ้านเรือนและที่อยู่อาศัย เป็นแหล่งกาเนิดของปัจจัยที่จาเป็นในการดารงชีพด้าน

อื่นๆ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค พืชก็ต้องอาศัยดินในการ

เจริญเติบโต นับตัง้ แตเ่ ริ่มงอกจากเมลด็ จนกระท่ังแตกกง่ิ กา้ นสาขา และให้ผลผลติ ในท่ีสดุ

๑.๑ ความสาคญั ของดนิ ทมี่ ตี อ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื

ดนิ มคี วามสาคญั ต่อการเจริญเติบโตของพืชดงั ต่อไปน้ี

๑.๑.๑ ดนิ เปน็ ทย่ี ดึ เกาะของรากพืช ทาใหต้ ้นพชื สามารถทรงตวั ต้ังตรง ชูลาตน้ และกงิ่ ก้านขน้ึ สู่

อากาศเพ่อื รับแสงแดด และแตกทรงพมุ่ ผลดิ อกออกผลได้ ปอ้ งกนั ไมใ่ หล้ าต้นล้มเอียง ในปจั จุบนั แม้

เทคโนโลยีทางการเกษตรจะก้าวหนา้ มีการคดิ ค้นวิธีการปลกู พชื โดยไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชด้ นิ แตก่ จ็ าเปน็ ตอ้ ง

มีวสั ดุ เช่น กรวด ทราย หรอื ไมค้ ้ายนั เพ่อื ยึดลาต้นและเป็นทย่ี ดึ เกาะของรากพชื เช่นกนั

๑.๑.๒ ดินเป็นแหล่งแรธ่ าตอุ าหารของพชื แรธ่ าตอุ าหารทจ่ี าเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตของพชื

เกือบทกุ ชนดิ ไดม้ าจากดนิ ทัง้ นเี้ นอ่ื งจากดินเกดิ ขึน้ จากการผพุ ังและแตกสลายของหนิ และแร่ชนดิ ตา่ งๆ

ผสมรวมกนั กบั การเน่าเปือ่ ยผพุ งั ของซากสงิ่ มชี ีวติ ซ่ึงทัง้ หนิ แร่ และส่ิงมีชวี ติ เหล่าน้จี ะประกอบขน้ึ

ด้วยแรธ่ าตุตา่ งๆ เมอื่ ผุพงั สลายตัวจึงปล่อยแรธ่ าตเุ หลา่ น้อี อกมาส่ดู ิน

๑.๑.๓ ดนิ เปน็ แหลง่ เก็บนา้ ไว้ใหพ้ ืช น้าจะถูกเกบ็ ไวใ้ นชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดนิ พชื จะดูดน้า

และแรธ่ าตุอาหารไปเลี้ยงสว่ นต่างๆ โดยผ่านทางรากท่ีอยู่ในดิน ถา้ หากภายในดินมีนา้ ไมเ่ พยี งพอ พืช

จะแสดงอาการขาดน้า เห่ยี วเฉา แคระแกร็น ไมเ่ จรญิ เตบิ โตและตายในทสี่ ดุ

๑.๑.๔ ดนิ เป็นแหลง่ เกบ็ อากาศไว้ใหพ้ ชื รากพืชจะดดู น้าและแร่ธาตอุ าหารจากดินไปเล้ียงสว่ น

ต่างๆ ไดน้ นั้ จะตอ้ งมีชีวิตอยู่และต้องหายใจโดยใชก้ ๊าซออกซิเจนทม่ี อี ยูใ่ นดิน เพราะฉะนน้ั พชื จะ

เจริญเติบโตได้ดีน้ัน ในดินจะตอ้ งมีกา๊ ซออกซเิ จนอยา่ งเพียงพอ ก๊าซออกซเิ จนจะอยู่ภายในชอ่ งว่าง

ระหว่างเมด็ ดินเช่นเดียวกับนา้

๑.๑.๕ ดนิ เปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั ของส่ิงมชี วี ิตขนาดเล็กและจุลนิ ทรีย์ ส่งิ มชี วี ิตขนาดเลก็ ทีอ่ าศัยอยูใ่ น

ดิน เช่น แมลงต่างๆ ไสเ้ ดือน กง้ิ กอื แมงมุม เป็นต้น ตลอดจนจุลินทรียต์ ่างๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์แก่

พชื เช่น รา แบคทีเรีย ยสี ต์ ซ่งึ ส่งิ มีชีวิตเหล่าน้จี ะกดั กินและยอ่ ยสลายซากพชื ซากสตั วใ์ นดินใหเ้ นา่

เป่อื ยผุพงั ทับถมอย่ใู นดินและละลายแรธ่ าตุอาหารต่างๆ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ พชื นอกจากนน้ั ยังชว่ ย

ทาใหด้ ินร่วนซยุ มคี ณุ สมบัตเิ หมาะสมแกก่ ารเจรญิ เติบโตของพืชได้อกี ด้วย 14

คณุ สมบตั ิของดินท่เี หมาะสมตอ่ การเจริญเติบโตของพืช

ดังได้กล่าวมาแล้วว่าพืชแตล่ ะชนดิ มีความแตกต่างกันความต้องการดินที่เหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของพืชก็แตกต่างกันด้วย พืชบางชนิดต้องการดินท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะในการ
เจริญเติบโต เช่น ข้าว ต้องการดินท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะเป็นดินเหนียวอุ้มน้าได้ดีมีน้าท่วมขังพืช
ทะเลทราย ตะบองเพชร ต้องการดินท่ีมีคุณสมบัติเป็นดินทราย ร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้
สะดวก ระบายน้าได้ดี เป็นต้น เพราะฉะน้ันในการปลูกพืชผู้ปลูกจะเลือกปลูกพืชชนิดใด
จาเป็นต้องศึกษาให้ทราบก่อนว่าพืชชนิดน้ันเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีคุณสมบัติอย่างไร แต่โดย
ท่ัวๆ ไปแล้ว พชื ส่วนใหญต่ อ้ งการดนิ ปลกู ทมี่ คี ุณสมบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี

๑. ดินที่มีแร่ธาตุอาหารพืชอุดมสมบูรณ์ กล่าวคือเป็นดินท่ีเหมาะสมแก่การเจริญเติบโต
ของพืช ตามปกติแร่ธาตุอาหารท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมีอยู่ 16 ธาตุ ซ่ึงแบ่งออกได้
ดงั น้ี

๑) แร่ธาตุอาหารที่พืชต้องการมากที่สุด และเป็นส่วนประกอบ ท่ีสาคัญของ
พืช ได้แก่ ธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) ซึ่งแร่ธาตุต่างๆ เหล่าน้ีพืชได้มา
จากน้าและอากาศ

๒) แร่ธาตุอาหารทีพ่ ืชต้องการในปรมิ าณมาก และมีส่วนสาคญั ในการส่งเสริมการ
เจรญิ เตบิ โตของอวยั วะตา่ งๆ ของพชื ตลอดจนการสร้างผลผลิต เช่น ใบ ดอก ผล ลาตน้ รากและ
เมล็ด แร่ธาตุเหล่าน้ีได้แก่ ธาตุไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) แคลเซียม
(Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกามะถนั (S) แตแ่ รธ่ าตุเหลา่ นีม้ ักจะมีอยู่ในดนิ ไม่เพยี งพอ พืชจะขาด
แคลนอยู่เสมอ โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) เพราะ
นอกจากพืชต้องการใช้ในปริมาณมากแล้ว ยังสูญเสียไปจากดินได้ง่าย ดังนั้นในการปลูกพืชจึง
จาเป็นต้องรักษาปริมาณของธาตุอาหารเหล่านี้ให้มีอยู่ในดินอย่างเพียงพอ ซึ่งทาได้โดยการใส่ปุ๋ย
เพมิ่ เตมิ ลงไปในดินบ่อยๆ

๓) แร่ธาตุอาหารท่ีพืชต้องการในปริมาณน้อยมากในการเจริญเติบโต ถ้า
เปรียบเทียบกับอาหารของมนุษย์หรอื สัตว์ ได้แก่ อาหารพวกวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งพืชจะขาด
ไม่ได้เลย แต่ต้องการเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ได้แก่ ธาตุเหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) โมลิบดินัม
(Mo) สงั กะสี (Zn) โบรอน (B) แมงกานสี (Mn) และคลอรนี (Cl)

โดยทัว่ ๆ ไปแล้วธาตุอาหารตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีมีอยู่ในดนิ ในปรมิ าณทเี่ พียงพออย่แู ล้ว โดยเฉพาะ
ดนิ ท่ีมีอินทรยี วตั ถุผสมอยู่มาก ๆ ดินทมี่ ีปัญหาเก่ยี วกบั การขาดธาตุเหล่าน้มี กั จะเป็นดินทรายหรือ
ดินทใี่ ชป้ ลกู พชื ติดต่อกันเป็นเวลานานโดยขาดการปรบั ปรุงบารงุ ดนิ

15

ดินท่ีมีลักษณะร่วนซุย คือ มีการระบายน้าและถ่ายเทอากาศได้ดี ความ
รว่ นซยุ ของดนิ มผี ลดีต่อการเจรญิ เติบโตของพชื ดงั น้ี

๑) รากพืชสามารถเจริญเติบโตแตกก่ิงกา้ นสาขาชอนไชไปหาอาหารไดม้ าก
ขึ้น เน่ืองจากดินท่ีร่วนซุยเป็นดินที่อ่อน รากพืชสามารถแทงทะลุชอนไชไปได้
สะดวก ทาให้พืชมีปริมาณรากมาก สามารถหาอาหารมาสร้างลาต้นได้มากขนึ้ พืช
จงึ จะเจรญิ เติบโตได้ดีและรวดเร็วกวา่

๒) รากพืชหายใจได้สะดวก สามารถดดู หาน้าและอาหารไปเล้ียงส่วนตา่ งๆ
ของพืช ได้สะดวกและเร็วขึ้น ทั้งนี้เน่ืองจากดินท่ีร่วนซุยมีช่องว่างอากาศมากและ
เพียงพอแก่การหายใจของราก ทาให้มีพลังงานในการดูดหาอาหารและน้าได้มาก
ขน้ึ

ดินท่ีมีคุณสมบัติทางเคมีเหมาะสม คุณสมบัติทางเคมีของดินท่ีมีส่วน
เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช ส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับสภาพความเป็นกรด
เป็นด่างของดินหรือท่ีเรียกกันว่าค่า pH คุณสมบัติดังกล่าวน้ีจะมีผลต่อความเป็น
ประโยชน์ของแร่ธาตุอาหารพืชและการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง พืชบางชนิด
เจริญเติบโตได้ดีในดินท่ีมีสภาพเป็นกรด (pH ต่ากว่า 7) บางชนิดเจริญเติบโตได้ดี
ในดินท่ีมีสภาพเป็นด่าง (pH สูงกว่า 7) นอกจากนั้นสภาพความเป็นกรด–ดา่ งของ
ดิ น ยั ง มี ผ ล ก ร ะ ท บ ก ร ะ เ ทื อ น ต่ อ ค ว า ม เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง แ ร่ ธ า ตุ อ า ห า ร พื ช
ด้วย เช่น แร่ธาตุอาหารของพืชในดินจะไม่ละลายเมื่อดินมีสภาพความเป็นกรด
มากเกินไป บางชนิดไม่ละลายเมื่อดินมีสภาพเป็นด่าง แต่พืชส่วนใหญ่จะมีการ
เจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูงเมอื่ ปลูกในดินทมี่ ีคุณสมบตั ิทางเคมีเป็นกลางหรอื
กรดออ่ นๆ คอื ระดบั pH 6.5-7

16

วธิ กี ารเตรยี มดนิ สาหรบั การปลกู พชื ผกั

การเตรยี มดนิ สาหรบั การปลกู พชื ผกั สวนครวั

การปลกู พืชผักสวนครวั แต่ละชนิดจะแตกตา่ งกนั ผกั บางชนดิ อาจจะปลูกลงในแปลง
หรอื หลุมปลกู โดยตรงบางชนิดต้องเพาะกลา้ ก่อนแล้วจึงยา้ ยปลกู บางชนดิ อาจจะปลูกบน
ภาชนะต่างๆ กันการเตรยี มดนิ สาหรบั การปลกู พืชผกั สวนครวั จึงสามารถทาได้ดังนี้

การเตรียมดินสาหรับพชื ผกั สวนครวั ทนี่ ยิ มย้ายกลา้ ปลกู เชน่ พริก คะน้า มะเขอื ผักกาด
เขยี วปลี กะหล่าปลี ผักกาดหอม โหระพา แมงลกั หอมหัวใหญ่ การเตรยี มดินสาหรบั การ
ปลูกผักชนิดนี้ มี ๒ ลักษณะคอื การเตรยี มดินสาหรบั เพาะกล้าผกั และการเตรียมดินสาหรบั ปลูก
การเตรยี มดนิ สาหรับเพาะกล้าผกั ซงึ่ จะทากอ่ นการปลกู ประมาณ ๒๘ – ๓๕ วัน สามารถทา
ได้ ๒ วิธีคอื

๑) การเตรียมดินสาหรบั เพาะกล้าผกั ในภาชนะ เช่น กะบะ ปีบ ตะกร้า ซ่งึ มีขนาด
เลก็ สามารถเคลอื่ นยา้ ยได้ง่าย ดินทีใ่ ช้จะเปน็ ส่วนผสมของดนิ รว่ น ปุย๋ หมักหรอื ปุย๋ คอก ข้เี ถ้า
แกลบ ในอตั รา ๑:๑:๑ ในปจั จบุ ันนน้ี ยิ มใชข้ ีเ้ ถ้าแกลบและขุยมะพรา้ วในอตั รา ๑:๑ ใส่ใน
ภาชนะให้ต่ากว่าขอบประมาณ ๒-๓ เซนตเิ มตร

๒)การเตรยี มดินสาหรบั เพาะกล้าผกั บนแปลงเพาะต้องยอ่ ยดินให้ละเอียดมากกว่า การ
เตรียมแปลงปลกู เพื่อให้เมล็ดผกั สมั ผัสกับดินมากทสี่ ดุ แลว้ จึงหว่านเมล็ดผักใหก้ ระจายทวั่
แปลงตามความตอ้ งการ

17

ก า ร เ ต รี ย ม ดิ น ส า ห รั บ ป ลู ก พื ช ผั ก ส ว น ค รั ว ที่ห ว่ า น เ ม ล็ ด โ ด ย ตร ง บ น แ ป ลง
ปลูก เช่น ผักชี ผักบุ้ง ผักคะน้า เป็นต้น การเตรียมดินสาหรับปลูกพืชผักเหล่าน้ีเหมือนกับ
การเตรียมแปลงเพาะ ต้องให้เนื้อดินมีความละเอียดมากกว่าการเตรียมแปลงปลูกผักธรรมดา
เพ่ือให้เมล็ดมีโอกาสสัมผัสกับดินมากที่สุดและไม่ตกหล่นลงไปในช่องว่างระหว่างก้อนดิน ซึ่ง
อาจจะทาให้เมล็ดผักงอกช้าหรอื ไม่งอก

การเตรียมดินสาหรบั พชื ผกั สวนครัวท่ีปลูกเปน็ หลุมหรือโรยตามร่อง สว่ นมากเป็นผักท่ี
มี เ ม ล็ ด โ ต เ ช่ น ถ่ั ว ฝั ก ย า ว ถั่ ว ลั น เ ต า ฟั ก ท อ ง ฟั ก เ ขี ย ว ข้ า ว โ พ ด
หวาน บวบ ถ่ัวพู ฯลฯ การเตรียมดินปลูกพืชผักประเภทน้ีอาจจะมีการไถดินหรือขึ้นแปลง
หรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมไถดินย่อยดินก่อน เพ่ือให้การเจริญเติบโตของผักดี หลังจาก
เตรยี มดินเรยี บร้อยแล้ว พชื ทป่ี ลูกเป็นหลมุ เชน่ ถ่ัวฝักยาว ขา้ วโพดหวาน บวบ ถ่วั พู อาจ
ใช้จอบหรอื เสยี มขุดเปน็ หลุมในระยะปลกู ท่ีตอ้ งการแล้วจงึ หยอดเมลด็

สาหรับพืชทป่ี ลูกเปน็ แถว ใช้จอบยกรอ่ งแล้วโรยเมล็ดตามแนวร่อง ระยะห่างระหว่าง
ร่องจะแตกตา่ งกนั ตามชนดิ ของพืชผกั เช่น ถ่ัวลันเตา ขา้ วโพดหวาน ในทางปฏบิ ตั ิจริง การ
ปลกู พืชประเภทนจี้ ะใชจ้ อบหรือเสียมขุดเป็นหลมุ แลว้ ใส่ปุ๋ยคอกหรอื ป๋ยุ หมกั รองกน้ หลุมก่อน
ปลูก

18

การเตรียมดินสาหรับปลูกพืชผักสวนครัวประเภทยืนต้นและการปลูกผักประเภทเป็น
กอ ซึ่งเป็นการปลูกผักท่ีมีการขยายพันธ์ุโดยใช้ส่วนต่างๆ ของต้นพืชผักมาปลูก อาจจะเป็น
ก่ิง ลาต้นใต้ดิน ลาต้น รากใต้ดิน เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย ชะอม มะรุม ฯลฯ การ
ปลูกพืชประเภทน้ี จะใช้วิธีการขึ้นแปลงหรือขุดหลุมหรือท้ังสองอย่าง แต่ขนาดของหลุมจะโต
กวา่ การปลกู ผักท่ใี ช้เมล็ด

การเตรยี มดนิ สาหรบั ปลกู พชื ผกั สวนครวั ทเ่ี ลอื กปลกู
ดินเป็นวตั ถทุ ี่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ จากส่วนผสมระหว่างธาตุ หนิ กรวด ทราย ต่างๆ
ทส่ี ลายตัวเปน็ ช้ินเลก็ ชนิ้ นอ้ ยกับอินทรยี วตั ถตุ ่างๆ ที่เน่าเปื่อยผุพงั อยู่รวมกนั หอ่ หุ้มผิวโลก
ไว้ และเมื่อมีน้าและอากาศมารวมอยู่ดว้ ยในอตั ราสว่ นท่ีเหมาะสม ดินนน้ั จะช่วยในการยังชพี
และ การเจริญเติบโตของพืชได้
การเตรียมดินมีความสาคัญในการปลูกพืชเป็นอย่างมากเพราะถ้าเตรียมดินไว้ดีและ
เหมาะสมกับชนิดของพืช จะทาให้พืชที่ปลูกเจริญเติบโต และมีความสมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้ง
ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอีกด้วย นอกจากนี้ผู้ปลูกควรจะเรียนรู้วิธีการเลือกใช้
เคร่อื งมอื วสั ดุอปุ กรณใ์ นการปลูกพชื เพื่อจะไดป้ ฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งข้ึน

19

20

21

22

23

24

25

สมนุ ไพรทขี่ บั ไลแ่ มลง

๑. หนอนตายยาก - มฤี ทธ์ใิ นการฆา่ หนอนหลายชนดิ ,ฆ่าไส้เดอื นฝอย
๒. เมล็ดสะเดา - มสี ารอะซาดนี แร๊กตนิ มีฤทธท์ิ าใหแ้ มลง ด้วงหมัดผกั เบ่อื
อาหาร ผีเสอ้ื ฆา่ เพลยี้ , ไร
๓. ตะไคร้หอม - มีกล่นิ ในการขับไล่แมลงทกุ ชนิด
๔. ใบยาสบู - มสี ารท่ีกาจัดพวกทาก หรอื เพลย้ี บางชนิด ,หนอนชอนใบ
๕. ขมิน้ ชัน - มฤี ทธ์ิในการกาจัดเชอื้ รา
๖. ไพล (ปเู ลย) - มฤี ทธใ์ิ นการทาลายแบคทีเรยี ,ไวรสั บางชนิด
๗. ขา่ แก่ - มีสารออกฤทธ์ใิ น ด้วง ,เช้อื รา ,แมลงจั๊กจ่ัน บางชนดิ
๘. ใบและดอกดาวเรอื ง - แมลงหวขี าว ,ไสเ้ ดอื นฝอย ,ดว้ งปกี แข็ง , เพลีย้ กระโดด
๙. บอระเพด็ - ทาลายเพลยี้ กระโดดมนี ้าตาล ,หนอนกอข้าว
๑๐. ฟ้าทะลายโจร - มีรสขม กาจัดเช้อื แบคทีเรีย ,ไวรัส
๑๑. สาบเสือ - เพล้ียจั๊กจัน่ ,เพล้ยี หอย, เพล้ียออ่ น ,หนอนใยผัก
๑๒. สาระแหน่ - มีนา้ มนั ในใบขบั ไล่แมลง
๑๓. กระเพราดา - กาจดั เชือ้ ราบางชนดิ
๑๔. หางไหล (โลต่ นิ๊ ) - มีสารโรติโนน ทาให้แมลงหายใจลาบาก
๑๕. ผกากรอง - มสี ารแลนดาดีน มีผลต่อระบบประสาทของแมลง
๑๖. วา่ นน้า - ปอ้ งกันและกาจดั แมลงผีเสื้อในข้าว
๑๗. ดีปลี - กาจัดแมลงศตั รูขา้ ว .เพลี้ยบางชนิด
๑๘. มะเขือเทศ - ใช้ใบกาจดั ดว้ งหมดั ผกั , ดว้ งหน่อไมฝ้ รั่ง , ไรแดง , หนอนใยผัก
๑๙. ใบนอ้ ยหน่า - กาจัดเพลย้ี อ่อน ,หนอนใยผกั
๒๐. กอมขม - กาจัดแมลงวันหัวเขยี ว , แมลงวนั ทอง

26

สูตรการทาสมุนไพรขบั ไล่แมลง
ส่วนผสม - สมุนไพร (หลายชนิด) ๕๐ กก.

- กากน้าตาล ๒ ลิตร
- EM - T ๒ ลติ ร
- นา้ สะอาด 50 ลติ ร

วธิ ีทา
๑. นาสมนุ ไพร (หลายชนดิ ) นามาสับหรอื บดใหล้ ะเอยี ด
๒. ผสมกากนา้ ตาล กบั สมนุ ไพร EM - T ใสใ่ นกระสอบ มดั ปาก
ถุงใหแ้ นน่
๓. นาถุงมาใส่ในถังหมัก (ประมาณ 100 ลิตร) ใสน่ า้ แชจ่ นเกือบ
เตม็ ถัง
๔. ปิดฝาทิง้ ไว้ 7-15 วัน นาไปใชไ้ ด้

ประโยชน์และวิธใี ช้
๑.นาน้าทีไ่ ด้ ผสมน้าใชอ้ ัตราส่วน ๒๐-๔๐ ซีซี ต่อนา้ ๒๐ ลติ ร ฉดี พ่นทุก ๆ ๕-๗ วนั
จะทาให้พืชมีภมู ิต้านทานโรคและขบั ไลแ่ มลงแต่กรณที เี่ ป็นหนอน หรอื เพลีย้ จัก๊ จั่น หรอื
แมลงชนิดที่มีตวั ใหญ่ ๆ ใหผ้ สมน้าสมุนไพร ๑ ส่วน : เหล้าขาว ๑ ส่วน : น้าสมสายชู ๕% ๑
ส่วน หมกั ทงิ้ ไว้ ๑ คืน (นา้ สมุนไพร ๑ ลิตร : เหล้าขาว ๑ ลิตร : น้าสมสายชู ๕ % ๑ ลติ ร)
นานา้ ที่หมักได้ ผสมน้าอตั ราส่วน ๒๐-๔๐ ซซี ี ตอ่ นา้ ๒๐ ลติ ร ฉีดพ่นในชว่ งเช้าหรอื เยน็ ใช้
ตดิ ต่อกนั ๓ วนั แรก จะทาให้หนอน แมลง คอ่ ย ๆ ตายไปลดจานวนแมลง
๒.ถา้ ตอ้ งการกาจัดเหา,ไรไก่ ,เหบ็ ,หมดั , ให้ใชน้ า้ สมนุ ไพร +เหล้า+นา้ สม้ ท่หี มักได้
๕๐ ซซี ี ต่อน้า ๑ ลติ ร หมกั ใหท้ ่วั หรือฉีดพ่น จะสามารถรักษาและกาจดั เหา ,ไรไก่, เห็บ
หมดั ได้ดว้ ย และจะสามารถรักษาโรคผิวหนังในสตั วแ์ ละคนได้

27

28

29

30

31

แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน
คาชแ้ี จง ใหเ้ ลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องทีส่ ุดเพียงขอ้ เดยี วแล้วทาเคร่ืองหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
(๒๐ ข้อ ๒๐ คะแนน)
๑.แหล่งเรยี นรกู้ ารปลกู ผักปลอดสารพิษดดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ ตง้ั อยู่ที่ใดของจังหวดั บุรีรัมย์

ก. หมทู่ ี่ ๑๐ ตาบลพุทไธสง อาเภอพทุ ไธสง จงั หวัดบุรีรัมย์
ข. หมูท่ ่ี ๑๑ ตาบลพุทไธสง อาเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บรุ รี มั ย์
ค. หมู่ที่ ๑๒ ตาบลพุทไธสง อาเภอพุทไธสง จงั หวดั บรุ รี มั ย์
ง. หมู่ที่ ๑๓ ตาบลพุทไธสง อาเภอพุทไธสง จังหวดั บุรีรัมย์
๒. ใครเปน็ ประธานกลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสารพิษดด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
ก.นายเอด็ กางไธสง
ข.นางสมจติ ร ไชยมาคา
ค.นายโกศล เสไธสง
ง.นายประดิษฐ์ จันอาภาส
๓. พืชผกั ปลอดสารพิษหมายความวา่ อยา่ งไร
ก. พืชผักทสี่ วยงาม
ข. พืชผกั ทีไ่ ม่มสี ารพิษหรอื มใี นระดับทปี่ ลอดภัย
ค. พชื ที่เกิดเองตามธรรมชาติ
ง. ถกู ทกุ ข้อ

32

๔. การพิจารณาเลือกพนื้ ท่ีทาสวนพืชผกั สิ่งท่ีจาเปน็ ทสี่ ดุ คือข้อใด
ก. มีพ้นื ทม่ี าก
ข. ดนิ มีความอุดมสมบรู ณ์
ค. ใกลแ้ หล่งนา้
ง. ใกลท้ ีอ่ ยอู่ าศยั

๕. ดินทเี่ หมาะในการทาสวนพืชผักมากทีส่ ุดควรเปน็ เช่นไร
ก. ดินทมี่ ีระดบั นา้ ใต้ดินตน้ื
ข. ดินทมี่ รี ะดบั นา้ ใตด้ ินลึก
ค. ที่ระบายน้าได้ดี
ง. ดนิ ที่มคี วามอุดมสมบรู ณ์

๖.ขอ้ ใดคือความหมายของพืชผักปลอดสารพษิ ทถี่ ูกต้อง
ก. พชื ที่ใชร้ บั ประทานได้
ข. พชื ผักที่ปลกู ภายในบริเวณบา้ นเพอ่ื ใช้ผักบรโิ ภคภายในครอบครัว
ค. พืชอะไรก็ไดท้ ี่รบั ประทานแลว้ ไมม่ ีสารพิษภัย
ง. พืชที่มีสเี ขยี วมคี ณุ ค่าทางอาหารสงู

๗.เหตุใดการปลูกพืชผกั จึงทารายได้ให้แก่ผูป้ ลกู ผกั ไดเ้ ร็วกว่าการปลูกพชื ชนิดอ่นื
ก. ราคาจาหน่ายสูงกวา่ พชื ชนดิ อน่ื ๆ
ข. ผักเปน็ พืชอายสุ น้ั สามารถปลูกไดห้ ลายครั้งในหนงึ่ ฤดูกาล
ค. พืชผักสามารถปลกู ร่วมกบั พืชผักอืน่ ๆ ได้ดี
ง. คนปลูกมนี ้อยแตค่ นบรโิ ภคผักมมี าก ราคาผักจงึ แพง

33

๘. ทาไมการปลูกพืชผกั ปลอดสารพิษ ไวร้ ับประทานเองจงึ ถอื ว่ามคี วามปลอดภยั
ก. ไม่มีการฉีดยาฆา่ แมลง
ข. ปลกู ในตาข่ายมงุ้ ลวดจงึ ไมม่ แี มลงมารบกวน
ค. ผู้ปลูกรู้ระยะเวลาฉดี ยาและการเก็บเกยี่ ว
ง. ใช้ยาฆา่ แมลงทีม่ ีพิษนอ้ ยมากฉีดผักจึงมคี วามปลอดภัย

๙.ขอ้ ใดกลา่ วถึงการเกษตรแบบผสมผสานไมถ่ กู ตอ้ ง
ก เกษตรทฤษฎใี หม่
ข เกษตรเพ่อื คุณภาพชีวติ
ค เกษตรแบบย่งั ยนื
ง เกษตรแบบยงั ชพี

๑๐. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของการเกษตรแบบผสมผสาน
ก. มกี จิ กรรมหลากหลาย เพม่ิ รายไดใ้ ห้กับครอบครวั ใช้ทรพั ยากรในไร่นาอย่างคมุ้ ค่า มีอาหารบริโภคใน

ครอบครัว
ข. ผลประโยชนท์ ไี่ ด้รบั ทาให้ครอบครัวมีความเปน็ อยทู่ ดี่ ีข้ึน
ค. ทาใหส้ ภาพไร่นาได้รบั การบารงุ การดูแล และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลติ ไดต้ ลอดทงั้ ปี
ง. ใชป้ ระโยชน์จากทด่ี ินได้อย่างเต็มทแ่ี ละช่วยประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการทาไร่นา

๑๑. ขอ้ ใดคือความหมายของเกษตรทฤษฎใี หม่
ก. เกษตรทฤษฎีใหม่ทาใหส้ ามารถสร้างรายได้เพม่ิ มากขึ้น
ข. ทาใหเ้ กิดผลผลิตทางการเกษตรตลอดท้งั ปี
ค. เปน็ การแบง่ สัดส่วนในการใชพ้ ื้นที่ดนิ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ง. เกษตรกรไดบ้ รหิ ารและจดั การเกย่ี วกับดนิ น้าใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ เพ่ือเกิดผลผลิตและรายได้มา

เลยี้ งตนเองและครอบครัวอย่างเพยี งพอ

34

๑๒. ข้อใดคือการกาจัดวชั พืชโดยทางชีวภาพ
ก ใช้วธิ กี ารตามธรรมชาติ ใช้สิ่งมชี ีวิตดว้ ยกันเปน็ ตวั กาจัด
ข ใชส้ ารเคมเี ปน็ ตวั กาจดั วัชพืชโดยการฉดี พน่
ค การถอนวชั พชื ท่งี อกใหมท่ ง้ิ
ง การตัดต้นวัชพชื ให้เต้ยี ลง

๑๓.ขอ้ ใดคือพืชสมนุ ไพรใชป้ ราบแมลงท่ีเป็นศตั รพู ืชได้
ก. ใบเตย ต้นชะพลู
ข. ว่านหางจระเข้ ผักบุ้ง
ค. สะเดา ตระไคร
ง. ตะไคร้ ใบโหระพา

๑๔.สง่ิ มชี วี ิตในดิน เชน่ แมลง ไส้เดอื น เชื้อรา แบคทเี รยี เปน็ ต้น มปี ระโยชน์อยา่ งไร
ก ทาให้เกดิ พลังงานนามาใช้ในการดูดซบั น้า
ข ช่วยทาให้ดนิ รว่ นซยุ
ค ช่วยยอ่ ยสลายสารอินทรยี ใ์ นดิน
ง ทาให้เกิดการระบายอากาศในดินไดด้ ี

๑๕. ข้อใดคอื การกาจดั วัชพืชโดยทางชวี ภาพ
ก. การตัดต้นวัชพืชให้เตยี้ ลง
ข.การถอนวชั พืชทงี่ อกใหมท่ ิง้
ค.ใชส้ ารเคมเี ป็นตัวกาจัดวชั พืชโดยการฉีดพ่น
ง.ใชว้ ิธกี ารตามธรรมชาติ ใชส้ ิ่งมีชวี ิตดว้ ยกนั เป็นตวั กาจัด

35

๑๖. นยิ ามคาว่า “ดินมชี ีวิต” มีความหมายตรงกบั ขอ้ ใด
ก.ในดนิ มสี ิง่ มีชีวิต
ข.ดินมกี ารหายใจ
ค.ดินมกี ารกินอาหาร
ง.ดินมีการเคลอ่ื นที่

๑๗.ข้อใดไมใ่ ช้การบารุงดนิ ด้วยวิธเี กษตรธรรมชาติ
ก.การคลุมดนิ
ข.ใชร้ ถไถพรวน
ค.ปลกู พืชหมุนเวียน
ง.การใชป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ์ปุย๋ ชวี ะภาพ

๑๘.ขอ้ ใดคือประโยชน์ของการปลูกผักอินทรยี ์
ก. ได้ผลผลิตมากกว่า การปลกู พืชผกั ทั่วไป
ข. นาไปขายท่ีตลาดได้ง่ายกวาพืชผกั ทวั่ ไป
ค. ใช้เวลาในการปลกู น้อยกว่าพชื ผกั ท่วั ไป
ง. ได้ผักท่ีมีคุณค่าคุณคา่ ทางอาหารสูงกว่าพืชผกั ทั่วไป

๑๙.ขอ้ ใดตรงกับความหมายของความหมายของ “ผักอนิ ทรีย์”
ก. ผกั สวนครวั ในบา้ น
ข. ผักทมี่ สี ารพษิ ตกคา้ ง
ค. ผักท่มี สี ีสนั สวยความ
ง. ผักท่ีปลกู ในระบบเกษตรอนิ ทรยี ์

36

๒๐.ใครปลกุ ผักได้สอดคล้องกบั หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ก.เดชาปลูกผกั ไม่ใช้สารเคมี
ข.นารีปลกู ผกั หลากหลายชนิด
ค.ระรนิ ทร์ปลูกผักไว้เพือ่ จาหนา่ ย
ง.นอ้ ยปลูกผกั ไวก้ นิ เอง เหลอื ก็แบ่งปันเพื่อนบา้ น

37

กศน.ตาบลพุทไธสง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัยศัยอาเภอพุทไธสง

ขอขอบคุณแหล่งที่มา
นายประดิษฐ์ จันทร์อาภาท
ผู้ใหญ่บ้านบ้านแดงใหญ่ หมู่ท่ี ๑๓
ประธานกลุ่มกลุ่มปลูกผักปลอดสาร พลังงานแสงอาทิตย์

ขอขอบคุณ
นางมัณฑกานต์ เสมียนรัมย์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพุทไธสง

ประธานจัดทา/ที่ปรึกษา

นางพิริยา วุฑฒิชัยพันธ์
ผู้ประสานงาน/ผู้ช่วยรวมรวบข้อมูล

นางทิพย์ปราณี ประเสริฐโส
ผู้รวบรวมข้อมูล/เรียบเรียง/จัดทา

ติดตามผลงานได้ท่ี :


Click to View FlipBook Version