The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10.การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keepjob peocm, 2020-05-24 09:47:30

10.การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

10.การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

1

คาํ นาํ

คูมือนิเทศเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนระดับช้ันประถมศึกษาเลมนี้ไดจัดทําข้ึน
โดยมวี ัตถุประสงค,เพือ่ เป.นเครื่องมือประกอบการนิเทศกับครูผูสอนระดับประถมศึกษา ผูบริหาร และ
ผูสนใจใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการวิจัยในชั้นเรียน ทั้งนี้ขาพเจาไดเรียบเรียงความรูจาก
เอกสาร หนงั สือ ตําราของนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน รวมท้ังประสบการณ,จากการปฏิบัติหนาที่ดาน
การนิเทศ การเป.นวิทยากร มาสอดแทรกแนวคิด ทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ เพ่ือใหงายตอ
การอานและทําความเขาใจ และทส่ี าํ คัญสามารถนําไปสูการปฏิบัติจรงิ ได

เนื้อหาของคูมือนิเทศมีทั้งหมด 12 เลม ในเลมนี้จะเป.นเลมที่ 10 เรื่อง การเขียนรายงาน
การวิจัยในชั้นเรียน รายละเอียดในเลมนี้จะกลาวถงึ รปู แบบการเขยี นรายงานการวจิ ยั ในช้ันเรียนทั้ง 3
รูปแบบ ไดแก การเขียนรายงานการวิจัยแบบยอหรือบทคัดยอ การเขียนรายงานการวิจัยแบบสรุป
และการเขียนรายงานการวจิ ยั แบบฉบับสมบรู ณ,

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย,ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร,
มหาวิทยาลยั เชียงใหม ทไี่ ดประสทิ ธป์ิ ระสาทวิชาความรูดานการวดั และประเมินผลทางการศึกษาและ
การวจิ ัยการศกึ ษาแกขาพเจา

ขอขอบคุณผูบริหารและคณะศึกษานิเทศก, สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหมทุกทาน
ท่ีไดรวมปฏิบัติงาน ใหขอคิด และขอเสนอแนะแนวทางที่เป.นประโยชน,ตอการจัดทําคูมือนิเทศเร่ือง
การวจิ ยั ในชั้นเรียน

ทายนี้ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัวอินทร,ทอง ครอบครัวสมสมัย และ
ครอบครัวเทพเท่ียง ตลอดจนภรรยาและบุตรชายทั้งสองคน ที่ใหกําลังใจในการทํางานมาโดยตลอด
และจนผลงานสาํ เร็จไปไดดวยดี

หวังเป.นอยางยิ่งวาคูมือนิเทศเลมน้ี จะกอใหเกิดประโยชน,แกครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา
ผูทส่ี นใจ ตลอดจนผูเกยี่ วของทางการศึกษาทุกฝา? ย หากมขี อบกพรองประการใด ขอความกรุณาโปรด
ใหคําชี้แนะ และพรอมท่ีจะนําขอเสนอแนะนั้นมาปรับปรุงใหคูมือนิเทศเลมนี้มีความสมบูรณ,ถูกตอง
ยง่ิ ขนึ้ ตอไป

รัชภมู ิ สมสมัย
ศกึ ษานเิ ทศก,

2

สารบัญ หนา
1
คํานํา 2
สารบัญ 3
คําชี้แจง 4
คําแนะนําการศึกษาคมู ือนิเทศเรือ่ ง การวิจยั ในชนั้ เรยี น เลมที่ 10 5
วัตถุประสงค.ของการจดั ทําคมู ือนิเทศเร่ือง การวิจัยในช้ันเรยี น เลมท่ี 10 6
โครงสรางคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เรือ่ ง การเขยี นรายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน
รายละเอยี ดข้นั ตอนการศึกษาคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เรื่อง การเขียนรายงานการวิจยั 7
ในชั้นเรยี น 8
เงื่อนไขสูความสาํ เรจ็ 9
รายละเอียดเนื้อหา การเขียนรายงานการวิจยั ในชนั้ เรยี น 29
คําถามทบทวนความรู 30
บรรณานุกรม

3

คาํ ช้แี จง

คูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนสําหรับครูผ#ูสอนระดับชั้น
ประถมศึกษาเลมน้ี มีลักษณะเป+นเอกสารสําหรับการศึกษาด#วยตนเองหรือใช#ประกอบการนิเทศ
เน้ือหาสาระภายในคูมือนิเทศเลมที่ 10 ประกอบด#วยเนื้อหาที่เกี่ยวข#องกับประเด็นรูปแบบการเขียน
รายงานการวิจัยในช้ันเรียนท้ัง 3 รูปแบบ ได#แก การเขียนรายงานการวิจัยแบบยอหรือบทคัดยอ
การเขียนรายงานการวิจัยแบบสรุป และการเขียนรายงานการวิจัยแบบฉบับสมบูรณ4 สําหรับใช#เป+น
แนวทางให#ครูผ#ูสอนระดับชั้นประถมศึกษา หรือครูผ#ูสอนที่สนใจสามารถนําความรู#ที่ได#รับจากคูมือ
นิเทศไปใช#พัฒนาตนเอง พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช#การวิจัยในช้ันเรียนเป+นฐาน
สงผลให#สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได#อยางหลากหลายและมีประสิทธิภาพสงผลให#ผ#ูเรียน
เรยี นรูไ# ดอ# ยางมคี วามสขุ

การจดั ทาํ คมู ือนิเทศเรือ่ ง การวิจยั ในชน้ั เรยี น มีวัตถุประสงค4สําคญั ดังน้ี
1. เพ่ือให#ครูผู#สอนระดับช้ันประถมศึกษาได#มีเอกสารไว#ศึกษาเนื้อหาถึงหลักการวิจัยใน
ชนั้ เรียนที่ถูกตอ# งได#
2. เพื่อให#ครูผู#สอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถนําความรู#ที่ได#รับจากการศึกษาด#วยตนเอง
และจากการนิเทศติดตาม ไปใช#ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช#การวิจัยในช้ันเรียน
เปน+ ฐานได#
3. เพื่อให#ครูผ#ูสอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความร#ูท่ีได#รับจากการศึกษาเน้ือหา
ด#วยตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปผลิตงานวิจัยในชั้นเรียนท่ีมีคุณภาพ ถูกต#องตามหลักวิชา
และสามารถแลกเปลย่ี นเรยี นรู#ถึงองค4ความร#ูทคี่ น# พบกับคณะครูคนอ่นื ๆ ตอไปได#
เน้ือหาของคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จะประกอบด#วย
คําแนะนําการศึกษาคูมือนิเทศ วัตถุประสงค4ของการจัดทํา เน้ือหาสาระ และคําถามทบทวนความรู#
ครูผู#สอนระดับช้ันประถมศึกษาต#องศึกษาเนื้อหาด#วยตนเองทุกเลม โดยเริ่มต#นศึกษาจากคูมือการใช#
คูมือนิเทศ เพ่ือทําความเข#าใจในรายละเอียดในภาพรวมของคูมือนิเทศทั้ง 12 เลม เมื่อทําการศึกษา
คูมอื การใชค# มู ือนิเทศจนมีความเขา# ใจดีแลว# ครูผ#ูสอนระดบั ช้นั ประถมศึกษาสามารถที่จะศึกษาเนื้อหา
ในเลมใดกอนหรือหลังก็ได#ตามความต#องการของตนเอง เนื่องจากคูมือนิเทศแตละเลมนั้นมีเนื้อหา
สาระที่จบสมบูรณ4ภายในตัวเอง เม่ือได#ศึกษาเนื้อหาในแตละเลมเสร็จเรียบร#อยแล#ว ควรทําคําถาม
ทบทวนความรู# เพ่ือให#การศกึ ษาดว# ยตนเองได#ผลดีย่งิ ขน้ึ สามารถที่จะพัฒนาตนเองในเร่ืองการวิจัยใน
ช้ันเรียนไดเ# ตม็ ตามศักยภาพ

รชั ภูมิ สมสมยั
ศกึ ษานเิ ทศก4

4

คาํ แนะนาํ การศึกษา
คมู อื นเิ ทศเลมที่ 10 เรอื่ ง การเขยี นรายงานการวิจัยในช้นั เรียน

เพ่ือใหการศึกษาคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียน ไดผลเต็ม
ศกั ยภาพ ครูผูสอนระดับชัน้ ประถมศึกษาควรปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนตอไปน้ี

1. ศกึ ษาคําช้ีแจงของคูมือนิเทศเลมที่ 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อจะ
ไดเหน็ ความจําเป2นในการศึกษา และความสําคัญของเลมที่ 10 เรื่อง การเขียนรายงานการวิจัยในชั้น
เรียน ท่ีทานกําลังจะศึกษา รวมท้ังไดทราบวาเม่ือศึกษาเนื้อหาครบตามท่ีกําหนดแลว ทานจะไดรับ
การพฒั นาไปจดุ ใด

2. ศึกษาสาระสําคัญจากคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เพ่ือใหเกิดความชํานาญและมีความรูความเขาใจ ตลอดจนสามารถนําไปประยุกต7ใชใหเกิดประโยชน7
สงู สดุ ตอไป

3. ขณะศึกษาคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียน ผูศึกษาควร
บันทึกสาระสําคัญและความคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับเรื่องท่ีศึกษาไว เพื่อชวยใหการศึกษาเน้ือหาไดดี
ข้นึ และไดมีโอกาสคดิ วเิ คราะห7 และพฒั นาการเรยี นรดู วยตนเอง

4. ทําคําถามทบทวนความรูหลังศึกษาเนื้อหาดวยตนเอง แลวตรวจคําตอบของตนเองจาก
แนวทางการตอบคําถาม โดยกําหนดเกณฑ7การผานรอยละ 80 ข้ึนไป (8 คะแนนข้ึนไปจากคะแนน
เต็ม 10 คะแนน) เพื่อจะไดทราบวาตนเองมีความรู ความสามารถผานเกณฑ7ท่ีกําหนดไว หรือไม
ถาสวนใดยังไมเขาใจใหทบทวนใหมเฉพาะสวนนั้นใหเขาใจ

5

วัตถปุ ระสงคของการจดั ทาํ
คมู ือนเิ ทศเลมท่ี 10 เรอ่ื ง การเขยี นรายงานการวจิ ัยในชั้นเรียน

การจัดทําคูมือนิเทศเลมท่ี 10 เร่ือง การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนมีวัตถุประสงค&
สาํ คัญดังนี้

1. เพือ่ ใหค+ รูผ+ูสอนระดับชั้นประถมศึกษาได+มีเอกสารอานเพิ่มเติมไว+ศึกษาเนื้อหาถึงหลักการ
วจิ ัยในชัน้ เรียนทถ่ี กู ตอ+ งได+

2. เพ่อื ใหค+ รผู สู+ อนระดบั ชั้นประถมศึกษามีความร+ู ความเข+าใจในหลักการและความรู+พื้นฐาน
ในเรอื่ งการวจิ ัยในช้นั เรียนกบั วชิ าชีพครู

3. เพื่อใหค+ รูผู+สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความร+ูที่ได+รับจากการศึกษาเน้ือหาด+วย
ตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปใช+ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช+การวิจัยใน
ชน้ั เรียนเป7นฐานได+

4. เพ่ือใหค+ รูผู+สอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถนําความร+ูท่ีได+รับจากการศึกษาเน้ือหาด+วย
ตนเอง และจากการนเิ ทศติดตาม ไปผลติ งานวิจัยในชัน้ เรยี นทม่ี คี ณุ ภาพ ถูกตอ+ งตามหลักวิชาได+

5. เพ่ือให+ครูผ+ูสอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู+ถึงองค&ความร+ูท่ีค+นพบ
จากการทาํ วจิ ัยในชั้นเรียนกบั คณะครคู นอืน่ ๆ ตอไปได+

6

โครงสราง
คมู ือนเิ ทศเลมที่ 10 เรือ่ ง การเขยี นรายงานการวจิ ัยในชน้ั เรียน

ในการจัดทําคูมือนิเทศเลมที่ 10 เรื่อง การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนครั้งน้ี
ไดด! าํ เนินการตามกรอบโครงสร!างหลกั ดงั ตอไปนี้

คาํ นาํ

คําช้แี จง

คาํ แนะนาํ การศกึ ษา
คมู อื นิเทศ เลมที่ 10

วตั ถุประสงค*ของการจัดทาํ
คูมือนิเทศ เลมที่ 10

รายละเอียดเน้อื หา
คูมือนิเทศ เลมท่ี 10

คําถามทบทวนความรู

บรรณานกุ รม









11

การเขยี นรายงานการวจิ ัยในชนั้ เรียนแบบสรปุ

การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนแบบสรุป เปนการเขียนรายงานท่ีมีรายละเอียด
มากกวา4 แบบบทคัดย4อ เรามักพบการเขียนรายงานการวิจัยแบบสรุปในวารสารทางวิชาการ เอกสาร
ประกอบการประชุมทางวชิ าการ จุลสาร และจดหมายขา4 ว เปนตน

การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนแบบสรุปส4วนใหญ4จะสรุปมาจากรายงานวิจัยในช้ัน
เรียนฉบับสมบูรณ8 โดยจะกล4าวถึงเหตุผลและความเปนมาของการวิจัยแบบย4อ ๆ วัตถุประสงค8
ขอบเขตการวจิ ัย วิธีการดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งคําตอบของงานวิจัย และผลการวิจัยที่ได ซ่ึงการ
นําเสนอรายงานการวิจัยในรูปแบบนี้ เปนการนําเสนอ ในรปู แบบที่ตองการใหผูอ4านไดเขาใจอย4างง4าย
ๆ และหากผูอา4 นสนใจในรายละเอยี ดก็สามารถไปศกึ ษาเพมิ่ เตมิ จากรายงานการวิจัยฉบบั สมบูรณ8

อย4างไรกต็ าม ในปจX จุบันไดมีการนาํ รปู แบบการเขยี นรายงานการวิจัยแบบสรุปมาเปนการ
เขียนรายงานวิจัยในช้ันเรียนรูปแบบหนึ่งเพ่ือใหง4ายต4อการเขียน ไม4ย4ุงยากเกินไป และง4ายต4อการทํา
ความเขาใจ โดยบางทีอาจเรยี กการเขียนรายงานการวิจยั แบบนว้ี า4 “การวจิ ยั หนาเดยี ว”

12

ตวั อยางการเขยี นรายงานการวจิ ยั ในช้นั เรียนแบบสรุป

ชื่อเร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร8
ผวู จิ ัย โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอร8ชว4 ยสอน
ภาณมุ าศ สุวรรณว8 งศ8

ความเปน& มาและความสาํ คัญของป+ญหา
คณิตศาสตร8มีบทบาทสําคัญยิ่งต4อการพัฒนาความคิดของมนุษย8 ทําใหมนุษย8มีความคิด

สรางสรรค8 คิดอย4างมีเหตุผล เปนระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห8ปXญหาและ
สถานการณไ8 ดอย4างถถ่ี วนรอบคอบ ทําใหสามารถคาดการณ8 วางแผนตัดสินใจ และแกปXญหาไดอย4าง
ถกู ตองและเหมาะสม คณติ ศาสตร8เปนเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร8และเทคโนโลยี ตลอดจน
ศาสตร8อ่นื ๆ ทีเ่ ก่ยี วของ คณิตศาสตร8จึงมีประโยชน8ต4อการดํารงชีวิตและช4วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให
ดีข้ึน นอกจากนี้คณิตศาสตร8ยังช4วยพัฒนาคนใหเปนมนุษย8ท่ีสมบูรณ8มีความสมดุลทั้งทางร4างกาย
จิตใจ สตปิ Xญญาและอารมณ8 สามารถคดิ เปน ทําเปน แกปXญหาเปนและสามารถอยู4ร4วมกับผูอื่นได
อยา4 งมคี วามสุข (กรมวชิ าการ , 2545 , หนา 1)

แตเ4 ทา4 ท่ีผ4านมาการเรยี นการสอนคณิตศาสตร8ในระดับประถมยังไม4เหมาะสม นักเรียนขาด
ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ครูยังติดอยู4กับการสอนคณิตศาสตร8แบบดั้งเดิม คือเนนการสอน
ท่ีม4ุงคําตอบมากกว4ากระบวนการเรียน โดยไม4คํานึงถึงความแตกต4างในความสามารถของนักเรียน
และขาดแคลนสื่อประเภทแบบฝ]กทักษะ (บุรินทร8 ทองแมน, 2539, หนา 2 ) จึงทําใหผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร8ของนกั เรียนยังอย4ูในระดับที่ไม4น4าพอใจ

จากรายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร8อยู4ในเกณฑ8ต่ําสุด มีคะแนนเฉล่ียอยู4
ระหวา4 ง 43-54 ต4อเนื่องกนั มาเปนเวลาหลายปC (กรมวิชาการ , 2538 , หนา 1) นักเรียนจํานวนมาก
มคี วามคิดวา4 คณติ ศาสตร8เปนวิชาท่ียาก พลกิ แพลง มีกฎระเบียบที่ตองท4องจํามาก และเปนวิชาที่ตอง
ทําแบบฝ]กหัดมาก นักเรียนจึงรูสึกกลัว ทอแท ขาดความม่ันใจในการเรียน และหากนักเรียนไดรับ
ประสบการณ8ในการเรียนคณิตศาสตร8เบ้ืองตนท่ีน4าเบ่ือหน4ายแลว ทัศนคติของนักเรียนที่มีต4อ
คณิตศาสตร8กเ็ ปนไปในทางลบมากขึ้น(วรสดุ า บุญยไวโรจน8 อางใน ดวงเดือน อ4อนน4วม, 2535, หนา
36) เน่อื งจากคณิตศาสตร8เปนวิชาที่ตองใชทักษะ เน้ือหา ส4วนใหญ4จึงเปนเรื่องเกี่ยวกับนามธรรมและ
ก่ึงนามธรรม ซ่ึงยากที่จะอธิบายและยกตัวอย4างใหนักเรียนเห็นชัดเจนได ทําใหการสอนบางคร้ังไม4
บรรลผุ ลตามจุดประสงค8 จึงส4งผลใหนักเรยี นบางคนไม4ชอบคณติ ศาสตร8 (กรมวิชาการ, 2538, หนา 1)

จากการศึกษาสภาพปXญหาการเรียนการสอนคณิตศาสตร8ของผูศึกษาดวยการสังเกต
พฤติกรรมการเรียนและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร8ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปCที่ 5
โรงเรียนบานหนองเขียว สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม4 เขต 3 ซ่ึงเปนชาวไทยภูเขาเผ4าลาห4ู
และไดสอบถามปญX หาจากครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร8ในช4วงช้ันอื่น ๆ พบว4า ปXญหาท่ีสําคัญ ประการ
หน่ึงท่ีพบมากในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร8 ท่ีส4งผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม4ดีเท4าท่ีควร
คือ ปXญหาดานการท4องสูตรคูณของนักเรียน โดยการท4องสูตรคูณของนักเรียนนั้นเปนการท4องแบบ
อ4านจากสูตรคูณสําเร็จรูปซ่ึงจัดพิมพ8ออกมา เช4น โปสเตอร8แม4สูตรคูณ หรือ แม4สูตรคูณหลังสมุด

13

เปนตน ทําใหเม่ือท4องสูตรคูณเสรจ็ แลวนักเรียนไม4สามารถจําสูตรคูณที่ท4องได ทําใหเกิดปXญหาเมื่อถึง
เวลาเรียนวิชาคณิตศาสตรโ8 ดยเฉพาะการคูณและการหาร เน่ืองจากการจําสูตรคูณน้ันมีความจําเปน
ต4อนักเรียนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร8ในระดับท่ีสูงข้ึน และยังสามารถนําไปประยุกต8ใชใน
ชีวิตประจําวันไดเช4นกัน ผูศึกษาเชื่อว4า หากผูเรียนสามารถจดจําสูตรคูณไดดีจะช4วยใหผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร8ดีข้ึน อีกท้ังผูศึกษาเช่ือว4าสิ่งท่ีเปนสื่อเราใจใหเกิดความรู ความจําและ
ความเขาใจไดดีคือ คอมพิวเตอร8ช4วยสอน ซ่ึงจะช4วยพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร8
ในระดับช้ันประถมศึกษาไดดี โดยเฉพาะนักเรียนช้ันประถมศึกษาปCที่ 5 ท่ีรับผิดชอบสอน เพราะการ
เรียนโดยวิธีน้ีจะมีขั้นตอนใหนักเรียนไดมีโอกาสฝ]กทักษะความรูพื้นฐานท่ีตนมีปXญหาก4อนที่จะเรียน
เนื้อหาใหม4 นักเรียนไดมีโอกาสสํารวจและคนพบหลักการดวยตนเอง โดยครูใชสื่อเปนสนับสนุน
กระบวนการคิดของนักเรียน กิจกรรมการเรียนมีความสอดคลองกับสภาพชีวิตประจําวันของนักเรียน
ช4วยใหเกิดการถ4ายโยงความรู ดงั นนั้ ผศู กึ ษาจงึ มคี วามสนใจท่ีจะสรางบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน
เร่ืองสูตรคูณพาเพลินน้ีเพื่อนําไปใชประโยชน8ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร8
อีกทั้งสามารถส4งเสริมใหนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและพฤติกรรมการเรียนดีขึ้น ดวยวิธี
ดังกล4าวจะเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร8ใหเหมาะสม
ย่งิ ขึ้นต4อไป

วัตถุประสงค-ของการศึกษา
1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เร่ือง สูตรคูณพา

เพลิน สาํ หรบั นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปCท่ี 5 โดยใชเกณฑ8 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร8ในเร่ือง การคูณ ของนักเรียน

ทง้ั กอ4 นและหลังเรยี นดวยบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เรือ่ ง สูตรคณู พาเพลิน
3. เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีตอ4 บทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เร่ือง สูตรคูณ

พาเพลิน

ขอบเขตการศึกษา
ขอบเขตดานเนอื้ หา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนเร่ือง สูตรคูณพาเพลิน ที่สรางดวยโปรแกรม

Authoware 7.01 เน้อื หาท่ใี ชในการศกึ ษาครัง้ น้ี ไดแก4
- แมส4 ูตรคณู พน้ื ฐานต้ังแตแ4 ม4 2 – แม4 12
- เน้ือหาการคณู เลข 2 หลัก และ 3 หลกั ทัง้ ทมี่ ตี วั ทดและไม4มตี วั ทด

ขอบเขตดานประชากร
ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปCที่ 5 ท้ัง 2 หองเรียน
ประจําปCการศึกษา 2550 โรงเรียนบานหนองเขียว สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเชียงใหม4เขต 3
จาํ นวน 60 คน

14

ขอบเขตดานตัวแปร
ตวั แปรอสิ ระ คือ 1. บทเรยี นคอมพวิ เตอรช8 4วยสอน เร่ือง สตู รคูณพาเพลิน

2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณติ ศาสตรเ8 ร่อื ง
การคณู

3. แบบวัดความพงึ พอใจของนกั เรียน
ตวั แปรตาม คือ 1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนคณติ ศาสตร8

2. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8
ช4วยสอน เรือ่ ง สตู รคณู พาเพลนิ

สมมติฐานการศึกษา
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร8เรื่อง การคูณ ของนักเรียนสูงขึ้นภายหลังเรียนดวย

บทเรียนคอมพวิ เตอร8ชว4 ยสอน เรื่อง สูตรคณู พาเพลนิ
2. นักเรยี นมคี วามพึงพอใจทีด่ ตี 4อบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เรื่อง สตู รคูณพาเพลนิ

นิยามศพั ท-เฉพาะ
บทเรียนคอมพิวเตอร-ชวยสอน เรื่อง สูตรคูณพาเพลิน หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร8

แบบเรียนดวยตนเองท่ีผูศึกษาพัฒนาขึ้นในกลุ4มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร8 ซึ่งสรางดวยโปรแกรม
Authoware 7.01 ภายในประกอบดวยเนื้อหาแม4สูตรคูณพ้ืนฐานตั้งแต4แม4 2 ถึง แม4 12 และ
แบบฝก] หัดทายบทเรยี นแต4ละบทเรียน แบบทดสอบก4อนเรยี น และแบบทดสอบหลังเรียน

ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร-ชวยสอน หมายถึง ความสามารถของบทเรียน
คอมพิวเตอร8ช4วยสอนท่ีช4วยใหครูหรือนักเรียนใชเรียนและทําแบบฝ]กระหว4างเรียนและหลังเรียนได
ผ4านเกณฑ8มาตรฐาน 80/80

เกณฑ- 80/80 หมายถึง เกณฑ8ที่ผูศึกษาใชเปนมาตรฐานในการพิจารณาหาประสิทธิภาพ
ของคอมพิวเตอร8ชว4 ยสอน เรอื่ ง สตู รคณู พาเพลนิ โดย

80 ตวั แรก หมายถึง คา4 รอยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหมดในกล4ุมตัวอย4างที่
ไดจากการทําแบบฝ]กหัดและกิจกรรมระหว4างเรียนดวยคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เรื่อง สูตรคูณ
พาเพลิน

80 ตวั หลงั หมายถึง ค4ารอยละ 80 ของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนท้ังหมดในกลุ4มตัวอย4างที่
ไดจากการทาํ แบบทดสอบหลังเรยี นดวยคอมพิวเตอร8ชว4 ยสอน เร่ือง สูตรคูณพาเพลนิ

การคูณ หมายถึง การคูณเลข 2 หลักและ 3 หลัก โดยท่ีตัวตั้งเปนเลขไม4เกิน 3 หลัก และ
ตวั คณู เปนเลขไม4เกนิ 2 หลัก ซง่ึ เปนการคณู ทั้งทแี่ บบมีตัวทดและไม4มีตัวทด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร- หมายถึง ความสามารถในการเรียนรูเน้ือหา
คณิตศาสตร8ในเร่ืองการคูณของนักเรียน โดยวัดจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วชิ าคณิตศาสตรก8 4อนเรยี นและหลงั เรยี นท่ีผศู กึ ษาสรางข้ึน

15

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตร- หมายถึง แบบทดสอบท่ีผูศึกษาสราง
ขึ้นเพอื่ วัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นคณติ ศาสตรเ8 รอื่ ง การคูณ มีลกั ษณะเปนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ
มี 4 ตัวเลอื ก จํานวน 30 ขอ จํานวน 1 ฉบบั

ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรูสึกของนักเรียนที่มีต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8
ช4วยสอน เรื่อง สูตรคูณพาเพลิน ซึ่งเกิดข้ึนเม่ือนักเรียนมีความชอบ ไม4เกิดความเครียด ไดรูเห็นและ
เต็มใจ โดยประเมินจากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

แบบวัดความพึงพอใจ หมายถึง แบบทดสอบแบบมาตราส4วนประมาณค4า 5 ระดับที่
ผูศึกษาสรางขึ้นเพื่อวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เรื่อง
สตู รคณู พาเพลนิ

นักเรียน หรือ ผูเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปCที่ 5 ปCการศึกษา 2550
โรงเรียนบานหนองเขียว ตําบลเมืองนะ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม4 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาเชียงใหม4เขต 3

ประโยชน-ทไ่ี ดรบั จากการศกึ ษา
1. ไดบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เร่ือง สูตรคูณพาเพลิน ช4วยในการสอน

วิชาคณติ ศาสตร8ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปทC ่ี 5
2. ไดแนวทางในการประยุกตใ8 ชสรางบทเรยี นคอมพิวเตอร8ชว4 ยสอนในรายวชิ าอื่นๆ
3. เปนตนแบบใหครูผูสอนวิชาคณิตศาสตร8นําไปปรับปรุงเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

วิชาคณิตศาสตรใ8 หเหมาะสมย่งิ ขึ้น
4. ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร8สูงขึ้น ตามมาตรฐานที่กําหนดใน

หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กล4มุ สาระวิชาคณิตศาสตร8ชว4 งชนั้ ที่ 2 ชน้ั ประถมศึกษาปCท่ี 5

วธิ ดี ําเนินการวิจัย
กลุมเปา? หมาย

กลุ4มตัวอย4างท่ีใชในการศึกษาครั้งน้ีคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปCที่ 5/1 โรงเรียน
บานหนองเขียว สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเชียงใหม4เขต 3 ปCการศึกษา 2550 จํานวน 30 คน
ซงึ่ ไดมาจากวิธีสมุ4 อยา4 งง4าย (Simple Random Sampling)

เคร่ืองมือทีใ่ ชในการศึกษา
เครอื่ งมอื ทใ่ี ชในการศกึ ษาคร้ังนี้ ประกอบดวย
1. แผนการจัดการเรียนรูกล4ุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร8ช้ันประถมศึกษาปCท่ี 5 เร่ือง

การคณู จาํ นวน 11 แผน จาํ นวน 22 ชวั่ โมง
2. บทเรียนคอมพิวเตอรช8 ว4 ยสอน เรอื่ ง สูตรคูณพาเพลิน
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร8 เปนแบบทดสอบที่ใชวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนคณิตศาสตร8 เร่ืองการคูณ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปCท่ี 5 ซึ่งใชสําหรับทดสอบ

16

นักเรียนก4อนและหลังใชบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน เปนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จํานวน 30 ขอ จํานวน 1 ฉบบั

4. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอน มีลักษณะเปน
แบบมาตราส4วนประมาณค4า 5 ระดบั จํานวน 10 ขอ

วธิ ดี าํ เนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอมลู

ในการทดลองคร้ังน้ีไดทําการทดลองในเวลาเรียนปกติ โดยใชเวลาทําการทดลองรวมทั้ง

ส้ิน 4 สัปดาห8 วนั ละ 3 ช่ัวโมง โดยมขี น้ั ตอนในการทดลอง ดังนี้

1. อบรมขั้นตอนในการใชคอมพิวเตอร8อย4างง4าย ๆ โดยเฉพาะการใชเมาส8และ

แปnนพมิ พ8 ดวยโปรแกรม Autoware Professional 7.01 ซึง่ ผศู ึกษาไดสรางขน้ึ เอง โดยใหนักเรียนทุก

คนเขารับการอบรมพรอมกัน โดยนักเรียนจะใชคอมพิวเตอร8คนละ 1 เครื่อง หลังจากน้ันใหนักเรียน

ทาํ แบบทดสอบก4อนเรยี นจํานวน 30 ขอ

2. ใหนักเรยี นศึกษาบทเรยี นคอมพิวเตอร8ช4วยสอน โดยศึกษาตามคําช้ีแจงในบทเรียนมี

ขั้นตอนดงั นี้

2.1 ศึกษาวธิ ีการเรยี นจากคาํ แนะนําการใชบทเรยี นคอมพวิ เตอรช8 4วยสอน

2.2 ศึกษาบทเรยี น ซ่ึงมี 11 หน4วยการเรียน คือ

หน4วยการเรยี นที่ 1 สูตรคณู แม4 2 จํานวน 2 ชวั่ โมง

หน4วยการเรยี นท่ี 2 สูตรคูณแม4 3 จาํ นวน 2 ช่ัวโมง

หน4วยการเรยี นท่ี 3 สูตรคูณแม4 4 จํานวน 2 ชั่วโมง

หน4วยการเรียนท่ี 4 สตู รคณู แม4 5 จํานวน 2 ช่ัวโมง

หนว4 ยการเรยี นท่ี 5 สูตรคณู แม4 6 จาํ นวน 2 ช่วั โมง

หนว4 ยการเรยี นท่ี 6 สตู รคณู แม4 7 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง

หน4วยการเรยี นที่ 7 สตู รคูณแม4 8 จาํ นวน 2 ชวั่ โมง

หน4วยการเรยี นที่ 8 สตู รคณู แม4 9 จาํ นวน 2 ชั่วโมง

หน4วยการเรียนที่ 9 สูตรคูณแม4 10 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง

หนว4 ยการเรยี นท่ี 10 สูตรคณู แม4 11 จํานวน 2 ชว่ั โมง

หนว4 ยการเรียนท่ี 11 สตู รคูณแม4 12 จํานวน 2 ชั่วโมง

ในแต4ละหน4วยการเรียนมีแบบฝ]กหัดใหทําระหว4างเรียน นักเรียนตองทําแบบฝ]กหัดใหได

คะแนน 80% ขึ้นไป จึงผ4านไปเรียนหน4วยการเรียนต4อไปได แต4ถาไม4ผ4านเกณฑ8นักเรียนตองกลับไป

เรียนซํ้าจนผ4าน เม่ือเรียนครบทั้ง 11 หน4วยการเรียนแลว นักเรียนตองทําแบบทดสอบหลังเรียนอีก

คร้ังหนึ่ง ถานักเรียนทําแบบทดสอบผ4านเกณฑ8 80% จึงออกจากบทเรียนได แต4ถาไม4ผ4านตองกลับไป

เรียนในหน4วยการเรยี นท่ไี มเ4 ขาใจอีกครง้ั หน่ึง

3. หลังการใชบทเรยี นคอมพวิ เตอรช8 ว4 ยสอน เรือ่ ง สตู รคูณพาเพลิน เสร็จเรียบรอยแลว

ใหนกั เรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรียนและแบบวดั ความพงึ พอใจท่มี ีต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8ชว4 ยสอน

4. นําขอมูลท้ังหมดที่รวบรวมไดไปทําการวิเคราะห8หาค4าโดยการแจกแจงความถ่ี และ

คา4 รอยละ

17

การวเิ คราะห-ขอมลู และสถิติท่ีใช
ผศู ึกษาวเิ คราะห8ขอมลู ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร8สําเร็จรูป โดยมีสถิติท่ีใชในการศึกษาคร้ัง

น้คี ือ รอยละ ค4าเฉลี่ย และสว4 นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาสรุปไดดงั นี้
1. ประสทิ ธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนเรื่อง สูตรคูณพาเพลินสําหรับนักเรียน

ชน้ั ประถมศึกษาปทC ี่ 5 มคี 4าเท4ากับ 85.98/89.90
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร8 สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปCที่ 5

จากท่ีไดรับการสอนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนเร่ือง สูตรคูณพาเพลินมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนสูงขน้ึ อยา4 งมนี ัยสําคัญทางสถติ ิที่ระดับ .01

3. นักเรียนมีความพึงพอใจต4อบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนเร่ือง สูตรคูณพาเพลิน
ในภาพรวมอย4ใู นระดับ ดี

ขอเสนอแนะสาํ หรับการศกึ ษาคนควาตอไป
1. ควรมกี ารสรางบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนซ4อมเสริมในเน้ือหาวิชาคณิตศาสตร8อ่ืน

ต4อไป เพ่ือใหนักเรียนมีแหล4งการเรียนรูท่ีเพิ่มขึ้นและนักเรียนสามารถนําบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วย
สอนไปศึกษาดวยตนเองไดตามความสะดวกในเรอื่ งเวลาและสถานที่

2. เมอื่ สรางบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนเสร็จเรียบรอยแลว ควรพิจารณานําบทเรียน
ดังกลา4 วไปเผยแพรผ4 า4 นอนิ เทอรเ8 น็ต เพอ่ื ใหครูคณิตศาสตรแ8 ละผูสนใจไดนําบทเรียนดังกล4าวไปพัฒนา
กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร8ใหดียิ่งข้ึน หรือถาสามารถทําไดอาจใหนักเรียนสามารถ
ศกึ ษาบทเรยี นดงั กลา4 วผา4 นทางอินเทอร8เนต็ ไดโดยตรง

3. ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร8ช4วยสอนคร้ังต4อไปควรพิจารณารูปแบบของ
การทดสอบอย4างอื่นดวย เช4น แบบเติมคํา แบบจับคู4หรือแบบถูกผิด เพ่ือใหมีวิธีการวัดผลและ
ประเมินทหี่ ลากหลาย แต4ทั้งนี้ควรจะพจิ ารณาขอจํากดั ของโปรแกรมท่ใี ชในการสรางบทเรยี นดวย

4. โปรแกรมคอมพิวเตอร8ช4วยสอน น4าจะไดรับการพัฒนาและปรับใช ในสาระวิชา
อื่นๆ ไดดวยอันอาจทําใหผูเรียนมีความสนใจ ความรูความสามารถและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
เปนไปตามวัตถปุ ระสงค8ท่ีกําหนดในหลักสูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานอยา4 งมคี ุณภาพ

18

ตวั อยางการเขยี นรายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี นแบบสมบูรณ-

การเขียนรายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรียนแบบฉบับสมบูรณ8 เปนการเขียนรายงานอย4างละเอียด
โดยทวั่ ไปจะยดึ ตามหลักสากลวา4 ควรประกอบดวยหวั ขออะไรบาง แตถ4 าเปนวิทยานิพนธ8 หรืองานการ
คนควาอิสระ ผวู จิ ยั จะตองยดึ ระเบยี บการเขียนของสถาบันนั้น ๆ เพื่อใหการเขียนมีรูปแบบตามที่แต4
ละสถาบนั กาํ หนดไวเปนหลัก

ตามหลักสากลส4วนประกอบของรายงานการวิจัยแบบฉบับสมบูรณ8 มักจะประกอบดวย
ส4วนสําคัญ 3 สว4 น ดงั น้ี

1. สวนนาํ ประกอบดวย
1.1 ปกนอก
1.2 ปกใน
1.3 หนาอนมุ ตั ิ
1.4 คํานํา/กติ ติกรรมประกาศ
1.5 บทคดั ย4อ
1.6 สารบญั สารบัญตาราง และสารบญั ภาพประกอบ
1.7 อกั ษรยอ4 และสัญลักษณ8

2. สวนเนอื้ ความ
2.1 บทท่ี 1 บทนํา
1. ความเปนมาและความสําคญั ของปXญหา
2. วัตถุประสงค8/ความมงุ4 หมายในการวิจยั
3. ขอบเขตของการวจิ ัย
4. ขอตกลงเบอ้ื งตน (ถามี)
5. สมมตฐิ าน (ถามี)
6. นิยามศพั ท8เฉพาะ
7. ประโยชน8ทไ่ี ดรับจากการวิจัย
2.2 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วของ
2.3 บทที่ 3 วธิ ดี ําเนินการวจิ ยั
1. ประชากรและกล4ุมตวั อยา4 ง/ แหลง4 ขอมูล
2. เครอ่ื งมอื ในการวิจยั
3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล
4. การวิเคราะห8ขอมลู และสถิติที่ใช
2.4 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห8ขอมลู
2.5 บทท่ี 5 บทสรุป
1. สรปุ ผลการวจิ ยั
2. อภิปรายผล
3. ขอเสนอแนะ

19

3. สวนประกอบตอนทาย
3.1 บรรณานกุ รม/ เอกสารอางองิ
3.2 ภาคผนวก
3.3 ประวัตผิ วู ิจัย

รายละเอียดการเขียนในหัวขอตา4 ง ๆ ขางตน เปนดังน้ี

สวนนํา
สว4 นนาํ เปนสว4 นทใ่ี หรายละเอียดกอ4 นทจ่ี ะเขาส4สู 4วนของเนอ้ื ความ ซึ่งประกอบดวย
1. ปกนอก เปนส4วนแสดงรายละเอียดของช่ือเรื่องงานวิจัย ช่ือผูวิจัย สถานที่ทํา

วิจัย และปCท่ที าํ วิจัย
2. ปกใน แสดงรายละเอยี ดเหมอื นกบั ปกนอกทกุ ประการ
3. หนาอนุมัติ (เฉพาะวิทยานิพนธ8/ การคนควาอิสระ) เปนส4วนแสดงรายละเอียด

เกี่ยวกับการอนุมัติใหงานวิจัยท่ีเปนวิทยานิพนธ8/ การคนควาอิสระเปนส4วนหนึ่งของหลักสูตร ใน
หนานี้จะมีคณะกรรมการควบคุมการทําวิทยานิพนธ8/ การคนควาอิสระ และคณะกรรมการสอบ
ปรากฏชอ่ื พรอมลายเซน็

4. คํานํา หรือกิตติกรรมประกาศ เปนส4วนแสดงรายละเอียดเก่ียวกับการขอบคุณผู
ที่มีส4วนช4วยเหลือในการทําวิทยานิพนธ8/ การคนควาอิสระ โดยทั่วไปการเขียนคํานํา หรือ
กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยควรขอบคุณผูที่มีส4วนช4วยเหลือในการทําวิจัยตามลําดับความสําคัญจาก
มากไปนอย

5. บทคัดยอ เปนส4วนแสดงรายละเอยี ดเก่ยี วกบั ชอ่ื เรอ่ื ง ช่ือผวู จิ ัย ชอื่ ท่ีปรึกษา (ถา
มี) แหล4งทุน (ถามี) วัตถุประสงค8การวิจัย วิธีดําเนินการวิจัยแบบย4อ และผลของการวิจัยซ่ึงส4วน
ใหญ4จะเขียนประมาณ 1 – 2 หนา

6. สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบ เปนส4วนแสดงรายละเอียด
ของหัวขอเน้ือหา ตาราง และภาพประกอบ พรอมกับมีการระบุหมายเลขหนาที่มีหัวเรื่อง ตาราง
และภาพประกอบเหล4าน้ีปรากฏอยู4

7. อักษรยอและสัญลักษณ- เปนส4วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอักษรย4อและ
สัญลักษณต8 4าง ๆ ทีใ่ ชในการวจิ ัย อยา4 งไรก็ตาม หากอักษรย4อและสัญลักษณ8ที่ใชในการวิจัยเหล4าน้ีไม4
ปรากฏในส4วนบทท่ี 1 (บทนํา) บทที่ 2 (เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ) และบทท่ี 3
(วิธีดําเนินการ) ผูวิจัยอาจนําอักษรย4อและสัญลักษณ8ที่ช4วยในการแปลผลการวิจัยไปไวในบทท่ี 4
ก4อนแสดงเนื้อหาผลการวเิ คราะห8ขอมูลก็ได

20

สวนเนื้อความ
ส4วนเนือ้ ความเปนสว4 นสําคญั ทใ่ี หรายละเอียดเกี่ยวกับการทําวิจัยทั้งหมดโดยส4วนใหญ4

งานวจิ ัยจะแบง4 เปน 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนาํ
บทนํา จะแสดงรายละเอยี ดตามหัวขอต4าง ๆ ดังน้ี
1. ความเป&นมาและความสําคัญของป+ญหา เปนส4วนท่ีแสดงตนตอของปXญหาใน

การวิจัยว4าเกิดจากอะไร โดยอาจจะเขยี นจากมุมกวางไปส4ูมมุ ท่แี คบลง เขยี นอย4างสมเหตุสมผล และ
สาํ คัญท่สี ุด ควรใชภาษาทเี่ ขาใจง4าย

2. วัตถุประสงค- หรือความมุงหมายของการวิจัย เปนส4วนที่บอกวัตถุประสงค8ว4า
งานวจิ ัยเร่อื งน้ตี องการศึกษาอะไร

3. ขอบเขตของการวิจัย เปนส4วนแสดงขอบเขตของประชากร และขอบเขตของ
เนื้อหาหรือตัวแปรท่เี ราสนใจศกึ ษา

4. ขอตกลงเบื้องตน (ถามี) เปนส4วนท่ีแสดงความเชื่อ แนวคิด และทฤษฎีท่ีนํามาใช
ในการทําวจิ ยั ครั้งน้ี

5. สมมติฐาน (ถามี) เปนส4วนที่แสดงว4า ก4อนลงมือปฏิบัติการวิจัยน้ัน ผูวิจัยไดคาด
เดาคําตอบการวิจัยไวว4าอย4างไร ถางานวิจัยเปนงานเชิงเปรียบเทียบ เชิงหาความสัมพันธ8/ สาเหตุ
จําเปนที่ผูวิจัยจะตองกําหนดสมมติฐานไวล4วงหนา แต4หากเปนงานวิจัยเชิงสํารวจผูวิจัย ก็ไม4
จําเปนตองใส4สมมตฐิ าน

6. นิยามศัพท-เฉพาะ เปนส4วนท่ีแสดงการอธิบายศัพท8บางคําท่ีใชกับงานวิจัยเร่ืองนี้
โดยท่วั ไปจะเปนศพั ทเ8 ฉพาะสาขาวชิ าท่ีผอู ่นื ไม4ค4อยรูจกั หรือเปนศัพท8ที่ใชเฉพาะในการวจิ ยั เร่อื งนี้

7. ประโยชนท- ไ่ี ดรับจากการวิจัย เปนส4วนที่แสดงประโยชน8ท่ีไดจากงานวิจัย เรื่อง
น้ี ประโยชน8ท่ีไดรับจากการวิจัย แบ4งเปน 2 ส4วน คือ ประโยชน8ในเชิงวิชาการ คือ ประโยชน8ที่ได
คนพบจากการทําวิจัยเรื่องนี้ ซึ่งสามารถดูไดจากวัตถุประสงค8ของงานวิจัยว4า เราไดองค8ความรู
อะไรบาง และประโยชน8ในการนําไปใช คือ ประโยชน8สําหรับผูที่เกี่ยวของว4าจะนําผลการวิจัยไปใช
ในดานใดบาง

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวของ
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนส4วนท่ีแสดงรายละเอียดเก่ียวกับแนวคิดและ
ทฤษฎีในเน้ือหาต4าง ๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเรื่องนี้ ส4วนใหญ4ในการเขียนจะเขียนส4วนท่ีเปนแนวคิด
และทฤษฎีกอ4 น แลวจงึ ตามดวยสว4 นท่เี ปนงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วของกบั การทําวิจัยเรอ่ื งน้ี
อย4างไรก็ตาม การเขียนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ หัวขอต4าง ๆ ที่กําหนดไวตอง
สัมพันธ8กับงานวิจัย ผูวิจัยควรเขียนในแนวการวิเคราะห8สังเคราะห8โดยในการเขียนตองมีการอางอิง
แหลง4 ท่มี าและเขยี นการอางองิ ทถ่ี กู ตองตามหลักการเขียนการอางองิ และควรใชภาษาทีเ่ ขาใจง4าย ๆ

21

บทท่ี 3 วิธดี ําเนนิ การวจิ ยั
วธิ ีดําเนินการวจิ ัย เปนสว4 นทแี่ สดงรายละเอียดต4าง ๆ เก่ียวกับการดําเนินการวิจัยตาม
หวั ขอตอ4 ไปนี้
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง/ แหลงขอมูล เปนส4วนแสดงรายละเอียดว4า
ประชากรทใี่ ชในการวจิ ัยคร้ังนี้หมายถงึ ใครบาง ขอบเขตถงึ ไหน หากมีการใชกลุ4มตัวอย4างตองแสดงว4า
ไดกลุ4มตัวอย4างมาโดยการสุ4มแบบใด และมีจํานวนหน4วยตัวอย4างเท4าไร และตองพิจารณาว4ากลุ4ม
ตวั อยา4 งท่ใี ชสามารถใหขอมูลตามตัวแปร หรอื วตั ถุประสงคท8 ่สี นใจศกึ ษาครบท้ังหมดหรือยัง
2. เคร่ืองมือในการวิจัย เปนส4วนแสดงรายละเอียดว4ามีเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยกี่
ชนิด แต4ละชนิดมีลักษณะเปนอย4างไร มีวิธีการดําเนินการสรางอย4างไร มีการหาคุณภาพและไดผล
เปนอย4างไร
อยา4 งไรก็ตาม เครือ่ งมือในการวจิ ยั ผูวจิ ยั อาจใชวิธียืมจากงานวิจัยอ่ืนที่มีการสรางและ
มีคุณภาพมาใชในงานวิจยั ได โดยอาจมีการหาคณุ ภาพซ้ําอีกครั้งกอ4 นนาํ ไปรวบรวมขอมลู จริงต4อไป
3. การเก็บรวบรวมขอมูล เปนส4วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการรวบรวมขอมูลว4า
ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลในแต4ละขั้นตอนอย4างไร ในแต4ละข้ันตอนใชเครื่องมือชุดไหนในการเก็บ
รวบรวมขอมูล และใครเปนผูเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งการรวบรวมขอมูลตองครอบคลุมวัตถุประสงค8ท่ี
ตองการศกึ ษาท้งั หมดดวย
4. การวิเคราะห-ขอมลู และสถิตทิ ใ่ี ช เปนสว4 นแสดงรายละเอยี ดเก่ียวกับการวิเคราะห8
ขอมูลทั้งหมดในการทําวิจัยเร่ืองน้ี ผูวิจัยอาจแบ4งการวิเคราะห8ขอมูลและสถิติที่ใชเปน 2 ส4วน คือ
การวิเคราะหข8 อมูลและสถิตทิ ใี่ ชในการวเิ คราะหค8 ุณภาพเครอื่ งมอื และการวิเคราะห8ขอมูลและสถิติท่ี
ใชในการวเิ คราะหผ8 ลการวิจยั
อย4างไรก็ตาม งานวิจัยบางเร่ืองอาจมีเกณฑ8ในการแปลผลการวิเคราะห8 ผูวิจัย
สามารถเขียนตอ4 ทายจากหวั ขอการวเิ คราะห8ขอมลู และสถิตทิ ่ใี ชไดเลย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข- อมูล
ในบทท่ี 4 จะเปนการแสดงรายละเอียดการวิเคราะห8ขอมูลในการวิจัยตาม
วัตถุประสงค8ของการวิจัยที่ต้ังไว การนําเสนอผลการวิเคราะห8ขอมูลจะเขียนตามลําดับวัตถุประสงค8
ในการวิจัย
ในการนําเสนอผลการวิเคราะห8ขอมูล อาจนําเสนอในรูปขอความ ขอความก่ึงตาราง
หรือตาราง หรือรูปภาพก็ไดตามความเหมาะสม อย4างไรก็ตามในการนําเสนอผลการวิเคราะห8ขอมูล
ผูวิจัยจะตองนําเสนอผลการวิเคราะห8ไปตามความจริง การแปลผลควรแปลผลเฉพาะประเด็นสําคัญ
ไม4เขียนวกวนซ้ําซอน ตองระมัดระวังการคัดลอกตัวเลขและการแปลความ และที่สําคัญหามนําความ
คิดเหน็ ของผูวิจยั เขาไปอธิบายประกอบ
บางคร้ังในการวิเคราะห8ขอมูลอาจมีอักษรย4อและสัญลักษณ8จํานวนมาก ผูวิจัยอาจ
นําเสนออักษรย4อและสญั ลักษณ8กอ4 นท่ีจะนาํ เขาส4กู ารนาํ เสนอผลการวเิ คราะห8ขอมูลกไ็ ด

22

บทที่ 5 บทสรุป
บทสรุป เปนส4วนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับบทสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และ
ขอเสนอแนะ ซ่งึ เปนบทสดุ ทายในสว4 นของเนื้อความ รายละเอียดของบทนี้ ประกอบดวย
1. สรปุ ผลการวจิ ยั เปนสว4 นแสดงบทสรปุ ความสําคัญจากงานวิจัย โดยส4วนใหญ4จะ
แสดงวัตถุประสงค8งานวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย และผลการวิจัยที่คนพบ ในหัวขอน้ีจะเปนการเขียน
ดวยภาษาที่เขาใจง4าย ไม4นําเสนอตัวเลขทางสถิติท่ีซับซอน โดยถือว4าเปนสรุปสาระสําคัญของการทํา
วจิ ยั เร่อื งนัน้ จริง ๆ
2. อภิปรายผล เปนส4วนแสดงการใหเหตุผลว4าทําไมงานวิจัยจึงไดผลเช4นนั้น
ขอคนพบเปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไวหรือไม4 ในการอภิปราย ผูวิจัยควรอภิปรายผลการวิจัยโดย
อาศัยแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยต4าง ๆ ท่ีไดสรุปไวในบทท่ี 2 ว4าผลการวิจัยมีความเหมือนความ
ต4างจากงานวิจัย หรือจากแนวคิดทฤษฎีของผูอ่ืนที่ไดสรุปไวในบทท่ี 2 อย4างไร ในการอภิปรายผล
ผูวจิ ยั สามารถใชความคิดเหน็ สว4 นตัวประกอบได
3. ขอเสนอแนะ เปนสว4 นของการนาํ เสนอความคิดเหน็ ของผูวจิ ัยใหผอู 4านทราบ
ว4าเมื่อนํางานวิจัยเรื่องนี้ไปใช ผูวิจัยจะมีขอเสนอแนะอะไรบาง และหากจะวิจัยในคร้ังต4อไปผูวิจัยจะ
เสนอแง4มุมใหนักวิจัยคนอื่นอย4างไร โดยทั่วไปหัวขอของขอเสนอแนะจะแบ4งเปน 2 หัวขอ คือ (ก)
ขอเสนอแนะสําหรับการนาํ ผลการวจิ ยั ไปใช และ (ข) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต4อไป

สวนประกอบตอนทาย
ส4วนประกอบตอนทาย เปนส4วนอางอิงและสนับสนุนเพื่อใหงานวิจัยเร่ืองนี้ใหมีความ

นา4 เช่ือถือ มีรายละเอยี ดตามหวั ขอต4าง ๆ ดงั นี้
1, บรรณานุกรม/ เอกสารอางอิง เปนส4วนแสดงรายชื่อส่ิงพิมพ8 สื่อต4าง ๆ ที่ผูวิจัย

ใชเปนหลักฐานอางอิงในงานวิจัยทั้งเล4ม การเขียนควรแยกรายชื่อหนังสือเปนกลุ4มภาษาไทย และ
ตามดวยรายชือ่ หนงั สอื ภาษาองั กฤษ

รปู แบบการเขยี นเปนดังน้ี
1.ถาเปนบทความ ตามหลักสากลจะตองประกอบดวย ช่ือผูเขียน ช่ือบทความ
ช่ือวารสาร ปCท่ีพิมพ8 ประจาํ เดือน ปC และเลขหนาซึ่งปรากฏบทความ ตัวอยา4 ง เช4น

เกยี รตสิ ดุ า ศรสี ขุ . “เทคนคิ การวเิ คราะห8ขอมูลง4าย ๆ ดวยโปรแกรม SPSS” ศึกษาศาสตรสาร.
ปCท่ี 31 (มกราคม-มถิ นุ ายน) 2547 หนา 42-50.

เกยี รตสิ ดุ า ศรสี ุข. “การวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พัฒนาความสามารถในการทําวิจัยของบุคลากร”
วดั ผลและวจิ ยั การศกึ ษา. ปCที่ 20 (มกราคม-ธนั วาคม) 2548 หนา 21-28.

23

2.ถาเปนหนังสือจะตองประกอบดวย ชื่อผูเขียน ปCที่พิมพ8 ช่ือหนังสือ สถานท่ีพิมพ8
และสาํ นกั พิมพ8 ตวั อยา4 ง เชน4

เกียรติสุดา ศรีสุข. (2547). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชา 055771 : การวิจัย
ทางศึกษาศาสตร-. เชียงใหม4 : ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตร8 มหาวิทยาลยั เชียงใหม4.

ลัดดาวัลย8 เพชรโรจน8 และอัจฉรา ชํานิประศาสน8. (2545). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพมหานคร
: บริษทั พมิ พด8 ีการพมิ พ8 จํากัด.

2.ภาคผนวก เปนส4วนท่ีไดรวบรวมหลักฐานต4าง ๆ เพื่อใหผูอ4านไดใชประโยชน8หาก
ตองการรายละเอียดเพ่ิมเติมจากส4วนเนื้อความ ตัวอย4างของเอกสารหลักฐานที่ผูวิจัยมักจะแสดงไวใน
ภาคผนวก คือ ผูเชี่ยวชาญที่ช4วยตรวจสอบเคร่ืองมือในการวิจัย หนังสือราชการที่ขออนุญาตเก็บ
รวบรวมขอมูล รายช่ือ เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ผลการวิเคราะห8คุณภาพของเคร่ืองมือ แสดงขอมูล
ดิบที่มีจํานวนไม4มากนัก สูตรและวธิ ีการคาํ นวณ เปนตน

24

นอกจากรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนแบบไม4เปนทางการแลว บัญชา
แสนทวี (2545 , หนา 159) ไดนําเสนอวิธีการเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนแบบเปนทางการ
ซง่ึ ครูผูสอนสามารถนาํ ไปใชเปนตวั อย4างสาํ หรบั การเขียนต4อไป ซงึ่ มีรายละเอยี ดดงั นี้

ประเดน็ สําคัญ สาระเนือ้ หา

หวั ขอวจิ ยั การศึกษาผลการใชวิธีการสอนเชิงบวกที่มีต4อพฤติกรรมนักเรียนในการเรียน

ภาษาต4างประเทศ

ความเปนมาของ สาํ หรับการสอนภาษาต4างประเทศใหกับนักเรียนท่ีไม4เคยใชภาษาน้ันมาก4อนวิธีการท่ี

ปญX หาวจิ ยั จะทําใหนักเรียนมีความสนุกเพลิดเพลินและเรียนไดดีควรใชวิธีการอย4างไรจึงจะ

ประสบความสําเรจ็

คําถามวิจัย 1.สไตลก8 ารสอนของครูเปนเชิงบวกหรือไม4 และช4วยกระตุนใหนักเรียนอยากเรียนต4อ

หรอื ไม4

2.นกั เรียนมีความรูเกี่ยวกับชนชาติกรกี มากนอยเท4าไร

วตั ถปุ ระสงค8ของ 1.เพ่ือศกึ ษาความสนใจในการเรยี นภาษากรีกของนกั เรยี นเมอื่ ใชการสอนเชิงบวก

การวิจัย 2.เพอ่ื ศึกษาระดับความรูของนักเรียนเก่ยี วกบั ชาติกรกี หลังการสอนเชิงบวกของครู

ตวั แปรในการวจิ ยั 1.วธิ ีการสอนเชิงบวก

2.ความสนใจในการเรยี นภาษากรีก

3.ความรูเกี่ยวกบั ชนชาตกิ รีก

ประโยชน8ที่ไดรบั ทําใหไดขอมูลเก่ียวกับผลของการใชวิธีสอนเชิงบวกท่ีมีต4อความสนใจของนักเรียนใน

จากการวิจยั การสอนภาษาตา4 งประเทศทน่ี ักเรียนไมเ4 คยใชมาก4อน อันจะเปนประโยชน8ต4อการวาง

แผนการจดั การเรียนการสอนที่เหมาะสมตอ4 ไป

วธิ ดี าํ เนินการวิจัย แบบใชกลม4ุ ทดลองเพียงกล4ุมเดียว

ประชากร (ผวู ิจัยไมไ4 ดระบุ) เปนนกั เรยี นในหองของผวู ิจยั ในโรงเรยี น

กลมุ4 ตวั อย4าง ใชประชากรท่ีเปนนักเรยี นท้งั หมดในหองเรยี นนี้

เคร่อื งมอื วจิ ัย 1.แบบสงั เกตการณส8 อนผา4 นการบนั ทกึ เทปพฤตกิ รรมการสอนในหองเรยี น

2.แบบสอบถามนักเรียน

การเก็บรวบรวม ทําการบันทึกเทปการสอนของครู แลวนํามาวิเคราะห8พฤติกรรมการสอนดวยตนเอง

ขอมูล จากนนั้ ใหเพื่อนดเู ทปการสอน แลวชว4 ยกนั วเิ คราะห8พฤติกรรมใหขอมูลปnอนกลับเพื่อ

ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการสอนของครู ทําการสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการสอนและ

ความรเู กยี่ วกบั ชนชาติกรกี กาํ หนดการทดลองประมาณ 10 สัปดาห8

การตรวจสอบ ตรวจสอบความสอดคลองของผลการวิเคราะห8พฤติกรรมการสอนโดยตัวครู (ผูวิจัย)

คุณภาพขอมลู และเพื่อนครู

การวิเคราะห8 วิเคราะหโ8 ดยใชความถี่

ขอมลู

ผลการวจิ ัย นกั เรียนมีความสนใจและกระตือรือรนจะเรียนภาษากรีก ครูมีพฤติกรรมการสอนเชิง

บวกมากข้ึน และนักเรยี นกม็ ีการวิจารณเ8 ชงิ บวกเพิ่มมากข้ึน

25

โดยทั่วไปแลวไม4ว4าจะเปนการเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียนแบบไม4เปนทางการและแบบ
เปนทางการน้ัน ครูผสู อนควรคาํ นึงถงึ หลกั การเขยี นรายงานการวิจัย ตามประเด็นตอ4 ไปน้ี

1.ถาเปนรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยที่เปนทางการ ครูตองยึดรูปแบบของการเขียน
รายงานเปนสาํ คัญ

2.คาํ นึงถึงความเปนเอกภาพของการเรียบเรียงเน้ือหาต้ังแต4ตนจนจบ ครูจําเปนตองคํานึงถึง
ความถกู ตองตามหลักวชิ าการใหเนื้อหา มคี วามสอดคลองกันโดยตลอด

3.รายงานที่เขียนตองมีความถูกตอง เท่ียงตรงตามความเปนจริง ขอมูลที่ครูนํามาเขียนตองมี
ความเชอื่ ถือได

4.ครูตองคํานึงถึงความชัดเจนของการใชภาษาที่ทําใหผูอ4านรายงานเขาใจไดง4าย เขียนอย4าง
กระชับ รัดกุม การนําเสนอขอมูลต4างๆ ตองไม4ซับซอน ถามีการนําเสนอตารางหรือกราฟควรมี
คาํ อธิบายประกอบดวย

5.รายงานที่เขียนตองแสดงใหเห็นต้ังแต4เร่ิมตนศึกษาปXญหา จนกระท่ังไดคําตอบของ
การศึกษาทีม่ ีความถกู ตองสมบูรณ8

6.หากมีการอางอิงความอางอิงถึงแหล4งขอมูลท่ีนํามาใชและควรเขียนใหถูกตองตามวิธีการ
เขยี นอางองิ

26

การใชประโยชน-จากงานวจิ ัยในชั้นเรยี น
นักวิชาการกับครูผูสอนใชประโยชน8งานวิจัยต4างกัน นักวิชาการมุ4งไดความรูจากผลงานวิจัย

ต4างๆท้ังของตนและผูอ่ืนเพ่ือประโยชน8เชิงวิชาการ แมจะมุ4งหวังการนําไปใชเชิงปฏิบัติดวยก็มักจะ
เปนจุดมุ4งหมายรองหรือจุดมุ4งหมายระยะต4อไป แต4สําหรับครูผูสอน ประโยชน8ท่ีพึงคาดหวังจากการ
วิจัยเปนไปเพื่อการใชในการสอน ซึ่งเปนประโยชน8ในระดับปฏิบัติ การมุ4งผลเชิงวิชาการเปน
ประโยชน8ในระดับรอง (ผ4องพรรณ ตรยั มงคลกลู , 2544 , หนา 234)

การใชประโยชนง- านวิจยั ของตนเอง
งานวิจัยที่ครูไดดําเนินการดวยตนเอง จะยังไม4เสร็จส้ินกระบวนการถายังไม4ไดผ4านข้ันตอน

ของการสะทอนความคิด (reflexive account) ซึ่งเปนการคิดตรึกตรองทบทวนในส่ิงต4าง ๆ
ท่ีครผู ูสอนไดดําเนนิ การตัง้ แตเ4 รมิ่ กําหนดปญX หาวิจยั

ถางานวิจัยน้ันมีการทดลองปฏิบัติตามรูปแบบของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแลว ข้ันตอนของ
การสะทอนความคิดย่ิงมีความสําคัญมากข้ึน ไม4ว4าการทดลองปฏิบัติจะไดผลดีหรือไม4ก็ตาม
การใชประโยชน8งานวิจัยของตนเอง มีขอคํานึงบางประการดังน้ี

1. กรณที ่กี ารทดลองปฏิบัติ ไดผล ครูควรไดคิดทบทวนอีกคร้ังว4าผลดีท่ีไดรับเปนไป
ตามเง่ือนไขของสภาพแวดลอมเช4นไร สภาพแวดลอมเช4นไร สภาพแวดลอมเช4นไร สภาพแวดลอม
ดังกล4าวจะจํากัดการนําผลการทดลองไปใชในสถานการณ8อื่น เวลาอ่ืน แมสําหรับนักเรียนระดับช้ัน
เดียวกัน หรือไม4 เพยี งใด

2. กรณีท่ีการทดลองปฏิบัติไม4ไดผลดี ครูผูสอนไม4ควรหยุดเพียงแค4นั้น ควรได
พิจารณาทบทวนว4าเปนเพราะเหตุใด มีจุดอ4อนหรือขอจํากัดอะไร และสมควรวางแผนปฏิบัติใหม4
(replanning) หรือไม4 อยา4 งไร ซึ่งถือว4าเปนการคิดสะทอนกลับที่เปนประโยชน8ย่ิงท้ังต4อผูวิจัยเองและ
ต4อผทู ี่จะวิจัยต4อไปแมการทดลองจะไมไ4 ดผลตามทีค่ าดหมาย

การใชประโยชน-จากงานวจิ ยั ของผอู นื่
การเลือกและการใชผลงานวิจัยของผูอ่ืน ไม4ว4าจะเปนผลงานของครูหรือของนักวิชาการก็

ตาม มีขอควรคาํ นึงถึงบางประการ ดังน้ี
1. วิธีการวิจัยและผลการวิจัยในรายงานมีความน4าเชื่อถือเพียงใด ประเด็นน้ีเปน

เรื่องท่ีพิจารณาไดยาก แต4อาจพิจารณาไดบางจากวิธีการนําเสนอในรายงานการวิจัยว4า ผูวิจัยไดยํ้า
ประเด็นในเชิงคุณภาพของการวิจัย (เช4น เคร่ืองมือวัด)ไวอย4างไร ครูไม4ควรใหความสําคัญมากเกินไป
ในเรื่องของการนําเสนอขอมูลทางสถิติเพียงอย4างเดียว เพราะบางคร้ังอาจจะมีความคลาดเคล่ือนท่ี
ไมไ4 ดระบุไว หรือผูวจิ ยั อาจเลอื กนําเสนอเฉพาะในสว4 นทคี่ ดิ วา4 ดเี ท4านน้ั

2.ถาจะนําผลการวจิ ัยมาใชเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน จะตองอยู4ภายใตเงื่อนไขใด
เพราะการวิจัยในช้ันเรียนมีความเฉพาะเจาะจงในเชิงบริบท (context specific) มาก ดังไดกล4าวไว
ตัง้ แต4ตน การนาํ ผลการวิจัยมาใชอาจจะตองมกี ารปรับเงือ่ นไขใหสอดคลอง หรอื นาํ มาทดลองซ้าํ อกี

27

3.ถาจะนําผลการวิจัยมาใชเพื่อพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนต4อไป ควรพิจารณาท้ังใน
ดานการปรับในเชิงวิธีการวิจัย และในดานบริบทของการวิจัย เพื่อจะไดเปนการวิจัยในชั้นเรียนที่มี
ประโยชนต8 อ4 ครอู ยา4 งแทจรงิ

จรยิ ธรรมในการวิจยั ในชน้ั เรียน
Hitcock และ Hughes (อางในผ4องพรรณ ตรัยมงคลกูล , 2544 , หนา 238) เนนว4า

ประเด็นสําคัญของจริยธรรมในการวิจัยคือสํานึกรับผิดชอบที่ผูวิจัยจะตองคํานึงถึงต4อบุคคลต4างๆ
ท่ีเก่ียวของ 6 ฝKาย ไดแก4 ผูร4วมวิจัย ผูถูกวิจัย (ผูใหขอมูล โดยเฉพาะอย4างย่ิงนักเรียน) ผูร4วมวงการ
วิชาชีพ (ครูนกั วิชาการ) ผใู หความร4วมมือในการวจิ ยั สังคม และผใู หทนุ สนบั สนุนการวจิ ัย

ประเด็นเชิงจริยธรรมในการวิจัยท่ีจะกล4าวถึงต4อไปนี้ ไดสรุปเฉพาะประเด็นหลักๆ
ท่ีครผู ูสอนควรคาํ นงึ ถึง โดยเนนในส4วนทเี่ กย่ี วของกับนักเรยี นดังนี้

1. จริยธรรมในเชิงวิชาการ การวิจัยควรดําเนินการถูกตองตามหลักการวิจัย และมีความ
ซ่อื ตรงเชิงวชิ าการ ไดแก4

1. เลือกปXญหาวิจัยท่ีเหมาะสม เปนประโยชน8ต4อวิชาชีพครู และไม4เปนปXญหาที่
กอ4 ใหเกิดความเสียหายต4อผใู ด

2. วเิ คราะหแ8 ละรายงานผลตามที่เปนจรงิ ไมบ4 ดิ เบือน-ตกแต4งขอมลู ไม4ปxดบังขอมูล
บางส4วน หรือเลือกเสนอขอมูลทส่ี อดคลองกบั ความคดิ แตแ4 รกของครูผสู อน

3. นําเสนอขอจํากัดหรือส4วนที่เปนจุดอ4อนในการวิจัย เพ่ือใหผูอ4านหรือนักวิจัยอ่ืน
จะไดทราบเปนขอมูลประกอบในการใชผลการวจิ ยั

4. ไม4จงใจคัดลอกความคิดหรือผลงานของผูวิจัยอื่น และนําเสนอประหนึ่งเปน
ความคิดหรอื เปนสว4 นหน่ึงของขอคนพบของตน (plagiarism)

2 จริยธรรมต4อผูถูกวิจัย มีสํานึกรับผิดชอบต4อนักเรียนที่เปนผูถูกวิจัย (subject of
research) ไดแก4

1. หลกี เลี่ยงผลกระทบโดยตรงต4อนักเรียน (avoid physical and mental harm)
ในกรณขี องการวิจัยที่ครูทดลองวิธปี ฏบิ ัติบางอย4างกับนักเรียน ครูตองแน4ใจว4าวิธีที่ทดลองใชไม4เกิดผล
กระทบทางดานร4างกายและจิตใจต4อนักเรียน ที่ควรคํานึงถึงเปนพิเศษ คือ ในกรณีของการปรับ
พฤตกิ รรมเฉพาะรายดวยวิธีการลงโทษ ซ่ึงจะส4งผลในดานจิตใจต4อนักเรียนแต4ละคนไม4เหมือนกัน ซ่ึง
ผลดังกลา4 วน้อี าจจะเปนผลท่ีสังเกตไมไ4 ดในระยะสนั้

2. ใหโอกาสผูเรยี นเท4าเทยี มกัน (equality of opportunity) ใน กา รวิ จั ย
เพอื่ พัฒนาการเรียนการสอน ครูผูสอนย4อมใฝKหาวิธีการเรียนการสอนท่ีคิดว4าน4าจะ “ดีกว4า” วิธีเดิมท่ี
เคยใช ดังนั้นเม่ือทดลองใชวิธีการใดๆในช้ันเรียน ครูจึงควรใหโอกาสแก4นักเรียนไดรับส่ิงท่ีครูคิดว4า
ดีกว4าน้ันๆ โดยท่ัวถึง กล4าวคือ ในการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งจะมีกล4ุมทดลอง (ไดรับ treatment) และ
กลม4ุ ควบคมุ (ไม4ไดรบั treatment) ซงึ่ กลุ4มในทนี่ อี้ าจจะเปนหองเรียน 2 หอง หรือนักเรียนต4างกลุ4มก็
ตาม ครูควรใหโอกาสนักเรียนในกล4ุมควบคุมไดรับประสบการณ8ในการเรียนตามวิธีท่ีครูทดลองดวย
ซ่งึ อาจจะเปนการจดั ทดแทนใหในภายหลังการทดลองครั้งนั้นๆ ส้ินสุดลง หรือในภาคการศึกษาต4อไป
เปนตน

28

3. คาํ นงึ ถึงสทิ ธสิ ว4 นบคุ คลของนักเรยี น ในกรณีต4างๆ ดงั นี้
1.การรักษาความเปนส4วนตัว (privacy) ประเด็นในเรื่องความเปนส4วนตัวและสิทธิ

ส4วนบุคคลของนักเรียน เปนเร่ืองละเอียดอ4อน ครูตองใชวิจารณญาณตัดสินว4าขอมูลใดที่เปนการ
ละเมิดความเปนส4วนตัวมากเกินไป ในบางกรณี ครูอาจจําเปนตองใหนักเรียนมีโอกาสตัดสินใจว4าจะ
เปxดเผยขอมูล (เช4นกรอกแบบสอบถามในบางเร่ือง) หรือไม4 หรือจะสมัครใจเขารับการทดลองปรับ
พฤตกิ รรมหรือไม4 เปนตน

2.การปกปxด (anonymity) การปกปxด หมายถึง การนําเสนอขอมูลโดยการไม4
เปxดเผยชื่อผใู หขอมลู และรวมถึงการไมเ4 ปxดเผยรายละเอียดเฉพาะตัวทีจ่ ะทาํ ใหผูอ4านรายงานการวิจัยรู
ไดว4าหมายถึงใคร ในงานวิจัยประเภทการศึกษาเฉพาะกรณี (case study) ซ่ึงครูศึกษาเจาะลึก
นักเรียนรายใดรายหนึ่งจะมีปXญหาในเรื่องน้ีมาก ดังน้ันบางครั้งผูวิจัยอาจจําเปนตองเปลี่ยนแปลง
รายละเอียดบางอยา4 งของขอมูลเฉพาะตวั และฉากเหตกุ ารณ8เม่ือเขยี นรายงานการวิจัย

3.การรักษาความลับ (confidentiality) ในการเก็บขอมูลกับนักเรียน เม่ือไดรับ
ขอมูล ครูผูสอนตองไม4นําขอมูลเฉพาะคนนั้นๆ ไปเล4าหรือเปxดเผยใหผูใดทราบ และควรบอกกับ
นักเรียนใหรับรูความต้ังใจท่ีจะปกปxดต้ังแต4แรกเมื่อเก็บขอมูล ในบางครั้งนักเรียนไววางใจครู และ
เปxดเผยขอมูลที่เปนส4วนตัวมากๆใหแก4ครู ครูผูสอนย่ิงควรระมัดระวังใหมากยิ่งขึ้นท่ีจะไม4เปxดเผย
ขอมูลเฉพาะตัว ทั้งโดยเปนทางการและโดยไม4เปนทางการ หากจงใจเปxดเผยถือว4าผิดจริยธรรม
เปรยี บเสมือนเปนการ “หกั หลัง” (betrayal) นกั เรยี นผูใหขอมลู โดยท่วั ไปการเปดx เผยขอมูลใดๆ เช4น
ในรายงานการวจิ ยั ควรนาํ เสนอเปนขอมูลรายกลุ4ม แต4ถาเปนการวิจัยเฉพาะกรณีก็ควรปกปxดช่ือและ
ขอมลู พ้นื ฐานที่ชช้ี ดั มากเกนิ ไป

4.การไม4หลอกลวง (no deception) การหลอกลวง เปนปXญหาที่จะพบในการวิจัย
เชงิ ทดลอง เช4นในการทดลองทางจิตวิทยา ที่ผูวิจัยบิดเบือนขอมูลท่ีควรจะแจงใหผูเขารับการทดลอง
ทราบเพ่อื หวงั ผลในความร4วมมอื ประเด็นน้ีคงไม4เปนปXญหามากนักสําหรับการวิจัยในช้ันเรียน เพราะ
ถาครูดําเนินการทดลอง ส่ิงที่ทดลอง (treatment) ย4อมเปนส่ิงที่สมเหตุสมผลในการปฏิบัติการสอน
ไม4ใช4การทดลองเพื่อแสวงหาความรูใหม4 อย4างไรก็ดี ครูผูสอนควรคํานึงถึงจริยธรรมในเรื่องนี้ไวบาง
สําหรบั การทดลองเฉพาะราย ซ่ึงแมบางคร้ังครูผูสอนไม4จงใจจะหลอกลวง แต4ถาส่ือความไม4ถูกตอง ก็
อาจดปู ระหนึ่งเปนการหลอกลวงหรอื บดิ เบือนไดเช4นกนั

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

29

คาํ ถามทบทวนความรู

คาํ ช้ีแจง เมอ่ื ครผู สู อนอ4านเนอื้ หาในบทที่ 10 เสร็จเรยี บรอยแลว จงตอบคาํ ถามตอ4 ไปนี้
โดยแตล4 ะขอมีคะแนน 2 คะแนน รวมคะแนนเตม็ 10 คะแนน

1. การเขียนรายงานการวจิ ยั มกี ร่ี ปู แบบ อะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

2. ขอควรคาํ นงึ จากการใชประโยชนง8 านวิจยั ของตนเอง มขี อควรคาํ นงึ อะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

3. ขอควรคาํ นงึ จากการใชประโยชน8งานวจิ ยั ของผูอื่น มีขอควรคาํ นึงอะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

4. ประเด็นเชิงจริยธรรมในการวิจัยในช้ันเรียนท่ีครูผูสอนควรคํานึงถึงในส4วนที่เกี่ยวของกับนักเรียนมี
อะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

5. การเขยี นรายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรยี นนั้น ในส4วนของบทคัดย4อควรประกอบดวยหัวขอใดบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

30

บรรณานุกรม

กนกทพิ ย พฒั นาพัวพนั ธ. (2541). สถิติอางอิงเพ่ือการวจิ ยั ทางการศกึ ษา . ภาควิชาประเมินผลและ
วจิ ัยการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม+.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2539) . ครูกบั การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน . กรุงเทพ
: ครุ ุสภาลาดพรา1 ว.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2542 ). วิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู . กรุงเทพ : คุรุสภา
ลาดพรา1 ว.

กิตตพิ ร ปญ2 ญาภญิ โญผล . (2549) . วจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการ แนวทางสําหรับครู . ภาควิชาประเมนิ ผล
และวจิ ยั การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม+.

เกยี รตสิ ุดา ศรีสุข . (2549) . ระเบียบวิธีวจิ ยั . ภาควชิ าประเมินผลและวิจัยการศกึ ษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม+.

เกยี รตสิ ดุ า ศรสี ุข . (2552) . ระเบียบวิธีวิจัย . ภาควชิ าประเมนิ ผลและวจิ ยั การศกึ ษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม+.

โกวิท ประวาทพฤกษและสมศกั ดิ์ สนิ ธรุ ะเวชญ . (2533) . การประเมนิ ในชั้นเรยี น . กรงุ เทพ :
ไทยวัฒนาพานิช

ครุรักษ ภิรมยรักษ . (2544) . เรยี นรูและฝก. ปฏิบัตกิ ารวิจัยในชนั้ เรียน . สํานกั งานการ
ประถมศึกษา จงั หวัดฉะเชิงเทรา.

จิระศกั ด์ิ สาระรตั น . (2552) . ชุดการเรยี นรดู วยตนเองและปฏิบัติการ การวจิ ัยทางการศึกษา
เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอน : การวิจยั และพฒั นา . โรงพิมพบริษัท เอเชยี
ดิจิตอลการพมิ พ จํากัด.

ชมรมพฒั นาความรด1ู 1านระเบียบกฎหมาย . (2545) . การวจิ ยั ในชนั้ เรียนตามแนวปฏริ ปู การศึกษา .
หม+ูบ1านชยั นาทโมเดริ นโฮม อ.เมือง จ.ชยั นาท.

ชาตรี เกดิ ธรรม . (2545) . อยากทําวิจัยในช้ันเรยี นแต1เขยี นไมเ1 ป4น . กรุงเทพ : เลย่ี งเชี่ยง.
ชูศรี วงศรตั นะ และคณะ . (2544) . การวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู . กรงุ เทพ : บริษทั จํากดั ก.พล(1996).
ชยั วฒั น สุทธิรัตน . (2554) . 80 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรทู ่เี นนผูเรยี นเปน4 สาํ คญั . กรงุ เทพฯ :

แดเน็กซ อนเตอรคอรปปอเรช่ัน.
ณรงค ศรีสวัสด.์ิ (2542) . วิธกี ารวิจยั ทางสังคมวิทยา . กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพแหง+ มหาวิทยาลยั

เกษตรศาสตร.
ทศิ นา แขมมณี . (2540) . แบบแผนและเครอื่ งมือการวจิ ัยทางการศึกษา . กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ

มหาวิทยาลัย.
นงลักษณ วิรัชชัย, สุวิมล ว+องวาณิช. (2542). การสังเคราะห9งานวิจัยทางการศึกษาดวยการ

วิเคราะห9อภิมานและการวิเคราะห9เนื้อหา . กรุงเทพฯ : สํานักคณะกรรมการการศึกษา
แหง+ ชาติ.
นงลกั ษณ วิรชั ชัย และคณะ. (2552). การสังเคราะหง9 านวิจยั เก่ียวกับคณุ ภาพการศึกษาไทย:
การวเิ คราะห9อภมิ าน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พแหง+ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

31

นรินทร สงั ขรักษา . (2555) . การวจิ ยั และพัฒนาทางการศกึ ษา . โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร.
บญั ชา แสนทวี . (2545) . การวิจัยในช้ันเรียน จากทฤษฎีสป1ู ฏบิ ตั ิ . กรงุ เทพ : สาํ นักพิมพ

ไทยวฒั นาพานชิ .
บุญใจ ศรสี ถติ นรากูร . (2555) . การพฒั นาและตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื วจิ ัย

คณุ สมบัติการวดั เชิงจิตวทิ ยา . โรงพมิ พแห+งจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวจิ ยั สาํ หรบั ครู. กรุงเทพฯ : สุวีรยิ าสาสน.
บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ุทธิ์ . (2534) . เทคนิคการสรางเครอ่ื งมอื รวบรวมขอมูลสาํ หรบั การวิจัย .

คณะสงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล นครปฐม.
บุญส+ง นลิ แกว1 . (2541) . วิจยั ทางการศกึ ษา . ภาควิชาประเมนิ ผลและวิจัยการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม+.
ประวิต เอราวรรณ . (2542) . การวิจยั ในช้นั เรยี น . กรุงเทพ : สํานักพิมพดอกหญ1าวชิ าการ.
ประสาท เนอื งเจริญ . (2556) . วิจัยการเรียนการสอน . กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพแห+งจุฬาลงกรณ

มหาวทิ ยาลยั .
ผอ+ งพรรณ ตรัยมงคลกูล . (2544) . การวิจัยในชัน้ เรียน . สํานักพิมพมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.
พงษพันธ พงษโสภา. (2542) . จิตวทิ ยาทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : พัฒนาศึกษา.
พรรณทิพา เข่ือนเพชร . (2554) . รายงานการพัฒนาชดุ การเรยี นรู เร่ือง สารรอบตัว กล1ุมสาระ

การเรียนรวู ิทยาศาสตร9สาํ หรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป=ท่ี 1 โรงเรียนบานหนองเขียว
อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม1 . เอกสารอัดสําเนา
พสิ ณุ ฟองศรี . (2553) . วิจัยทางการศึกษา . กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ด+านสุทธาการพิมพ จํากัด.
ภาณมุ าศ สวุ รรณวงศ . (2553) . การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตรโ9 ดยใช
บทเรยี นคอมพวิ เตอรช+วยสอน สําหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปMที่ 5
โรงเรยี นบ1านหนองเขียว อาํ เภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม1 . เอกสารอัดสาํ เนา


Click to View FlipBook Version