The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

11.การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keepjob peocm, 2020-05-24 09:50:18

11.การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

11.การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

1

คํานาํ

คูมือนิเทศเร่ือง การวิจัยในช้ันเรียนสําหรับครูผูสอนระดับช้ันประถมศึกษาเลมนี้ไดจัดทําขึ้น
โดยมีวัตถุประสงค,เพอื่ เปน. เคร่อื งมือประกอบการนิเทศกับครูผูสอนระดับประถมศึกษา ผูบริหาร และ
ผูสนใจใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักการวิจัยในชั้นเรียน ทั้งน้ีขาพเจาไดเรียบเรียงความรูจาก
เอกสาร หนงั สือ ตําราของนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน รวมท้ังประสบการณ,จากการปฏิบัติหนาท่ีดาน
การนิเทศ การเป.นวิทยากร มาสอดแทรกแนวคิด ทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ เพื่อใหงายตอ
การอานและทําความเขาใจ และท่สี ําคัญสามารถนาํ ไปสูการปฏบิ ัตจิ รงิ ได

เนื้อหาของคูมือนิเทศมีทั้งหมด 12 เลม ในเลมนี้จะเป.นเลมท่ี 11 เร่ือง การประเมิน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน รายละเอียดในเลมนี้จะกลาวถึง วิธีการประเมินรายงานการวิจัย
ในชั้นเรียนเป.นการตรวจสอบวารายงานการวิจัยในช้ันเรียนนั้นมีความถูกตอง ความสมบูรณ,และ
มีคุณภาพเพียงใด โดยวิธีการประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมี 3 วิธี ไดแก การประเมิน
ดวยตนเอง การประเมนิ โดยผเู ชย่ี วชาญ และการประเมินโดยการสมั มนา

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย,ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร,
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม ท่ไี ดประสิทธิป์ ระสาทวิชาความรูดานการวดั และประเมินผลทางการศึกษาและ
การวจิ ยั การศกึ ษาแกขาพเจา

ขอขอบคุณผูบริหารและคณะศึกษานิเทศก, สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหมทุกทาน
ท่ีไดรวมปฏิบัติงาน ใหขอคิด และขอเสนอแนะแนวทางท่ีเป.นประโยชน,ตอการจัดทําคูมือนิเทศเรื่อง
การวจิ ัยในช้ันเรยี น

ทายน้ีขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัวอินทร,ทอง ครอบครัวสมสมัย และ
ครอบครัวเทพเที่ยง ตลอดจนภรรยาและบุตรชายท้ังสองคน ท่ีใหกําลังใจในการทํางานมาโดยตลอด
และจนผลงานสาํ เรจ็ ไปไดดวยดี

หวังเป.นอยางยิ่งวาคูมือนิเทศเลมนี้ จะกอใหเกิดประโยชน,แกครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา
ผูท่สี นใจ ตลอดจนผเู กย่ี วของทางการศกึ ษาทุกฝ=าย หากมีขอบกพรองประการใด ขอความกรุณาโปรด
ใหคําช้ีแนะ และพรอมที่จะนําขอเสนอแนะนั้นมาปรับปรุงใหคูมือนิเทศเลมนี้มีความสมบูรณ,ถูกตอง
ยิง่ ขนึ้ ตอไป

รัชภมู ิ สมสมัย
ศึกษานเิ ทศก,

2

สารบัญ หนา
1
คํานาํ 2
สารบญั 3
คําช้แี จง 4
คาํ แนะนําการศึกษาคูมือนิเทศเรื่อง การวิจยั ในช้นั เรียน เลมท่ี 11 5
วัตถุประสงค-ของการจดั ทําคูมือนิเทศเร่ือง การวจิ ัยในช้นั เรยี น เลมท่ี 11 6
โครงสรางคมู ือนิเทศเลมที่ 11 เรอ่ื ง การประเมินรายงานการวจิ ัยในชน้ั เรยี น
รายละเอยี ดขั้นตอนการศึกษาคูมือนิเทศเลมที่ 11 เรอ่ื ง การประเมนิ รายงานการวิจยั 7
ในช้ันเรียน 8
เง่อื นไขสคู วามสําเร็จ 9
รายละเอียดเน้ือหา การประเมนิ รายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน 25
คาํ ถามทบทวนความรู 26
บรรณานกุ รม

3

คําชี้แจง

คูมือนิเทศเลมที่ 11 เรื่อง การประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียนสําหรับครูผ#ูสอนระดับช้ัน
ประถมศึกษาเลมน้ี มีลักษณะเป)นเอกสารสําหรับการศึกษาด#วยตนเองหรือใช#ประกอบการนิเทศ
เน้ือหาสาระภายในคูมือนิเทศเลมที่ 11 ประกอบด#วยเนื้อหาที่เกี่ยวข#องกับประเด็นวิธีการประเมิน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเป)นการตรวจสอบวารายงานการวิจัยในชั้นเรียนนั้นมีความถูกต#อง
ความสมบูรณ/และมีคุณภาพเพียงใด โดยท่ีการประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียนที่นิยมกันมีอยูมี 3
วิธี คือการประเมินด#วยตนเอง การประเมินโดยผู#เชี่ยวชาญ และการประเมินโดยการสัมมนา สําหรับ
ใช#เป)นแนวทางให#ครูผู#สอนระดับชั้นประถมศึกษา หรือครูผ#ูสอนที่สนใจสามารถนําความร#ูท่ีได#รับจาก
คูมือนิเทศไปใช#พัฒนาตนเอง พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช#การวิจัยในช้ันเรียน
เป)นฐาน สงผลให#สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได#อยางหลากหลายและมีประสิทธิภาพสงผล
ให#ผเ#ู รยี นเรียนร#ูได#อยางมีความสขุ

การจดั ทําคมู อื นิเทศเรือ่ ง การวจิ ัยในชนั้ เรยี น มวี ตั ถุประสงคส/ ําคัญ ดงั น้ี
1. เพื่อให#ครูผู#สอนระดับชั้นประถมศึกษาได#มีเอกสารไว#ศึกษาเน้ือหาถึงหลักการวิจัยใน
ช้ันเรยี นท่ีถกู ตอ# งได#
2. เพ่ือให#ครูผู#สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความรู#ที่ได#รับจากการศึกษาด#วยตนเอง
และจากการนิเทศติดตาม ไปใช#ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช#การวิจัยในชั้นเรียน
เป)นฐานได#
3. เพื่อให#ครูผู#สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความรู#ที่ได#รับจากการศึกษาเนื้อหา
ด#วยตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปผลิตงานวิจัยในช้ันเรียนท่ีมีคุณภาพ ถูกต#องตามหลักวิชา
และสามารถแลกเปล่ยี นเรยี นร#ถู ึงองคค/ วามรู#ทีค่ น# พบกบั คณะครูคนอน่ื ๆ ตอไปได#
เนื้อหาของคูมือนิเทศเลมที่ 11 เร่ือง การประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียน
จะประกอบด#วย คําแนะนาํ การศึกษาคูมือนิเทศ วัตถุประสงค/ของการจัดทํา เน้ือหาสาระ และคําถาม
ทบทวนความร#ู ครูผ#ูสอนระดับช้ันประถมศึกษาต#องศึกษาเน้ือหาด#วยตนเองทุกเลม โดยเร่ิมต#นศึกษา
จากคูมือการใช#คูมือนิเทศ เพื่อทําความเข#าใจในรายละเอียดในภาพรวมของคูมือนิเทศทั้ง 12 เลม
เมอื่ ทาํ การศกึ ษาคูมือการใช#คมู ือนิเทศจนมีความเข#าใจดีแล#ว ครูผู#สอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถ
ท่ีจะศึกษาเนื้อหาในเลมใดกอนหรือหลังก็ได#ตามความต#องการของตนเอง เนื่องจากคูมือนิเทศแตละ
เลมนั้นมีเน้ือหาสาระที่จบสมบูรณ/ภายในตัวเอง เมื่อได#ศึกษาเน้ือหาในแตละเลมเสร็จเรียบร#อยแล#ว
ควรทําคําถามทบทวนความร#ู เพ่ือให#การศึกษาด#วยตนเองได#ผลดีย่ิงข้ึน สามารถที่จะพัฒนาตนเองใน
เรือ่ งการวจิ ัยในชัน้ เรยี นได#เตม็ ตามศกั ยภาพ

รชั ภมู ิ สมสมยั
ศึกษานิเทศก/

4

คําแนะนําการศกึ ษา
คมู อื นิเทศเลมท่ี 11 เร่ือง การประเมนิ รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรยี น

เพอื่ ใหการศึกษาคูมือนิเทศเลมที่ 11 เร่ือง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ไดผลเต็ม
ศักยภาพ ครผู ูสอนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาควรปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนตอไปน้ี

1. ศึกษาคําช้ีแจงของคูมือนิเทศเลมที่ 11 เร่ือง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เพ่ือจะไดเห็นความจําเป1นในการศึกษา และความสําคัญของเลมท่ี 11 เร่ือง การประเมินรายงานการ
วิจัยในช้ันเรียน ที่ทานกําลังจะศึกษา รวมทั้งไดทราบวาเมื่อศึกษาเนื้อหาครบตามที่กําหนดแลว
ทานจะไดรบั การพัฒนาไปจดุ ใด

2. ศึกษาสาระสําคัญจากคูมือนิเทศเลมท่ี 11 เรื่อง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เพ่ือใหเกิดความชํานาญและมีความรูความเขาใจ ตลอดจนสามารถนําไปประยุกต6ใชใหเกิดประโยชน6
สูงสุดตอไป

3. ขณะศกึ ษาคมู ือนิเทศเลมที่ 11 เร่ือง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ผูศึกษาควร
บันทึกสาระสําคัญและความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาไว เพื่อชวยใหการศึกษาเน้ือหาไดดี
ขึ้น และไดมโี อกาสคิดวิเคราะห6 และพัฒนาการเรียนรดู วยตนเอง

4. ทําคําถามทบทวนความรูหลังศึกษาเน้ือหาดวยตนเอง แลวตรวจคําตอบของตนเองจาก
แนวทางการตอบคําถาม โดยกําหนดเกณฑ6การผานรอยละ 80 ขึ้นไป (8 คะแนนขึ้นไปจากคะแนน
เต็ม 10 คะแนน) เพ่ือจะไดทราบวาตนเองมีความรู ความสามารถผานเกณฑ6ที่กําหนดไว หรือไม
ถาสวนใดยังไมเขาใจใหทบทวนใหมเฉพาะสวนนน้ั ใหเขาใจ

5

วัตถุประสงคของการจดั ทํา
คูมอื นิเทศเลมท่ี 11 เรอ่ื ง การประเมนิ รายงานการวิจยั ในชั้นเรยี น

การจัดทําคูมือนิเทศเลมท่ี 11 เรื่อง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมีวัตถุประสงค$
สาํ คญั ดงั นี้

1. เพือ่ ใหค) รูผูส) อนระดับชั้นประถมศึกษาได)มีเอกสารอานเพิ่มเติมไว)ศึกษาเนื้อหาถึงหลักการ
วิจัยในชนั้ เรยี นทถ่ี กู ต)องได)

2. เพือ่ ใหค) รผู ูส) อนระดบั ชั้นประถมศึกษามีความรู) ความเข)าใจในหลักการและความร)ูพ้ืนฐาน
ในเรอื่ งการวจิ ัยในชนั้ เรียนกับวชิ าชพี ครู

3. เพ่ือใหค) รูผ)ูสอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความร)ูที่ได)รับจากการศึกษาเนื้อหาด)วย
ตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปใช)ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช)การวิจัยใน
ช้ันเรียนเปน6 ฐานได)

4. เพ่ือให)ครูผู)สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความรู)ท่ีได)รับจากการศึกษาเนื้อหาด)วย
ตนเอง และจากการนเิ ทศตดิ ตาม ไปผลติ งานวิจยั ในชนั้ เรยี นท่ีมีคณุ ภาพ ถกู ตอ) งตามหลกั วชิ าได)

5. เพื่อให)ครูผ)ูสอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู)ถึงองค$ความร)ูที่ค)นพบ
จากการทาํ วิจยั ในช้นั เรียนกบั คณะครูคนอ่นื ๆ ตอไปได)

6

โครงสราง
คูมือนิเทศเลมท่ี 11 เรอ่ื ง การประเมนิ รายงานการวิจยั ในชั้นเรียน

ในการจัดทําคูมือนิเทศเลมที่ 11 เร่ือง การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียนครั้งน้ี
ได!ดาํ เนินการตามกรอบโครงสรา! งหลกั ดงั ตอไปน้ี

คํานาํ

คําชี้แจง

คําแนะนาํ การศึกษา
คูมือนิเทศ เลมท่ี 11

วตั ถุประสงคข( องการจดั ทาํ
คมู อื นเิ ทศ เลมท่ี 11

รายละเอียดเนอื้ หา
คมู อื นิเทศ เลมท่ี 11

คําถามทบทวนความรู

บรรณานกุ รม





9

บทท่ี 11 การประเมินรายงานการวิจัยในชน้ั เรยี น

การประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียน เปนการตรวจสอบวารายงานการวิจัยในชั้นเรียน
มีความถูกตอง ความสมบรู ณและมีคุณภาพเพียงใด โดยจะเนนใหเห็นเฉพาะผูท่ีจะประเมินหรือวิธีการ
ประเมิน คือประเมินโดยใครและประเมินอยางไร ซึ่งผูประเมินอาจใชแบบการประเมินหรือผูประเมิน
อาจกําหนดแบบการประเมินเองและเลือกองคประกอบที่จะประเมินเองตามความเหมาะสม
การประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ท่ีนิยมกันมีอยูมี 3 วิธี คือ การประเมินดวยตนเอง
การประเมนิ โดยผเู ชี่ยวชาญ และการประเมนิ โดยการสมั มนา ซ่ึงแตละวธิ มี รี ายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี

การประเมินดวยตนเอง
วิธีการประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ดวยตนเองเปนวิธีการประเมินเบื้องตนดวยตัว

ครผู ูสอนเอง โดยมวี ิธกี ารปฏิบตั ิดงั น้ี สิน พันธพุ ินิจ (2553 , หนา 361)
1. การประเมินเหตุผลและความเหมาะสมทางปฏิบัติ เปนการประเมินระดับความ

สมเหตุสมผลของหัวขอตางๆ แลวพิจารณาวาเปนเหตุเปนผลตอกันหรือไม เพียงใด เชน
การประเมินวาหัวขอ ความเปนมาหรือความสําคัญวัตถุประสงค และกรอบแนวคิดการวิจัย ท้ัง 3
หวั ขอนม้ี คี วามเปนเหตุเปนผลตอกันหรือไมเพยี งใด

2. การประเมินคําและประเด็นหลักกับขอมูลและวรรณกรรมที่เก่ียวของ เพื่อตรวจสอบวา
เขียนผิดพลาดจากขอเท็จจริงของประเด็นหลักหรือตัวแปรของวรรณกรรมท่ีอางอิงหรือไม โดยควร
เขียนคําหลกั หรอื คําสําคญั หรือประเดน็ หลกั ไวคูกบั ขอมลู หรอื วรรณกรรมท่เี กีย่ วของ

3. การประเมินโดยตอบคําถามตนเอง ครูผูวิจัยสามารถจะตอบคําถามของตนเองโดยนํา
องคประกอบของโครงการวิจัยมาต้ังเปนคําถามในลักษณะมาตรา 3 ระดับ คือ ดีมาก ปานกลาง
หรือ นอย หรืออาจประเมนิ คาระดบั ความพอใจวา พอใจหรอื ไม!พอใจ

นอกจากน้ี ครูผูวิจัยควรจะประเมินความถูกตองในการใชถอยคําภาษาและรูปแบบการพิมพ
แลวปรบั ปรุงใหสมบูรณและนําสงหนวยงานหรือหรอื เผยแพรตามกําหนดเวลา

การประเมินโดยผเู ชย่ี วชาญ
วิธีการประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียนโดยผูเชี่ยวชาญมักจะจัดโดยหนวยงานที่เปนผูให

ทุนอดุ หนนุ การวจิ ยั โดยอาจจดั เปนรปู คณะกรรมการเฉพาะกิจ 3-4 คน การประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ
นี้จะเปนประโยชนตอนักครูผูวิจัยมาก เพราะผูเชี่ยวชาญเปนผูทรงคุณวุฒิ มีประสบการณ และมี
ความเช่ียวชาญทางการวิจัย สามารถประเมินดวยความละเอียดครอบคอบทุกแงทุกมุม ชวยให
คาํ วจิ ารณและการแกไขปรบั ปรุงโครงการวิจัยทสี่ มบูรณ

การประเมนิ โดยการสมั มนา
วิธีการประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรียนโดยการสัมมนาเปนวิธีการประเมินแบบมวลชน

หรือการประเมินโดยสาธารณะท่ีเปDดโอกาสใหผูเชี่ยวชาญ นักวิจัย และผูสนใจท่ัวไปรวมแสดงความ
คดิ เห็นหรือวจิ ารณอยางอสิ ระ เราจะพบวาบางสถาบนั หรอื บางหนอยงานท่ีใหทุนอุดหนุนการวิจัยมัก

10

จัดการประชุมสัมมนาเพ่ือใหนักวิจัยนําเสนอรายงานการวิจัยในชั้นเรียนตอคณะกรรมการและ
สาธารณชนอยูเสมอ ดังน้ันครูผูวิจัยจะตองเตรียมรายงานการวิจัยในชั้นเรียนใหถูกตองสมบูรณพรอม
กับนาํ เสนอใหนาสนใจและมีความม่ันใจ

สวนรายละเอียดการประเมินรายงานการวิจัยในชั้นเรียนน้ัน เกียรติสุดา ศรีสุข (2552 , หนา
247) ไดแบงออกเปน 3 สวนไดแก สวนนําของรายงานการวิจัย สวนเน้ือความของรายงานการวิจัย
สวนตอนทายของรายงานการวจิ ยั ในแตละสวนมีรายละเอยี ดดังตอไปนี้

การประเมนิ รายงานการวจิ ยั

การประเมินสว! นนาํ ของรายงานการวจิ ัย
ช่ือเรือ่ ง
1. ชอ่ื เรอ่ื งสอดคลองกับปญG หาการวจิ ยั หรอื ไม
2. ช่อื เร่ือง ส้ัน กะทดั รดั ชัดเจน สื่อความหมายหรือไม
3. ชอ่ื เรื่องสอดคลองกบั วตั ถุประสงคการวิจัย หรอื ไม
4. งานวิจยั เร่ืองนีเ้ ปนประเด็นใหม ทันสมัย ไมซ้าํ กับคนอ่ืนหรือไม
5. งานวิจยั เรอ่ื งน้ีเปนเรื่องทีส่ รางองคความรใู หมหรอื ไม
บทคดั ยอ!
1. บทคัดยอมีความครอบคลุมเนื้อหา คือ วัตถุประสงค วิธีดําเนินการ และ

ผลการวิจยั หรอื ไม
2. บทคดั ยอมคี วามกระชบั มุงนาํ เสนอเฉพาะประเด็นสําคัญ หรือไม

การประเมนิ ส!วนเนอ้ื ความของรายงานการวิจัย
ความเปน* มาและความสําคัญของปญ, หา
1. ประเด็นปGญหาเปนเหตุเปนผลและไดแสดงตนตอของปGญหา หรือไม
2. ประเดน็ ปญG หาท่ีกลาวมคี วามจําเปนตองทาํ วิจัย หรือไม
3. ประเดน็ ปญG หามีความเหมาะสมกบั สาขาวชิ าของผวู ิจยั หรอื ไม
4. มีการใชภาษาสื่อตอความเขาใจไดเปนอยางดี หรือไม
วตั ถปุ ระสงค//ความมง!ุ หมายของการวิจยั
1. วัตถปุ ระสงคสอดคลองกับชอื่ เรือ่ งและปญG หาการวจิ ัย หรือไม
2. วัตถปุ ระสงคครอบคลมุ ปGญหาที่ตองการศึกษาทง้ั หมด หรือไม
3. วตั ถปุ ระสงคมีความชดั เจน งายตอความเขาใจ หรือไม
ขอบเขตของการวิจยั
1. มีการกําหนดขอบเขตของประชากรไวชัดเจน ครอบคลุม หรอื ไม
2. มีการกําหนดขอบเขตของเนื้อหา หรือตัวแปรที่สนใจศึกษาไวชัดเจน ครอบคลุม

หรือไม

11

3. มีการกําหนดขอบเขตของเน้ือหา หรือตัวแปรที่สนใจศึกษาสอดคลองกับประเด็น
ปญG หาที่สนใจ หรอื ไม

ขอตกลงเบอื้ งตน
1. ขอตกลงเบ้ืองตนนน้ั เปนขอตกลงที่จาํ เปนสําหรบั งานวจิ ัยเร่ืองนั้น หรือไม
2. ขอตกลงเบื้องตนนนั้ เปนสิ่งทย่ี อมรับได หรอื ไม

สมมติฐานการวิจยั
1. สมมตฐิ านสอดคลองกับวัตถปุ ระสงคงานวิจยั หรือไม
2. สมมติฐานมีครบตามวัตถปุ ระสงคในงานวิจยั หรือไม
3. สมมตฐิ านมีเหตุผลทางวชิ าการท่ีเชอ่ื ถอื ได หรอื ไม
4. สมมติฐานสามารถทดสอบได หรือไม

นิยามศัพท/เฉพาะ
1. มีการนยิ ามศัพทที่ใชในการวิจัยครบสมบรู ณทกุ ตัว หรือไม
2. มกี ารนิยามศัพทท่ีถูกตองชัดเจน เขาใจงาย หรอื ไม
3. มีการนยิ ามศัพทโดยใชการอางอิงมาจากเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วของ หรือไม

ประโยชนท/ ี่ไดรับจากการวิจัย
1. ประโยชนในเชิงวิชาการสอดคลองกบั องคความรู ที่อยูในวัตถุประสงคงานวิจัย

หรอื ไม
2. ประโยชนในเชิงการนําไปใชมคี วามเปนไปได หรอื ไม

เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วของ
1. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวของทั้งหมดสอดคลองกับงานวิจัยเร่ืองน้ี

หรือไม
2. มกี ารจดั กลุม จัดลาํ ดบั เนื้อหาอยางเหมาะสม หรือไม
3. เอกสารในการอางองิ มเี พยี งพอ หรือไม
4. เอกสารในการอางอิงมีความทนั สมยั หรอื ไม
5. การเขียนมคี วามตอเนื่องระหวางเนอ้ื หาแตละเร่ือง หรือไม
6. มีการสรปุ ประเด็นเนื้อหาเช่อื มโยงกับประเดน็ เนื้อหา หรอื ไม
7. มีการอางอิงแหลงที่มาอยางครบถวน ถูกตอง หรือไม
8. มกี ารใชแหลงอางอิงปฐมภูมิมากกวาแหลงทตุ ิยภูมิ หรือไม
9. การเขียนมกี ารสงั เคราะหเอกสาร หรอื ไม

ประชากรและกลุ!มตัวอย!าง/กลม!ุ เป4าหมาย
1. มีการเลอื กประชากรไดถูกตอง เหมาะสม ชัดเจน หรือไม
2. มกี ารใชกลุมตวั อยางขนาดใหญพอเปนตวั แทนของประชากรได หรอื ไม
3. มีการใชเทคนิคการสุมกลุมตัวอยางทเี่ หมาะสมกบั ลักษณะของประชากร หรอื ไม
4. กลุมตัวอยางสามารถใหขอมูลตัวแปร หรอื วัตถปุ ระสงคทส่ี นใจศกึ ษา หรอื ไม

12

เครอื่ งมอื ท่ีใชในการวิจยั
1. เคร่ืองมือแตละชนิดสามารถวัดตัวแปร/วัตถุประสงคท่ีสนใจศึกษาไดอยาง

ครอบคลุม
2. เคร่ืองมือแตละชนิดมีความเที่ยงตรง ความเชื่อมัน่ ความเปนปรนยั หรือไม
3. เครอ่ื งมือแตละชนิดมกี ระบวนการสรางทถ่ี ูกตองตามหลกั วชิ า หรือไม
4. เครอื่ งมือแตละชนดิ มีความเหมาะสมท่ีจะใชกบั กลุมตัวอยาง หรอื ไม

การเก็บรวบรวมขอมูล
1. มกี ารรวบรวมขอมูลครบตามวตั ถปุ ระสงค หรือตัวแปรที่สนใจศึกษา หรือไม
2. มกี ารลําดบั ขั้นการรวบรวมขอมูลที่เหมาะสม ชัดเจน หรอื ไม
3. มีการรวบรวมขอมูลที่นาเช่ือถือ เปนเหตุเปนผล หรอื ไม

การวิเคราะห/ขอมูลและสถิติที่ใช
1. มีการเลอื กใชสถติ ิในการวเิ คราะหเคร่ืองมืออยางเหมาะสม ถูกตอง หรอื ไม
2. มีการเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลในการวิจัยอยางเหมาะสมกับลักษณะ

ขอมลู หรอื ไม
3. มกี ารใชสถิตเิ พอื่ ตอบวตั ถุประสงคและสมมตฐิ านของงานวิจัยไดถูกตอง ครบถวน

หรอื ไม
4. มีการคิดคํานวณคาสถิตติ างๆ ไดอยางถูกตองหรือไม
5. หากมีการนําเสนอสตู รของสถิตทิ ใี่ ช มกี ารนาํ เสนอสูตรถูกตอง หรือไม

รูปแบบและกระบวนการวิจัย
1. มกี ารออกแบบการวจิ ยั ท่สี อดคลองเหมาะสมกับปGญหาในการวิจัย หรือไม
2. มกี ารควบคุมตัวแปรเกนิ และตวั แปรแทรกซอนตางๆ เปนอยางดี หรอื ไม
3. มีการกาํ หนดตัวแปรอสิ ระทชี่ ดั เจน หรอื ไม
4. มกี ารกําหนดกลมุ ทดลอง กลมุ ควบคมุ ไดอยางเหมาะสม ชดั เจน หรอื ไม

เกณฑก/ ารแปลผลการวิเคราะห/ขอมูล
1. เกณฑการแปลผลมคี วามชัดเจน สมเหตุสมผล หรือไม

ผลการวิเคราะหข/ อมูล
1. ผลการวิเคราะหขอมลู ครอบคลุมวตั ถุประสงคของการวจิ ัยทกุ ขอ หรือไม
2. มีการเรียงลําดับเนื้อหาในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตรงตามลําดับ

วตั ถุประสงคของการวจิ ยั หรอื ไม
3. มีการนําเสนอผลการวิเคราะหอยางปราศจากอคติหรอื ไม
4. มีการนําเสนอผลการวิเคราะหในรูปแบบตางๆ ไดอยางเหมาะสมกับลักษณะ

ขอมูล
5. มีการแปลผลการวิเคราะหเกนิ ความเปนจรงิ จากขอมลู ที่ปรากฏ หรือไม
6. มกี ารแปลผลการวิเคราะหโดยมุงเฉพาะประเด็นสําคญั ไมซ้าํ ซอน หรือไม
7. มีการระมัดระวังการคัดลอกตัวเลขทางสถิตแิ ละการแปลความ หรือไม
8. มีการใหความคิดเหน็ ของผูวิจัยเขาไปรวมแปลผลดวย หรือไม

13

9. มีการอธิบายอักษรยอ และสัญลักษณประกอบการนําเสนอผลการวิเคราะห
เพือ่ ใหเขาใจงาย หรือไม

สรปุ ผลการวิจัย
1. มีการใหรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุประสงคการวิจัย กลุมประชากร/กลุมตัวอยาง

เคร่ืองมือ การรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช และผลการวิจัยโดยสรุป ครบถวน
หรือไม

2. มีการสรุปผลการวจิ ยั เฉพาะสาระสําคัญ หรือไม
3. มีการสรุปผลการวิจัยโดยมีการนําเสนอตัวเลขทางสถิติท่ีซับซอนมากเกินความ
จําเปน หรอื ไม
4. มกี ารสรปุ ผลการวจิ ยั ครบและเรียงลําดับตามวัตถุประสงคการวิจัย หรอื ไม
การอภปิ รายผล
1. มีการดึงประเด็นผลการวิจัยที่เปนจุดเดนออกมาอภิปรายไดอยางครบถวน
หรอื ไม
2. มกี ารอภปิ รายผลการวจิ ยั ทีละประเดน็ หรือไม
3. มีการอภิปรายในแตละประเด็นโดยใชการอางอิงจากเอกสารและงานวิจัยท่ี
เก่ียวของ หรอื ไม
4. มีการอภิปรายผลการวจิ ยั โดยเนนการวิเคราะหความเหมือน ความตางกับแนวคิด
ทฤษฎี และงานวจิ ัยเรือ่ งอ่นื อยางเปนเหตเุ ปนผล หรอื ไม
5. กรณีท่ีมีการอภิปรายโดยใชความคิดเห็นสวนตัวของผูวิจัย ประเด็นอภิปรายไดมี
การใหเหตุผลอยางสมเหตสุ มผล ถูกตอง หรือไม
6. มีการเขยี นใหเหตผุ ลดวยภาษาที่เขาใจงาย หรอื ไม
ขอเสนอแนะ
1. มีการใหขอเสนอแนะที่มีความสมเหตุสมผล หรือไม
2. มีการใหขอเสนอแนะที่มีความเปนไปไดในทางปฏิบตั ิ หรอื ไม
3. มีการใหขอเสนอแนะไดอยางกวางขวางครอบคลมุ ประเดน็ สําคญั ทั้งหมด หรือไม
4. มกี ารนําขอเสนอแนะซ่งึ เปนท่มี าจากผลการวจิ ัยเร่อื งน้ี หรอื ไม

14

การประเมนิ สว! นประกอบตอนทายของรายงานการวจิ ัย
บรรณานกุ รม
1. มีรูปแบบการพมิ พทถ่ี ูกตองและเหมือนกนั ทง้ั หมด หรือไม
2. มีรายละเอยี ด เชน ชื่อหนังสือ ชอ่ื ผูเขียน ปทO ่ีพิมพ ฯลฯ ครบถวน หรือไม
3. มคี วามสอดคลองกบั เอกสารที่ใชอางอิงในบทท่ี 2 อยางครบถวน ตรงกนั หรือไม
ภาคผนวก
1. รายละเอียดในภาคผนวกแตละเร่ืองสามารถสนับสนุนความนาเช่ือถือของ

งานวิจยั ได หรอื ไม
2. มีการเรยี งลําดบั รายละเอียดเพ่มิ เติมในภาคผนวกไดอยางเหมาะสม หรือไม

การประเมนิ ส!วนสาํ คญั อนื่ ๆของรายงานการวิจยั
รปู แบบการพมิ พ/
1. มีรปู แบบการพิมพทเี่ ปนสากล หรอื เกณฑของสถาบนั หรือไม
2. มีการตรวจพสิ ูจนอักษรอยางดี หรอื ไม

จดุ เนนในการประเมินของงานวจิ ยั แต!ละประเภท
งานวจิ ยั เชิงประวตั ศิ าสตร/
1. ขอมูลทรี่ วบรวมไดมาจากแหลงปฐมภมู ิ หรือทุติยภูมิ แหลงใดมากกวากัน
2. มกี ารวพิ ากษวิจารณขอมลู อยางถูกตอง ชัดเจน หรือไม
งานวิจยั เชิงบรรยาย
จุดเนนอยทู เ่ี ครอ่ื งมือทใี่ ชในการวจิ ยั
1. แบบสอบถาม
1.1 มีคณุ ภาพดาน ความเทยี่ งตรง อํานาจจาํ แนก และความเช่อื มน่ั หรอื ไม
1.2 มจี ํานวนขอมากพอทีจ่ ะวัดตวั แปรท่ตี องการแตละตวั หรอื ไม
2. การสมั ภาษณ
2.1 ขอคาํ ถามมคี วามเทย่ี งตรงเชงิ เนือ้ หา หรือไม
2.2 มขี อคาํ ถามทม่ี ีการชกั นาํ คําตอบ หรือไม
2.3 มกี ารบันทึกดวยเคร่ืองมือแบบไหน มคี วามเชื่อถือได หรอื ไม
2.4 หากมีผูชวยวิจัยไดมีการฝRกผูชวยมาเปนอยางดี หรือไม

15

3. การสงั เกต
3.1 เครอื่ งมือมีความเชือ่ ถือได หรอื ไม
3.2 หากมผี ูชวยสงั เกตไดมกี ารฝกR ผูชวยมาเปนอยางดี หรือไม

งานวจิ ัยเชิงหาความสมั พนั ธ/
จดุ เนนอยูท่ีตวั แปรทีใ่ ชในการวจิ ัย

1. มกี ารเลอื กตวั แปรอยางระมดั ระวงั หรอื ไม
2. มีการบอกถึงเบ้ืองหลังในการเลอื กตัวแปรเหลานี้ หรอื ไม
3. มีการสรุปความสัมพันธของตวั แปรเหลานั้นอยางสมเหตุสมผล หรอื ไม
งานวจิ ัยกึง่ ทดลองและทดลอง
จดุ เนนอยทู ี่การออกแบบการวิจัย
1. มกี ารใชแบบแผนการวจิ ยั ที่เหมาะสม หรือไม
2. มีการเลือกกลุมตวั อยางทีเ่ หมาะสม หรือไม
3. มีการควบคุมตวั แปรเกินและตัวแปรแทรกซอนอยางเหมาะสม หรอื ไม
4. มีการกําหนดตัวแปรอสิ ระท่ีจัดกระทําใหกบั กลมุ ทดลองอยางเหมาะสม หรือไม
5. มกี ารกาํ หนดขนั้ ตอนการดําเนนิ การทดลองอยางเหมาะสม ถกู ตอง หรือไม

16

แบบประเมินรายงานการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น (ฉบบั ประเมนิ ตนเอง)

คาํ ชี้แจงในการตอบแบบประเมิน

1. แบบประเมินมีทัง้ หมด 2 ตอน
ตอนที่ 1 เปนการถามสถานภาพทว่ั ไปของผตู อบแบบประเมนิ
ตอนที่ 2 เปนการประเมินความถูกตองของเลมรายงานการวิจัยในช้ันเรียนของ
ตัวทานเอง โดยมีประเด็นการประเมินที่ครอบคลุมทุกสวนของรายงานการ
วิจัยในชั้นเรยี นท่ถี ูกตองตามมาตรฐานการวิจัยทางการศึกษาทว่ั ไป

แบบประเมินฉบับน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความสมบูรณ/ความถูกตองของรายงาน
การวจิ ยั ในชั้นเรียนดวยตัวของทานเอง โดยมีวธิ ีการประเมนิ ดงั นี้

ถาทานพิจารณาวา ประเด็นการประเมินท่ีกําหนดให มีความถูกตองกับเนื้อหาในเลมรายงาน
การวิจยั ของทาน ใหทานเขียนเครอ่ื งหมาย ลงในชอง “ระดบั ความคิดเหน็ ” ซึง่ มีเกณฑดงั น้ี

1 หมายถึง มคี วามถูกตองในประเด็นการประเมินขอนั้นนอยทสี่ ดุ
2 หมายถงึ มคี วามถูกตองในประเด็นการประเมนิ ขอนน้ั นอย
3 หมายถงึ มีความถูกตองในประเดน็ การประเมินขอนน้ั ปานกลาง
4 หมายถงึ มคี วามถูกตองในประเดน็ การประเมินขอน้ันถูกตอง
5 หมายถงึ มีความถูกตองในประเดน็ การประเมินขอนั้นถูกตองมากที่สุด

ข อ ใ ห ท า น ต อ บ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น น้ี ต า ม ค ว า ม เ ป น จ ริ ง แ ล ะ ใ ห ต อ บ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ทุ ก ข อ
ผลการประเมนิ จะเปนแนวทางในการปรบั แก/ปรบั ปรุงงานวิจัยในชน้ั เรยี นของทานใหสมบรู ณยิ่งขนึ้

17

ตอนท่ี 1
สถานภาพของผูตอบแบบประเมิน

โปรดทําเครอ่ื งหมาย / ลงใน [ ] หนาขอความทเ่ี ปนจรงิ

1. เพศ [ ] ชาย

[ ] หญิง

2. อายุของทาน [ ] ตํา่ กวา 30 ปO

[ ] 30-40 ปO

[ ] 41-50 ปO

[ ] 51-60 ปO

3. ทานเปนครูผสู อนมา [ ] 1-5 ปO

[ ] 6-10 ปO

[ ] 11-15 ปO

[ ] 16 ปขO ้ึนไป

4. วุฒิทางการศึกษาสงู สุด [ ] ปริญญาตรี

[ ] สงู กวาปริญญาตรี

5. กลุมสาระการเรียนรทู ่ีทานทาํ วิจัยในชัน้ เรยี น

[ ] ภาษาไทย [ ] คณติ ศาสตร

[ ] วิทยาศาสตร [ ] ภาษาตางประเทศ

[ ] การงานอาชีพและเทคโนโลยี [ ] ศลิ ปะ

[ ] สังคมศึกษา ฯลฯ [ ] สขุ ศึกษาและพลศึกษา

[ ] กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น [ ] อน่ื ๆ ระบุ ......................

6. นวัตกรรมท่ที านใชในการวิจยั ในชน้ั เรยี นครั้งน้ี

[ ] แบบฝRก [ ] ชดุ การสอน

[ ] บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน [ ] เอกสารประกอบการสอน

[ ] เทคนคิ /รปู แบบการสอน [ ] ศนู ยการเรียน

[ ] บทเรียนสาํ เรจ็ รปู [ ] วีดทิ ัศน

[ ] อ่นื ๆ ระบุ ..............................................................................

18

ตอนที่ 2 ระดับคุณภาพของรายงานการวจิ ัยในช้ันเรียน

ขอ ประเด็นการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
ท่ี 12345

ดานท่ี 1 การประเมินภาพรวมของรายงานการวจิ ัย

1 งานวจิ ยั มีความโดดเดน มคี วามแปลกใหมจากงานวจิ ยั คนอ่ืน

2 งานวิจัยมคี วามสอดคลองกับหนาทีก่ ารปฏบิ ัตงิ านปกติของผวู จิ ยั

3 งานวิจยั สนองตอบตอนโยบายของสถานศกึ ษา

4 งานวจิ ยั มีรปู แบบการพิมพ เชน ขนาดตวั อักษร รูปแบบตัวอกั ษร ท่ีเปนระบบและ

รูปแบบเดียวกนั ท้ังเลมรายงานการวจิ ัย

5 งานวิจยั มกี ารพิสจู นตัวอกั ษรมาเปนอยางดี โดยเฉพาะคาํ ศัพทใหม เชน ผเู รยี น-

นักเรียน กลมุ สาระการเรียนรู-วชิ า หองเรียน-ช้นั เรียน แผนการจัดการเรียนรู -

แผนการสอน เปนตน

ดานที่ 2 การประเมินส!วนนาํ ของรายงานการวิจยั

ประเดน็ การประเมนิ “ช่อื เร่ืองรายงานการวิจัย”

6 ช่อื เร่ืองมีความสอดคลองกบั ปGญหาการวิจัย

7 ชือ่ เร่อื งส้นั กะทัดรัด ส่ือความหมายไดชัดเจน

8 ช่ือเรื่องมีความสอดคลองกับวัตถปุ ระสงคการวิจยั

9 ชอ่ื เร่ืองงานวิจัยมีความแปลกใหม นาสนใจ

10 ช่ือเร่ืองระบุตวั แปรสาํ คญั ท่ศี ึกษาครบถวน

ประเดน็ การประเมิน “บทคัดย!อรายงานการวจิ ยั ”

11 บทคัดยอเขียนเปนความเรยี ง เปนลาํ ดับขนั้ ตอน มองเหน็ การวจิ ยั โดยภาพรวม

12 บทคดั ยอมีองคประกอบครบถวน ไดแก ชอ่ื เร่ืองงานวจิ ัย ช่ือผวู จิ ัย วตั ถปุ ระสงค

ประชากรหรือกลมุ ตัวอยางที่ใชในการวิจยั เทคนิคการสุมกลุมตัวอยาง จาํ นวนกลุม

ตัวอยาง เครื่องมือทใ่ี ชในการวจิ ยั สถติ ทิ ี่ใชในการวจิ ยั และผลการวจิ ยั

13 ผลการวจิ ยั แสดงผลแบบสรุปและสอดคลองกับวตั ถุประสงคงานวิจัย

ประเดน็ การประเมนิ “สารบญั ”

14 มที ั้งสารบญั เน้ือหา สารบญั ภาพ (ถามี) และสารบัญตาราง

15 ตวั เลขกาํ กับหนาตรงกบั เนื้อหาภายในเลมรายงานการวจิ ยั

16 สารบัญเน้อื หา สารบัญรูปภาพ (ถามี) และสารบัญตาราง มีรปู แบบการเขียนเปนแบบ

เดียวกนั ท้งั หมด

ดานที่ 3 การประเมินส!วนเน้ือความของรายงานการวจิ ยั

บทที่ 1 บทนํา

ความเปน* มาและความสาํ คัญของป,ญหา

17 ความเปนมามีการกลาวถึงสาเหตขุ องปGญหาท่ีพบอยางชดั เจน

19

ขอ ประเด็นการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ท่ี 12345

18 ปญG หาที่พบสอดคลองกับภาระงานของผวู ิจัย

19 เขียนความเปนมาจากกวางไปหาแคบ

20 ความเปนมาเขยี นเปนความเรียง มีความสอดคลองตอเนื่องกนั และเปนเหตเุ ปนผล

21 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่นํามาอางถึง มีความนาเช่ือถอื

22 มกี ารอางอิงจากทฤษฎี หรอื ขอเทจ็ จริง ครบทุกขนั้ ตอนที่กลาวอาง

23 การอางอิงมีรปู แบบการเขยี นทีเ่ หมือนกัน

24 มจี ํานวนหนาไมมากและไมนอยเกนิ ไป ประมาณ 3- 5 หนา

25 ระบุเหตุผลทตี่ องทาํ วจิ ยั อยางสมเหตุสมผลและตรงประเด็น

วัตถุประสงค/งานวิจัย

26 วัตถุประสงคสอดคลอง/ครอบคลุมกับชอ่ื เร่ือง

27 วัตถุประสงคสอดคลอง/ครอบคลมุ กบั ปGญหาการวิจยั

28 วตั ถปุ ระสงคเขียนเปนประโยคบอกเลา

29 วตั ถปุ ระสงคอานแลวเขาใจ ชดั เจน

30 วัตถปุ ระสงคสามารถดําเนินการไดจริงและเหน็ ผลไดในเวลาท่ีเหมาะสม

ขอบเขตการวจิ ยั

ขอบเขตของประชากร

31 ขอบเขตของประชากร เขียนแสดงลักษณะ คือ ประชากรคือใคร ประชากรอยูทีใ่ ด

ปOการศึกษาใด และประชากรมจี าํ นวนเทาใด

ขอบเขตของเนอื้ หา

32 ขอบเขตเน้อื หาถกู ตอง มีความครอบคลมุ กบั วตั ถปุ ระสงค

33 กาํ หนดตัวแปรตน และตวั แปรตามไดถกู ตอง

34 ตวั แปรตน และตวั แปรตามท่ีกําหนดสอดคลองกบั ปญG หาการวิจัย

35 ขอบเขตเน้อื หามีความเหมาะสมกับระยะเวลาในการวิจัย

ขอตกลงเบ้อื งตน (ถามี)

36 กาํ หนด/ตั้งขอตกลงเบอ้ื งตนไดสอดคลองกบั งานวจิ ยั

37 ขอตกลงเบือ้ งตนน้ันเปนสิง่ ที่ยอมรบั ได

สมมติฐานการวจิ ยั (ถามี)

38 กําหนด/ตั้งสมมติฐานไดสอดคลองกับวตั ถุประสงค

39 กําหนด/ตงั้ สมมตฐิ านมคี รอบคลมุ ตามวัตถุประสงค

40 สมมติฐานมีเหตผุ ลทางวิชาการท่เี ช่ือถือได

41 สมมติฐานสามารถทดสอบได

42 สมมตฐิ านเขยี นในรูปการอธบิ าย ชัดเจน เขาใจงาย

นยิ ามศัพท/เฉพาะ

20

ขอ ประเดน็ การประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ที่ 12345

43 มกี ารนยิ ามศพั ทในการวิจยั สอดคลองกบั ช่ือเร่อื งการวิจัย

44 มกี ารนิยามศพั ทในการวจิ ัยครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงค

45 มีการนยิ ามศัพทที่ถูกตอง ชดั เจน เขาใจงาย

46 มีการนิยามศัพทโดยใชการสงั เคราะหจากเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวของ (บทที่ 2)

47 มกี ารนยิ ามศพั ทในรปู แบบนิยามเชิงปฏิบัตกิ ารสามารถวดั และประเมินผลได

48 มกี ารนยิ ามศัพทท่สี อดคลองกับเครือ่ งมือทใ่ี ชในการวิจยั

ประโยชน/ท่ีไดรับจากการวิจัย

49 ระบปุ ระโยชนในเชิงวชิ าการสอดคลองกับวตั ถุประสงคงานวจิ ัย

50 ระบุประโยชนในเชิงการนําไปใชมีความเปนไปได

51 มีการเรียงลําดบั ประโยชนที่ไดรบั เริ่มจากประโยชนทไ่ี ดรับจากการวิจยั และประโยชน

โดยทวั่ ไป

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวของ

52 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเก่ยี วของมีความครอบคลุมกับวตั ถปุ ระสงค

53 มกี ารจัดเรยี งลาํ ดบั เน้ือหาไดอยางเหมาะสม ถูกตองตามหลักตรรกะ

54 เนอื้ หาในแตละหวั ขอยอยมีความเชอ่ื มโยง สอดรับกนั

55 รปู ภาพทีป่ รากฏในบทท่ี 2 มกี ารอางอิงถงึ แหลงท่ีมาอยางครบถวน

56 มกี ารสังเคราะห/สรุปเน้อื หาท่ีเชื่อมโยงกบั ประเดน็ เน้ือหาน้ันๆ กอนขึน้ ประเด็นใหม

57 มกี ารอางอิงแหลงท่ีมาอยางครบถวน ถูกตอง ทั้งจากส่อื สงิ่ พิมพ และจากอินเตอรเนต็

58 มีแหลงอางองิ ปฐมภูมิมากกวาทุติยภมู ิ

59 การเขยี นอางอิงถูกตอง เปนรปู แบบเดียวกันท้ังหมด

60 เอกสารท่ีใชอางองิ มีความทันสมยั

61 งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วของมีการเรยี งลําดบั ปO พ.ศ.จากเกาไปหาใหม

62 งานวิจัยท่เี กี่ยวของมีความสอดคลองกบั ปGญหาการวิจยั

63 มกี ารสังเคราะห/สรปุ งานวิจยั ที่เกย่ี วของในตอนทายหัวขอ งานวิจัยที่เกยี่ วของ

64 งานวิจัยท่ีเกยี่ วของมจี ํานวนเลมทเี่ พยี งพอกับรายงานการวิจยั เลมน้ี

65 มีการสังเคราะหกรอบแนวคิดสําหรับการทาํ วจิ ยั ในคร้งั นี้

บทที่ 3 วิธีดาํ เนนิ การวจิ ยั

ประชากรและกลุ!มตวั อยา! ง

66 ประชากรมีความสอดคลองกับงานวิจยั

67 กลุมตัวอยาง เขยี นแสดงลักษณะ คือ กลุมตวั อยางคือใคร กลมุ ตวั อยางอยูท่ีใด

ปOการศกึ ษาใด และกลุมตวั อยางมจี าํ นวนเทาใด

68 กลุมตัวอยางทีใ่ ชเปนตัวแทนทดี่ ีของประชากร

69 ใชเทคนิคการสมุ กลมุ ตัวอยางทถี่ กู ตอง/เหมาะสม

21

ขอ ประเดน็ การประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ท่ี 12345

70 กลุมตัวอยางสามารถใหขอมลู ทตี่ รงกับวตั ถุประสงคงานวิจัย

เครือ่ งมอื ทใ่ี ชในการวจิ ัย

71 เคร่ืองมือท่ีใชครอบคลมุ วตั ถุประสงคงานวิจัย

72 เครอ่ื งมอื ท่ีใชเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงคงานวิจัย (ทาํ การวดั ผลไดตรงจุด)

73 ระบุรายละเอยี ดของเคร่อื งมืออยางชัดเจน เชน จาํ นวนขอ เปนแบบเลือกตอบ 4

ตวั เลอื ก หรือแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ เปนตน

74 เครอ่ื งมอื แตละชนดิ มีการหาคุณภาพที่ถกู ตอง เชน คาความเช่ือม่ัน คาความยากงาย

75 เครือ่ งมอื แตละชนดิ มหี ลักการสรางทีถ่ ูกตองตามทฤษฎจี ากบทท่ี 2

76 ใชเครื่องมือไดเหมาะสมกับประชากรหรอื กลมุ ตวั อยาง

77 ผูเชีย่ วชาญมคี วามเช่ียวชาญ/ความเหมาะสมในการพจิ ารณาเคร่อื งมอื แตละชนดิ จริง

การเก็บรวบรวมขอมลู

78 สามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดครบตามวตั ถุประสงค

79 มีขัน้ ตอนการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีเหมาะสม

80 วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู มคี วามนาเช่อื ถือ มคี วามเปนไปได

การวิเคราะหข/ อมูลและสถิติที่ใช

81 ใชสถติ ใิ นการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือไดครอบคลุมกบั เคร่ืองมือท่ใี ชในการวิจยั ทง้ั หมด

82 ใชสถติ ิในการหาคณุ ภาพเครือ่ งมือทุกชนดิ ไดถกู ตอง

83 ใชสถติ ิวเิ คราะหขอมลู ไดครอบคลมุ วตั ถปุ ระสงคท่ตี ั้งไว

84 มีการคาํ นวณคาสถิติตางๆไดถกู ตอง

85 มีการนาํ เสนอสูตรสถิตทิ ีใ่ ชในการวจิ ัยอยางถูกตองพรอมการอางอิงทม่ี าของสูตร

86 ใชสัญลกั ษณทางสถิติไดถูกตอง ในการแสดงคาสถิตจิ ากประชากรและกลุมตัวอยาง

รูปแบบและกระบวนการวจิ ัย

87 กระบวนการวจิ ัยมีความเหมาะสมกบั วัตถุประสงค

88 มวี ธิ กี ําหนดประชากร/กลุมตัวอยางไดอยางเหมาะสม

89 มกี ารกาํ หนดระยะเวลาท่ีชัดเจนสําหรบั การวจิ ัยครง้ั น้ี

90 มีการควบคุมตวั แปรท่ีไมเก่ียวของกบั งานวิจัยได

เกณฑก/ ารแปลผลการวิเคราะหข/ อมลู

91 มีการกําหนดเกณฑการแปลผลคาสถติ ิตางๆทชี่ ัดเจน

92 เกณฑการแปลผลที่กาํ หนดมานนั้ มกี ารอางอิงแหลงที่มาท่สี อดคลองกบั บทท่ี 2

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห/ขอมูล

93 ผลการวเิ คราะหขอมูลครอบคลุมวตั ถุประสงคทุกขอ

94 เรียงลําดบั ผลการวเิ คราะหขอมูลสอดคลองกบั วัตถุประสงค

95 มีการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมลู อยางถูกตอง

22

ขอ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
ที่ 12345

96 มกี ารนําเสนอผลการวเิ คราะหขอมลู ท่ีเกี่ยวกับการสรางเครอื่ งมือที่ใชในการวจิ ยั ในเชงิ

ของการปรับปรงุ /การพัฒนา (ทดลองแบบหนง่ึ ตอหน่ึง หน่ึงตอสิบ ภาคสนาม)

97 มกี ารนําเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ดวยรปู แบบท่เี หมาะสมกบั วัตถุประสงค

98 มกี ารแปลผลการวิเคราะหขอมูลที่ถกู ตอง ตรงประเด็น ไมนําความคิดเขาไปเกี่ยวของ

99 มรี ูปแบบการแปลผลการวิเคราะหขอมูลท่เี ปนรปู แบบเดียวกนั

100 มกี ารแปลความหมายของระดับนยั สําคญั ทางสถิติไดอยางถูกตอง

101 มกี ารแปลผลขอมลู ประกอบใตตารางหรอื ใตกราฟอยางถูกตอง

102 มกี ารอธบิ ายสัญลักษณหรืออักษรยอท่ีใชในการวจิ ยั

103 ใชสญั ลักษณในการวิจัยระหวางประชากรและกลุมตวั อยางไดอยางถกู ตอง

บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผลการวจิ ัย

104 มีการเกร่ินนาํ การใหรายละเอียดในประเด็นตอไปน้ี วตั ถปุ ระสงคการวจิ ยั ประชากร

และกลุมตัวอยาง เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย วธิ กี ารรวบรวมขอมลู การวิเคราะหขอมูล

และสถิติที่ใช (เขยี นเปนความเรียง)

สรปุ ผลการวิจัย

105 สรปุ ผลการวจิ ัยไดสอดคลองกับวัตถุประสงค

106 เรยี งลําดับการสรปุ ผลการวจิ ัยไดสอดคลองกับวตั ถุประสงค

107 สรปุ ผลการวิจยั ไดชัดเจน เขาใจงาย ไมมีความคดิ ของผูวจิ ัยเขาไปเกยี่ วของ

อภปิ รายผลการวจิ ัย

108 อภปิ รายผลไดสอดคลองกับวัตถุประสงค

109 เรยี งลาํ ดับการอภิปรายผลไดสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงค

110 มีการอภิปรายผลในขอคนพบทีส่ าํ คัญจากงานวจิ ัยท้ังหมด

111 การอภิปรายผลมกี ารอางอิงเอกสารและงานวิจยั จากบทที่ 2

112 มรี ปู แบบการอภปิ รายผลคือ “ผลการวจิ ัยพบวา............ ทงั้ น้อี าจเปนเพราะ

................. ซ่ึงสอดคลองกับ..................”

113 มกี ารอภิปรายผลอยางสมเหตุสมผล เขาใจงาย ไมซํ้าซอน

ขอเสนอแนะ

114 ขอเสนอแนะท่ีนาํ เสนอมีความสมเหตสุ มผล

115 ขอเสนอแนะที่นาํ เสนอมีความเปนไปไดในการปฏิบตั ิ

116 ขอเสนอแนะท่นี ําเสนอเปนผลมาจากการวิจยั ครั้งน้ี

การประเมนิ สว! นทายของรายงานการวิจัย

บรรณานุกรม

117 มรี ปู แบบการพมิ พเปนรูปแบบเดยี วกนั

118 มรี ูปแบบการพิมพที่ถูกตองตามหลักการเขียนบรรณานุกรม

23

ขอ ประเด็นการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
ท่ี 12345

119 มคี วามสอดคลองกับเอกสารทใี่ ชในการอางอิงในเลมงานวจิ ัยนท้ี งั้ เลม XXXXX
12345
ภาคผนวก

120 ภาคผนวก ประกอบดวย รายนามผูเช่ยี วชาญ ตวั อยางเครอ่ื งมือที่ใชในการวจิ ยั

ตัวอยางหนงั สือราชการ คะแนนดิบและการคาํ นวณคาสถิติ หลักฐานการเผยแพร

ผลงานทางวชิ าการ และประวตั ิผวู จิ ยั

121 ภาคผนวกทกุ สวนมคี วามสอดคลองกับเนือ้ หาการวจิ ยั

122 มีการจดั เรียงภาคผนวกเปนหมวดหมู ไมสบั สน

123 ประวัตผิ วู จิ ยั ประกอบดวย ช่อื ผวู จิ ยั วนั เดอื นปเO กิด สถานทีท่ าํ งาน ประวตั ิการศึกษา

ประวัติการรับราชการ และผลงานวิจัยที่เคยทํา

รวมความถ่ีทต่ี อบในแตล! ะระดบั

คูณคะแนน

ผลการคูณ
รวมผลการคูณท้งั หมด
แปลผลระดบั ความสมบรู ณ//ถูกตองของรายงานการวจิ ัย

24

วธิ คี าํ นวณ
1. ใหนับจํานวนความถี่ที่ตอบของแตละชองวามีความถี่เทาใด ดังนี้ ชอง 5 มีจํานวนขอท่ี

ตอบกี่ขอ ชอง 4 มีจํานวนขอท่ีตอบก่ีขอ ชอง 3 มีจํานวนขอท่ีตอบก่ีขอ ชอง 2 มีจํานวนขอที่ตอบ
กี่ขอ และชอง 1 มีจาํ นวนขอทตี่ อบกขี่ อ โดยทผ่ี ลรวมของจาํ นวนขอทตี่ อบตองได 123 ขอ

2. เมื่อนับจํานวนขอที่ตอบเสร็จแลว ใหนํา 5 ไปคูณกับความถี่ของชอง 5 นํา 4 ไปคูณกับ
ความถี่ของชอง 4 นํา 3 ไปคูณกับความถ่ีของชอง 3 นํา 2 ไปคูณกับความถ่ีของชอง 2 และ
นํา 1 ไปคูณกบั ความถข่ี องชอง 1

3. รวมคะแนนผลคณู ที่ได แลวจึงนําไปเทียบกบั ตารางเทยี บคะแนนผลรวม

ตวั อย!างการคํานวณ

ระดับ ความถี่ท่ีตอบ (ขอ) ระดบั x ความถี่ท่ีตอบ รวม การแปลผล

5 48 5 x 48 240 งานวิจยั มีความ

4 42 4 x 42 168 สมบรู ณ/ถูกตองอยู
3 20 3 x 20 60 ในระดบั ดี
2 10 2 x 10
13 1x3 20
รวม 123
- 3

491

ตารางเทียบคะแนนผลรวม

เกณฑก/ ารแปลผลระดับคุณภาพของ

ชว! งผลรวมของคะแนน รายงานการวิจัยในชัน้ เรยี น

123 – 183.27 งานวจิ ัยมคี วามสมบูรณ/ถูกตองอยูในระดับ นอยทส่ี ุด

187.5 – 306.27 งานวิจยั มคี วามสมบรู ณ/ถกู ตองอยูในระดบั นอย

307.5 – 429.27 งานวจิ ัยมีความสมบรู ณ/ถกู ตองอยูในระดับ ปานกลาง

430.5 – 552.27 งานวจิ ัยมีความสมบูรณ//ถูกตองอยูใ! นระดบั ดี

553.5 - 615 งานวิจัยมคี วามสมบรู ณ/ถูกตองอยูในระดบั ดีมาก

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

25

คําถามทบทวนความรู

คําชีแ้ จง เมอื่ ครูผสู อนอานเนอ้ื หาในบทที่ 11 เสรจ็ เรยี บรอยแลว จงตอบคาํ ถามตอไปนี้
โดยแตละขอมคี ะแนน 2 คะแนน รวมคะแนนเตม็ 10 คะแนน

1. การประเมินรายงานการวจิ ัยในช้นั เรียน มกี ว่ี ิธอี ะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

2. การประเมนิ รายงานการวจิ ยั ในชัน้ เรยี นดวยตนเอง มีวธิ ปี ฏิบัติอยางไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

3. การประเมินรายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี น โดยปกติจะแบงออกเปนกสี่ วน อะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

4. งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร งานวิจัยเชิงบรรยาย งานวิจัยเชิงหาความสัมพันธ และงานวิจัย
กง่ึ ทดลองและทดลอง มีจุดเนนทใ่ี ชในการประเมินงานวิจัยแตละประเภทอะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

5. จากตารางท่กี าํ หนดให จงคาํ นวณคะแนนเพอื่ หาระดบั คุณภาพของรายงานการวิจัยในชนั้ เรียน

ระดับ ความถ่ที ต่ี อบ (ขอ) ระดับ x ความถี่ทตี่ อบ รวม การแปลผล
5 43
งานวิจยั มคี วาม
4 47 สมบรู ณ/ถูกตองอยู
3 12
2 15 ในระดับ...........
16
รวม 123 -

26

บรรณานกุ รม

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. (2529). การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงใ หม& . ภ าควิช าแล ะประเมินผ ลแล ะวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาส ตร
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม*.

กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร . (2539) . ครกู ับการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน . กรุงเทพ
: ครุ ุสภาลาดพรา/ ว.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2542 ). วิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู . กรุงเทพ : คุรุสภา
ลาดพรา/ ว.

กิตติพร ป1ญญาภญิ โญผล . (2549) . วจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการ แนวทางสาํ หรบั ครู . ภาควชิ าประเมนิ ผล
และวจิ ยั การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม*.

เกียรติสุดา ศรสี ขุ . (2549) . ระเบยี บวธิ ีวิจัย . ภาควชิ าประเมนิ ผลและวิจัยการศกึ ษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม*.

เกยี รตสิ ุดา ศรสี ขุ . (2552) . ระเบียบวิธีวจิ ัย . ภาควิชาประเมนิ ผลและวิจัยการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม*.

ครุรกั ษ ภริ มยรกั ษ . (2544) . เรียนรแู ละฝ0กปฏิบตั ิการวิจยั ในช้นั เรยี น . สาํ นกั งานการ
ประถมศกึ ษา จงั หวดั ฉะเชิงเทรา.

เยาวดี รางชยั กลุ วบิ ูลยศรี . (2543) . การวดั และการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ :
สาํ นักพมิ พจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .

รววี รรณ ชนิ ะตระกลู . (2533) . คูม& ือการทําวิจัยทางการศกึ ษา . หา/ งหุ/นส*วนจาํ กดั ภาพพิมพ.
วรรณี ลิ้มอักษร. (2540). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ
วไลรัตน บุญสวัสดิ์ . (2535) .หลกั การนิเทศการศึกษา . คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.
วิเชยี ร เกตุสงิ ห . (2530) . หลกั การสรางและวเิ คราะหเครอ่ื งมือทีใ่ ชในการวิจยั .

สํานกั พิมพ ไทยวัฒนาพานชิ จาํ กัด.
ศิรพิ ร จิรวฒั นกลุ . (2553) . วิจยั จากงานประจํา เรียนแบบทีละขนั้ . กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน.
สาโรช บวั ศรี . (2504) . แนวคิดในการบริหารการศกึ ษา . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พมงคลการพมิ พ.
สิน พนั ธุพนิ จิ . (2553) . เทคนคิ การวจิ ัยทางสงั คมศาสตร . กรงุ เทพฯ : วทิ ยพฒั น.
สทิ ธิ์ ธีรสรณ . (2550) . แนวคดิ พ้นื ฐานทางการวจิ ัย . สาํ นักพิมพแห*งจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั .
สโุ ท เจริญสขุ . (2523) . จิตวทิ ยาการศึกษา . นนทบุรี : โอเดียนสโตร.
สนุ ยี ธีรดากร . (2525) . จติ วทิ ยาการศึกษา . นนทบรุ ี: โรงพิมพสถานสงเคราะหหญิง.
สภุ รณ สภุ าพงศ . (2543) . กรอบความคดิ และขอเสนอแนะการวิจัยเพ่ือการปฏิรูปการเรียนรขู อง

สงั คมไทย . วารสารวิชาการ ฉบับท่ี 10 ตุลาคม พ.ศ.2543
สุภาภรณ ม่ันเกตวุ ิทย . (2544) . ตัวอยา& งการวิจยั ในช้ันเรียนประสบการณตรง

จากครูตนแบบ . กรงุ เทพ : สํานกั พิมพธารอกั ษร.
สุรางค จนั ทวานิช. (2531) . วิธีการวจิ ัยเชิงคุณภาพ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

27

สุวิมล วอ* งวาณิช . (2550) . การวจิ ัยปฏิบตั กิ ารในช้ันเรียน . สํานักพมิ พแหง* จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลยั .

สวุ ฒั นา สุวรรณเขตนิคม . (2538) . เสนทางสก&ู ารวิจัยในช้ันเรียน . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพบริษัท
บพธิ การพมิ พ..

สมั มา รธนธิ ย . (2544) . การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอนจากประสบการณสู&ปฏิบัติการ . สุรินทร :
ร*งุ ธนเกียรตอิ อฟเซท็ .

สํานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ . (2546) . การทําวิจัยแบบง&าย :
บนั ไดสค&ู รูนักวจิ ยั (วจิ ยั แผ&นเดียว) . กรุงเทพ : องคการรับสง* สินคา/ และพัสดภุ ณั ฑ.

สํานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). รปู แบบการจดั การเรียนรใู นการอ&านคิด วเิ คราะห
เขียน และสรางองคความรดู วยตนเองทเ่ี นนผเู รียนเป<นสาํ คญั . กรงุ เทพฯ : สาํ นกั งาน.

อทุ มุ พร (ทองอุไทย) จามรมาน . (2544) . การวิจัยในช้ันเรียนและในโรงเรียนเพอื่ พัฒนานักเรียน
. กรงุ เทพ : ฟน1 นี่พับบลิชชง่ิ .


Click to View FlipBook Version