The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surat.socialit, 2021-11-24 01:36:56

รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564

รายงานผลการดำเนิน ประจำปี 2564

รา=10*1ย0 งานผลการ

ประจำปีงบประมาณ 2564

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
เลขที่ 39/7 หมูท่ ่ี 1 ต.ขุนทะเล อ.เมืองฯ จ.สรุ าษฎร์ธานี 84000

คำนำ

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ไดจ้ ดั ทำรายงาน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564) เพ่ือรวบรวมผลการดำเนินงาน
ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา และเพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานตามภารกิจของสำนักงานพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งภารกิจตามนโยบายของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์

รายงานฉบับนี้ นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามนโยบายของกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และโครงการ/กิจกรรมร่วมกับจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้
ประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะ เด็ก เยาวชน สตรี ผ้ดู อ้ ยโอกาส คนพกิ าร และผู้สงู อายุ ในจงั หวัด
สรุ าษฎรธ์ านี มีความม่นั คงในการดำรงชีวติ อย่างยงั่ ยืน

ตลุ าคม 2564
สำนักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

สารบญั

หน้า

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี 1

- ความเป็นมาของจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี 1
- ลกั ษณะทางกายภาพ 2
- ข้อมลู ประชากร 4
- โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ของจังหวัด 6
- แรงงานในจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี 6
- แผนยุทธศาสตร์การพฒั นาสงั คมจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี (พ.ศ. 2561 – 2565) 7

สว่ นท่ี 2 สถานการณท์ างสงั คมจงั หวดั สุราษฎร์ธานี 9
- สถานการณป์ ระชากรในจังหวดั สุราษฎร์ธานี 9
- สถานการณเ์ ชิงกล่มุ เปา้ หมาย 9
- สถานการณเ์ ชิงประเด็น 15

สว่ นที่ 3 ข้อมลู พน้ื ฐานสำนักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ จ.สฎ 17

- ประวัติหน่วยงาน 17
- ภารกจิ หนว่ ยงาน 18
- โครงสรา้ งหนว่ ยงาน 19
- วิสยั ทศั น์ 21
- งบประมาณ 21

สว่ นที่ 4 ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 22

- ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจำปี 2564 22
- ผลการดำเนนิ งานภารกิจโครงการ/กจิ กรรมที่สำคัญ 30

สว่ นท่ี 1 1
ขอ้ มูลพน้ื ฐานของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
เมอื งร้อยเกาะเงาะอรอ่ ย
1.1.ความเป็นมาของจังหวัดสุราษฎรธ์ านี หอยใหญ่ ไขแ่ ดง แหล่งธรรมะ
(1) ความเป็นมา
สุราษฎร์ธานีเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีมา ตราสุราษฎรธ์ านี:รูปพระบรมธาตุไชยา หมายถงึ พระบรมธาตุไชยา

ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชนพื้นเมือง ได้แก่ กลา่ วกนั วา่ พระบรมธาตุไชยา เปน็ ท่ี บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระสมั มาสัม
พวงเซมงั และมลายูด้ังเดิม ซึ่งอาศัยอยู่ในเขตลุ่มน้ำ พุทธเจา้ ซึ่งเป็นปชู นยี ส์ ถานสำคัญทสี่ ดุ ของจังหวดั เปน็ ทเ่ี คารพสกั การบชู าของ
หลวง (แม่น้ำตาป)ี และบรเิ วณอ่าวบา้ นดอน ก่อนท่ี ชาวจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี และพทุ ธศาสนกิ ชนทั่วไป
ชาวอินเดียจะอพยพเข้ามาตั้งหลักแหล่ง และ
เผยแพร่วัฒนธรรม ดังปรากฏหลักฐานในชุมชน ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดชุมพร
โบราณที่ อ.ท่าชนะ อ.ไชยา เป็นต้น ต่อมาในพุทธ จังหวัดระนอง และอา่ วไทย
ศตวรรษที่ 13 มีหลักฐาน ปรากฏว่า เมืองนี้ได้รวม ทิศใต้ ติดต่อกบั จังหวัด
กับอาณาจักรศรีวิชัย เมื่ออาณาจักรนี้เสื่อมลง จึง นครศรีธรรมราช และกระบี่
แยกออกมาเป็น 3 เมือง คือ เมืองไชยา เมืองท่า ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั พงั งา
ทอง และเมอื งคีรีรฐั ข้ึนตอ่ เมอื งนครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับอา่ วไทยและ
จงั หวัดนครศรีธรรมราช
(2) ขนาดและที่ต้งั
จ ั งหว ั ดส ุ ราษฎ ร ์ ธ าน ี ต ั ้ งอย ู ่ บ น ฝ่ั ง

ตะวันออกของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพฯโดยทาง
รถยนต์ ประมาณ 645 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ
13,079.61 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,174,756.25 ไร่ มี
เนื้อที่มากเป็นอันดับ 6 ของประเทศและมีพื้นที่มาก
ท่สี ุดในภาคใต้ ฝ่งั ทะเลดา้ นอ่าวไทยในจังหวัดสุราษฎร์
ธานี มีความยาวประมาณ 156 กิโลเมตร มีเกาะขนาด
ใหญ่ ได้แก่ เกาะสมุย เนื้อที่ 227.25 ตารางกิโลเมตร
เกาะพะงัน มีเนอ้ื ท่ี 194.2 ตารางกโิ ลเมตร นอกจากนี้
ยงั มีหมเู่ กาะอ่างทอง และเกาะบรวิ าร 42 เกาะ เกาะส
มุยเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด ห่างจากฝั่งทะเล
ประมาณ 20 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลาง
จงั หวดั ประมาณ 80 กโิ ลเมตร มอี าณาเขต ดังน้ี

1.2.ลกั ษณะทางกายภาพ 2
(1) เขตการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 19 อำเภอ มีส่วนราชการตา่ งๆ ในจังหวัด อำเภอ ตำบล และ
หม่บู า้ น ดังน้ี
131 ตำบล 1,075 หมู่บ้าน ดังน้ี
- การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีท้ังหมด 34
พืน้ ท่ี หา่ งจาก หน่วยงาน
อำเภอ (ตร.กม.) ตวั จงั หวัด ตำบล หมบู่ ้าน อปท.
- หน่วยงานราชการส่วนกลาง มี 125
กม. หนว่ ยงาน

เมืองฯ 231.317 1 11 59 10 - หน่วยงานอิสระของรฐั 3 หน่วยงาน
- หนว่ ยการปกครองทอ้ งถ่ิน 3 รปู แบบ คือ
กาญจนดษิ ฐ์ 873.539 18 13 117 14
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง
ดอนสัก 458 61 4 41 5 - เทศบาล 40 แหง่
- องค์การบริหารส่วนตำบล 97 แหง่
เกาะสมยุ 277.25 84 7 39 1 (2) ภูมปิ ระเทศและภูมิอากาศ

เกาะพะงนั 193 100 3 17 4 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่
และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ภูมิ
ไชยา 1,004.63 68 9 54 9 ประเทศแบบที่ราบชายฝั่งทะเล ท่ีราบสูง รวมท้ัง
ภมู ิประเทศแบบภูเขาซึ่งกินพน้ื ที่ของจังหวัดถึงร้อย
ท่าชนะ 683.086 78 6 82 7 ละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีทิวเขาภูเก็ตทอดตวั
ในแนวเหนือ – ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มแม่น้ำที่
ครี รี ฐั นคิ ม 1,347.37 55 8 85 9 สำคญั คอื ลมุ่ แมน่ ำ้ ตาปี ไชยา ทา่ ทอง เปน็ ตน้

วภิ าวดี 543.53 70 2 31 2 ด้านตะวันออกเป็นฝั่งทะเลอ่าวไทย
และมีเกาะน้อยใหญ่ที่มีประชากรอาศัย ส่วนด้าน
บา้ นตาขุน 1,300.00 71 4 29 5 ตะวันตกมีลักษณะเป็นภูเขาสูง มีแม่น้ำสายสำคัญ
คือ แม่น้ำตาปี และทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ
พนม 703.233 80 6 56 6 จังหวดั สุราษฎร์ธานี จึงได้รับอทิ ธพิ ลจากมรสขุ

ท่าฉาง 1,160.43 37 6 46 7

บา้ นนาสาร 835.06 41 11 65 11

บา้ นนาเดมิ 206 50 4 30 5

เคียนซา 580 61 5 51 6

เวยี งสระ 420.39 68 5 64 6

พระแสง 1,328.06 68 7 74 9

ชยั บรุ ี 430.00 112 4 37 4

พุนพิน 1201.16 12 16 98 17

ท่ีมา สำนกั งานสถิติจังหวดั สุราษฎร์ธานี

(3) ทรพั ยากรธรรมชาตแิ หล่งน้ำ 3

ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ - ทางรถไฟ การเดินทางระหว่างจังหวดั สุ
ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ป่าไม้ในจังหวัดมีทั้งป่า ราษฎร์ธานกี ับกรงุ เทพมหานครและจงั หวัด
โปร่งและป่าดงดิบ จึงมีไม้ที่มีค่ามากมาย เช่น ยาง ใกล้เคียง
ยูงเคี่ยม ตะเคียน จำปา พะยอม และไม้อื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีแร่ธาตุที่สำคัญอีกหลายชนิด อยู่ใน - ทางน้ำ การคมนาคมทางน้ำในจังหวัดสุ
ท้องที่ต่างๆ เช่น ยิปซั่ม โดโลไมต์ และหินปูน ราษฎร์ธานีมีทั้งภายในจังหวัดสุราษฎร์ธานีและ
(หนิ อุตสาหกรรมชนิดก่อสร้าง ) ในปี พ.ศ. 2561 มี ระหว่างจังหวัด โดยภายในจังหวัดจะเป็นคมนาคม
จำนวนเหมืองแร่เปิด ดำเนินการท้ังส้นิ 54 แห่ง ทางน้ำเพื่อการท่องเที่ยวเป็นหลักเพื่อเดินทางไป
เกาะสมุย เกาพะงัน เกาะเต่า และอุทยานแห่งชาติ
แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญของจังหวัด หมู่เกาะอ่างทอง ในส่วนของการขนส่งระหว่าง
จังหวัด จะเป็นเรือขนส่งสินค้าขนาด 2,000 –
สุราษฎร์ธานีมีลุ่มน้ำใหญ่น้อยรวม 14 ลุ่มน้ำ 3,000 ตนั

แต่ละลุ่มน้ำมแี ม่นำ้ และรอ่ งหลายสาย ทุกสายล้วน

ลงสู่อ่าวไทย แม่น้ำในสุราษฎร์ธานี ตัดขวาง

คาบสมุทร ออกสู่ทะเลด้านตะวันออก ในอดีต

อาศัยเครือข่าย แม่น้ำเดินทางติดต่อถึงกัน และ

ติดต่อกับเมืองชายฝั่งแม่น้ำที่มีลักษณะทางอุทก

วิทยาที่สำคัญของสุราษฎร์ธานี คือ แม่น้ำตาปี

คลองพุมดวง ซึ่งเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชาวจังหวัด

สุราษฎร์ธานี แมน่ ้ำ ทีส่ ำคัญของจงั หวดั มี 2 สาย

แมน่ ำ้ ตาปี คลองพุมดวง

(4) เสน้ ทางคมนาคมของจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี - ทางอากาศ จำนวน 2 สนามบิน คือ ท่า
- ทางรถยนต์ การเดินทางระหว่าง กาศยานสุราษฎรธ์ านี และเกาะสมุย

จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี กบั กรุงเทพมหานครและ
จังหวดั ใกล้เคียง

4

(5) ประเพณีและวัฒนธรรม 1.3.ขอ้ มูลประชากร

ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
แข่งขันเรือยาว มอี ีกช่อื คอื งานเดือนสิบเอ็ดซึ่งเป็น
เวลาเดียวกับเทศกาลออกพรรษากิจกรรมที่สำคัญ 2563 จำนวน 1,067,726 คน (ชาย 525,716 คน
ได้แก่การประกวดเรือพระ ซึ่งจะมีทั้งรถพนมพระ
และเรือพนมพระซึ่งรถและเรือพนมพระ อาจจะ หญิง 542,010 คน ) จำแนกประชากรเด็กที่อายุต่ำ
ตกแต่งประดับประดาด้วยการแกะสลัก หรือฉลุไม้
ตกแต่งจำลอง เสมือนฉากที่พระพุทธเจ้ากลับมา กว่า 18 ปี จำนวน 247,779 คน (ร้อยละ 23.21)
จากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในงานพิธีจะใช้คนลากเชื่อว่า
ผู้ที่ได้ร่วมลากจูงรถหรือเรือพนมพระจะได้อานิสงค์ ประชากรเยาวชนอายุ 19 – 25 ปี จำนววน
หลายประการ
100,874 คน (ร้อยละ 9.45) ประชากรวัยทำงาน
ธานี ศาสนสถาน ศาสนาพุทธ วัด จำนวน
อายุ 26 – 59 ปี จำนวน 553,100 คน และ
360 แห่ง และที่พักสงฆ์จำนวน 168 แห่ง ศาสนาศ
ประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 165,973 คน (ร้อยละ
ริสต์ จำนวน 69 แห่ง และศาสนาอิสลาม จำนวน 49
15.54) มีจำนวนครัวเรือน 344,722 ครัวเรือน
แห่ง สำหรับผู้นำทางศาสนา ศาสนาพุทธ ตำแหน่ง
(ที่มา การสำรวจข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน พ.ศ.
เจ้าอาวาสและรักษา จำนวน 360 รูป และหวั หน้าที่
2564 สนง.สถิตแิ ห่งชาติ)
พักสงฆ์ จำนวน 168 รูป ศาสนาศริสต์ ตำแหน่ง
รายการข้อมูล เพศ เพศ รวม ร้อย
บาทหลวง จำนวน 69 คน และศาสนาอิสลาม ชาย หญงิ ละ
อายุต่ำกวา่ 18 ปี 247,779
ตำแหนง่ อหิ ม่าม จำนวน 46 คน (เด็ก) 127,484 120,295 23.21
อายุ 19 ปี – 25 100,874
ปี (เยาวชน) 50,914 49,960 553,100 9.45
อายุ 26 – 59 ปี 165,973.
อายุ 60 ปีขนึ้ ไป 273,657 279,443 51.80
อายุ 100 ปขี ้ึนไป 73,661 92,312 384 15.54

187 197 -

จ ำ แ น ก ต า ม ส ั ด ส ่ ว น ป ร ะ ช า ก ร พ บ ว่ า
ประชากรอายตุ ่ำกว่า 18 ปี (เด็ก) จำนวน 250,364
คน คิดเป็นร้อยละ 23.39 ประชากรอายุ 19 ปี –
25 ปี (เยาวชน) จำนวน 117,251 คน คิดเป็นร้อย
ละ 10.96 ประชากรอายุ 26 – 59 ปี จำนวน
538,613 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.33 และประชากร
อายุ 60 ปขี น้ึ ไป จำนวน 163,991 คน คิดเป็นร้อย
ละ 15.32 ทั้งนี้ ประชากรอายุ 100 ปีขึ้นไป
จำนวน 459 คน

1.4.ด้านสาธารณสขุ 5

โรงพยาบาลสังกดั ภาครฐั โรงพยาบาล 1:4,225 คน ทันตแพทย์ จำนวน 116 คน ต่อ
ประชากรต่อเจ้าหน้าที่ 1:9,060 และพยาบาล
(แหง่ ) สงั กัด เทคนคิ จำนวน 32 คน ต่อประชากรตอ่ เจา้ หนา้ ที่

รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อนื่ ๆ เอกชน ประชากรทเี่ จ็บปว่ ยด้วยโรค 5 โรคสำคญั ในรอบปี
(แหง่ )
2563
1 1 22 168 17 10
รายการ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส
จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลประจำ
ที่ 1 ที่ 2 ท่ี 3 ท่ี 4
จังหวัดซึ่งเป็นโรงพยาบาลศูนย์ ที่ตั้งอยู่ในระดับ
จำนวน

จงั หวดั มีขนาดและจำนวนเตียงต้ังแต่ 500 เตยี งขึ้น ผปู้ ่วยท่ี

ไป และมีแพทย์เฉพาะทางต่างๆ ครบถ้วน โดยมี เข้ารบั การ 155,109 134,937 188,241 159,776

โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 1 แห่ง อำเภอเกาะสมุย ที่มี รกั ษาใน

รอบปี

ขีดความสามารถระดับทุติยภูมิ จำนวน 120 – 500 เบาหวาน 46,326 32,863 34,301 47,756

เตียง โดยที่โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 22 แห่ง ความดัน 106,373 90,427 140,356 110,394

โดยเป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอทั่วไป มีขีด หัวใจขาด 121 303 574 568
เลอื ด
ความสามารถระดับปฐมภูมิ หรือระดับทุติยภูมิ มี
หลอด

จำนวน 10 – 120 เตียง ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริม เลือด 767 2,067 2,775 3,815

สุขภาพตำบล หรือสถานีอนามัยเดิม ซึ่งจะไม่มีรับ สมอง

ผู้ป่วยใน และไม่มีแพทย์ทำงานอยู่ประจำ แต่จะ โรคมะเรง็ 579 1,147 1,162 1,586

อาศัยความร่วมมือกับแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในรอบปีประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวนผู้ป่วยเข้ารับการ
ประชากรต่อแพทยร์ ายจงั หวัด รกั ษาในรอบปี จัดเกบ็ ข้อมูลเป็นรายไตรมาส พบว่า
ไตรมาสที่ 3 จำนวน 188,241 คน มากที่สุด
บุคลากรทาง จำนวน ประชากรต่อ รองลงมาไตรมาสที่ 4 จำนวน 159,776 คน และ
สาธารณสขุ เจ้าหนา้ ที่ทางแพทย์ ไตรมาที่ 1 จำนวน 155,109 คน ตามลำดับ
แพทย์ 376 2,795
ทนั ตแพทย์ 116 9,060 โรค 5 โรคสำคัญ โรคความดันมีผู้ป่วยเข้า
เภสชั กร 247 4,225 การรักษามากที่สุด ในช่วงไตรมาสที่ 3 จำนวน
พยาบาลวิชาชีพ 2,587 412 140,356 คน รองลงมาไตรมาสที่ 4 จำนวน
พยาบาลเทคนคิ 32 32,842 110,394 คน และไตรมาสที่ 1 จำนวน 106,373
คน ตามลำดับ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีจำนวนแพทย์ โรคที่มีผู้ป่วยเข้ารักษารองลงโรคเบาหวาน ในไตร
จำนวน 376 คน ต่อประชากรต่อเจ้าหน้าท่ี มาสท่ี 4 จำนวน 47,756 คน รองลงมาไตรมาสที่ 1
1:2,795 คน พยาบาลวิชาชีพ 2,587 คน ต่อ
ประชากรต่อเจ้าหน้าที่ 1:412 คน เภสัชกร
จำนวน 247 คน ต่อประชากรต่อเจ้าหน้าที่

จำนวน 46,326 คน และไตรมาสที่ 3 จำนวน 6
34,301 คน ตามลำดับ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว (บาท)
1.5.ด้านการศกึ ษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี 182,371 บาท อยู่ลำดับที่ 5
จำนวนนักเรียนนักศึกษาในระบบ จำแนก ของภาคใต้ ครัวเรือนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มี
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ณ ปี 2562
ตามระดับชั้น ปี พ.ศ. 2563 จำนวน 32,014 บาท โดยที่ได้รายได้ครัวเรือนมี
สถานการณ์จำนวนลดลงปี จากปี 2560 ที่มีรายได้
รายการ ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา อาชีวศกึ ษา อดุ มศกึ ษา เฉลยี่ ต่อเดอื นของครัวเรอื น จำนวน 38,026 บาท
จำนวน
ผสู้ อน 4,503 2,902 375 775 หนี้สินครัวเรือน ณ ปี 2562 จำนวน
จำนวน 292,625 บาท ช่วง ปี 2558 – 2562 มีแนวโน้ม
นักเรยี น/ 90,568 68,354 14,444 17,316 สูงขึ้น หนี้สินเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือนมากที่สุด
นักศกึ ษา รองลงมาเพื่อใช้ซื้อ/เช่าซื้อบ้านและที่ดิน และเพ่ือ
ใชท้ ำเกษตร ตามลำดับ
กำลังแรงงานใน กำลงั ผ้ไู ม่อยูใ่ นกำลังแรงงาน
ปจั จบุ นั แรงงาน 1.7.แรงงานในจังหวดั สุราษฎรธ์ านี
ทีร่ อ ทำงาน เรยี น อ่ืนๆ
ผู้มงี าน ผู้ ฤดูกาล บ้าน หนังสือ สำนักงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้
ทำ ว่างงาน ดำเนินงานสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร
รายละเอยี ดดังน้ี จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี มีประชากรที่
609,694 6,296 0 100,588 64,922 97,922 อยู่ในวัยทำงานหรืออายุ 15 ขึ้นไป จำนวน
880,164 แบ่งเป็นเพศชาย 427,878 คน เพศหญิง
1.6.ด้านเศรษฐกิจและรายได้ 452,286 คน จำแนกเป็น ผู้อยู่ในกำลังแรงงาน
(1) ผลติ ภัณฑ์มวลรวม GPP 616,800 คน แบ่งเป็นเพศชาย 341,476 คน เพศ
หญิง 275,324 คน ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน
ผ ล ิ ต ภ ั ณ ฑ ์ ม ว ล ร ว ม จ ั ง ห ว ั ด สุ 263,364 คน แบ่งเป็นเพศชาย 86,402 คน เพศ
ราษฎรธ์ านี ปี 2560 (Gross ProvincialProduct : หญิง 176,962 คน
GPP) ณ ราคาประจำปี มีมูลค่าเท่ากับ 211,048
ล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.32 จากปี 2560 ที่มูลค่า ในกลุ่มผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน
เท่ากับ 211,783 ล้านบาท 616,800 คน ในไตรมาสที่ 3 นี้มีจำนวนของผู้ท่อี ยู่
กำลังแรงงานในโดยกลุ่มผู้ที่อยู่ในกำลงั แรงงานไตร
อัตราการขยายตัว GPP (ร้อยละ) มาสที่ 3 นั้นจำแนกเป็นผู้มีงานทำ 610,504 คน
คิดเป็นร้อยละ 98.98 ของผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงาน
ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

200,997 211,048 206,869
เพมิ่ ขน้ึ 9.74 เพิ่มข้ึน 8.78 ลดลงร้อยละ

2.32

7

ทังหมด ผู้ว่างงาน 6,296 คน คิดเป็นร้อยละ 1.02 1.9. ภาคเี ครอื ข่าย
ของผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงานทั้งหมด และไม่มีกำลัง
แรงงานทรี่ อฤดูกาลในไตรมาสนี้ องค์กร จำนวน

1.8. ดา้ นความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ องค์กรสาธารณประโยชน์ ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริม 87
การจัดสวัสดิการสังคม (แห่ง)
รายการ ไตร ไตร ไตร ไตร รวม องค์กรสวสั ดกิ ารชุมชน ตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิ การ 168
ข้อมลู มาสท่ี มาสที่ มาสท่ี มาสท่ี จัดสวสั ดิการสังคม (แห่ง) 137
กองทุนสวัสดิการสงั คม (แห่ง) 137
1234 7
สภาเด็กและเยาวชน (แห่ง) 39
ประชากรที่ 24
สภาองคก์ รคนพิการ (แห่ง) 137
กระทำ 5,226 5,783 4,908 5,331 21,248 5,825
ความผิดใน ศนู ยบ์ ริการคนพิการท่ัวไป (แหง่ ) 22
ศูนย์พฒั นาคณุ ภาพชีวิต และสง่ เสริมอาชีพของ 298
คดอี าญา ผู้สงู อายุ (ศพอส.) (แห่ง)
ศูนย์พฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) (แห่ง)
คดีความผดิ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของ
มนษุ ย์ (อพม.) (คน)
เกย่ี วกบั โครงการบ้านม่ันคง (พอช.) (แหง่ )

ชวี ิต 90 77 84 75 326 ขอ้ มลู คลังปัญญาผ้สู งู อายุ (คน)

ร่างกายและ

ทรพั ยสิน

คดคี วามผดิ

เก่ียวกบั 173 145 148 179 645

ทรพั ย์

ดคคี วามผดิ 167 150 205 143 665 1.10. แผนยุทธศาสตร์การพฒั นาสังคม
พิเศษ จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ( พ.ศ. 2561 – 2565) ฉบับ
ทบทวน
ดคีที่รฐั เป็น 4,579 5,136 4,162 4,407 18,284
ผ้เู สยี หาย คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด
แบบบูรณาการจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ก.บ.จ.สฎ.) ได้
ประชากรที่กระทำผิดในคดีอาญา จำนวน ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2561–
21,248 คน จำนวนคดีความผิดคดีอาญาที่สำคัญ 2565) ตามหลักเกณฑ์และแนวทางการทบทวน
จำแนกกลุ่มคดีพบว่าคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย จำนวน แผนพัฒนาจังหวัดกลุ่มจังหวัด (พ.ศ. 2561–2565)
18,284 คดี รองลงมาคดีความผิดพิเศษ จำนวน ของคณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค
665 คดี คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ จำนวน 645 (ก.บ.ภ.) เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561 ได้ให้
คดี และคดีความผิดเกี่ยวกับกับชีวิต ร่างกายและ ความสำคัญกบั คุณภาพของแผนพัฒนาจงั หวัด โดยให้
ทรพั ยสิน จำนวน 326 คดี เชื่อมโยงกับนโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการ
แผ่นดิน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561–
2580) แผนแม่บท แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ประเทศไทย
4.0 รวมทั้งแผนรายสาขา/เฉพาะด้านต่างๆ เช่น
แผนพัฒนาการเกษตร นโยบายโซนนิ่งภาคเกษตร

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ แผนแม่บทการ 8
พัฒนาอุตสาหกรรมไทย แผนจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม แผนแม่บทบริหารจัดการน้ำ ยุทธศาสตร์ (๓.๑.) ประเดน็ การพัฒนา ท่ี 1 การเพ่ิม
การพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ เขต
เศรษฐกิจพิเศษ โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ศกั ยภาพการแข่งขันภาคเกษตร และอตุ สาหกรรมเกษตร
สิ่งแวดล้อม (ป่าไม้ ขยะ หมอกควัน) ปรองดอง
สมานฉันท์ ผังเมือง เป็นต้น รวมถึงข้อสั่งการของ (๓.๒.) ประเด็นการพฒั นา ที่ 2 การส่งเสรมิ
นายกรัฐมนตรีโดยมีการพัฒนาตัวชี้วัดจังหวัดครบทุก
มิตสิ อดคลอ้ งกับระดบั ประเทศ อุตสาหกรรมบริการและการท่องเท่ียวทีย่ ั่งยืน

ซึ่งแผนพัฒนาจังหวัดสุราษฎร์ (๓.๓.) ประเดน็ การพัฒนา ที่ 3 การเชื่อมโยง
ธานี (พ.ศ. 2561-2565) (ฉบับทบทวน) น้ีได้จัดทำ
โดยกระบวนการมสี ่วนรว่ มทกุ ขนั้ ตอน มีการวิเคราะห์ เสน้ ทางคมนาคมและศูนย์โลจิสติกส์
จุดอ่อน จุดแข็ง ปัจจัยภายใน ภายนอกจากตัวชี้วัด (Logistics)ภาคใตต้ อนบน
แ ล ะ บ ร ิ บ ท ข อ ง จ ั ง ห ว ั ด เ พ ื ่ อ ก ำ ห น ด ว ิ ส ั ย ท ั ศ น์
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย แต่ละระดับ (๓.๔.) ประเดน็ การพัฒนา ท่ี 4 การพฒั นา
รวมทั้ง แผนงาน/โครงการ โดยมีการบูรณาการ
เป้าหมายและงบประมาณ ทง้ั ระดบั กระทรวง จงั หวัด สงั คมปลอดภยั คุณภาพชีวติ ทีด่ ี และมีศกั ยภาพในการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชน เพ่ือ แขง่ ขนั
ขับเคลื่อนเป้าหมาย ตัวชี้วัดการพัฒนาที่เชื่อมโยงกบั
ระดับประเทศ ซึ่งจะสามารถใช้เป็นกรอบการ (๓.๕.) ประเดน็ การพฒั นา ท่ี 5 การสรา้ งฐาน
ขับเคล่อื นเปา้ หมายของจงั หวดั และกำหนดภารกจิ ของ
สว่ นราชการในระยะของแผนฯ ดังกลา่ วต่อไป ทรัพยากรธรรมชาติท่ีม่นั คงและมสี ภาพแวดลอ้ มที่
เหมาะสม
๑) วสิ ยั ทศั น์“เมอื งเกษตรคุณภาพ การ ๔) เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์
ทอ่ งเที่ยวย่งั ยืน สังคมเป็นสุข”
- เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ ที่ 1.1
๒) เปา้ ประสงค์รวม มลู ค่าทางเศรษฐกิจของยางพาราและปาล์มน้ำมัน
๒.๑.) เปา้ ประสงค์รวม ท่ี 1 เพมิ่ เพ่ิมสูงขึ้น

ศกั ยภาพการพฒั นาเศรษฐกจิ ดา้ นการเกษตรและ - เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ที่ 1.2
อุตสาหกรรมเกษตร สินคา้ เกษตรมีคุณภาพปลอดภัยระดับมาตรฐาน

๒.๒.) เปา้ ประสงค์รวมที่ 2 สรา้ ง - เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 2.1
เศรษฐกจิ ดว้ ยอุตสาหกรรมบริหาร การท่องเที่ยวและ จังหวัดมีการจัดการศักยภาพทางการท่องเที่ยวท่ี
ระบบโลจสิ ตกิ ส์ ยง่ั ยนื สอดคลอ้ งกระแสโลก

๒.๓.) เปา้ ประสงคร์ วมที่ 3 พฒั นา - เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 3.1
คุณภาพชีวิตของประชาชนสู่สงั คมเป็นสุข ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งและโลจิ
ส ต ิ ก ส ์ ข อ ง จ ั ง ห ว ั ด ม ี ศ ั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร แ ข ่ ง ขั น
๒.๔.) เป้าประสงค์รวมท่ี 4 บริหาร ระดับประเทศ
จดั การส่ิงแวดลอ้ มและฐานทรัพยากร ธรรมชาตทิ ่ยี ัง่ ยืน
- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 4.1
๓) ประเดน็ การพัฒนา ชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวหลักมีความปลอดภัยและ
สงบสุข

- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 4.2
เยาวชนได้รบั การพฒั นาเต็มศักยภาพ

- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 4.3
ประชาชนมีสุขภาวะ

- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 5.1
ชมุ ชนและเมืองท่องเที่ยวหลักมีสภาพแวดล้อมที่ดี

- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 5.2 9
พื้นที่ป่ายังคงความอุดมสมบูรณ์และมีพื้นที่สีเขียว
เพ่ิมขึน้ (ปา่ บก ปา่ ชายเลน) สว่ นที่ 2
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั สุราษฎร์ธานี
- เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 5.3 ปี 2564
ชุมชนเสี่ยงภัยมีความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติ
และสาธารณภยั สถานการณ์ทางสังคมจังหวดั สุราษฎร์
ธานี ประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ วันที่ 31
ธนั วาคม 2563 จำนวน 1,067,280 คน อนั ดบั ที่ 20
ของประเทศ ความหนาแน่นของประชากร 81.65 ตร.
กม/คน อยู่ท่อี นั ดับท่ี 59 ของประเทศ ท้งั นี้สัดสว่ น
ประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15 - 59 ปี ) ร้อยละ
65.02 ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบเศรษฐกิจ
เมื่อเปรียบเทียบประชากรพึ่งพิง ประชากรผู้สูงอายุ
(อายุ 60 ปีขึ้นไป) ร้อยละ 15.54 และประชากรเด็ก
(อายตุ ่ำกวา่ 15 ป)ี รอ้ ยละ 19.44 อัตราพ่ึงพิงรวม
ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี (อัตราส่วนระหว่าง
ประชากรเด็กและประชากรสูงอายตุ ่อประชากรวยั
ทำงาน) ร้อยละ 52.89 โดยที่สถานการณ์เพิ่มขึ้น
ทุกปี ทั้งนี้สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และก้าวเข้าสู่
สังคมสูงวัย ดัชนีสูงวัย ร้อยละ 82.27 (อัตราส่วน
จำนวนประชากรผู้สูงอายุต่อจำนวนประชากรวัย
เด็ก)

จังหวัดสุราษฎร์ธานีค่าดัชนีความ
มั่นคงของมนุษย์ 68.36 ต่ำกว่าเฉลี่ยภาพรวม
ประเทศ ค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์ 69 อยู่
ในอันดับที่ 48 จาก 77 จังหวัดทั่วประเทศ มิติที่มี
ด่าดัชนีและอยู่ในอันดับต้นๆ ได้แก่ มิติสุขภาพ มี
ค่าดัชนีอยู่อันดับ 7 ประเทศ ของประเทศ ข้อมูล
ตามตัวช้ีวัด ได้แก่ อตั ราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย
ต่อประชากร 100,000 คน มสี ัดส่วนมาก อยู่อนั ดับ 5
อัตราเตียงต่อประชากร 100,000 คน มีสัดส่วนมาก
เป็นอันดับ 9 และอัตราบุคลากรทางการแพทย์ต่อ

10

ประชากร 100,000 คน มีสัดส่วนของผู้ป่วยน้อย ร้อยละของประชากรผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมด
อยูอ่ นั ดับ 4 และรายได้เฉลย่ี ต่อครัวเรอื น มสี ดั ส่วน พื้นที่อำเภอ อำเภอชัยบุรี ร้อยละ 25.89 ต่อ
มากอยู่อันดบั 5 ประเทศ ประชากรทั้งหมดในระดับพื้นที่มากที่สุด รองลงมา
พ้ืนท่อี ำเภอพระแสง รอ้ ยละ 25.58 และอำเภอเกาะส
ในทางกลับกัน จังหวัดสุราษฎร์ มุยร้อยละ 25.20 โดยที่อำเภอท่าฉางมีร้อยละ
ธานี มีค่าดัชนีในมิติศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ใน ประชากรเด็ก ร้อยละ 21.62 ต่อประชากรท้ังหมดใน
อันดับที่ 75 ของประเทศโดยข้อมูลตามตัวชี้วัด คือ ระดับพ้ืนที่มากทสี่ ดุ
คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ทุกคนปฏิบัติกจิ กรรมทางศาสนา
อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สัดส่วนน้อยอยู่อันดับที่ คิดเป็นร้อยละ
74 จาก 77 จังหวัด และจำนวนศาสนาสถานทุก
ประเภทต่อประชากร 100,000 คน มีสัดส่วนอยู่ ประเดน็ จำนวน ของประชากร
อันดับท่ี 69 ประเทศ
สถานการณ์ กลุ่มเป้าหมาย เด็กท้งั หมดใน
สำนักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย ตามประเดน็ เขตพน้ื ท่ี
วิเคราะห์จัดลำดบั ความรุนแรงของสถานการณ์ของ
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ดังนี้ จังหวัด
(1) กลมุ่ เดก็
เด็กทีม่ พี ฤตกิ รรม 382 0.16
ประชากรเด็ก หรือบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ไม่เหมาะสม 1,602 0.64
18 ปีบริบูรณ์ จำนวน 247,779 คน ณ วันที่ 31 เด็กในครอบครัว
ธันวาคม 2563 รอ้ ยละ 23.21 ยากจน (อยูก่ บั
ผู้สงู อายุ และ
(2) บคุ คลอื่น)
เดก็ ท่ีออกกลางคัน

ระดับ 113 0.12
ประถมศึกษา 165 0.29
ระดับมธั ยมศกึ ษา

สถานการณ์สำคัญของกลุ่มเด็ก ซึ่งจากการลำดับ

สถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มเด็กในจังหวัดสุ

ราษฎร์ธานี พิจารณาจากตารางข้อมูลโดยพบว่า

เด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เกิดจากการกระทำ

ความผิดอาญา ในรอบปี 2563 คดีอาชญากรรมท่ี

เด็กและเยาวชนเป็นผู้กระทำ จำนวน 163 คดี

เมื่อมีการกระทำผิดถูกศาลตัดสินลงโทษส่งตัว

สถานพินิจและคุ้มครองเด็กจังหวัดสุราษฎร์ธานี

จำนวน 382 คน ซึ่งมีความผิดเกี่ยวข้อง

กับยาเสพติด รองลงมาความผิดเกีย่ วขอ้ งกับทรพั ย์

และท่ีมคี วามผิดเกย่ี วข้องความผดิ อื่นๆ เชน่ พ.ร.บ.

จราจร โดยเพราะเดก็ และเยาวชน อาจถกู ชักจูงยัง สตรีท่ีถูกทำ 23 11
อ่อนต่อโลก อ่อนเยาว์ การคิดการตัดสินใจยังไม่ ร่างกายและ 119
เติบโตเต็มวัย ไม่รู้โทษภัยที่จะเกิดขึ้น มีความคึก จิตใจ 143 0.006
คะนองตามวัย สตรีทีถ่ ูก 0.03
ละเมดิ ทางเพศ 0.04
เด็กในครอบครัวยากจน (อยู่กับ แมเ่ ลี้ยงเดีย่ ว
ผู้สูงอายุ และบุคคลอื่น) ในรอบปี 63 หน่วยงาน ฐานะยากจนท่ี
พม.จังหวัดสุราษฎร์ธานี (One Home) ได้มีการ ต้องเล้ียงดูบุตร
สำรวจ/ช่วยเหลือเด็กในครอบครัวยากจน และมี เพยี งลำพงั
เด็กที่ต้องอยู่กับผู้สูงอายุ และบุคคลอื่น จำนวน
1,602 คน เนอ่ื งจากบิดา – มารดา มคี วามจำเป็น สถานการณ์สำคัญของกลุ่มสตรี
เดินทางไปทำงานต่างจงั หวดั ซึ่งจากการลำดับสถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่ม
สตรี ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้พิจารณาจาก
เด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ใน ตารางข้อมูล พบว่าสตรีที่ถูกทำร่างกายจิตใจ
ระบบศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 90,568 จำนวน 23 ราย โดยที่เกิดจากบุคคลภายใน
คน ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 68,354 คน ในรอบ ครอบครัวเป็นสามีทำร้ายภรรยา ซึ่งเป็นปัญหา
ปี 2563 เด็กที่ออกกลางคันระดับประถมศึกษา ความรุนแรงในครอบครัว อาจเกิดความขัดแย้งใน
จำนวน 113 คน และระดับมัธยมศึกษา จำนวน ครอบครัว ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวไม่ดี มี
165 คน สาเหตุที่เด็กออกจากระบบการศึกษา ความห่างเหิน และการกดดันทางจิตใจ
กลางคัน ส่วนใหญ่ที่เกิดปัญหาส่วนตัว ปัญหาการ
ปรบั ตัว และการเรียน ปัญหาที่สตรีที่ถูกละเมิดทางเพศ
ในรอบปี 2563 จำนวน 119 ราย การล่วงละเมิด
(2) กลุม่ สตรี ทางเพศเกิดขึ้นภายในครอบครัว และในสถานท่ี
ประชากรเพศหญงิ ที่มีอายุ 15 – 59 ปี ทำงาน ซึ่งหลากหลายประเภททั้งทางล่วงละเมิด
โดยตรง (การมเี พศสมั พันธ์) และโดยออ้ ม ทง้ั นี้ แม่
บรบิ ูรณ์ จำนวน 342,399 คน ร้อยละ 32.06 เล้ยี งเดยี่ วฐานะยากจนทีต่ ้องเลีย้ งดูบุตรเพียงลำพัง
จำนวน 143 ราย แม่เลี้ยงเดี่ยว อาจประสบ
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นกับแม่เลี้ยงเดียว ที่จะ
ประเดน็ จำนวน ของประชากร รู้สึกหวาดกลัวขาดความเชื่อม่ันกับอนาคตที่จะก้าว
สถานการณ์ กล่มุ เปา้ หมาย เด็กท้งั หมดใน เดินต่อไป เช่น เงินที่ต้องนำมาเลี้ยงดูบุตร การ
กลมุ่ เป้าหมาย ตามประเด็น เขตพืน้ ที่ บริการจัดการเวลาในการดูและบุตร ทำให้เกิด
ความเครยี ด ซึมเศรา้ เกิดสารพดั รูปแบบอารม์ด้าน
จงั หวดั ลบ

12

(3) กลุ่มผ้สู งู อายุ พื้นที่อำเภอน้อยที่สุด อำเภอชัยบุรี ร้อยละ 10.62
ของประชากรในพื้นทอ่ี ำเภอทง้ั หมด
“ประชากรผู้สงู อายุ คือ บคุ คลซ่งึ มีอายเุ กนิ หกสบิ ปี
บรบิ ูรณข์ ้ึนไป จำนวน 165,973 คน ร้อยละ สถานการณ์ในจงั หวัดสุราษฎร์ธานีพบวา่
15.54 ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 ประชากร ผู้สงู อายตุ ดิ สงั คม จำนวน 119,963 คน (ร้อยละ
ผสู้ ูงอายุ ตง้ั แต่ ปี 2559 - ปี 2563 มีจำนวน 88) คือ ผู้สงู อายุท่ียังสามารถชว่ ยเหลือตนเองไดด้ ี
เพิ่มขึ้น โดยเม่ือเทียบร้อยละภาพรวมของปี 2563 ดำเนินชีวติ ในสังคมไดอ้ ย่างอิสระ สามารถทำ
รอ้ ยละ 15.54 เพิ่มขนึ้ จากปี 2559 รอ้ ยละ 13.43 กิจวัตรประจำวัน พ้ืนฐานและกิจวตั รประจำวนั
ทัง้ น้ี ผ้สู ูงอายทุ ่ีไดร้ บั เบ้ียยงั ชีพผสู้ ูงอายุ จำนวน ตอ่ เนอื่ งได้ เปน็ ผู้ทมี่ ีสุขภาพท่ัวไปดี ไมม่ ีโรคเร้ือรงั
149,209 คน (ร้อยละ 89.89) ผู้สูงอายุทตี่ ดิ บา้ น จำนวน 4,688 คน (ร้อยละ 4)
คือ กลุ่มผสู้ ูงอายทุ ชี่ ่วยเหลอื ตวั เองได้บ้างสามารถ
ร้อยละของประชากรผู้สูงอายุต่อ ใช้ชีวติ ประจำวนั ไดอ้ าศัยคนดูแลบ้างแตม่ ีข้อจำกัด
ประชากรทั้งหมดพื้นที่อำเภอ พบว่าอำเภอไชยา ในการปฏิบัตกิ จิ วตั ประจำวัน มีความลำบากหรือ
สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 17.47 ของ ติดขดั ในการเคลื่อนไหวเน่อื งจากสภาพรา่ งกาย
ประชากรในพื้นที่อำเภอทั้งหมด รองลงมาอำเภอ ทเี่ ส่อื มสมรรถตามอายุ หรือมีปัญหาด้านสุขภาพทีม่ ี
ทา่ ฉางร้อยละ 17.38 ของประชากรในพื้นท่อี ำเภอ โรคประจำตวั ผู้สงู อายุติดเตียง จำนวน 1,051 คน
ทั้งหมด และ อำเภอบ้านนาสาร ร้อยละ 16.79 ร้อยละ 1 คอื ผู้สงู อายทุ ่ีไมส่ ามารถช่วยเหลอื ตวั เอง
ของประชากรในพื้นที่ โดยที่อำเภอที่มีร้อยละ ต้องนอนอยบู่ นเตยี งตลอดเวลา อาจเป็นเพราะเกิด
สัดส่วนของประชากรผู้สงู อายุต่อประชากรทั้งหมด การเจ็บปว่ ยจากอบุ ตั เิ หตุ การเจบ็ ปว่ ยจากโรค
เรอื้ รงั ทเี่ ข้าสู่การลกุ ลามมากข้ึน จนสง่ ผลใหอ้ วยั ะ
ต่างๆ ในรา่ งกายทำงานได้ไมส่ มบรู ณ์ ซ่ึงบางคน
อาจจะสามารถขยบั แขนหรือขาไดบ้ ้าง แตย่ ังต้องมี
คนช่วยเหลอื ในการทำกิจวตั รประจำวนั ทกุ อย่าง
ในครอบครัวที่มผี ้สู งู อายุหรือผปู้ ่วยติดเตยี งอาศยั
อยดู่ ้วย คนในครอบครัวจะต้องสละเวลาส่วนใหญ่
มาคอยดูแลผูส้ งู อายตุ ิดเตยี งเหลา่ นี้ เพราะต้อง
ไดร้ ับการดูแลมากกว่าปกติ ท้งั ทางด้านร่างกาย
และสภาพจติ ใจ

ประเด็น จำนวน คิดเป็นร้อยละ

สถานการณ์ กล่มุ เป้าหมาย ของประชากร

กล่มุ เป้าหมาย ตามประเด็น เด็กทัง้ หมดใน

เขตพื้นที่ 13

จังหวดั (4) กลุ่มคนพกิ าร

ช่วยเหลือตวั เอง คนพิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน
21,778 คน ร้อยละ 2.03 จำแนกคนพิการช่วง
ไม่ได/้ ไม่มีคนดแู ล/ 722 0.44 อายุแรกเกิด – 18 ปี จำนวน 1,743 คน (ร้อยละ
ไมม่ ีรายได/้ ผปู้ ว่ ย 7.99) คนพิการอายุ 19 ปี - 59 ปี จำนวน 10,305
คน (ร้อยละ 47.32) และคนพกิ ารอายุ 60 ปีข้นึ ไป
เรือ้ รงั ติดเตยี ง จำนวน 9,730 คน (ร้อยละ 44.68) สถานการณ์
คนพิการในจังหวัด สุราษฎร์ธานี ปี 2559 –
ผสู้ ูงอายทุ ่ีรบั ภาระ 2563 ช่วง 5 ปี เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เม่ือ
เปรียบเทียบ ปี 2559 คนพกิ ารจำนวน 15,068 คน
ดแู ลบุคคลใน ร้อยละ 1.43 กับปี 2563 จำนวน 21,778 คน
รอ้ ยละ 2.03 เพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 0.6
ครอบครวั เชน่ คน 28 0.02
พิการ ผ้ปู ว่ ยเรื้อรงั

บตุ รหลาน และจิต

เวช

ผู้สูงอายทุ ีถ่ กู

กระทำความ 3 0.0001
รนุ แรงทางร่างกาย

หรอื จิตใจ

สถานการณ์สำคัญของกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่ง ร้อยละสัดส่วนคนพิการต่อประชากร
จากการลำดับสถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่ม ทั้งหมดในพื้นที่ระดับอำเภอ พบว่าอำเภอร้อยละ
ผู้สูงอายุ พิจารณาจากตารางพบว่า ปัญหาการ สัดส่วนคนพิการมากที่สุด คืออำเภอไชยา ร้อยละ
ช่วยเหลือตัวไม่ได้ ไม่มีคนดูแล ไม่มีรายได้ และ 3.39 รองลงมา อำเภอคีรีรัฐนิคม ร้อยละ 2.55 และ
ผู้ป่วยเรื้อรัง ติดเตียง จำนวน 722 คน เกิดจาก อำเภอบ้านตาขุน ร้อยละ 2.38 โดยอำเภอเกาะพะ
ท่ีลกู หลาน มีความจำเปน็ ออกไปทำงานต่างจังหวัด งัน มรี อ้ ยละ 1.2 น้อยท่ีสดุ
ต้องปล่อยบ้านตามลำพัง ซึ่งจะหมายถึงการอยู่ตาม
ลำพังแบบถาวร ไม่มีลูกหลานอยู่ด้วย และหมายถึง
การอยู่ตามลำพังในชีวิตประจำวัน หรือบางวัน บาง
เวลา ที่ลูกหลานไปทำงาน ซึ่งในกรณีนี้ส่วนใหญ่จะ
เป็นการอยู่ตามลำพังในเวลากลางวัน

ผสู้ งู อายทุ ีร่ ับภาระดูแลบคุ คลในครอบครวั
เช่นคนพิการ ผปู้ ่วยเรื้อรงั บุตรหลาน และจิตเวช
จำนวน 28 คน และผูส้ งู อายทุ ีถ่ ูกกระทำความ
รุนแรงทางร่างกายหรอื จิตใจ จำนวน 3 คน

14

คิดเปน็ ร้อยละ ปัญหาคนพิการต้องมีงานทำ
ศูนย์บริการคนพิการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้
ประเดน็ จำนวน ของประชากร รวบรวมจำนวนคนพิการ จำนวน 3,536 คน ที่จบ
การศึกษาภาคบังคับ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 –
สถานการณ์ กลมุ่ เป้าหมาย เด็กท้ังหมดใน ระดับปริญญาตรี แต่มีเพียงจำนวน 209 คน ท่ี
ได้รับการจ้างงานคนพิการ ปัญหาคนพิการ ทาง
กลมุ่ เป้าหมาย ตามประเดน็ เขตพืน้ ที่ ออทิสติกในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีจำนวนสถิติ
เพิ่มขึ้นทุกปี สาเหตุเกิดจากเป็นความผดิ ปกติของ
จงั หวัด พัฒนาการเด็กรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว
โดยเด็กไม่สามารถพัฒนาทักษะสังคม ทักษะทาง
คนพกิ ารทไ่ี ม่ ภาษา และการสื่อความหมายได้เหมาะสมตามวัย
มีลักษณะพฤติกรรม กิจกรรม และความสนใจ เป็น
สามารถเขา้ ถึง 307 1.40 แบบแผนซ้ำๆ ไม่ยืดหยุ่น ปัญหาดังกล่าวเปน็ ต้งั แต่
เลก็ แสดงใหเ้ หน็ ก่อนอายุ 3 ขวบ
สทิ ธิขน้ั พนื้ ฐาน

คนพกิ าร

ต้องการมีงาน 3,536 16.23

ทำ

คนพิการทาง

ออทสิ ติกมี 277 1.27
แนวโน้ม

เพิ่มขึน้

สถานการณ์สำคัญของกลุ่มคนพิการ ซึ่งจากการ (5) กลุ่มครอบครวั
ลำดับสถานการณ์ความรุนแรงของกลุ่มคนพิการ
พิจารณาจากตารางพบว่าปัญหาคนพิการที่ไม่ ครัวเรือนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน
สามารถเข้าถึงสิทธิขึ้นพื้นฐาน จำนวน 307 คน 344,766 ครัวเรือน ในเขตเทศบาล จำนวน
เนื่องด้วยคนพิการ คือบุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการ 148,781 ครัวเรือน นอกเขตเทศบาล จำนวน
ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วน 195,985 ครัวเรือน
รว่ มทางสงั คม เน่ืองจากมีการบกพร่องทางการเห็น
การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ คดิ เปน็ รอ้ ยละ
อารมณ์ พฤติกรรม สตปิ ญั ญา
ประเดน็ จำนวน ของประชากร
และการเรียนรู้หรือความ
บกพร่องอื่นใด จากสถิติสายด่วน 1300 จังหวัดสุ สถานการณ์ กล่มุ เป้าหมาย เดก็ ทง้ั หมดใน
ราษฎร์ธานี มีคนพิการที่ขอรับคำปรีกษาเพื่อรับ กลุ่มเป้าหมาย ตามประเด็น เขตพื้นท่ี
การช่วยเหลือ จากหน่วยงาน พม.จังหวัดสุราษฎร์
ธานี จังหวัด

ครอบครวั ที่มี

คนในครอบครวั 44 0.001
กระทำความ
รนุ แรงต่อกัน

ครอบครัวแหวง่ 1,050 0.01
กลาง

ครัวเรือน 26,267 7.84 15
ยากจน
(TPMAP) (6) สถานการณเ์ ชิงประเดน็ ลำคญั ในพน้ื ท่ี
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ส ถ า น ก า ร ณ ์ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ก ลุ่ ม
ครอบครัว ซึ่งจากการลำดับสถานการณ์ความ (6.1.) จงั หวดั สุราษฎร์ธานี รอบปี
รุนแรงของกลุ่มครอบครัว พิจารณาจาก 2563 มีครอบครวั ท่กี ระทำความรุนแรงต่อกัน
ตารางข้อมูลพบปัญหาครอบครัวที่มีในครอบครัว จำนวน 44 ครอบครวั ซ่ึงมเี พ่มิ ข้ึนจากปี 2562 ท่ี
กระทำรุนแรงต่อกัน จำนวน 44 ครอบครัว ของ มจี ำนวน 20 ครอบครวั เพ่ิมข้ึน 1 เทา่ ตัว โดย
รอบปี 2563 ความรุนแรงเกิดจากบุคคลภายใน เฉล่ีย 1 เดอื น มีความรุนแรง 3 ครง้ั ต่อ 1 เดือน
ครอบครวั ที่เป็นสมาชิกเพศชาย (สาม/ี บดิ า)กระทำ ซงึ่ สอดคล้องกบั การบริการสายด่วน 1300 จงั หวดั
ต่อเพศหญิง (ภรรยา/มารดา) และบุตร/หลาน สรุ าษฎรธ์ านี ไดใ้ หค้ ำปรกึ ษาเร่ืองเกี่ยวกับ
ความรุนแรงเหล่านี้มีผลกระทบต่อบุคคลทำให้ ความสมั พนั ธ์ ในครอบครัวเฉลี่ย สัปดาหล์ ะ 2 ครั้ง
เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว เก็บกด อาฆาต ขาดความไว้ ซ่งึ การเกิดรุนแรงมี 3 ลกั ษณะ คือ
เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน นอกจากนั้นครอบครัวท่ี
พ่อ - แม่ดื่มเหล้า ใช้สารเสพติด ใช้อาวุธต่อสู้กัน (1) ความรุนแรงระหว่างคู่สมรส
ทำรา้ ยบตุ ร รวมทง้ั การหย่ารา้ ง คู่สมรสเดิม ผู้ที่อยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันสามีภรรยา
ลกั ษณะการกระทำความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดขึ้น
สถานการณ์ครอบครัวแหว่งกลาง ใน ส่วนใหญ่ เกดิ ข้ึนระหว่างสามีใช้รา่ งกายทำร้ายภรรยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1,050 ครอบครัว จำนวน 23 ราย
ที่มีสมาชิกรุ่นปู่ -ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลานโดยขาด
สมาชกิ รุ่นพอ่ - แม่ สมาชกิ ในครอบครัวเปน็ กลุ่มอยใู่ น (2) ความรุนแรงต่อเด็กโดยที่
ภาวะพึ่งพิง อยู่ในสภาพที่มีความเปราะบางมาก รองลงมาในกรณี พ่อ – มารดา และบุคคลใน
ท่สี ุด เพราะจะไมม่ กี ล่มุ วยั แรงงานอย่ใู นครอบครัว ครอบครัวใช้ร่างกายทำร้ายเด็ก จำนวน 10 ราย
ระบบบรหิ ารจัดการข้อมลู การพัฒนาคนแบบช้ีเปา้ แตไ่ ดพ้ บกรณีมารดาทำรา้ ยบุตร มจี ำนวน 5 ราย
(Thai People Map and Analytics Platform)
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี มีครัวเรอื นยากจน จำนวน (3) ความรุนแรงต่อผู้สูอายุ ท่ี
26,267 ครัวเรอื น เกิดจากบุตรทำร้าย บิดา – มารดาที่เป็นผู้สูงอาย
ถูกทำร้าย จำนวน 4 ราย

(6.2) การบริการสายด่วน 1300 จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี ได้ให้บริการประชาชนและผู้ประสบ
ปญั หาทางสงั คม ตั้งแต่วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2563
– ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 จำนวน 1,840
ราย โดยให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยมี
จำนวนผู้มาขอคำปรึกษา จำนวน 10 รายต่อวัน
ได้บริการแก่ประชาชนและผู้ประสบปัญหาทาง

16

สังคม ได้ดำเนินการช่วยเหลือและบรรเทาปัญหา
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ปัญหาเรื่องสิทธิ สวสั ดกิ าร
และกฎหมาย เป็นกลุ่มเป้าหมายท่ี วยั ทำงาน (อายุ
25 – 59 ปี ) จำนวน 232 ราย กลุม่ เด็ก (อายุ
แรกเกดิ – ไม่เกิน 18 ปี ) จำนวน 168 ราย กลมุ่
ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปขี ้นึ ไป) จำนวน 107 ราย และ
กลุ่มเยาวชน (อายุ 18 – ไม่ 25 ปี ) จำนวน 37
ราย

(2) ปัญหารายได้และความ
เป็นอยู่ เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ วัยทำงาน (อายุ 25 –
59 ปี ) จำนวน 221 ราย กลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 60
ปีขึ้น ไป) จำนวน 36 ราย และกลุ่มเยาวชน (อายุ
18 – ไม่ 25 ปี ) จำนวน 23 ราย

(3) ปัญหาความสัมพันธ ์ใน
ครอบครัว เปน็ กลุ่มเปา้ หมายที่ วยั ทำงาน (อายุ 25
– 59 ปี ) จำนวน 32 ราย กลุ่มเด็ก (อายุแรกเกิด
– ไมเ่ กนิ 18 ปี ) จำนวน 14 ราย และกลุ่มผู้สูงอายุ
(อายุ 60 ปีขึ้น ไป) จำนวน 1 ราย
ทง้ั นี้ การบรกิ ารของสายด่วน 1300 จังหวดั สุราษฎร์

ธานที ี่นอกเหนือจากภารกิจทเ่ี กีย่ วข้องกับกระทรวง

การพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ ที่เปน็

เรอ่ื งท่วั และอ่ืนๆ ท่ีไมต่ ้องการให้ความช่วยเหลือ

ตามกระบวนสังคมสงเคราะห์ จำนวน 296 ราย และ

เป็นบริการท่เี กีย่ วขอ้ งสอบถามหน่วยงานอน่ื จำนวน

100 ราย

ส่วนท่ี 3 17

ข้อมูลพืน้ ฐานสำนักงานพฒั นาสงั คมและ และสวัสดิการสังคมขึ้น ประชาสงเคราะห์จังหวัด
ความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ปฏิบัติงานในฐานะผู้แทนกรม พ.ศ.2537 เปลี่ยน
ชื่อจาก ที่ทำการประชาสงเคราะห์จังหวัดสุราษฎร์
3.1.ประวัติหน่วยงาน ธานี เป็นสำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัดสุ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ราษฎร์ธานี

ของมนษุ ย์จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี เดิมใช้ชื่อทที่ ำการ ในปี 2545 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงการ
ประชาสงเคราะห์จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดกรม พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตาม
ประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย เปิด พระราชบัญญัตปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
ดำเนินการครั้งแรก ตามคำสั่งกรม 2545 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545
ประชาสงเคราะห์ท่ี 67/2519 ลงวันท่ี 30 มกราคม สำนักงานประชาสงเคราะห์จังหวัดได้ย้ายไปสังกัด
2519 โดยมีนายโกศล บุตรเจริญ รักษาการใน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
ตำแหน่งประชาสงเคราะห์จังหวัด มี นายอร่าม มนุษย์ ภายใต้ชื่อใหม่ว่า สำนักงานพัฒนาสังคม
สุทธพินธุ ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรม และสวัสดิการจังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี และภายหลังได้
ประชาสงเคราะห์ และนายอนันต์ สงวนนาม เป็น เปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานพัฒนาสังคมและความ
ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ขณะนั้นเปิดทำ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตาม
การที่ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี (หลังเก่า) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงาน
ถนนตลาดใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของ
และเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2525 ศาลากลางจังหวัด มนุษย์ พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547 เป็น
(หลังเก่า) ถูกวางระเบิดจึงย้ายไปปฏิบัติงาน ส่วนราชการส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงาน
ชั่วคราวที่ศาลาประชาคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ต่อมาวันที่ 21 มีนาคม 2528 ย้ายสำนักงานไปท่ี มั่นคงของมนษุ ย์
ศาลากลางจังหวัดหลังใหม่ ถนนดอนนก อำเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และในวันที่ 23
กันยายน 2536 (สมัยนายชวน หลีกภัย เป็น
นายกรัฐมนตรี และพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) เปลี่ยนสังกัด
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมตาม
พระราชบญั ญตั ิปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
2536 ที่กำหนดให้มีการจัดตั้งกระทรวงแรงงาน

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง 18
มนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปฏิบัติหน้าที่แทน
กระทรวงในจงั หวัด มีภารกิจหลักในการดำเนินงาน 3.2.ภารกจิ หน่วยงาน
ด้านการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและ
ความเสมอภาคในสังคมการส่งเสริมและการพัฒนา สำนักงานพัฒนาและความมั่นคงของ
คุณภาพและความมั่นคงในชีวิตสถาบันครอบครัว
และชุมชนและราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย มนษุ ยจ์ งั หวัด (สนง.พมจ.) เป็นราชการบริหารส่วน
กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์หรือส่วน ภูมิภาคของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ราชการที่สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ มน่ั คงของมนุษย์ ตามกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ

- วนั ท่ี 12 ตุลาคม 2541 ยา้ ยสำนกั งานไป สำนกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความ
อยู่ศูนย์ราชการกระทรวงการแรงงาน เลขที่ 15 ม.1
ถ.สุราษฎร์ –นาสาร ต.ขุนทะเล อ.เมืองฯ จ.สุ มั่นคงของมนุษย์ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2563
ราษฎรธ์ านี 84100
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- วันที่ 9 กันยายน 2557 ย้ายไปยังอาคาร
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี มีหนา้ ท่ีและอำนาจดงั ตอ่ ไปนี้
จังหวัดสุราษฎร์ธานี เลขที่ 39/7 ม.9 ต.ขุนทะเล
อ.เมืองฯ จ.สรุ าษฎร์ธานี 84100 1) จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับจังหวัด
รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคม และ
เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

2) ประสานและจัดทำแผนงาน โครงการ
และกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ในระดับจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบาย
ของกระทรวง

3) ส่งเสริมและประสานการดำเนินงาน การ
จัดกิจกรรมต่างๆตามภารกิจและเป้าหมายของ
หน่วยงานในกระทรวง

4) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการ
ดำเนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐ
และเอกชน

5) ส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้
ประสบปัญหาทางสังคม รวมทั้งส่งต่อให้หน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีอำนาจ
หน้าทใ่ี นการจัดสวสั ดกิ ารสงั คมตามกฎหมาย

6) กำกับดแู ลหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวง ให้
ดำเนินการตามกฎหมาย แนวนโยบายของ
กระทรวง และติดตามและประเมินผล แผนการ
ปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบ
ของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวง ใน
ระดบั จงั หวดั

7) เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและ 19
ความมัน่ คงของมนุษยใ์ นระดับจังหวัด
สังคม งานศูนย์ข้อมูล งานประชาสัมพันธ์ของ
8) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มี หนว่ ยงาน งานพัฒนาเทคโนโลยี และงานมาตรฐาน
การดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและ องคก์ าร และงานอน่ื ๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
ความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทาง
วชิ าการและผลการปฏิบตั ิงานของกระทรวง 3) กล่มุ การพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ทำหน้าที่ศูนย์ประสานงานเครือข่าย งาน
9) รับเรื่องราวร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาดา้ น
สังคม ในระดบั จงั หวดั ส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานองค์การเอกชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานประสานองค์การ
10) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ สวัสดิการสังคม งานส่งเสริมอาสาสมัครพัฒนา
ปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือท่ีได้รับ สังคม งานอาสาสมัครต่างประเทศ งานส่งเสริม
มอบหมาย สถาบันครอบครัว งานส่งเสริมและพัฒนาบทบาท
เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส
3.3.โครงสรา้ งสำนักงาน งานส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นงานรับ
1) ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์ ใหบ้ รกิ ารสงเคราะห์และคุ้มครอง
ทำหน้าที่ด้านงบประมาณ การเงิน บัญชี พิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน สตรี
ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ประสบ
วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ ยานพาหนะ บุคลากร ปัญหาสังคมอื่น ๆ งานป้องกันและปราบปราม
สารบรรณ ธุรการ และงานอ่ืน ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย การค้ามนุษย์ งานมาตรฐานการให้บริการ
กลุม่ เป้าหมายตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และงานอื่น
2) กลุ่มนโยบายและวชิ าการ ๆ ทไ่ี ดม้ อบหมาย
ทำหน้าที่งานวิเคราะห์สถานการณ์และ

จัดทำรายงาน งานจัดทำยุทธศาสตร์การด้าน
พ ั ฒ น า ส ั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม ั ่ น ค ง ข อ ง ม น ุ ษ ย ์ ร ะ ดั บ
จังหวัด งานวางแผนยุทธศาสตร์ร่วมกับจังหวัดงาน
แผนงานและโครงการ งานวิจัย งานเฝ้าระวังทาง

20

ผ่านชำระภายในระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี โดยไม่คิด
ดอกเบย้ี

- ส่งเสริมการจ้างงานคนพิการ เพื่อเป็นการ
ส่งเสริมให้คนพิการมีงานทำ มีรายได้เพียงพอ
สำหรับการดำรงชีพ ลดภาระของสังคมและพัฒนา
ใหค้ นพกิ ารมคี ุณภาพชีวติ ิท่ดี ีขึ้น

4) ศูนย์บริการคนพิการจงั หวัดสุราษฎร์ธานี 3.4.อัตรากำลงั 12 คน
ศูนย์บริการคนพิการจัดตั้งขึ้นภายใต้ 1) ขา้ ราชการ จำนวน 1 คน
2) ลกู จ้างประจำ จำนวน 9 คน
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน 3) พนกั งานราชการ จำนวน 11 คน
พิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 4) พนกั งานกองทุน ฯ จำนวน 11 คน
พ.ศ. 2556 ตามมาตรา 20/3 และมาตรา 20/4 ซง่ึ 5) จ้างเหมาบริการ จำนวน
กำหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์บริการคนพิการเพ่ือ
ประโยชนใ์ นการสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ิตคน รวมท้งั ส้ิน 44 คน
พิการในทุกระดับ ศูนย์บริการคนพิการระดับ
จงั หวัด มหี นา้ ทสี่ ง่ เสริม สนบั สนุนและประสานงาน
เกี่ยวกับการจัดบริการของศูนย์บริการคนพิการ
ทั่วไป และมีเพื่อการอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภายใน
จังหวัด อาทิ การออกบัตรประจำตัวคนพิการ การ
ให้บริหารข้อมูลข่าวสาร บริการผู้ช่วยคนพิการ
บริการล่ามภาษามือ การซ่อมแซมและพัฒนาที่อยู่
อาศัย และบริการกองทุนส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการ ดงั นี้

- การให้บริการกู้ยืมเงิน เป็นการบริการคน
พิการ และผู้ดูแลคนพิการเพื่อเป็นทุนประกอบ
อาชีพหรือขยายกิจการ รายบุคคลรายละไม่เกิน
60,000 บาท รายกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 1 ล้านบาท

21

3.5.ยุทธศาสตร์สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความ 3.6.งบประมาณ
มั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
(1) วิสยั ทศั น์ งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2564 ท่ไี ด้รบั

“ผูน้ ำทางสงั คมในระดับพืน้ ท่ี การจัดสรร จำนวน 18,233,888.24 บาท

เพือ่ ความอย่ดู ีมีสุขของประชาชนเมอื งคนดี” (1.)การจดั สรรสว่ นราชการ

(2) พันธกจิ สว่ นราชการเจา้ ของบ งบประมาณได้รบั การ
- พัฒนาคน ชมุ ชนและสังคมให้มี
คณุ ภาพ และมีภูมิคุ้มกันต่อการ ประมาณ จดั สรร (บาท)
เปล่ยี น
- เสริมสรา้ งเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นให้มี สนง.ปลัดกระทรวงการพฒั นา 6,663,015.76
ส่วนรว่ มในการพฒั นาสังคม สังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
- จัดระบบสวสั ดกิ ารพืน้ ฐานอย่างทวั่ ถงึ (สป.พม.) 2,718,468.00
- พฒั นาระบบการบริหารจดั การด้าน กรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ 632,662.00
การพัฒนาสังคม (พส.)
กรมกจิ การสตรีและสถาบนั 3,202,749.00
(3) ค่านยิ มองคก์ ร ครอบครัว (สค.) 3,439,749.00
อทุ ศิ ตน อาสางาน เออ้ื อาทร อำนวย กรมกิจการเด็กและเยาวชน 1,577,198.48
ประโยชนส์ ขุ (ดย.)
กรมกิจการผสู้ งู อายุ ( ผส.)
(4) ประเด็นยทุ ธศาสตร์ กรมสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพ
- ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการบริการ ชวี ิตคนพกิ าร (พก.)
ทางสงั คมบนพนื้ ฐานความพอเพียง
- สรา้ งภมู ิคุ้มกันและพัฒนาศักยภาพ (2.) การจัดสรรงบประมาณกองทุน
กลุ่มเปา้ หมายและเครือข่าย
- ผนึกกำลังทางสังคมเพ่ือเปน็ กลไกใน งบประมาณ งบประมาณได้รับการ
การพัฒนาทางสังคม กองทุน จดั สรร (บาท)

กองทนุ กสจ. 1,082,140.00
กองทนุ คมุ้ ครองเด็ก 167,500.00
กองทุนผู้สูงอายุ 523,074.00
กองทนุ ส่งเสรมิ และพฒั นา
คุณภาพชีวิตคนพกิ าร 88,796,550.00

22

ส่วนที่ 4 ผลการดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4.1. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประจำปี 2564

เปา้ หมายอัตราการเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณ ผลการเบิกจ่ายรายไตรมาส
ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค.) 32% 28.74%
ไตรมาสท่ี 2 (เม.ย. – มิ.ย.) 54% 62.53%
ไตรมาสที่ 3 (เม.ย. – มิ.ย.) 77% 72.06%
ไตรมาสท่ี 4 (ก.ค. – ก.ย.) 100% 100.00%

(1) สำนกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั คงของมนษุ ย์ (สป.พม.)

ลำดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณที่ เบกิ จ่าย งบประมาณ
คงเหลือ
ท่ี จดั สรร

จำนวน ร้อยละ

งบบุคลากร 2,322,815.76 2,322,815.76 100

งบดำเนนิ งาน

1 คา่ ใชจ้ ่ายดำเนินงาน (สนง.พมจ.) 1,609400.00 1,609400.00 100

2 ค่าสาธารณปู โภค 268,000.00 268,000.00 100
3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 180,000.00 180,000.00 100
4 โครงการต่อตา้ นการค้ามนษุ ย์ 341,600.00 341,600.00 100

งบอดุ หนนุ

5 เงินอุดหนุนช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง 1,710,000.00 1,710,000.00 100
สังคมกรณฉี ุกเฉนิ

6 งบลงทุน 2,321,000.00 2,321,000.00 100

23

(2) เบิกแทนกรมพัฒนาสังคมและสวสั ดกิ าร (พส.)

ลำดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ เบกิ จา่ ย งบประมาณ
คงเหลือ
ที่ ท่ีจัดสรร

จำนวน ร้อยละ

งบดำเนินงาน

1 กิจกรรมขับเคลื่อนภารกิจตามกฎหมายว่าดว้ ย

การคุ้มครองการขอทาน

- ประชุมคณะอนุกรรมการควบคุมการ 20,725.00 20,725.00 100

ขอทาน

- คณะอนกุ รรมการคุ้มครองไรท้ พี่ ึง่ จังหวัด 22,380.00 22,380.00 100

2 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครและภาค 842,720.00 842,720.00 100

ประชาสังคมเพอ่ื การจดั สวสั ดิการ (อพม.)

3 การขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อ 19,485.00 19,485.00 100
สังคมของภาคธุรกิจในจงั หวัด

4 งานด้านสวัสดิการสังคม พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัด 56,375.00 56,375.00 100
สวัสดิการสงั คม

5 ค่าตอบแทน เพื่อเป็น คชจ.ดำเนินงานเงิน 150,000.00 150,000.00 100
สงเคราะหผ์ มู้ ีรายได้นอ้ ย

งบเงินอดุ หนนุ

6 เงินอุดหนุนสงเคราะห์ผู้มรี ายได้น้อยและผ้ไู ร้ท่ี 1,600,000.00 1,600,000.00 100
พึ่ง

7 เงินอุดหนุนเงินสงเคราะห์คนไทยตกทุกข์ได้

ยากในประเทศกลบั ภมู ลิ ำเนา 6,783.00 6,783.00 100

24

(3) เบิกแทนกรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั (สค.)

ลำดับ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ เบิกจา่ ย งบประมาณ
ท่ี ที่จัดสรร จำนวน ร้อยละ คงเหลือ

งบดำเนินงาน 162,745.00 100

1 กิจกรรมขับเคลื่อนกลไกการป้องกันและแก้ไข 162,745.00 207,500.00 100
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ค่าจ้างเหมา
บริการ

2 กิจกรรมขับเคลื่อนกลไกการคุ้มครองสิทธิ 207,500.00
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงใน
ครอบครัว

3 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลไกด้านครอบครัว 130,200.00 130,200.00 100

ในระดบั พ้ืนที่

4 กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายด้านการพฒั นาสถาน 64,682.00 64,682.00 100

บันครอบครวั

5 ขับเคลื่อนกลไกคณะกรรมการคุ้มครองและ 27,535.00 27,535.00 100

พฒั นาอาชีพประจำจังหวัด

6 กิจกรรมเนื่องในวนั สตรีสากล ปี 2564 40,000.00 40,000.00 100

25

(4) เบกิ แทนกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.)

ลำดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณท่ี เบกิ จ่าย งบประมาณ
ท่ี จัดสรร
คงเหลอื

จำนวน ร้อยละ

งบดำเนินงาน

1 โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตเด็กปฐมวยั 306,826.00 306,826.00 100

- ค่าจ้างเหมาบริการ

- ประชุมคณะกรรมการ

ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

ปฐมวัยระดับจังหวัด

2 กิจกรรมช่วยเหลือ คุ้มครองและจัด 20,440.00 20,440.00 100
23,120.00 100
สวสั ดกิ ารสำหรบั เดก็ และเยาวชน
68,409.00 100
3 กิจกรรมจัดหาครอบครัวทดแทน 23,120.00
2,064,000.00 100
ประชุมคณะอนุกรรมการรับเด็กเปน็ 720,000.00 100

บตุ รบญุ ธรรม

4 ประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก 68,409.00

จงั หวัด

งบเงินอุดหนุน

5 เงนิ สงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน 2,064,000.00

6 เงินช่วยเหลือค่าเลี้ยงดูเด็กใน 720,000.00

ครอบครัวอุปถัมภ์

26

(5) เบกิ แทนกิจการผ้สู ูงอายุ (ผส.) งบประมาณ เบกิ จ่าย งบประมาณ
ทจี่ ัดสรร
ลำดบั โครงการ/กิจกรรม คงเหลือ
ท่ี

จำนวน ร้อยละ

งบดำเนนิ งาน

1 โครงการธนาคารเวลาของประเทศไทย 30,000.00 30,000.00 100
105,000.00 100
2 โครงการเสริมสร้างกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุ 105,000.00

ในชมุ ชน

3 โครงการพัฒนาศักยภาพ อพม. (เชี่ยวชาญ 60,000.00 60,000.00 100

ดา้ นผสู้ งู อายุ)

4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพภาพ 70,000.00 70,000.00 100

ศพอส

5 โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการ 32,400.00 32,400.00 100

เรียนรู้ผู้สงู อายุในชุมชน

6 โครงการเสริมพลงั คลังปญั ญาเพ่ือคนทกุ วยั 15,000.00 15,000.00 100
10,000.00 100
7 โครงการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ 10,000.00

ดำรงชีวิตในสงั คมสงู วัย

8 โครงการสร้างความตระหนักและเตรียมเพือ่ 30,000.00 30,000.00 100

รองรับสงั คมสูงวยั

งบเงนิ อดุ หนนุ

9 โครางการให้บริการสงเคราะห์ในภาวะ 384,000.00 384,000.00 100
132,000.00 100
ยากลำบาก 852,349.00 100
1,719,000.00 100
10 โครงการสนับสนุนการจัดการศพผู้สูงอายุ 132,000.00

ตามประเพณี

11 โครงการปรับสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวย 852,349.00

ความสะดวกของผสู้ ูงอายุ

12 โครงการเสริมสร้างกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุ 1,719,000.00

ในชุมชน จำนวน 2 แห่ง

27

(6) เบกิ แทนกรมส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ (พก.)

ลำดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณท่ี เบกิ จา่ ย งบประมาณ
คงเหลือ
ที่ จัดสรร

จำนวน รอ้ ยละ

งบเงินอดุ หนุน

1 การสนับสนุนการดำเนินงานของ อพ 97,440.00 97,440.00 100
596,046.48 100
ม. ช่วยเหลอื คนพกิ าร

2 โครางการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่ 596,046.48

อาศัยสำหรับคนพิการ

3 โครงการส่งเสรมิ เขา้ ถงึ สิทธคิ นพกิ าร

- เงินอุดหนุนสงเคราะหแ์ ละฟ้นื ฟู 201,500.00 201,500.00 100

สมรรถภาพคนพกิ าร

- การจดั บริการผ้ชู ่วยคนพิการ 335,882.00 335,882.00 100
8,330.00 100
- เงินอุดหนุนสนับสนุนการ 8,330.00

จดั บริการลา่ มภาษามอื

- สนบั สนุนศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการ 270,000.00 270,000.00 100

- เงินอุดนหนุนค่ากายอุปกรณ์ 68,000.00 68,000.00 100
สำหรบั คนพิการ

4.2. ผลการดำเนินงานงบประมาณประจำปี 2564 ของกองทุน ฯ
(1) กองทนุ ส่งเสรมิ การจัดสวสั ดิการสงั คม (1,117,480.00 บาท)

ลำดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณท่ี เบิกจ่าย งบประมาณ
ที่ จดั สรร
คงเหลือ
งบบคุ ลากร 265,080.00
9600.00 จำนวน ร้อยละ
1 ค่าตอบแทนพนกั งานกองทนุ
2 เงินประสงั คมและเงินทดแทน 66,000.00 265,080.00 100 750.00
8,850.00 100
งบดำเนินงาน 11,6800.00
243,650.00 63,880.00 96.78 2,120.00
3 งบบริหารจดั การ 416,350.00
112,000.00 95.89 4,800.00
งบจัดสรรโครงการ 243,650.00 100
416,350.00 100
4 เบี้ยประชมุ
5 โครงการเชงิ ประเดน็
6 โครงการเชงิ พ้ืนที่

28

(2) กองทนุ คุ้มครองเดก็ (167,500 บาท ) เบิกจา่ ย งบประมาณ

ลำดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณที่ คงเหลือ
ท่ี จัดสรร

จำนวน รอ้ ยละ

งบอดุ หนนุ 133,000.00 133,000.00 100
1 เงินสงเคราะหร์ ายบคุ คล 121,500.00 121,500.00 100
2 เงินคา่ ใชจ้ า่ ยอุดหนุนโครงการฯ

(3) กองทนุ สง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร ( 88,796,550.00 บาท)

ลำดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณที่ เบิกจา่ ย งบประมาณ
คงเหลอื
ที่ จัดสรร
26,410.00
จำนวน รอ้ ยละ
172,190.30
1 งบดำเนนิ งาน 121,300.00 94,890.00
5,385,713.00
2 สนับสนุนการดำเนินงานของ 300,000.00 127,809.70 9,520,000.00
ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ าร
111,225.00
งบสนับสนุนโครงการ 283,304.00
108,817.00
1 เงนิ กูย้ ืมคนพิการ 33,000,000.00 27,614,287.00 139,500.00
9,277,622.80
2 เงนิ กู้ยมื คนพกิ ารกรณีฉกุ เฉิน 11,350,000.00 1,830,000.00 3,639,800.00
34,910.00
3 งานสนบั สนนุ งานคณะอนุกรรมการฯ 281,250.00 170,025.00 2,009,376.00

4 โครงการเสริมความรคู้ วามเข้าใจฯ 390,000.00 106,696.00 6,535.72
138,200.00
5 โครงการจา้ งงานคนพกิ าร ฯ 150,000.00 41,183.00 171,050.00
120,900.00
6 ค่าใช้จา่ ยบริหารทว่ั ไป (กรณีพิเศษ) 202,500.00 63,000.00
1,788.00
7 โครงการสร้างศนู ยบ์ ริการคนพิการ 30,000,000.00 20,722,377.20 4,323,365.00

8 โครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพ 3,750,000.00 110,200.00

9 โครงการล่ามภาษามอื 52,500.00 17,590.00

10 โครงการผชู้ ว่ ยคนพกิ าร 3,024,000.00 1,014,624.00

11 โครงการปรับสภาพบ้านคนพิการ 225,000.00 218,464.28

12 โครงการตดิ ตามผลแผนพัฒนาฯ 150,000.00 11,800.00

13 โครงการสตรีพกิ าร 250,000.00 78,950.00

14 โครงการภัยพิบตั ิ 250,000.00 129,100.00

15 โครงการวันงานคนพกิ าร 300,000.00 298,212.00

16 โครงการศูนยบ์ รกิ ารทวั่ ไป 5,000,000.00 676,635.00

29

(4) กองทนุ ผสู้ ูงอายุ (523,074.00 บาท) เบกิ จ่าย งบประมาณ

ลำดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณที่ คงเหลือ
ท่ี จดั สรร

จำนวน รอ้ ยละ

งบบุคลากร 465,960.00 465,960.00 100.00 5,048.00
17,114.00 17,0066.00 70.50
1 คา่ ตอบแทนพนกั งานกองทนุ
2 เงินประสงั คมและเงินทดแทน 40,000.00 39,776.00 99.44 224.00

งบดำเนนิ งาน

3 งบบริหารจัดการ

30

4.3. ผลการดำเนินงานภารกจิ โครงการ/กิจกรรมท่ีสำคัญ

(1) กลุ่มนโยบายและวชิ าการ
(1.1) โครงการส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนงานอาสาพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ในพ้นื ท่ีจงั หวดั สุราษฎร์ธานี

งบประมาณจำนวน 842,720 .- บาท แหล่งงบประมาณ กรมพัฒนาสงั คมและสวัสดกิ าร
ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางวลาลักษณ์ ตน้ั ซ้าย นกั พฒั นาสังคมปฏบิ ตั ิการ
(1) วตั ถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนุษย์ระดับจงั หวัด (กอพม.จังหวดั )
- เพอ่ื ขยาย อพม.ใหม่ให้ครอบคลมุ พื้นท่ี
- เพอ่ื ให้ อพม.ท่ผี ่านการอบรม สามารถดูแลกลุ่มเปา้ หมาย 1/40 ครัวเรอื น
- เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของเครอื ขา่ ยในการดำเนนิ กจิ กรรมด้านการพัฒนาสงั คม
- เพ่ือเสรมิ พลงั จิตอาสาในการพฒั นาสังคมและการเสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณ์ท่ีดีของ อพม.
(2) ลกั ษณะการดำเนนิ งาน
- อบรมพฒั นาศกั ยภาพอาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์(อพม.)ใหม่
- จัดประชุมคณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จังหวดั
- การขับเคลื่อนศูนยป์ ระสานงาน อพม.
- เบกิ จา่ ยค่าตอบแทน อพม.

(3) ผลที่ไดร้ ับจากการดำเนนิ งาน
- มีการจัดประชุมคณะกรรมการ กอพม.ระดับจังหวัด เพื่อวางแผนการขับเคลื่อนงานใน
ปงี บประมาณ 2564
- มี อพม.ใหมร่ ้อยละ 100 ของเป้าหมายผูส้ มคั ร อพม.ใหมใ่ นจงั หวัดปี 2564
- อพม.ได้รับการยอมรับและมีภาพลักษณ์ที่ดี ทำให้สังคมหันมาให้คำสำคัญกับงานอาสาสมัคร
และงานด้านการพัฒนาสังคมมากขึ้น
- ภาคีเครอื ข่ายภาคประชาสังคมมสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ กจิ กรรมทางสังคมดา้ นสวสั ดิการสังคม
และพฒั นาสังคม
(4) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางแกไ้ ข

(4.1) ปญั หาอปุ สรรค

31

- ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้การขับเคลื่อนกิจกรรมการ
อบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(อพม.)ใหม่ไม่เป็นไปตามแผน มีบาง
พน้ื ท่ที ี่สถานการณก์ ารแพร่ระบาดรนุ แรงไมไ่ ด้ดำเนินการจัดอบรม

- งบประมาณที่ไดร้ ับการจดั สรรมไี ม่เพยี งพอต่อการจดั อบรมให้กับ อพม.ใหม่
(1.2) การขับเคลือ่ นงานศนู ย์ส่งเสรมิ การรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมของภาคธรุ กิจจงั หวดั สุราษฎร์ธานี

งบประมาณจำนวน 19,485.- บาท แหลง่ งบประมาณ กรมพัฒนาสังคมและสวสั ดิการ
ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวจริ ชั ยา ศุทธางกูร นกั พัฒนาสงั คมชำนาญการ
(1) วตั ถปุ ระสงค์โครงการ
- เพื่อเปน็ กลไกในการขบั เคลอ่ื นการสง่ เสริมความรบั ผิดชอบต่อสังคมของภาคธรุ กิจ
- เพื่อสนับสนุนให้ภาคธุรกิจมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมเชิงบูรณาการผ่านกิจกรรม
ท่สี ่งเสริมสนับสนนุ
- การจดั สวสั ดิการสังคมใหก้ ับกลุ่มเป้าหมาย
- เพื่อให้ศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ระหว่างองคก์ ร
- ภาคธุรกจิ ในการรับผิดชอบตอ่ สังคม
(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน

- การจัดประชุมเพือ่ จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี
- การดำเนนิ งานตามแผนงาน
- การประชุมสามญั ประจำปี
- การถอดบทเรียนผลการดำเนนิ งานและจดั ทำแผนงานประจำปีต่อไป
(3) ผลท่ไี ด้รบั จากการดำเนินงาน
- ภาคธรุ กจิ มีบทบาทในการดำเนนิ กิจกรรมด้านสังคมเทา่ นนั้
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไดร้ ับการดแู ลภาคส่วนตา่ ง ๆ
(1.3) โครงการเวทีระดมความคิดเห็นเพื่อให้ได้โครงการเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ และพัฒนา
ศักยภาพองค์การสวสั ดิการสังคมในการเขยี นโครงการ ด้านสวัสดิการสังคม ปงี บประมาณ 2565
งบประมาณ จำนวน 30,000.-บาท งบประมาณกองทนุ สง่ เสริมการจดั สวสั ดกิ ารสังคม
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวนิภาพร จิตมัง นกั พัฒนาสังคม
(1) วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ
- เพื่อให้ตัวแทนหน่วยงาน องค์กรที่เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ ความเข้าใจภารกิจ
ของสำนักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ตามกลมุ่ เป้าหมายทเ่ี กยี่ วข้อง

32

- เพื่อให้หน่วยงาน องค์กร ที่สนใจโครงการด้านสวัสดิการสังคมทราบช่องทางและ
สามารถเขียนโครงการขอรับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมสวสั ดกิ ารสงั คม หรอื กองทนุ อืน่ ๆ ในความดูแลของ
กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดกิ ารได้

- เพื่อส่งเสริมให้องค์กรด้านสวัสดิการสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการ
ดำเนนิ งานด้านสวัสดิการสงั คมตามประเด็นปัญหา การพฒั นาสังคม และกลุ่มเปา้ หมาย

- เพื่อให้ได้ประเด็นเป็นกรอบการพิจารณาที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
กองทนุ สง่ เสริมการจดั สวสั ดิการสงั คมจงั หวัด ในปงี บประมาณ ๒๕๖๕

- เพื่อให้องค์การสวัสดิการสังคมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนโครงการและได้รับ
การสนับสนุนจากเงินจากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม และสามารถพัฒนาการจัดทำโครงการด้าน
สวสั ดิการสังคมขององคก์ ร โดยใช้ข้อมูลสถานการณท์ างสงั คมของจงั หวัด

(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน
- ผู้แทนองค์กรสวัสดิการสังคม ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบ

การดำเนนิ งานดา้ นสวสั ดกิ ารสงั คมท่เี ก่ยี วขอ้ งกับกลุ่มเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานด้านสวัสดิการสังคม
- จัดการอบรม ผูเ้ ขา้ ร่วมประชม จำนวน 50 คน ผแู้ ทนองค์กรสาธารณประโยชน์ท่ีขึ้น

ทะเบียนรับรองตามพรบ.ฯ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 –2563 และมีการรายงานผลการดำเนินงานอย่าง
ต่อเนื่อง จำนวน 15 คน ผู้แทนองค์กรสวัสดิการชุมชนที่ขึ้นทะเบียนรับรองตามพรบ.ฯ ตั้งแต่ปีงบประมาณ
2552 –2563 และมีการรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจำนวนจำนวน 25 คน คณะอนุกรรมการ
บริหารกองทุนส่งเสรมิ การจัดสวสั ดิการสงั คมจังหวัด จำนวน ๕ คน เจา้ หน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องและวทิ ยากร จำนวน 5 คน

(3) ผลที่ไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
- องค์กรด้านสวัสดิการสังคมที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจในภารกิจงานด้าน

สวัสดิการสังคมตามกล่มุ เปา้ หมายของสำนักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
- องคก์ รด้านสวัสดกิ ารสงั คมทเี่ ข้ารว่ มประชมุ สนใจการดำเนินงานดา้ นสวสั ดิการสังคม

และเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมและ
ทเี่ กย่ี วขอ้ งของกระทรวงการพฒั นาสงั คมฯ

- ภาคส่วนด้านสวัสดิการสังคมเข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานด้านสวัสดิการสังคม
ท้ังในระดบั พื้นที่ และตามประเดน็ ปญั หา กล่มุ เป้าหมาย

- ไดป้ ระเดน็ ภาพรวมของจงั หวัดและโครงการเชงิ พนื้ ท่ีที่จะดำเนนิ การในปีงบประมาณ ๒๕๖๔
- องค์การสวัสดิการสังคมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนโครงการและได้รับการ
สนับสนุนจากเงินจากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม และสามารถพัฒนาการจัดทำโครงการด้าน
สวสั ดกิ ารสงั คมขององคก์ ร โดยใช้ข้อมลู สถานการณท์ างสังคมของจงั หวัดได้

33

(1.4) โครงการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขง็ แขง็ ต.ขนุ ทะเล
งบประมาณบรู ณารว่ มกบั หน่วยงาน พม. ในจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายต่อศักดิ์ นาคแสงจันทร์ นักพัฒนาสังคม สำนักงาน

ปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
(1) วตั ถุประสงค์
- เสริมสร้างเครอื ขา่ ยทางสังคมท่ีเข้มแข็ง
- บูรณาการตามภารกิจหลัก/ยุทธศาสตร์ของกระทรวง พม. ของทีม พม.จังหวัดสุ

ราษฎร์ธานี (One Home) (1) การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง (2)การสร้างเสริมชุมชนสวัสดิการชุมชน (3) การพัฒนา
แกนนำสภาเดก็ และเยาวชน ใหม้ ที ักษะในศตวรรษที่ 21 (4) การพฒั นากลมุ่ เปา้ หมายด้านสตรีและครอบครวั (5) การ
พัฒนาและส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ประสบภาวะยากลำบากและไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ (6) การเตรียมความพรอ้ มด้านความรู้
ความเข้าใจของประชากร ก่อนวัยผู้อายุ (อายุ 25 – 59 ปี) (7) การทำให้คนพิการที่ตกหล่นและไม่ได้รับสิทธิ/
สวัสดิการจากรัฐได้รับสิทธิ/สวสั ดิการจากการมีบัตรประจำตัวคนพิการ (8) ให้ชุมชนมีแผนพัฒนาชุมชนท้องถิน่ โดย
ต้องมแี ผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดล้อม สขุ ภาพ การพัฒนาคนในชุมชน

- จดั ทำแผนปฏิบตั ิการโครงการสร้างเสริมชุมชมเข้มแข็ง ระยะ 3 ปี

(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน
- กระบวนการที่ 1 การคัดเลือกพื้นที่และกำหนดแผนบูรณาการ หน่วยงาน พม.

จังหวัด (One Home) ในพื้นที่รับฟังแนวทางจากสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ทำความเข้าใจ
แนวทางการขับเคลอ่ื นการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง โดยใหห้ น่วยงาน พม.จังหวัด กำหนดพนื้ ท่ี

- กระบวนการที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดแผนข้อมูลจากฐานข้อมูล TPMAP
ของพ้นื ที่เป้าหมาย วเิ คราะห์ข้อมลู 5 มติ ิ (ด้านสขุ ภาพ/ด้านการศึกษา/ด้านรายได้/ดา้ นเป็นอย/ู่ ด้านการเข้าถึง
บรกิ ารของรัฐ) เพ่อื จำแนกครวั เรอื นเป้าหมายระดบั ชุมชน เป็น 3 ระดบั (เขียว = ตกเกณฑ์ 1 ดา้ น , เหลอื ง =
ตกเกณฑ์ 2 -3 ดา้ น และแดง = ตกเกณฑ์ 4 – 5 ด้าน

- กระบวนการที่ 3 กลไกการขบั เคลอื่ นเสริมชมุ ชนเขม้ แข็งการแตง่ ต้ังคณะทำงานสร้าง
เสริมชมุ ชนเข้มแขง็ ในระดบั พ้ืนที่

- กระบวนที่ 4 บูรณาการดำเนินงานระดับพื้นที่ จัดทำแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ระยะ 3 ปี ร่วมการคัดเลือกครัวเรือนเป้าหมาย ระบบ TPMAP 5 ด้าน (ด้านสุขภาพ/ด้านการศึกษา/ด้าน
รายได้/ด้านเป็นอยู่/ด้านการเข้าถึงบริการของรัฐ) ที่จำแนกครัวเรือนเป้าหมายระดับชุมชน เป็น 3 ร ะดับ
(เขยี ว = ตกเกณฑ์ 1 ด้าน , เหลือง = ตกเกณฑ์ 2 -3 ดา้ น และแดง = ตกเกณฑ์ 4 – 5 ด้าน )

- กระบวนการที่ 5 เกณฑ์การประเมิน ประชุมถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมชุมชน
เขม้ แขง็

34

(3) ผลท่ีได้รับจากการดำเนินงาน
- ครัวเรือนเป้าหมายได้รับแก้ไขครบ 5 มิติ มีการพัฒนามีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายใน

พน้ื ที่
- ชุมชนที่สามารถจัดการกันเองทั้งดา้ นข้อมลู แผน บริหารจัดการ กลไกขับเคลื่อนทุน

ทางสังคมได้อยา่ งมคี ุณภาพ ส่งผลให้ชมุ ชนมเี ศรษฐกจิ ดี ครอบครัวอบอุ่น ชมุ ชนเข้มแข็ง ม่นั คง ย่ังยืน ชุมชนมภี มู ิ
ต้านทานต่อปัจจัยกระทบต่างๆ ภายใต้การบูรณาการความรว่ มมือและสนับสนุนของภาคเี ครอื ข่ายและภาคสว่ น
ตา่ งๆ ทางสังคม

- การประสานความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อ
สนับสนุนให้ชุมชนแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาชุมชนอย่างมีเสรีภาพ ตามสทิ ธิและหน้าที่ของชุมชน ที่มีเป้าหมายหลัก
ในการตอบสนองความต้องการรว่ มกันของประชาชน

- มีแผนการสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็งระยะ 3 ปี
(4) ปัญหาอปุ สรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางแก้ไข

เกิดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด – 19) การขับเคลื่อน
โครงการ/กิจกรรม เกิดความคาดเคลื่อนออกไป

(1.5) โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ในพื้นที่จังหวัด
สรุ าษฎร์ธานี

งบประมาณ ได้รับการจัดสรรร 15,000.- บาท แหล่งงบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ นายต่อศักดิ์ นาคแสงจันทร์ นักพัฒนาสังคม
(1) วตั ถปุ ระสงค์

- เพือ่ บูรณาความร่วมมอื ในความรว่ มมือกล่มุ เปราะบางใหค้ รอบคลุมทกุ มิติแบงองค์รวม
- เพื่อให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม
เปราะบางและให้ครอบครัวมั่นคงมีความสขุ สามารถพ่งึ พาตนเองได้อย่างย่งั ยืน
- เพื่อให้มีฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนระดับประเทศที่เกิดจากการบูรณาการข้อมูล
จากทุกหนว่ ยงาน
(2) ลักษณะการดำเนินงาน
- การประสานความร่วมมือการทำงานในพื้นที่ การจัดการระบบเทศโนโลยีสารสนเทศ (IT)
ฐานข้อมูล TPMAP ในการเสริมพลังให้กับเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนษุ ย์ และอาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์

35

-การชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการฯ ร่วมกันทุกระดับ ผู้ว่าราชการจังหวัด และหัวหน้าส่วน
ราชการ ทีม พม.จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนษุ ย์ อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันของมนุษย์ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่

-การกรองข้อมูล เพื่อค้นหากลุ่มเปราะบางซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของโครงกาฯ ใช้ข้อมูล
ฐานขอ้ มูลในระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้เี ป้า (Thai people Map and Analysis Platform
: TPMAP) ฐานข้อมูลในระบบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การซ้อนทับข้อมูล
(overlay) ใชใ้ นการตดั สนิ ใจแก้ปญั หา จดั ฐานขอ้ มลู เจ้าหน้าท่ี พม. 1 คน ตอ่ อพม. 25 คน และ อพม. 10 ต่อ
ครวั เรอื นกลมุ่ เปราะบาง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวนครัวเรอื นเป้าหมาย จำนวน 1423 ครวั เรือน

- การเยี่ยมบ้าน เพื่อสอบข้อเท็จจริง เป็นการจัดทีมร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่สังกัด พม. และ
อพม. และภาคเครือข่าย เยี่ยมบ้านระดับครัวเรือน เพื่อสอบถาม รับฟัง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ลงเยี่ยม
และผูถ้ ูกเยีย่ ม มีการนำขอ้ มลู มาบนั ทึก ในสมุดพกครอบครัว

- การวิเคราะห์ร่วมรายครัวเรือน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับการเยี่ยมบ้านกลุ่มเปราะบาง
รายครัวเรือน เพ่ือนำขอ้ มลู มาใชใ้ นการคืนขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการวิเคราะหส์ ู่ครอบครวั และชุมชนซึง่ มีการดำเนินการ
ในระดบั ตำบล หมู่บา้ นและชุมชน โดยเจา้ หนา้ ท่ี พม. อพม. ภาคีเครอื ขา่ ย

- การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชวี ิติรายครอบครัว เป็นการจัดประเภทของกรพัฒนาครอบครัว
ตามลำดับความเร่งด่วนของกลุ่มเปราะบางที่ต้องช่วยเหลือ โดยการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตราย
ครอบครวั เปน็ ๓ ระดับ (1) แผนระยะสัน้ เชน่ การชว่ ยเหลอื ทางด้านเครอื งอปุ โภคบรโิ ภค เงินสงเคราะห์ (เงนิ
อุดหนุน) และการเข้าถึงสิทธิ (2) แผนระยะกลาง เช่าน การให้ความรู้ การฝึกอาชีพ การเข้าถึงโอกาส การ
เข้าถึงกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเข้าถึงระบบ IT และการปรับสภาพแวดล้อม (3) แผนระยะยาว เช่น การ
ปรับปรุง/ซ่อมแซ่มที่อยู่อาศัย การมีที่ดินทำกิน การเป็นชุมชนสีเขียว การมีพื้นที่สาธารณะ และการบรรจุ
แผนการพฒั นาคุณภาพชีวิตรายครอบครัว

- การบูรณาการ การทำงานรว่ มกับภาคเี ครือข่าย เป็นการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน
ภาครัฐเพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางทั้งด้านข้อมูล ด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านที่อยู่อาศัย
ดา้ นอาชพี และการมีงานทำ และดา้ นทอ่ งเที่ยวและชุมชน สำหรับหน่วยงานที่มกี ารบรู ณาการ 12 กระทรวง

- การตดิ ตามประเมนิ ผล เพ่อื นำขอ้ มลู ท่ไี ด้มาใช้ในการวางแผนการดำเนนิ งานในระยะต่อไป
- การจัดเวทสี รปุ บทเรียน
(3) ผลท่ีไดร้ ับการจากการดำเนนิ งาน
- สมาชิกในครัวเรือนกลุ่มเปราะบางที่ได้รับความช่วยเหลือ และพัฒนาคุณภาพชีวิต สามารถ
ดำเนนิ ชีวิตด้วยตนเองได้อยา่ งย่ังยืน และอยูใ่ นสังคมและชมุ ชนได้อย่างปกตสิ ขุ
- ความยากจน และความเหลอ่ื มลำ้ ของประเทศลดลง

36

- เกดิ ความบูรณาการการแก้ไขปญั หาความยากจน และสร้างเสรมิ ความร่วมมือจากหลากหลาย
ภาคส่วนในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางอยา่ งยั่งยนื

(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงานและแนวทางแกไ้ ข
-การกรองข้อมูลจากครัวเรอื นจากระบบ TPMAP ได้ล่าช้า เนื่องระบบไม่มีฟังก์ชั่นสำหรับการ

กรองข้อมูลครัวเรือนเปราะบาง และไม่สามารถโหลดรายชื่อครัวเรือน ทำให้ระยะการจัดทำข้อมูลใช้ระยะ
เวลานาน

- ความลา่ ชา้ การลงพืน้ ทส่ี ำรวจครัวเรือนเปราะบาง เน่อื งมกี ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา (โค
วิด – 19) ในพนื้ ที่จังหวดั สุราษฎร์ธานี

(2) กลุ่มการพัฒนาสงั คมและสวสั ดิการ
(2.1.) โครงการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคมกรณีฉกุ เฉิน
งบประมาณ จำนวน 1,710,000.00 บาท สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม

และความม่นั คงของมนษุ ย์
(1) วัตถุประสงค์โครงการ
ช่วยเหลือผู้ที่ประสบปัญหาความเดือนร้อนที่เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วน หรือเป็นท่ี

คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจะต้องได้รับการแก้ไขโดยฉับพลันทันท่วงที เพื่อป้องกันมิให้เกิด
ปัญหาสังคมดา้ นอน่ื ตามมา เป็นการช่วยเหลือเบื้องตน้ กอ่ นให้การสงเคราะห์ พัฒนา และฟ้ืนฟเู พ่ือให้ช่วยเหลือ
ตนเองได้

(2) ลกั ษณะการดำเนนิ งาน
- การยื่นคำขอรับการช่วยเหลือ การลงพื้นที่สำรวจจาก อพม. อปท.ในพื้นที่ และการ

รับแจง้ ศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม 1300
- ลงพนื้ ทสี่ อบขอ้ เท็จจรงิ
- ประชมุ คณะกรรมการพิจารณา
- อนมุ ัตจิ ่ายเงินช่วยเหลอื โอนผา่ นบัญชธี นาคาร

(3) ผลทไี่ ด้รับจากการดำเนนิ งาน
ประชาชนที่ในพนื้ ที่จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ไดร้ ับการชว่ ยเหลือ จำนวน 742 ครัวเรือน

(4) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางการแก้ไข
-

37

(2.2.) เงนิ อุดหนุนเงินสงเคราะห์ผู้มีรายได้นอ้ ยและผ้ไู รท้ ่พี ึ่ง
งบประมาณ ได้รับการจัดสรรร 1,600,000.- บาท แหล่งงบประมาณ กรมพัฒนา

สงั คมและสวดั กิ าร
(1) วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ
ช่วยเหลือครอบครัวผู้มีรายไดน้ อ้ ยที่ประสบความเดือนร้อน เพราะเหตุที่หัวหน้าครอบ

เสียชีวิต ทอดทิ้ง สาบสูญ หรือต้องโทษจำคุก เจ็บป่วยร้ายแรง หรือพิการไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ประสบ
ภาวะยากลำบากในการดำรงชีวติ ไม่สามารถดแู ลครอบครัวได้

(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน
- การยื่นคำขอรับการช่วยเหลือ การลงพื้นที่สำรวจจาก อพม. อปท.ในพื้นที่ และการ

รบั แจง้ ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม 1300
- ลงพนื้ ที่สอบข้อเทจ็ จรงิ
- ประชุมคณะกรรมการพิจารณา
- อนุมตั ิจ่ายเงนิ ช่วยเหลือโอนผ่านบญั ชีธนาคาร

(3) ผลทไี่ ด้รบั จากการดำเนนิ งาน
ประชาชนท่ีในพ้นื ที่จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ไดร้ บั การชว่ ยเหลือ จำนวน 793 ครัวเรือน

(4) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางการแก้ไข
-

(2.3.) การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

งบประมาณ จำนวน 38,000 บาท แหล่งงบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวงการ
พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์

ผู้รับผิดชอบ นางสาวเบญจมาศ เลิศไกร ผู้ช่วยปฏิบัติงานพัฒนาสังคม ประจำศูนย์
ปฏบิ ัติการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์

(1) วัตถปุ ระสงค์โครงการ
- เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่มีภารกิจในการป้องกันและแก้ไข

ปัญหาการคา้ มนษุ ย์จงั หวัด แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
- เพื่อพิจารณาแผนงาน/โครงการป้องกันและปราบปรามค้ามนุษย์ที่ต้องขอรับ การ

สนบั สนุนงบประมาณจากกองบริหารกองทุนเพ่ือการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.
2564

38

(2) ลกั ษณะการดำเนนิ งาน
กลุม่ เปา้ หมายในการดำเนนิ โครงการ คือ ผ้แู ทนหนว่ ยงาน องค์กร ทีม่ ีภารกจิ เกี่ยวข้อง

กับการดำเนนิ งานป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษยจ์ ำนวน 30 คน อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่ันคง
ของมนุษย์ จำนวน 9 คน ผู้แทนสภาเดก็ และเยาวชน จำนวน 5 คน วทิ ยากร ผู้สังเกตการณ์ และเจา้ หน้าที่ผู้จัด
อบรม จำนวน 6 คน รวมจำนวน 50 คน โดยใช้ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ จำนวน 1 วัน ณ โรงแรมแก้วส
มยุ รีสอรท์ อ.เมืองฯ จ.สุราษฎร์ธานี

(3) ผลทไ่ี ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
ผู้เข้าร่วมได้พิจารณาแผนงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม

การค้ามนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้พิจารณาแผนงาน/โครงการ ตาม
แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ระหวา่ งหนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 รวมถึง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ และสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์
ธานี ได้ร่วมแสดงความคิดเหน็ และพิจารณาและแผนงาน/โครงการ เงอ่ื นไขในการสนับสนนุ เพื่อของบประมาณ
จากกองบริหารกองทนุ เพอ่ื การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษยใ์ นปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข
ปัญหาอุปสรรค์การพิจารณาทบทวนแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้า

มนษุ ยร์ ะหว่างหนว่ ยงานท่ีมีภารกิจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
นั้น ได้มีการแก้ไขและพิจารณาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการให้มีความสอดคล้องกันตามภารกิจของหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการประสานและติดต่อหน่วยงานภายหลังการจัดการประชุมเชิง
ปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกนั และปราบปรามคา้ มนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 เพื่อให้แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์มีประสิทธิภาพตามภารกิจโครงการและ
แผนงานน้ัน

แนวการแก้ไข แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการพิจารณาโครงการและแผนงานของหน่วยงานที่มภี ารกิจเกี่ยวข้องจึงต้องปฏิบัติ
ตามภารกิจงานตามแผนโครงการเพื่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรวมถึง
อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ สภาเด็กและเยาวชนในจงั หวัด ซึ่งสามารถสร้างความเข้มแข็ง
ในการป้องกันปญั หาการค้ามนุษย์ ซึ่งต้องร่วมมือกันระหวา่ งทุกภาคสว่ น เพื่อเป็นผูเ้ ฝ้าระวังปัญหาการค้ามนษุ ย์
ของสังคมและสร้างความเขม้ แข็งในการป้องกันปญั หาความเสยี่ งของการคา้ มนุษยใ์ นสังคม

39

(2.4.) อบรมเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสงั คม เพือ่ เปน็ ผู้เฝา้ ระวังทาง
สังคมด้านการต่อตา้ นการค้ามนุษย์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

งบประมาณ จำนวน 43,000 บาท แหล่งงบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ผู้รบั ผดิ ชอบ

ผู้รับผิดชอบ นางสาวเบญจมาศ เลิศไกร ผู้ช่วยปฏิบัติงานพัฒนาสังคม ประจำศูนย์
ปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์

(1) วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ
- เพอื่ สรา้ งความตระหนักรู้ ความเข้าใจถึงสถานการณ์ รปู แบบ ปัจจัยเสยี่ งตา่ ง ๆ และ

การป้องกนั ตนเองจากภัยการคา้ มนุษย์ และสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปถ่ายทอดเพ่ือขยายกลุ่มเป้าหมายในระดับ
พ้ืนท่ี

- เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ
มนั่ คงของมนษุ ย์ ผู้นำ/แกนนำชุมชน ในพืน้ ท่ี ใหเ้ ปน็ ผู้เฝา้ ระวังทางสังคมด้านการตอ่ ต้านการค้ามนุษย์

- เพื่อส่งเสริมการสร้างภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ผู้นำ/แกนนำชุมชน ในพื้นที่โดยบูรณาการทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในฐานะ
สว่ นสนับสนุนการเฝา้ ระวงั ปัญหา และแจง้ เบาะแสการค้ามนษุ ย์

(2) ลกั ษณะการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ คือ เครือข่ายภาคประชาสังคม อพม.ผู้นำ/แกนนำ

ครู และผ้ปู ระกอบการโดยใชร้ ะยะเวลาการดำเนินโครงการ จำนวน 1 วัน ณ โรงแรมแก้วสมยุ รสี อร์ท อ.เมือง
ฯ จ.สุราษฎร์ธานี

(3) ผลท่ีไดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่อเป็นผู้เฝ้า

ระวังทางสังคมด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ ได้ตระหนักถึงภัยร้ายแรงของการค้ามนุษย์ในระดับพื้นที่
โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง อาทิ เด็กและสตรี ซึ่งต้องสามารถป้องกันตนเองจากภัยการค้ามนุษย์ ใน
ขณะเดียวกันจะต้องเป็นผู้เฝา้ ระวงั และเข้าถึงวิธีการป้องกันตนเองจากปัจจัยเสีย่ งต่าง ๆ ได้ซึ่งส่วนสำคัญ คือ
การบูรณาการความร่วมมือจากภาคีเครือขา่ ย ผู้นำ แกนนำชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งภายในพ้ืนท่ีอยู่อาศยั
ใหส้ ามารถเป็นกลไกสำคญั ในการสำรวจ ตรวจสอบ เพื่อเฝา้ ระวงั ปญั หาการค้ามนุษยไ์ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางแกไ้ ข
ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาค

ประชาสังคมเพื่อเป็นผู้เฝ้าระวังทางสังคมด้านการต่อต้านการคา้ มนุษย์ ซึ่งพื้นที่ชุมชน มีจำนวนมาก การสร้าง

40

ความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน ซึ่งอาจไม่ทั่วถึงนัก เนื่องจากความห่วงไกลของพื้นทีช่ ุมชน และอาจเป็นพืน้ ท่ี
เสี่ยงต่อปัญหาการค้ามนุษย์ การสร้างความรับรู้ให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ประชาชน
จะตอ้ งได้รบั ความรู้และเข้าใจเพื่อสามารถป้องกนั ภัยจากการค้ามนุษย์

ข้อเสนอแนะ การสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันปัญหาการค้ามนุษย์ เป็นสิ่งสำคัญท่ี
ประชาชนในทุกพืน้ ทีค่ วรจะได้ตระหนักร้ถู ึงความสำคญั และวธิ ีการปอ้ งกันตนเอง เนือ่ งจากปัจจบุ ันมีปัจจัยต่าง
ๆ เชน่ ปัญหาเศรษฐกจิ ซึ่งส่งผลให้ประชาชน จำเปน็ ต้องแสวงหาอาชีพซึ่งเสีย่ งต่อการถกู แสวงหาผลประโยชน์
จากการค้ามนุษย์ ฉะนน้ั การสร้างความเขา้ ใจถึงผลร้ายแรงของปญั หาการคา้ มนุษย์

(2.7.) เงนิ อดุ หนุนชว่ ยเหลอื เดก็ ในครอบครวั ยากจน
งบประมาณ จำนวน 2,064,000 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกิจการเด็กและเยาวชน
ผู้รับผิดชอบ นางจฑุ ามาส หนชู ่วย นักสงั คมสงเคราะห์ชำนาญการ

(1) วัตถุประสงค์โครงการ
ช่วยเหลอื เดก็ ในครอบครวั ยากจน ซึ่งเป็นเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ปี บริบูรณ์หรืออยู่

ระหว่างการศึกษา ต้องมีอายไุ ม่เกนิ 20 ปีบริบรู ณ์ เดก็ กำพรา้ อนาถา เดก็ พกิ ารทางดา้ นร่างกาย สมองปัญญา
หรือจิตใจ

(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน
- การยื่นคำขอรับการช่วยเหลือ การลงพื้นที่สำรวจจาก อพม. อปท.ในพื้นที่ และการ

รบั แจ้งศูนย์ช่วยเหลอื สังคม 1300
- ลงพนื้ ท่สี อบข้อเท็จจริง
- ประชุมคณะกรรมการพิจารณา
- อนุมัตจิ า่ ยเงนิ ชว่ ยเหลือโอนผา่ นบญั ชธี นาคาร

(3) ผลท่ีได้รบั จากการดำเนินงาน
เด็กได้รับการช่วยเหลือที่ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการช่วยเหลือ จำนวน

2,064 ราย
(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางการแก้ไข
-

41

(2.8.) โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตเดก็ ปฐมวยั
งบประมาณ จำนวน 18,860 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกิจการเด็กและเยาวชน

งบประมาณ จำนวน 7,220 บาท แหล่งงบประมาณ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนษุ ย์

ผู้รับผิดชอบ นางจุฑามาส หนชู ว่ ย นกั สงั คมสงเคราะห์ชำนาญการ
(1) วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ

เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินการพัฒนาเด็กปฐมวัยในระดับจังหวัด ให้มีความชัดเจนเป็น
รูปธรรม และสามารถประสานการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงการ
ทำงานจากระดับนโยบายสู่ภูมิภาคได้อยา่ งเป็นระบบตลอดจนเกดิ การกำกบั ติดตามท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ

(2) ลักษณะดำเนินการ
- การจดั ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดสุราษฎร์ธานี

วันที่ 18 มนี าคม 2564
- การตรวจติดตามสถานรบั เล้ียงเด็กเอกชน ระหวา่ งวนั ที่ 6 – 7 และ17-18 กันยายน 2564

(3) ผลท่ไี ดร้ บั จากการดำเนินงาน
- คณะอนุกรรมการรับทราบผลการดำเนินการโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเดก็

แรกเกดิ
- คณะอนุกรรมการรับทราบผลการดำเนินงานด้านเด็กปฐมวัยของหน่วยงาน

เลขานุการร่วมและหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง
- การรายงานผลการจัดเก็บข้อมูลการประเมินมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

แห่งชาตขิ องสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในจังหวัดสุราษฎร์ ซง่ึ ไดด้ ำเนินการ 521 แหง่
- คณะอนุกรรมการเห็นชอบร่างคณะทำงานตรวจประเมินสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
- คณะอนกุ รรมการเห็นชอบร่างกำหนดการตรวจติดตามสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
- มีการตรวจติดตามสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน ทั้ง 13 แห่ง โดยให้คำแนะนำด้านการ

ปฏิบัติตามคำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการป้องกันและดูแลเด็กในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรน่า 2019 (โควดิ 19) โดยได้รายงานผู้ว่าราชการจังหวัดเรียบรอ้ ยแลว้ และการตดิ ตามการดำเนินงาน
ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

42

(2.9.) โครงการสง่ เสริมการดำเนนิ งานกองทนุ คมุ้ ครองเด็ก
งบประมาณ จำนวน 26,610 บาท แห่งงบประมาณ กรมกิจการเด็กและเยาวชน

ผรู้ บั ผิดชอบ นางจฑุ ามาส หนูช่วย นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการ
นกั สังคมสงเคราะห์ชำนาญการ
(1)วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
เพื่อพิจารณาสนับสนุนเงนิ สงเคราะห์รายบุคคล ในการช่วยเหลือเด็กและครอบครัว และ

พิจารณาสนบั สนนุ โครงการของหนว่ ยงานภาครฐั และองค์กรภาคเอกชน ทข่ี อรบั เงนิ สนับสนุนโครงการ
(2)ลักษณะการดำเนนิ งาน
การจัดประชมุ คณะอนุกรรมการบริหารกองทนุ คุ้มครองเดก็ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำนวน 2 คร้งั
ครั้งที่ 1 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 เห็นชอบให้การช่วยเหลือ จำนวน 3 ครอบครัว เด็ก

ในครอบครัว จำนวน 7 คน เป็นเงิน 46,000 บาท และเห็นชอบโครงการ จำนวน 1 โครงการ ของสถานพินิจ
และคุม้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั สุราษฎร์ธานี

ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2564 เห็นชอบให้การช่วยเหลือ จำนวน 5 ครอบครัว
เดก็ ในครอบครวั จำนวน 14 คน เปน็ เงิน 87,000 บาท

(3)ผลทไ่ี ดร้ บั การจาการดำเนนิ งาน
- คณะอนุกรรมการเห็นชอบให้การช่วยเหลือสงเคราะห์รายบุคคล จำนวน 8

ครอบครัว เด็กครอบครวั 21 คน รวมเปน็ เงินทั้งส้นิ 133,000 บาท
- คณะอนกุ รรมการเห็นชอบสนับสนนุ โครงการ จำนวน 1 โครงการ เปน็ เงิน 121,500

บาท และมเี งินคงเหลือจากโครงการสง่ คนื กองทุนคุ้มครองเด็กเปน็ เงิน 5,750.07 บาท เรียบรอ้ ยแล้ว
(4) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานและแนวทางการแก้ไข
เนื่องจากเป็นช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ทำให้

การประชมุ ของคณะกรรมการบริหารกองทุนมีความล่าชา้ รวมถงึ การดำเนนิ กจิ กรรมจะต้องปรบั เปล่ียนไปตาม
สถานการณ์

(2.10.) ประชมุ สมชั ชาตรีและครอบครัว และกิจกรรมงานวันแหง่ ครอบครวั จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
งบประมาณ จำนวน 59,780 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกิจการสตรีและสถาบัน

ครอบครวั
ผรู้ ับผิดชอบ นางเพชรมณี เนตรนติ สิ กลุ ตำแหน่ง นกั พฒั นาสงั คมชำนาญการ

43

(1)วัตถปุ ระสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของสตรีและสถาบัน

ครอบครวั และสง่ เสริมกระบวนการมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ยทั้งภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชมในการ
พฒั นาสตแี ละสถาบันครอบครัว

- เพื่อยกย่องสดุดีครอบครัวที่เป็นแบบอย่างในการอบรมเลี้ยงดูและดูแลสมาชิกใน
ครอบครวั จนเกดิ ความรม่ เย็นเป็นสุขแก่ทุกคนในครอบครวั

- เพื่อให้มีเวทีสาธารณะในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับสถานการณ์
สตรี และครอบครัว ทบทวนปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสตรี และครอบครัว ตลอดจนแนวทางการป้องกันและ
แก้ไขปญั หาของภาคสว่ นตา่ งๆ ในสังคม

(2)ลกั ษณะการดำเนินการ
- จดั เวทีเสวนา อภิปราย และแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ให้ความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับประเด็น

ดา้ นสตรี และด้านครอบครัว
- จัดนิทรรศการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ หรือเสริมสร้างเจตคติของสังคมให้ตระหนักถึง

คุณค่า และศักยภาพของสตรี การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิสตรี การส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และการ
สร้างครอบครวั คุณภาพ

- คัดเลือกครอบครัวร่มเย็นและประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติ เนื่องในวันครอบครัว
และประกาศเกียรติคุณ เชิดชเู กียรติ

(3)ผลทไี่ ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
- สตรีและครอบครัว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับการส่งเสริมจากกลไกต่าง ๆ เพื่อ

พฒั นาศกั ยภาพสตรีและเปน็ ครอบครวั ที่เขม้ แข็ง สามารถแสดงบทบาทหน้าที่ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์
- องค์ภาคีเครือข่ายด้านสตรี ด้านครอบครัว มีความร่วมมือกันในการพัฒนาสตรี และ

พฒั นาสถาบันครอบครัวให้เขม้ แขง็
- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีนโยบายและแนวทางในการดำเนนิ งานดา้ นสตรี และส่งเสริม

ความเสมอภาคระหวา่ งเพศ ตลอดทง้ั พัฒนาสถาบนั ครอบครวั ไปในทางเดยี วกัน
- มีการยกย่องเชิดชูเกียรติ ครอบครัวร่มเย็นระดับจังหวัด ประจำปี 2564 จำนวน 3

ครอบครัว ทำให้ได้เห็นแบบอย่างครอบครัวที่ดีในการอบรมเลี้ยงดูสมาชกิ ในครอบครวั จนเกิดความร่มเย็นเป็น
สขุ แก่ทกุ คนในครอบครัว

(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข
เป็นการดำเนินงานในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(โควดิ - 19) ตอ้ งปฏบิ ัติตามมาตรการคำส่งั ของการควบคมุ โรคอย่างเครง่ ครัด

44

(2.7.) โครงการให้บริการสงเคราะหผ์ สู้ ูงอายุในภาวะลำบาก
งบประมาณ จำนวน 384,000 บาท แหลง่ งบประมาณ กรมกจิ การผสู้ งู อายุ
ผู้รบั ผิดชอบ นางสาวดวงฤดี พร้อมมลู นกั สังคมสงเคราะห์ชำนาญการ
(1.) วัตถปุ ระสงค์โครงการ
เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาความเดือนร้อน ถูกทารุณกรรม ถูก

แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ถูกทอดทิ้ง ประสบปัญหาด้านครอบครัว ด้านที่พัก อาหาร และ
เครื่องนุ่งห่ม โดยจะช่วยเหลือค่าใช้จ่ายเป็น ค่าพาหนะเดินทาง ค่าอาหาร ค่าเครื่องนุ่งห่ม หรือค่า
รักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความจำเป็นและเหมาะสม เป็นเงินไม่เกินวงเงินครั้งละ 3,000 บาท และจะ
ช่วยเหลือไม่เกิน 3 ครัง้ ตอ่ คนต่อปี

(2.) ลักษณะการดำเนินงาน
- ข้นั ท่ี 1 การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ
- ขั้นที่ 2 การประเมนิ และพจิ ารณาใหค้ วามช่วยเหลอื
- ขน้ั ท่ี 3 การดำเนนิ การช่วยเหลือ
- ขั้นท่ี 4 การบันทกึ ข้อมูล

(3.) ผลท่ไี ดร้ ับจาการดำเนนิ งาน
ผู้สูงอายุที่ยากจนอยู่ในภาวะยากลำบากและมีความเดือนร้อนได้รับการช่วยเหลือ

จำนวน 149 ราย

(2.8.) โครงการสนับสนุนการจัดการศพผสู้ งู อายตุ ามประเพณี
งบประมาณ จำนวน 384,000 บาท แหลง่ งบประมาณ กรมกิจการผ้สู ูงอายุ
ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวดวงฤดี พรอ้ มมูล นกั สังคมสงเคราะห์ชำนาญการ
(1) วตั ถุประสงค์
เพื่อสงเคราะห์การจัดการศพตามประเพณีแก่ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตมีฐานะยากจนศพละ

3,000 บาท
(2) ลักษณะการดำเนนิ งาน
- ขั้นที่ 1 ผู้ทีรับผลิตชอบจัดการศพต้องยื่นคำขอ ภายในกำหนด 6 เดือน นับตั้งแต่

วนั ทอ่ี อกใบมรณบัตร
- ขนั้ ที่ 2 การตรวจสอบข้อมลู (1) ผ่านการพจิ ารณา (2) ไม่ผ่านการพจิ ารณา ชีแ้ จงผูย้ ืนคำขอ
- ขัน้ ท่ี 3 การใช้ความช่วยเหลอื รายละ 3,000 บาท

45

- ขั้นที่ 4 ช่องทางการรับความช่วยเหลือ การโอนเงินผ่านระบบ KTB Corporate
Online สำหรับจ่ายเช็ค และเงิน โดยมีใบสำคัญรับเงินซึ่งต้องมีเจ้าหน้าที่ลงนามเป็นพยานให้ครบถ้วน –
ภาพถา่ ยประกอบ)

- ขั้นที่ 5 การบันทึกข้อมูลและรายงานผล ลงในระบบศูนย์ข้อมูลกลางผู้สูงอายุด้าน
สวสั ดิการสงั คมผสู้ งู อายุ

(3) ผลทไี่ ดร้ บั จากการดำเนนิ งาน
บุคคลที่ได้รับผิดชอบในการจัดการศพผู้สูงอายุได้รับสงเคราะห์การจัดการศพตาม

ประเพณแี ก่ผ้สู ูงอายทุ เี่ สยี ชีวติ มฐี านะยากจนศพละ 3,000 บาท
(4) ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางการแก้ไข
งบประมาณค่าจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณีที่ได้รับการจัดสรรจากกรมกิจการ

ผสู้ งู อายไุ ม่เพยี งพอ จึงมีการประสานกรมกิจการผสู้ ูงอายุ เพอ่ื ขอรบั งบประมาณเพม่ิ เตมิ
(5) ข้อเสนอแนะตอ่ โครงการ
กรมกจิ การผู้สูงอายุจัดสรรงบประมาณคา่ จัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณีเพิ่มเตมิ

(2.9.) โครงการเสรมิ พลงั คลังปญั ญาผู้สูงอายุ เพอ่ื คนทุกวัยส้ภู ัยสถานการณ์โควิด จังหวัดสุราษฎร์ธานี
งบประมาณ 15,000 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ
ผ้รู ับผดิ ชอบ นางสาวดวงฤดี พร้อมมูล นกั สังคมสงเคราะห์ชำนาญการ และสิบเอกสัจจะ

อาวุธ นักพฒั นาสงั คม
(1) วัตถุประสงคโ์ ครงการ
- เพ่ือให้ผสู้ งู อายไุ ดใ้ ช้ประสบการณ์และภูมปิ ญั ญาเพอื่ สรา้ งประโยชนใ์ นชุมชน
- เพื่อสร้างความสัมพันธ์ทีด่ ีของคนต่างวัน และสร้างการเรียนรู้ สืบสานคุณค่าที่ดีงาม

ของสงั คม
- เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเห็นความสำคัญในการเตรียมความพร้อมก่อน

เขา้ สูว่ ยั ผ้สู ูงอาย

(2) ลักษณะการดำเนินงาน
- การจดั ประชุมเครือข่ายคลัดปัญหาผสู้ ูงอายุจังหวดั สุราษฎร์ธานี และวางแผนการจัด

โครงการตามมติท่ปี ระชมุ
- การดำเนินโครงการในพื้นที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบ

เสวยี ด อ.ท่าฉาง
- การติดตาม การประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน

46

(3) ผลการที่ได้รับจากการดำเนินงาน
- ผสู้ ูงอายไุ ด้ใช้ประสบการณ์ ถ่ายทอดภูมปิ ัญหาในการทำขนมทองมว้ นอ่อน และขนม

ไข่ จำนวน 35 ราย
- เกิดจากการสรา้ งความสัมพันธท์ ีดีของคนต่างวัย และสร้างการเรียนรู้ สืบสานคุณคา่

ทีดงี ามของสงั คม
- ทุกภาคสว่ นเห็นความสำคัญในการเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าสูว่ ยั ผูส้ งู อายุ

(4) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางแกไ้ ข
-

(5) ขอ้ เสนอแนะต่อโครงการ
-

(2.7.) โครงการพฒั นาศักยภาพอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่นั ของมนุษย์ (เช่ียวชาญด้าน
ผู้สงู อาย)ุ

งบประมาณ 58,260 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกจิ การผูส้ งู อายุ
ผรู้ ับผดิ ชอบ นางสาวดวงฤดี พรอ้ มมูล นักสงั คมสงเคราะห์ชำนาญการ และสิบเอกสัจจะ
อาวธุ นักพฒั นาสังคม

(1) วัตถุประสงคโ์ ครงการ
เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานอาสาสมัครเพื่อการดูแลผู้สูงอายุในระดับพื้นที่ ให้มี

ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้
(2) ลกั ษณะการดำเนินงาน
- ศึกษาคู่มือการดำเนินงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

(เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอาย)ุ และสมดุ บนั ทึกกิจกรรมอาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (เช่ยี วชาญ
ดา้ นผู้สงู อายุ)

- พิจารณาคัดเลือกพื้นที่มีศักยภาพของเครือข่ายในการขับเคลื่อนการดูแลผู้สูงอายุ
โดยคัดเลือกจากพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการดำเนินกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริม
อาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) โรงเรียนผูส้ ูงอายุ กลุ่มเป้าหมายเป็นอาสาสมัครที่สามารถขับเคลื่อนการดูแลผู้สูงอายุ
จำนวน 50 คน

- ประสานพื้นท่ีเพอ่ื ประชมุ ปรึกษาหารือการขับเคล่ือนกิจกรรมการดูแลผ้สู งู อายุ
- จัดโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(เชี่ยวชาญด้านผูส้ งู อาย)ุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กลมุ่ เปา้ หมาย 60 คน

47

- ขนึ้ ทะเบยี นผูร้ ่วมโครงการเพื่อสมัครเปน็ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนษุ ย์ (อพม.)

- การติดตาม และรายงานผลการโครงการตามกำหนด (ตามแบบ อพมส 01/อพมส 02)
(3) ผลท่ไี ด้รบั จาการดำเนินงาน

ผลผลิตของโครงการ : อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (เชี่ยวชาญ
ด้านผ้สู ูงอายุ) และกลไกพื้นท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อให้สามารถดูแลผสู้ ูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ยงั่ ยืนต่อเน่อื ง

ผลลัพธ์ของโครงการผ้สู ูงอายุในพนื้ ที่เป้าหมายได้รับการดูแลใหม้ ีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
(4) ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งานและแนวทางแก้ไข

-
(5) ขอ้ เสนอแนะตอ่ โครงการ

-
(2.8.) โครงการประชมุ เชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ผู้สูงอายุในชุมชน
และการส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพศูนย์คุณภาพชวี ติ และสง่ เสริมอาชีพผสู้ งู อายุผ่านระบบส่ือออนไลน์

งบประมาณ 58,260 บาท แหล่งงบประมาณ กรมกิจการผสู้ ูงอายุ
ผู้รับผิดชอบ นางสาวดวงฤดี พร้อมมูล นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการ และสิบเอก
สจั จะ อาวุธ นักพัฒนาสงั คม
(1) วตั ถุประสงคโ์ ครงการ

เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนผู้สูงอายุมีการขับเคล่ือนกิจกรรม และบริการที่เหมาะสม และ
พัฒนาศักยภาพโรงเรียนผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็ง ตลอดทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและคนทุกวัย
ครอบคลุม 4 มิติ ไดแ้ ก่ ด้านสังคม เศรษฐกจิ สุขภาพ และสภาพแวดลอ้ ม

(2) ลกั ษณะการดำเนินงาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการเรียนรู้ผู้สูงอายุใน ชุมชน

และการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพศูนย์คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ โดยสำนักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี อ.เมืองฯ จ.สุราษฎร์ธานี จัดประชุมผ่านระบบสื่อออนไลน์
(Zoom Meeting) โดยถา่ ยทอดไปยังหอ้ งประชมุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ 26 แห่ง

(3) ผลท่ไี ด้รับจากการดำเนินงาน
โรงเรียนผู้สูงอายุมีการขับเคลื่อนกิจกรรมให้บริการที่เหมาะสม และมีการพัฒนา

ศักยภาพโรงเรียนผู้สุงอายุให้มีความเข้มแข็ง ตลอดทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและคนทุกวัยครอบคลุม 4
มิติ ได้แก่ ด้านสังคม เศรษฐกจิ สุขภาพ และสภาพแวดล้อม


Click to View FlipBook Version