“ดนตรีสากล” เป็นดนตรีท่ีได้รับมาจากชาว
ตะวันตก ได้นำ�มาเผยเเพร่จนเป็นท่รี จู้ กั กันทวั่ โลก ชาว
ยโุ รปจะมกี ารบนั ทกึ ทำ�นองเพลง โดยใชส้ ญั ลกั ษณท์ เ่ี รยี ก
ว่า “โน้ตสากล” เป็นเสมือนภาษาที่นักดนตรีสากลใช้
บรรเลงกับเครื่องดนตรีสากล ซ่ึงได้รับการพฒั นาอยา่ ง
ตอ่ เน่ืองจนเป็นท่ยี อมรับอยา่ งกวา้ งขวา้ งในปจั จุบนั
หนังสือ ”ทำ�ความรูจ้ กั ดนตร”ี จึงได้จัดทำ�ข้ึน
เพื่อการศึกษาความรู้หรือเป็นการทำ�ความรู้จักเกี่ยวกับ
ดนตรีสากลนั้นเอง ซ่ึงเหมาะสำ�หรับผู้ที่เร่ิมต้นศึกษา
ดนตรีสากลเป็นอย่างมาก เพราะมีเน้ือหาที่เข้าใจง่าย
เก่ียวกับยุคสมัยดนตรีสากล ,ทฤษฎีดนตรีสากลเบ้ือง
ต้น และแบบฝึกหัด ฝึกการอา่ น เขยี น และเพื่อทดสอบ
ความเขา้ ใจของผอู้ า่ น ทง้ั นจี้ ดั ทำ�เปน็ รปู แบบหนงั สอื ภาพ
ประกอบ มสี สี นั สดใส และสอื่ ภาพประกอบนน้ั ยงั ชว่ ยเพอื่
ความเข้าใจแก่ผู้อา่ นและเพ่มิ ความน่าสนใจมากยง่ิ ขนึ้
สดุ ทา้ ยขอใหผ้ อู้ า่ นสนกุ และไดส้ าระความรเู้ กยี่ ว
กบั ดนตรีสากลอย่างเพลดิ เพลนิ นะคะ ^^
พลอยชมพู งามวทิ ย์วงศ์
ผ้จู ดั ทำ�
1
1 ยุคสมัยของดนตรสี ากล
0:01 3:26
2 ยคุ สมยั ของดนตรสี ากล / ยุคกลาง (The Middle Ages)
ยุคกลาง
the middle ages
ดนตรีในสมัยกลางเป็นส่ิงท่ียากที่จะศึกษา ของเพลงทีส่ ำ�คญั ในสมยั นี้ คือ ออร์แกนน่มั (Organum)
เน่ืองจากว่าดนตรีเหล่าน้ันได้สูญหายไปหมดแล้วเสียง คือการร้องในลักษณะของการร้องประสานเสียงสอง
ตามทอ้ งถนนของพอ่ คา้ เร่ การเตน้ รำ�ในงานรน่ื เรงิ ตา่ งๆ แนว โดยใช้ระยะข้ันคู่เสียงคู่ส่ีเป็นหลักและเคล่ือนท่ีไปใน
การแสดงดนตรบี นเวทแี ละแมแ้ ตบ่ ทเพลงจากกวใี นภาคใต้ ทศิ ทางเดียวกนั
ของฝรงั่ เศส (ในศตวรรษท่ี 11-13) ลว้ นแลว้ แตม่ อี ายสุ น้ั ระยะตอ่ มาการเคลอ่ื นทเ่ี รมิ่ ไมจ่ ำ�กดั ทศิ ทางและ
แม้แตด่ นตรที ย่ี ังเหลืออยกู่ ็เปน็ เพียงแฟช่นั เท่านน้ั ท้ายท่ีสุดมีออร์แกนนั่มแบบเสียงที่สอง (เสียงต่ำ�) ร้อง
ในสมัยนี้เริ่มมีหลักฐานเก่ียวกับเพลงคฤหัสถ์ โน้ตยาวๆ เพยี ง 1 ตัวในขณะท่เี สยี งหนง่ึ (เสียงสูง) ร้อง
(Secular music) ซง่ึ เปน็ เพลงขบั รอ้ งเพอ่ื ความรน่ื เรงิ ไดร้ บั โน้ต 5-10 ตัว เน่ืองจากออร์แกนนม่ั เปน็ เพลงท่พี ฒั นา
ความนยิ มและแพรห่ ลายมาก ในประเทศตา่ งๆ ทางยโุ รป มาจากดนตรใี นวดั หรอื เพลงโบสถจ์ งึ เปน็ เพลงทไ่ี มม่ อี ตั รา
ตะวนั ตก นอกเหนอื ไปจากเพลงโบสถ์ (Church music) จงั หวะในระยะแรก
ช่วงเวลาประมาณ 300 ปี ระหว่างคริสต ต่อมาจึงเร่ิมมีลักษณะของอัตราจังหวะ กล่าว
ศตวรรษที่ 12-14 ดนตรีในวัดมีรูปแบบเปล่ียนไปจาก ไดว้ า่ ในช่วงเวลานสี้ ิง่ สำ�คัญเกดิ ขึน้ คอื การร้องแบบสอง
ตอนต้นของสมัยกลาง กล่าวคือ ในราวคริสตศตวรรษ ทำ�นองเรม่ิ เกดิ ข้นึ แลว้ อย่างเดน่ ชดั เปน็ ลกั ษณะของการ
ที่ 9 เปน็ ตน้ มา เพลงแชนท์ ซ่ึงรูจ้ ักกนั ในนามของ สอดประสานในสมยั กลางนท้ี างดนตรแี บง่ เปน็ สมยั ยอ่ ยๆ
”เกรเกอเลยี น แชนท”์ (Gregorian Chant) ได้รับการ ได้สองสมยั คอื สมัยศลิ ป์เก่า (Ars Ant qua) และสมยั
พัฒนามาเป็นรูปของการขับร้องแบบสอดประสานหรือ ศลิ ป์ใหม่ (Ars Nova)
โพลโี ฟนี (Polyphony) จนถงึ ครสิ ตศตวรรษท่ี 13 ลกั ษณะ
ยคุ สมัยของดนตรสี ากล / ยุคฟ้ืนฟศู ลิ ปวิทยาการ (Renaissance) 3
ยคุ ฟ้นื ฟูศลิ ปวิทยาการ
Renaissance
สมยั รเี นซองส์ คำ�ว่า “Renaissance” แปลว่า 2. สมัยศตวรรษที่ 16
“การเกดิ ใหม”่ (Re-birth) ซงึ่ หมายถงึ ชว่ งเวลาทปี่ ญั ญา มนษุ ยนยิ มยงั คงเปน็ ลทั ธสิ ำ�คญั ทางปรชั ญา การปฏริ ปู
ชนในยุโรปได้หันความสนใจจากกิจการ ฝ่ายศาสนาที่ได้ ทางศาสนาและการตอ่ ตา้ นการปฏริ ปู ทางศาสนาของพวก
ปฏิบัติมาอย่างเคร่งครัดตลอดสมัยกลางมาสู่การฟ้ืนฟู คาทอลิกเป็นเหตกุ ารณ์สำ�คญั ย่ิงของครสิ ต์ ศาสนาเพลง
ศลิ ปวทิ ยา ซง่ึ มแี นวความคดิ อา่ นและวฒั นธรรมตามแบบ ร้องแบบสอดประสานทำ�นองพัฒนาจนมีความสมบูรณ์
กรีกและโรมนั โบราณสมยั แห่งการฟ้ืนฟูศลิ ปวทิ ยานี้ แบบ เพลงรอ้ งยงั คงเปน็ ลกั ษณะเดน่ แตเ่ พลงบรรเลงกเ็ รม่ิ
นยิ มกนั มากขนึ้ การประสานเสยี งเรมิ่ มหี ลกั เกณฑม์ ากขน้ึ
1. สมัยศตวรรษท่ี 15 การใชก้ ารประสานเสยี งสลบั กบั การลอ้ กนั ของทำ�นองเปน็
ศิลปินผมู้ ชี อ่ื เสยี ง คอื ลอเรน็ โซ กิแบร์ต,ี โดนา ลกั ษณะหนง่ึ ของเพลงในสมัยนี้ การแต่งเพลงแมส และโม
เตล็ โล, เลโอนาร์โด ดา วนิ ชิ ฯลฯ เพลงมักจะมี 3 แนว เต็ต นำ�หลักของการล้อกนั ของทำ�นองมาใชแ้ ต่เปน็ แบบ
โดยแนวบนสุดจะมีลักษณะน่าสนใจกว่าแนวอ่ืนเร่ิมนิยม ฟวิ ก์ (Fugue) ซงึ่ พฒั นามาจากแคนนอน คอื การลอ้ ของ
ประพนั ธก์ นั ซงึ่ เปน็ รากฐานของการประสานเสยี ง 4 แนว ทำ�นองท่ีมีการแบ่งเป็นส่วนๆท่ีสลับซับซ้อนมีหลักเกณฑ์
ในสมัยต่อๆมา เพลงโบสถ์จำ�พวกแมสซึ่งพัฒนามาจาก มากย่ิงข้ึนในสมัยน้ี
แชนท์มกี ารประพันธ์กันเชน่ เดยี วกับในสมัยกลาง
4 ยคุ สมยั ของดนตรีสากล / ยคุ บาโรก (Baroque)
ยุคบาโรก
BAROQUE
ในด้านดนตรีได้มีผู้นำ�คำ�น้ีมาใช้เรียกสมัยของ ในสมยั บาโรกนก้ี ารบนั ทกึ ตวั โนต้ ไดร้ บั การพฒั นา
ดนตรีทเ่ี กดิ ข้นึ ในยุโรป เรม่ิ ตัง้ แต่ตน้ คริสต์ศตวรรษท่ี 17 มาจน เปน็ ลกั ษณะทีใ่ ช้ในปจั จบุ ัน คอื การใช้บรรทัด 5
และมาสนิ้ สดุ ลงราวกลางครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 18 ซง่ึ เปน็ เวลา เสน้ การใชก้ ญุ แจซอล (G Clef) กญุ แจฟา (F Clef) กญุ แจ
รว่ ม 150 ปี เน่อื งจากสมยั บาโรกเปน็ สมัยทยี่ าวนานรปู อัลโต และกญุ แจเทเนอร์ (C Clef) มีการใช้สญั ลักษณต์ วั
แบบของเพลงจึงมีการเปล่ียนแปลงไปตามเวลา อย่างไร โนต้ และตวั หยดุ แทนความยาวของจงั หวะและตำ�แหนง่ ของ
ก็ตามรูปแบบของเพลงท่ีสามารถกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะ ตัวโน้ตบรรทัด 5 เส้น แทนระดับเสียงและยังมีตัวเลข
เดน่ ท่สี ุด บอกอัตราจังหวะมีเส้นกั้นห้องและสัญลักษณ์อ่ืนๆ เพื่อ
ใช้บันทกึ ลกั ษณะของเสียงดนตรี
1. เริ่มนยิ มใช้สือ่ ทีต่ ่างกนั ตอบโตก้ ัน เชน่ เสยี งนกั ร้องกบั เครอ่ื งดนตรี
2. นยิ มใชเ้ บสเปน็ ทง้ั ทำ�นองและแนวประสาน เรียกว่า Basso Continuo และมีวธิ บี ันทกึ เรียกวา่ Figured bass
3. เร่ิมมกี ารประสานเสยี งแบบโฮโมโฟนี ซ่งึ เป็นการประสานเสียงแบบอิงคอรด์ และหลายแนวหนนุ แนวเดียวให้เด่น
4. นิยมใชบ้ ันไดเสียงเมเจอร์ (Major) และไมเนอร์ (Minor)
5. เคานเ์ ตอร์พอยท์ (Counterpoint) ยังคงเป็นคณุ ลกั ษณะเด่นของสมยั นอ้ี ยู่ โฮโมโฟนี (Homophony) มีบทบาทหนนุ
ส่งให้เคานเ์ ตอรพ์ อยท์สมบรู ณ์ยิ่งข้นึ
6. มีการระบุความเร็ว – ช้า และหนัก – เบา ลงไปในผลงานบ้าง เช่น adagio, andante และ allegro เป็นต้น
7. เทคนคิ ของการด้นสด (Improvisation) ไดร้ ับความนิยมสงู สดุ
8. มีคตี ลักษณ์ (Form) ใหมๆ่ เกดิ ขึ้นหลายแบบ
9. มกี ารจำ�แนกหมวดหมู่ของคตี นิพนธ์และบัญญตั ศิ ัพทไ์ วเ้ รยี กชดั เจน
10. อปุ รากร (Opera) ไดก้ ำ�เนิดและพฒั นาข้นึ ในสมัยนี้
ยคุ สมัยของดนตรสี ากล / ยุคคลาสสคิ (Classical) 5
ยคุ คลาสสกิ
classical
ลกั ษณะของดนตรใี นสมยั คลาสสกิ ทเ่ี ปลย่ี นไปจาก และยังพฒั นา “The sonata principle in 1st movement
สมยั บาโรกที่เห็นไดช้ ัด คือ การไมน่ ยิ มการสอดประสาน of symphonies, second theme of Stamitz” เขามกั เพม่ิ
ของทำ�นองทเี่ รยี กวา่ เคานเ์ ตอรพ์ อยท์ หนั มานยิ มการเนน้ การแสดงออกที่เป็นท่วงทำ�นองเพลงนำ�ไปสู่บทเพลงใน
ทำ�นองหลกั เพียงทำ�นองเดียวโดยมีแนวเสยี งอ่นื ประสาน ซมิ โฟนี การเปลยี่ นความดงั – คอ่ ย อยา่ งฉบั พลนั ในชว่ ง
ใหท้ ำ�นองไพเราะขนึ้ คอื การใสเ่ สยี งประสานลกั ษณะของ สน้ั ๆ ไดร้ ับการแสดงคร้ังแรกโดย Manheim Orchestra
บาสโซคอนตนิ โู อ เลกิ ใชไ้ ปพรอ้ มๆ กบั การสรา้ งสรรคแ์ บบ สมยั คลาสสกิ นจี้ ดั ไดว้ า่ เปน็ สมยั ทมี่ กี ารสรา้ งกฎ
อิมโพรไวเซช่นั (Improvisation) ผูป้ ระพันธ์นิยมเขียนโนต้ เกณฑร์ ปู แบบในทกุ ๆ อยา่ งเกย่ี วกบั การประพนั ธเ์ พลงซง่ึ
ทกุ แนวไวไ้ มม่ กี ารปลอ่ ยวา่ งใหผ้ บู้ รรเลงแตง่ เตมิ เองลกั ษณะ ในสมยั ตอ่ ๆ มาไดน้ ำ�รปู แบบในสมยั นมี้ าใชแ้ ละพฒั นาใหล้ กึ
ของบทเพลงกเ็ ปลีย่ นไป ซง้ึ หรอื แปรเปลยี่ นไป เพลงในสมยั นเี้ ปน็ ดนตรบี รสิ ทุ ธส์ิ ว่ น
ศนู ยก์ ลางของสมยั คลาสสกิ ตอนตน้ คอื เมอื งแมน ใหญ่ กลา่ วคอื เพลงทป่ี ระพนั ธข์ น้ึ มาเปน็ เพลงซงึ่ แสดงออก
ฮีมและกรงุ เวียนนา โรงเรยี นแมนฮมี จดั ตัง้ ขึ้นโดย โยฮันน ์ ถึงลักษณะของดนตรีแท้ๆ มิได้มีลักษณะเป็นเพลงเพ่ือ
สตามติ ซ์ (Johann Stamitz) ซงึ่ เปน็ นกั ไวโอลนิ และเปน็ ผู้ บรรยายถงึ เหตกุ ารณห์ รอื เรอื่ งราวใดๆ ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะที่
ควบคมุ คอนเสริ ต์ ของ The Mannheim Orchestra เขาเปน็ มกี ฎเกณฑไ์ มม่ กี ารใสห่ รอื แสดงอารมณข์ องผปู้ ระพนั ธล์ ง
ผพู้ ฒั นาสไตล์ใหม่ของการประพันธด์ นตรี (Composition) ในบทเพลงมากนัก ลักษณะของเสยี งที่ ดัง–ค่อย คอ่ ยๆ
และการเรยี บเรยี งสำ�หรบั วงออรเ์ คสตรา (Orchestration) ดงั และค่อยๆ เบาลง
6 ยุคสมยั ของดนตรีสากล / ยคุ โรแมนตกิ (Romantic Period)
ยคุ โรแมนติก
Romantic period
คำ�นยิ ามเกี่ยวกบั ดนตรีสมัยโรแมนตกิ ดังนี้ ดนตรสี มยั นีเ้ รม่ิ ประมาณ ปคี .ศ.1820–1900
– คุณลักษณะของการยอมให้แสดงออกได้อย่างเต็มที่ ถอื ว่าเปน็ ยคุ ทองของดนตรี ดนตรมี ิได้เปน็ เอกสทิ ธ์ิของ
ซง่ึ จนิ ตนาการ อารมณท์ หี่ วนั่ ไหว และความรสู้ กึ ทางใจ ผู้นำ�ทางศาสนาหรือการปกครอง ได้มีการแสดงดนตรี
– ในดนตรแี ละวรรณกรรม หมายถงึ คำ�ที่ตรงกันขา้ ม (Concert) สำ�หรบั สาธารณชนอยา่ งแพรห่ ลายนกั ดนตรี
กบั คำ�วา่ “Classicism” เสรภี าพทพ่ี น้ จากการเหนยี่ วรง้ั แต่ละคนมีโอกาสแสดงออกซึ่งความรู้สึกของตนเองได้
ทางจติ ใจ หรอื จารตี นยิ มเพอ่ื ทจ่ี ะกระทำ�การในเรอื่ งใดๆ เตม็ ท่ี และตอ้ งการสรา้ งสไตลก์ ารเขยี นเพลงของตนเอง
สมยั โรแมนตกิ เรม่ิ ตน้ ขน้ึ ในตอนตน้ ของศตวรรษ ด้วยทำ�ให้เกิดสไตล์การเขียนเพลงของแต่ละท่านแตก
ที่ 19 แตร่ ูปแบบของดนตรีโรแมนติกเริม่ เปน็ รูปแบบขึ้น ต่างกนั อย่างมาก ในยคุ นใี้ ช้ดนตรเี ป็นเครอ่ื งแสดงออก
ในตอนปลายของศตวรรษที่ 18 แล้วโดยมี “เบโธเฟน” ของอารมณ์อยา่ งเตม็ ทีท่ กุ ๆ อารมณส์ ามารถถ่ายทอด
เป็นผู้นำ� และเป็นรูปแบบของเพลงท่ียังคงพบเห็นแม้ ออกมาไดด้ ว้ ยเสยี งดนตรอี ยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ดนตรใี นยคุ นจ้ี งึ
ในศตวรรษท่ี 20 นี้ สมัยน้ีเป็นดนตรีท่ีแสดงออกถึง ไม่คำ�นึงถงึ รูปแบบและความสมดลุ แต่จะเน้นเนอื้ หา เช่น
อารมณค์ วามรู้สกึ ของผู้ประพนั ธ์อย่างมาก ผปู้ ระพนั ธ์ แสดงออกถงึ ความรัก ความโกรธ ความเศรา้ โศกเสียใจ
เพลงในสมัยนี้ ไมไ่ ด้แต่งเพลงให้กับเจ้านายของตนดังใน หรือความกลัว
สมยั กอ่ นๆ ผปู้ ระพนั ธเ์ พลงแตง่ เพลงตามใจชอบของตน
และขายต้นฉบับให้กับสำ�นักพิมพ์เป็นส่วนใหญ่ลักษณะ
ดนตรจี ึงเปน็ ลกั ษณะของผ้ปู ระพันธ์เอง
ยคุ สมัยของดนตรีสากล / ยุคอิมเพรสชั่นนสิ ตคิ (Impressionitic Period) 7
ยุคอิมเพรสชน่ั นิสตคิ
impressionitic period
เปน็ ดนตรีอย่ใู นชว่ งระหวา่ ง ค.ศ. 1890–1910 ลักษณะสำ�คญั ของเพลงยคุ น้ี คือ ใช้บันไดเสยี งแบบเสยี งเตม็
ซ่ึงทำ�ใหบ้ ทเพลงมีลักษณะลึกลบั คลมุ เครอื ไม่กระจ่างชัด เนือ่ งมาจากการประสานเสยี งโดยใชใ้ นบนั ไดเสียงแบบเสียง
เต็ม บางคร้ังจะมีความรสู้ กึ โลง่ ๆว่างๆ เสียงไมห่ นกั แน่นดงั เชน่ เพลงในยคุ โรแมนตกิ การประสานเสียงไมเ่ ปน็ ไปตาม
กฎเกณฑ์ ในยคุ กอ่ นๆ สามารถพบการประสานเสยี งแปลกๆ ไม่คาดคดิ ได้ในบทเพลงประเภทอิมเพรสชนั่ นิซึมรปู แบบ
ของเพลงเป็นรูปแบบงา่ ย มกั เปน็ บทเพลงสน้ั ๆ รวมเปน็ ชุด นักดนตรที คี่ วรรจู้ กั คอื เดอบูสซี ราเวล และเดลิอสุ
ในตอนปลายของศตวรรษท่ี 19 จนถงึ ตอนตน้ ของศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1890 – 1910) ซง่ึ อย่ใู นช่วงของ
ยคุ โรแมนติกน้ี มีดนตรที ี่ไดร้ ับการพัฒนาขน้ึ โดย เดอบูสซี ผูป้ ระพนั ธ์เพลงชาวฝรงั่ เศส โดยการใช้ลักษณะของบันได
เสยี ง แบบเสียงเต็ม (Whole-Tone Scale) ทำ�ให้เกดิ ลักษณะของเพลงอีกแบบหนง่ึ ขึ้น เนื่องจากลกั ษณะของบนั ได
เสยี งแบบเสียงเต็มน้ีเองทำ�ให้เพลงในยคุ นีม้ ีลักษณะลกึ ลบั ไมก่ ระจา่ งชดั
ดนตรีอิมเพรสชั่นนิสติคได้เปล่ียนแปลงบันไดเสียงเสียใหม่แทนท่ีจะเป็นแบบ เดียโทนิค (Diatonic) ซึ่งมี 7
เสยี งอย่างเพลงทวั่ ไป กลบั เปน็ บันไดเสียงท่ีมี 6 เสียง (ซึ่งระยะห่างหนึง่ เสียงเตม็ ตลอด) เรยี กวา่ โฮลโทนสเกล
(Whole – Tone Scale)
8 ยุคสมัยของดนตรสี ากล / ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century)
ยุคศตวรรษท่ี 20
THE TWENTIETH CENTURY
หลงั จากดนตรสี มยั โรแมนตกิ ผา่ นไป ความเจรญิ ในดา้ นตา่ งๆ กม็ คี วามสำ�คญั และมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ตลอดมา ความเจรญิ ทางดา้ นการคา้ ความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยี ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ การสอื่ สาร
หรอื แมก้ ระทง่ั ทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ ทำ�ใหแ้ นวความคดิ ทศั นคตขิ องมนษุ ยเ์ ราเปลยี่ นแปลงไปและแตกตา่ งจากแนวคดิ
ของคนในสมยั กอ่ นๆ จงึ สง่ ผลใหด้ นตรมี กี ารพฒั นาเกดิ ขน้ึ หลายรปู แบบ คตี กวที งั้ หลายตา่ งกไ็ ดพ้ ยายามคดิ วธิ กี ารแตง่
เพลง การสร้างเสียงใหมๆ่ รวมถึงรูปแบบการบรรเลงดนตรี เปน็ ต้น จึงสง่ ผลโดยตรงตอ่ การพัฒนาเปลีย่ นแปลงรปู
แบบของดนตรีในสมัยศตวรรษท่ี 20
ความเปล่ียนแปลงในทางดนตรขี องคีตกวีในศตวรรษนี้ก็คือ คีตกวีมคี วามคิดทีจ่ ะทดลองสง่ิ ใหมๆ่ แสวงหา
ทฤษฎีใหมๆ่ ข้ึนมาเพื่อรองรบั ความคิดสรา้ งสรรค์กบั ส่ิงใหม่ๆ ให้กับตัวเอง
ลักษณะของบทเพลงในสมัยศตวรรษท่ี 20
ดนตรใี นศตวรรษท่ี 20 สว่ นขององคป์ ระกอบทางดนตรใี นศตวรรษนม้ี คี วามซบั ซอ้ นมาก
ขนึ้ มาตรฐานของรปู แบบทใี่ ชใ้ นการประพนั ธแ์ ละการทำ�เสยี งประสาน โดยยดึ แบบแผนมาจาก
สมยั คลาสสกิ ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงและสรา้ งทฤษฎขี น้ึ มาใหมเ่ พอ่ื รองรบั ดนตรอี กี
ลักษณะ คอื บทเพลงทป่ี ระพนั ธ์ข้นึ มาเพ่ือบรรเลงดว้ ยเครอ่ื งดนตรอี เี ลคโทรนคิ ซ่งึ เสยี ง
เกดิ ขึ้นจากคล่ืนความถีจ่ ากเครือ่ งอเิ ลคโทรนคิ (Electronic) ส่งผลให้บทเพลงมสี สี ันของเสยี งแตกต่างออกไปจากเสียง
เครอื่ งดนตรปี ระเภทธรรมชาติ (Acoustic) ท่มี ีอยู่ อยา่ งไรก็ตามการจัดโครงสร้างของดนตรียังคงเน้นท่อี งค์ประกอบ
หลัก 4 ประการเหมอื นเดิม กลา่ วคือ ระดบั เสยี ง ความดังคอ่ ยของเสยี ง ความส้ันยาวของโน้ต และสีสนั ของเสียง
9
2 มือใหม่หดั ทฤษฎีดนตรี
1:09 3:26
บรรทดั หา้ เสน้ (Staff) คอื กลมุ่ ของเสน้ ตรงตามแนวนอน 5 ดงั นน้ั บรรทดั หา้ เสน้
เสน้ และอยหู่ า่ งเปน็ ระยะเทา่ กนั เปน็ จำ�นวน 4 ชอ่ ง ใชส้ ำ�หรบั บนั ทกึ จึงสามารถบันทึกระดับเสียง
ตวั โนต้ ตามระดบั เสยี ง การนบั เรมิ่ ตน้ เสน้ ทห่ี นงึ่ จากลา่ งสดุ แลว้ นบั ขน้ึ ของตวั โนต้ ได้ 11 ระดับเสยี ง
มาตามลำ�ดบั จนถงึ เสน้ ทหี่ า้ การนบั ชอ่ งกน็ บั จากลา่ งขนึ้ บนเชน่ กนั ตวั (รวมวงกลมสีฟ้า) สำ�หรับ
โนต้ สามารถบนั ทกึ ใหค้ าบเกยี่ วกบั เสน้ หรอื เขยี นลงในชอ่ งระหวา่ งเสน้ เสียงท่ีสูงกว่าหรือตำ่�กว่าน้ี
เหนือหรอื ใต้บรรทดั จะใชเ้ สน้ น้อย (ledger line)
เข้ามาชว่ ย
เสน้ นอ้ ย (Leger Lines) คอื เสน้ สนั้ ๆ ทเี่ กนิ ออก
จากบรรทัดห้าเสน้ ซ่งึ จะอยตู่ ำ่ �กว่าเสน้ ท่ี 1 หรือ
อยูส่ ูงกว่าเสน้ ที่ 5 มีระยะหา่ งเทา่ กับบรรทดั ห้า
เส้นโน้ตท่ีอยู่ตำ่ �หรือสูงมากๆ จะต้องอาศัยเส้น
นอ้ ยตามลำ�ดบั
กญุ แจประจำ�หลกั (Clef) คอื สญั ลักษณท์ างดนตรที ่บี ันทึกไว้ทีบ่ รรทดั ห้าเส้น เพือ่ กำ�หนดระดับเสียงโนต้ ท่ี
อยใู่ นชอ่ งและอยู่บนเสน้ ของบรรทัดห้าเส้น
กญุ แจประจำ�หลกั ในการบนั ทกึ ดนตรสี มยั ใหมม่ ใี ชอ้ ยเู่ พยี ง 3 ชนดิ คอื กญุ แจซอล กญุ แจโด และกญุ แจฟา ซง่ึ
กุญแจแตล่ ะชนิดจะอ้างถงึ เสยี งซอล โด และฟา ตามลำ�ดับตามตำ�แหนง่ ทก่ี ญุ แจนนั้ ได้ไปคาบเกยี่ วไว้บนบรรทัด เส้น
และช่องอน่ื ๆ ก็จะสัมพนั ธ์กับโน้ตบนเส้นนน้ั
กุญแจซอล หรอื กญุ แจ G (G clef)
คอื กญุ แจทกี่ ำ�หนดใหโ้ นต้ ซอล (G) อยบู่ รรทดั เสน้ ที่ 2 กญุ แจ
ชนดิ นนี้ ยิ มมากในกลมุ่ นกั ดนตรี นกั รอ้ ง ใชก้ บั เครอ่ื งดนตรที ี่
นยิ มทว่ั ไป เชน่ กตี าร์ ไวโอลนิ ทรมั เปต็ ฯลฯ กญุ แจ ซอล
มชี ่ือเรียกภาษาองั กฤษ คือ เทรเบลิ เคลฟ (Treble Clef)
กุญแจฟา หรือ กญุ แจ F (F clef)
คือ กญุ แจท่กี ำ�หนดใหโ้ น้ตฟา (F) อยู่บนเสน้ ที่ 4 กญุ แจชนดิ
น้นี ิยมใช้กับเสยี งร้องหรอื เคร่ืองดนตรที ่มี เี สยี งต่ำ� เช่น เชลโล
เบส ทรอมโบน ฯลฯ กญุ แจฟามชี อ่ื เรยี กภาษาองั กฤษอกี ชอื่
คอื เบสเคลฟ (Bass Clef)
กุญแจโดอัลโต
กุญแจโดอัลโต (Alto Clef) เปน็ กุญแจชนดิ หนึง่ ของกุญแจโด (C Clef)
ตำ�แหน่งของกญุ แจชนดิ นี้ บันทึกคาบอยูบ่ นเสน้ ที่ 3 ของบรรทดั 5
เส้น ทำ�ให้โน้ตบนเสน้ ที่ 3 เปน็ โนต้ C กลาง จะเป็นระดับทเ่ี หมาะกับ
เครอ่ื งดนตรที ม่ี ีระดับเสยี งกลาง - สงู เชน่ วิโอลา เป็นต้น
กุญแจโดเทเนอร์
กุญแจโดเทเนอร์ (Tenor Clef) เปน็ กุญแจชนิดหน่งึ ของกญุ แจโด
(C Clef) ตำ�แหน่งของกญุ แจชนดิ นี้ บนั ทกึ คาบอยบู่ นเส้นที่ 4 ของ
บรรทัด 5 เส้น ทำ�ให้โนต้ บนเสน้ ที่ 4 เปน็ โน้ต C กลาง จะเปน็ ระดบั ท่ี
เหมาะกบั เครอื่ งดนตรที ม่ี รี ะดบั เสยี งกลาง - ตำ่ �เชน่ เชลโล ทรอมโบน
และบาสซนู เปน็ ต้น
ตำ�แหน่งของกญุ แจประจำ�หลัก
กญุ แจประจำ�หลกั สามารถวางไดห้ ลายตำ�แหนง่ ปกตแิ ลว้ จะวางไวใ้ หค้ าบเกย่ี วกบั เสน้ ใดเสน้ หนง่ึ บนบรรทดั จงึ
มกี ญุ แจประจำ�หลกั ทงั้ 9 แบบเทา่ นนั้ ทใี่ หผ้ ลแตกตา่ งกนั ซง่ึ ทกุ แบบเคยใชใ้ นประวตั ศิ าสตรท์ ผ่ี า่ นมาแลว้ ทง้ั สนิ้
ได้แก่ กุญแจซอลบนสองเสน้ ล่าง กุญแจฟาบนสามเสน้ บน และกุญแจโดบนทุกเส้นยกเวน้ เสน้ ทห่ี า้ (เนอ่ื งจาก
กญุ แจโดบนเสน้ ทหี่ า้ ซ้ำ�ซอ้ นกบั กญุ แจฟาบนเสน้ ทสี่ าม) แตส่ ำ�หรบั ทกุ วนั นี้ กญุ แจทใ่ี ชเ้ ปน็ ปกตมิ เี พยี งแค่ กญุ แจ
เทรเบลิ กุญแจเบส กุญแจอัลโต และกุญแจเทเนอร์ ซง่ึ สองอยา่ งแรกมกั ใชค้ วบคกู่ ันบ่อยครั้งกว่า
French�violin TrebleS oprano Mezzo-soprano Alto Tenor Baritone Bass Subbass
เส้นก้ันห้อง (Bar Lines) คือ เส้นสำ�หรับแบ่งห้องเพลง เสน้ จบทอ่ นเพลง (Double Bar) คอื เสน้ ทบ่ี อกถงึ การแบง่
(Measure) โดยโนต้ ดนตรีทีเ่ ขยี นลงบนบรรทัดห้าเส้น จะถูก ทอ่ นเพลงแตล่ ะทอ่ นเพลงจะใชต้ อ่ เมอ่ื จบทอ่ นเพลง เพอื่ ให้
แบ่งอย่างเป็นระเบียบโดยเส้นก้ันห้อง เพ่ือให้ง่ายต่อการนับ สามารถรไู้ ดว้ า่ บทเพลงแตล่ ะบทเพลงแบง่ เปน็ กท่ี อ่ นเพลง
จงั หวะในการอา่ นโนต้ สากล
เสน้ จบเพลง (Final Bar) คอื สัญลักษณ์ท่ีใช้บอกถงึ การจบเพลงของบทเพลง เช่น
เสน้ เรมิ่ ตน้ ยอ้ น (Start Repeat) คอื เสน้ ทเี่ รมิ่ ตน้ การเขา้ สู่ เส้นสนิ้ สดุ การย้อน (End Repeat) คือ เส้นที่สน้ิ สดุ การ
การยอ้ นของโนต้ เพลง เสน้ เรม่ิ ตน้ ยอ้ นจะใชค้ วบคไู่ ปกบั เสน้ ย้อนของโน้ตเพลง เสน้ สิ้นสุดการย้อนจะใชค้ วบคไู่ ปกับเส้น
สน้ิ สดุ การยอ้ น เมอ่ื เหน็ สญั ลกั ษณข์ องเสน้ เรม่ิ ตน้ การยอ้ น เร่ิมต้นย้อนเมื่อเห็นสัญลักษณ์ของเส้นส้ินสุดการย้อนทุก
ทกุ คนทปี่ ฏบิ ตั โิ นต้ เพลงอยจู่ ะเขา้ ใจตรงกนั วา่ จะเรมิ่ ตน้ ยอ้ น คนทป่ี ฏบิ ตั โิ นต้ เพลงอยจู่ ะเขา้ ใจตรงกนั วา่ จะสนิ้ สดุ การยอ้ น
ตั้งแตเ่ จอสัญลกั ษณน์ ี้เป็นหอ้ งแรก ตั้งแตเ่ จอสญั ลกั ษณ์นเ้ี ปน็ หอ้ งสุดทา้ ย
ตัวโนต้ หนง่ึ ตวั ทใ่ี ช้สำ�หรับบันทกึ บทเพลงจะมีคา่ ของโนต้ หนึง่ คา่ น่ันคือระยะเวลาในการออกเสียงของตัว
โนต้ เช่น ตัวดำ� ตัวเขบ็ตหน่ึงชน้ั เปน็ ต้น เมื่อตัวโนต้ ต่างๆ ถูกเขียนลงบนบรรทดั ห้าเส้น ตวั โนต้ แต่ละตวั จะถูกวาง
ไว้บนตำ�แหน่งที่แน่นอนตามแนวต้ัง (คาบเส้นบรรทัดหรือระหว่างช่องบรรทัด) และกำ�หนดระดับเสียงที่แน่นอน
ด้วยกญุ แจประจำ�หลกั
จงั หวะยก
(ยกมอื ออกจากกัน)
เเถมสี คอื คา่ ความยาวหรอื คา่ ของโนต้ ในแตล่ ะจงั หวะ เชน่ ตวั กลมมคี า่ 4 จงั หวะ, ตวั ดำ�มคี า่ 1 จงั หวะ
ใชเ้ ปน็ การรอ้ งเสียงลากยาวพร้อมกับการปรบมอื ตามจังหวะตก-ยก
1. การประจดุ (Dot) คอื การประจดุ ทด่ี า้ นขวา 2. เครือ่ งหมายโยงเส้นทาย (Tie) ใชก้ บั โนต้
ตวั โนต้ หรอื ทตี่ วั หยดุ จะมผี ลใหค้ า่ โนต้ นนั้ ๆ เพมิ่ ท่ีมีระดับเสียงเดียวกัน จะเพ่ิมค่าเท่ากับค่า
โน้ตสองตัวรวมกัน โดยจะเล่นท่ีโน้ตตัวแรก
มากขึ้นครึ่งหนึง่ ของคา่ ตวั โน้ตนน้ั เชน่ ลากเสียงไปส้ินสุดท่ีตัวสุดท้ายที่เครื่องหมาย
ทีก่ ำ�หนดไว้ เช่น
ตัวหยดุ (Rest) คอื สัญลักษณท์ างดนตรที ่ีกำ�หนดใหเ้ งียบเสียงหรอื ไม่ให้
เลน่ ในระยะเวลาตามคา่ ตวั หยดุ นน้ั ๆ ตวั หยดุ มหี ลายชนดิ สอดคลอ้ งกบั ตวั โนต้ ลกั ษณะ
ตา่ งๆ ตัวหยดุ จะถูกเขียนลงบนบรรทัด 5 เสน้ เช่นเดยี วกับตวั โน้ต มลี ักษณะตา่ ง
กันดงั นี้
44
44
22
เมโทรนอม (Metronome) เครอ่ื งกำ�หนดจงั หวะ เปน็ อปุ กรณท์ จ่ี ะคอยสง่ เสยี งกำ�กบั ความเรว็
ในการเลน่ เครอ่ื งดนตรี ซง่ึ จำ�เปน็ สำ�หรับมือกลอง หรอื จำ�พวกเครือ่ งพอร์คัสชนั่
เพราะมือกลองคือผทู้ ีต่ ้องควบคมุ จังหวะและความเร็วของเพอ่ื นร่วมวงคนอื่นๆ
G#
G
เคร่อื งหมายแฟลต�(Flat)� Bb
B
เคร่อื งหมายเนเจอรลั �(Natural)
Bb
B
A B
G
เครือ่ งหมายดบั เบล้ิ แฟลต�
(Double�Flat)
A
ความดังและความเบาในทางดนตรีเรียกว่า “Dynamic”
เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี ำ�คญั ในทางดนตรี มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชว่ งกวา้ ง
ของคลน่ื เสยี ง (Amplitude) ในการสน่ั สะเทอื นทท่ี ำ�ใหเ้ กดิ เสยี งนน้ั ๆ
ช่วงกว้างมากเสียงจะดงั และชว่ งกว้างนอ้ ยเสียงจะเบา ดงั นี้
ppp pp p mp mf f ff fff
นอกจากนแ้ี ลว้ ยงั มเี ครอื่ งหมายทใ่ี ชส้ ำ�หรบั การเปลย่ี นแปลงของเสยี ง โดยใหเ้ สยี งทป่ี ฏบิ ตั นิ นั้ คอ่ ยๆ เกดิ ขน้ึ ทลี ะนอ้ ย เชน่
คมสันต์ วงค์วรรณ.์ (2549). เครื่องหมายแปลงเสียง. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : http://www.musiclib.psu.ac.th/data/
western-musuc/Chapter2/chap2-4.htm. (วันทค่ี ้นขอ้ มลู : 16 กรกฎาคม 2564).
จกั รพันธ์ สวุ รรณเกิด. (2560). บรรทัด5เส้น. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : file:///C:/Users/admin/Downloads/
สื่อประกอบการสอน_บรรทดั _5_เส้น_-09210123.pdf. (วันที่คน้ ขอ้ มูล : 13 กรกฎาคม 2564).
จีรวฒั น์ โคตรสมบัติ. (2555). ฐานข้อมูลการเรยี นรูว้ ชิ าดนตร.ี [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://sites.google.com/
site/mrjisclassroom/thvsdi-not-khan-phun-than/-note-reading. (วนั ท่คี น้ ขอ้ มลู : 14 กรกฎาคม 2564).
ปรัชญา วสิ ทุ ธิธาดา. (2556). ทฤษฎีโน้ตพ้นื ฐาน. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://recorderthai.weebly.com/.
(วันทค่ี น้ ข้อมูล : 17 กรกฎาคม 2564).
ผดงุ ศักด์ิ ชูชว่ ย. (2562). ทฤษฎโี นต้ สากลสู่การฝกึ ทักษะคีย์บอรด์ เบือ่ งต้น. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://sites.
google.com/site/kroopadungsak/kradan-snthna-1. (วนั ที่ค้นขอ้ มลู : 13 กรกฎาคม 2564).
นพพร ดา่ นสกุล. (2556). ปฐมบททฤษฎีดนตรี. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/
บรรทัดห้าเสน้ . (วันท่คี น้ ข้อมูล : 12 กรกฏาคม 2564).
ยงยุทธ์ ปนุ่ ประโคน. (2554). ประวัตดิ นตร.ี [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/
nammusicbass/home/ui-th. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 12 กรกฎาคม 2564).
อลงกต โสตวงศ์. (2558). การอา่ นโนต้ ดนตรสี ากล. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://blackswallowmusic.
blogspot.com/2015/06/time-signature.html. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 15 กรกฎาคม 2564).
“โดดภนยเาคตเใษกชรโรดยี่า่ือยส้สี ทยเวงคุญับาลกีน่ดคกส้ือนลอบักันดัลมงักักงดดตสต”ยัฝดษนนรรขน้ชกึนณรีสตตอแากตเางลรรนว์ทนักรดสีีสยะ้อืาีทลแาานพโุงหรบ่พีมกดตรทาปบารล้อนเร้งัมปร้อฝทมีสนตีจถ็นม่ีเึกทา้ีหรหะอแจกห้ังีทกนมบา่ะยลัด่เีางัเนาบรรงัรสะ,แียทยีทมทจสอืลกงั้นี่เดภีฤำเขะ�กวลรหบาเษา้ ่าขา่มูแ้พใรนัฎร้าจล“นับปทใอดีงะโจ้ีไผนรา่กึา่ดในไหะยนู้เ้ตดท้รตรก้คๆว้สำมิ่แรแอ�ำบนา�ลตเีสลบแกกรอะาะน้นเีย่วเลนงใกขศะชมวเ”ื้อลนียพบ้กึกเหนแเำนลรษบัส�บไา้ือใรงปมาหแบหตเพือลลไ้ าด่านงะรสง้เกอ้เดาๆปมับรอ็นๆะะแกกนั ๊งเดก็
ราคา 169 บาท