The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลcovid19-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panni.t1225, 2021-04-30 04:21:37

แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลcovid19-1

แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลcovid19-1



(รา่ ง) แนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สาหรบั ครู และผู้ปกครอง

ปก
(ร่าง) แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สาหรบั ครู และผูป้ กครอง



คานา

เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการได้ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกํากับ
ปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษนี้ พร้อมทั้งให้ส่วนราชการต้นสังกัดกําหนดแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนที่ไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้จัดรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลในกรณีท่ีไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติขึ้น เพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากร
ที่เก่ียวข้อง กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดเปิดเรียนปีการศึกษา 2563 ในวันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 เป็นต้นไป และกําหนดการจัดการเรียนรู้ 3 รูปแบบ ดังนี้
1. การเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) ๒. การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) ใน 4 ระบบ ได้แก่ 2.1 ระบบดาวเทียม (Satellite) ท้ัง KU-Band (จานทึบ) ช่อง 186 – 200
และ C-Band (จานโปร่ง) ช่อง 337 – 351 2.2 ระบบดิจิทัลทีวี (Digital TV) ช่อง 37 – 51 2.3 ระบบเคเบิ้ลทีวี (Cable TV) และ 2.4 ระบบ IPTV และ
๓. การเรียนผ่านอินเทอรเ์ นต็ และแอปพลิเคชัน (ONLINE) ใน 4 ช่องทาง ได้แก่ 1.1 เว็บไซต์ www.deep.go.th (DEEP : Digital Education Excellence Platform)
3.2 เวบ็ ไซต์ DLTV – www.dltv.ac.th 3.3 เวบ็ ไซต์ Youtube - www.youtube.com DLTV1 Channel – DLTV15 Channel และ 3.4 แอปพลิเคชัน DLTV บน Smartphone/Tablet
ในระยะก่อนเปิดเรียน แนวทางหลักในการจัดการเรียนการสอน คือ การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) โดยสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จัดสรรช่องสัญญาณออกอากาศทางโทรทัศน์ระบบดิจิทัล 15 ช่องรายการ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์
สนับสนุนเน้ือหา สาระการเรียนรู้ของระดับปฐมวัยถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทําเนื้อหา สาระการเรียนรู้
ของระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทั้งนี้ ได้เร่ิมออกอากาศท้ัง 15 ช่องรายการ ตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไป โดยในระหว่างน้ีถึง 30 มิถุนายน 2563
เป็นช่วงตรวจสอบความพร้อมการจัดการเรียนการสอน ปรับพื้นฐานนักเรียนให้ได้เรียนล่วงหน้า และให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้
โดยไม่นบั เป็นสว่ นหนึ่งของการวัดและประเมินผลแตอ่ ยา่ งใด

หากโรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ตามปกติในวันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ซ่ึงต้องได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จังหวัด (ศบค.จังหวัด) สําหรับโรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนน้อยและมีพื้นท่ีเพียงพอในการจัดการเรียนการสอนได้แบบปกติ ให้โรงเรียนปฏิบัติ
ตามมาตรการและแนวทางการดําเนินงานเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สําหรับโรงเรียนท่ีมีจํานวนนักเรียนมาก แต่พ้ืนท่ีน้อย ให้จัดการเรียนการสอน
แบบผสมผสาน ระหว่างการเรียนท่ีโรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) และการเรียนผ่านออนไลน์ (ONLINE) โดยให้นักเรียนสลับกันมาเรียน สลับกันมาสอบท่ีโรงเรียน
โดยโรงเรียนออกขอ้ สอบคขู่ นาน (Parallel examination)

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานหวังว่า เอกสารแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผบู้ ริหาร ครู นกั เรียน และผ้ปู กครอง ในการปรบั เปลยี่ นบทบาท หน้าท่ี ไปสวู่ ิถกี ารเรยี นรู้ใหม่ให้นักเรียนเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
มากที่สดุ

สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน



ส่งิ ที่ตอ้ งทาความเข้าใจกอ่ นใชเ้ อกสารฉบับนี้

เอกสารฉบับน้ีเกิดข้ึนจากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้อย่างรอบด้านจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน โดยเห็นความจําเป็นร่วมกันท่ีต้องปรับการจัดการเรียนรู้
ให้พรอ้ มเขา้ สู่วถิ ใี หม่ การวางมาตรการในเบ้อื งต้นของสํานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน จึงเเบ่งออกเปน็ 2 ช่วง ไดเ้ เก่

๑. ช่วงการเรยี นปรบั พื้นฐาน (18 พฤษภาคม - 30 มิถุนายน 2563)
๑.๑ ระยะประเมินการเขา้ ถึงระบบการจดั การเรยี นการสอนจากส่วนกลาง (18 - 31 พฤษภาคม 2563)
๑.๒ ระยะประเมินความเขา้ ใจการเรียนรู้ในสาระวิชา (1 - 30 มิถุนายน 2563)

๒. ชว่ งเปดิ ภาคการศกึ ษาท่ี 1/2563 เป็นต้นไป (1 กรกฎาคม – 13 พฤศจิกายน 2563)
ในช่วงการเรียนปรับพื้นฐานจะเป็นช่วงเวลาสําหรับผู้จัดการเรียนรู้ได้เรียนรู้ระบบ นักเรียนได้เรียนรู้เพ่ือคงสถานะความรู้ ปรับพ้ืนฐาน และเรียนล่วงหน้า
ไปพร้อม ๆ กัน ในส่วนของประชาสงั คมจะยงั สามารถระดมความคิดเห็นต่าง ๆ เพอ่ื พัฒนาเเนวทางการจดั การเรียนรู้ที่มปี ระสิทธภิ าพเเละสอดคล้องกับวถิ ีใหม่ต่อไปได้

เอกสารฉบับน้ีไดจ้ าํ เเนกเเนวทางปฏิบตั ิตามระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเเละตามช่วงเวลาทกี่ าํ หนดไว้ ดังนี้
• มาตรการการจดั การเรยี นรูจ้ ากส่วนกลาง รูปแบบการจดั การเรียนการสอน และช่องทางทสี่ นบั สนนุ
• แนวทางปฏิบัติสําหรับครูและผู้ปกครองในช่วงการเรียนปรับพื้นฐาน ระหว่างวันท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563 เพ่ือประเมินการเข้าถึงระบบ
การจดั การเรียนการสอนจากส่วนกลาง โดยแบ่งเป็น ๒ กรณี ดังนี้

- กรณสี ําหรบั นักเรียนรายทสี่ ํารวจเบื้องต้นว่าเขา้ ถึงชอ่ งทาง Learn from home ท่ีส่วนกลางจดั ใหไ้ ด้
- กรณสี าํ หรับนักเรียนรายที่สาํ รวจเบ้ืองต้นว่าเขา้ ถึงช่องทาง Learn from home ที่สว่ นกลางจดั ใหไ้ ม่ได้เลย
• แนวทางปฏิบัติสําหรับครูและผู้ปกครอง หากไม่สามารถจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ตามปกติ (หมายรวมถึงช่วงปรับพื้นฐานตามความปกติใหม่
(New Normal) ระหว่างวันท่ี 1 - 30 มถิ ุนายน 2563 เพื่อประเมนิ ความเขา้ ใจสาระวขิ าทไี่ ด้เรียนรู้) โดยแบ่งเป็น ๒ กรณี ดังนี้
- กรณีสาํ หรบั นกั เรยี นรายทเ่ี ขา้ ถึงช่องทาง Learn from home ที่สว่ นกลางจัดใหไ้ ด้
- กรณีสําหรับนักเรยี นรายทีเ่ ขา้ ถงึ ช่องทาง Learn from home ท่สี ว่ นกลางจัดให้ไม่ไดเ้ ลย



สงิ่ ท่ตี อ้ งทาความเขา้ ใจกอ่ นใชเ้ อกสารฉบบั นี้ (ตอ่ )

• แนวทางปฏิบัติสําหรับครูและผู้ปกครอง หากจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้ตามปกติ ซ่ึงต้องคํานึงถึงการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing)
และต้องคงมาตรการคัดกรองทางสาธารณสุขต่อไป การจัดกิจกรรมท่ีโรงเรียนมีเงื่อนไขที่ต้องคํานึงถึง คือ จํานวนนักเรียนและพ้ืนที่จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
สําหรับโรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนน้อยและมีพ้ืนที่เพียงพอ สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติได้ สําหรับโรงเรียนท่ีมีจํานวนนักเรียนมาก แต่พ้ืนท่ีน้อย ให้จัดการเรียน
การสอนแบบผสมผสาน ระหวา่ งการเรียนท่ีโรงเรียน (ON-SITE) การเรยี นผ่านทีวี (ON-AIR) และการเรยี นผา่ นออนไลน์ (ONLINE) โดยให้นกั เรยี นสลบั กันมาเรียน สลบั กัน
มาสอบทีโ่ รงเรยี น โดยโรงเรียนออกขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel examination) เพอ่ื ให้จํานวนนักเรยี นตอ่ หอ้ งสอบลดลง

- กรณสี ําหรับนักเรียนรายทเี่ ข้าถึงชอ่ งทาง Learn from home ทสี่ ่วนกลางจัดให้ได้
- กรณีสําหรบั นักเรยี นรายที่เข้าถงึ ชอ่ งทาง Learn from home ทีส่ ว่ นกลางจดั ให้ไม่ไดเ้ ลย



สารบัญ

คานา ............................................................................................................................................................................................................................................................๒
สี่งท่ตี ้องทาความเขา้ ใจกอ่ นใชเ้ อกสารฉบบั นี้ .............................................................................................................................................................................................3
สารบญั .........................................................................................................................................................................................................................................................5
มาตรการในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระดับปฐมวัยท่ีส่วนกลางจดั ให้ ..........................................................................................................................................7

1.การจัดการเรียนการสอน................................................................................................................................................................................................................ ๗
2.ช่องทางการเรยี นท่ีบา้ น (Learn from home)............................................................................................................................................................................. ๗
3.แนวทางปฏิบัตสิ ําหรับครแู ละผู้ปกครอง ....................................................................................................................................................................................... 8

3.1 ชว่ งเวลาปรับพื้นฐานเพ่ือประเมนิ การเข้าถึงระบบการจดั การเรียนการสอนทางไกล ระหว่างวันท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563................................................ ๘
3.2 การจัดการเรยี นการสอนทางไกลเพ่ือประเมนิ ความเขา้ ใจในการเรยี นตามมาตรการท่ีสว่ นกลางจัดให้ ระหว่างวันท่ี 1 – 30 มถิ ุนายน 2563....................... ๑๐
3.3 กรณจี ดั การเรียนการสอนท่ีโรงเรียนได้ .................................................................................................................................................................................... ๑๑
มาตรการในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ระดับประถมศกึ ษาท่สี ่วนกลางจดั ให้ .............................................................................................................................. ๑๓
1.การจัดการเรยี นการสอน...................................................................................................................................................................................................................... ๑๓
2.ชอ่ งทางการเรียนที่บา้ น (Learn from home).................................................................................................................................................................................. ๑๓
3.แนวทางปฏิบัติสําหรบั ครแู ละผปู้ กครอง............................................................................................................................................................................................. ๑๔
3.1 ชว่ งเวลาปรับพน้ื ฐานเพื่อประเมินการเข้าถงึ ระบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระหวา่ งวันท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563............................................. ๑๔
3.2 การจดั การเรียนการสอนทางไกลเพ่ือประเมนิ ความเขา้ ใจในการเรียนตามมาตรการท่ีส่วนกลางจัดให้ ระหว่างวันที่ 1 – 30 มิถุนายน 2563....................... ๑๖
3.3 กรณีจัดการเรียนการสอนทีโ่ รงเรยี นได้ .................................................................................................................................................................................... ๑๗



มาตรการในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นทสี่ ่วนกลางจัดให้.................................................................................................................... ๑๙
1.การจัดการเรยี นการสอน...................................................................................................................................................................................................................... ๑๙
2.ช่องทางการเรียนท่บี ้าน (Learn from home).................................................................................................................................................................................. ๑๙
3.แนวทางปฏบิ ัติสําหรบั ครแู ละผู้ปกครอง............................................................................................................................................................................................. ๒๐
3.1 ชว่ งเวลาปรับพนื้ ฐานเพื่อประเมนิ การเข้าถึงระบบการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระหวา่ งวนั ท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563............................................... ๒๐
3.2 การจัดการเรยี นการสอนทางไกลเพ่ือประเมินความเข้าใจในการเรียนตามมาตรการท่ีส่วนกลางจดั ให้ ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 30 มถิ นุ ายน 2563 ......................... ๒๒
3.3 กรณีจัดการเรยี นการสอนทโ่ี รงเรยี นได้....................................................................................................................................................................................... ๒๓

มาตรการในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายที่ส่วนกลางจดั ให้ ............................................................................................................... ๒๕
1.การจัดการเรียนการสอน...................................................................................................................................................................................................................... ๒๕
2.ช่องทางการเรยี นทบ่ี ้าน (Learn from home) ................................................................................................................................................................................. ๒๕
3.แนวทางปฏิบัตสิ าํ หรบั ครูและผู้ปกครอง............................................................................................................................................................................................. ๒๖
3.1 ชว่ งเวลาปรบั พน้ื ฐานเพื่อประเมินการเขา้ ถึงระบบการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระหวา่ งวันท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563............................................... ๒๖
3.2 การจัดการเรียนการสอนทางไกลเพื่อประเมินความเข้าใจในการเรียนตามมาตรการที่ส่วนกลางจดั ให้ ระหว่างวนั ท่ี 1 – 30 มิถุนายน 2563 ......................... ๒๘
3.3 กรณจี ดั การเรยี นการสอนทีโ่ รงเรียนได้....................................................................................................................................................................................... ๓๐



มาตรการในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ระดบั ปฐมวัยทส่ี ่วนกลางจดั ให้

1. การจัดการเรียนการสอน ใช้การเรียนการสอนของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วันละ 2 ช่ัวโมง 30 นาที และออกอากาศซํ้า (rerun)
วันละ 2 รอบ วันเสาร์นํารายการวันจันทร์ วันอังคาร และวันพุธมาออกอากาศซ้ํา (rerun) วันอาทิตย์นํารายการวันพฤหัสบดี และวันศุกร์มาออกอากาศซ้ํา (rerun)
การรับชมต้องคํานึงถึงสุขภาวะของนักเรียน และให้ถือว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกล เป็นช่องทางสนับสนุนเท่านั้น ไม่สามารถใช้ทดแทนการเรียนการสอน
ได้ทง้ั หมด ทง้ั น้ี โรงเรียนสามารถออกแบบการเรียนการสอนเองได้ตามความเหมาะสม

2. ชอ่ งทางการเรียนที่บา้ น (Learn from home) เลือกชมได้ 6 ช่องทาง ได้แก่

(1) ทีวีดิจิทลั ช่อง 37 - 39 (2) ทีวีผา่ นดาวเทียมระบบ KU-Band (จานทึบ) ช่อง 195 – 197 (3) ทวี ผี า่ นดาวเทียมระบบ C-Band (จานโปร่ง) ชอ่ ง 337 – 339

(4) Mobile Application : DLTV (5) Youtube : www.youtube.com (6) www.dltv.ac.th (DLTV 10 – 12)

หมายเหตุ : มาตรการที่อยู่ระหว่างการพิจารณา คือ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ขั้นตํ่า ที่สามารถยอมรับได้ สําหรับรองรับการจัดการเรียนรู้
ในความปกติใหม่ (New Normal) กําหนดเง่ือนไขในการบริหารหลักสูตร รวมถึงการวัดและประเมินผลในสถานการณ์พิเศษ พร้อมจัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจ
ประจําจังหวัด เพ่ือช่วยเหลือครูประจําการในการจัดการเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์โควิด และฝึกอบรมสมรรถนะจําเป็นสําหรับครูที่คิดเป็นชั่วโมงพัฒนาวิชาชีพได้
ทั้งน้ี ภาระงานครูท่ีเปล่ียนไปตามบริบทสถานการณ์จะต้องไม่กระทบต่อการประเมินวิทยฐานะครู อีกท้ังยังต้องเพิ่มปัจจัยสนับสนุนการดําเนินงานให้ครู
อย่างเหมาะสมด้วย เพ่อื ใหค้ รมู ีขวญั กาํ ลงั ใจในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สุขของนักเรยี นอยา่ งแทจ้ ริง ทงั้ น้ี กระทรวงศึกษาธิการมนี โยบายตอ่ ต้านการทุจริต
ทางการศึกษาโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในสถานการณ์พเิ ศษ เช่น ลอกเลียนคาํ ตอบ/การรับจ้างทําการบ้านออนไลน์ เป็นต้น ผู้ทด่ี าํ เนนิ การมีความผิดตามกฎหมาย



3. แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครูและผู้ปกครอง
3.1 ช่วงเวลาปรับพนื้ ฐานเพ่ือประเมินการเขา้ ถึงระบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระหวา่ งวนั ที่ 18 - 31 พฤษภาคม 2563

กรณสี าหรบั นักเรียนที่สามารถเรียนทีบ่ ้านได้ (Learn from home) กรณสี าหรบั นักเรยี นทไ่ี มส่ ามารถเรยี นที่บ้านได้ ท้ัง 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผปู้ กครอง แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผู้ปกครอง

1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1) รับการตรวจเยย่ี มบ้านจากครู 1) ทบทวนขอ้ มลู จากระบบดูแลช่วยเหลอื 1) รับการตรวจเยย่ี มบา้ นจากครู

นกั เรยี น และระบบจัดเกบ็ ข้อมูลนกั เรยี น 2) สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ นักเรยี น และระบบจัดเก็บข้อมูลนกั เรียน 2) สนับสนุนการจัดการเรียนรู้

รายบคุ คล (Data Management Center) การเรียนรูท้ ี่บ้านตามศักยภาพ รายบคุ คล(Data Management Center) ท่ีบ้านตามศักยภาพและบรบิ ท

2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล และบริบทของครอบครวั 2) ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครวั

3) ดาวน์โหลดและศึกษาแผนการจัดประสบการณ์ 3) เตรียมส่อื และอุปกรณ์ที่ใชใ้ น 3) ดาวน์โหลดและศึกษาแผนการสอน 3) ให้นกั เรยี นทาํ ใบงาน/

การเรยี นรูแ้ ละใบงานต่าง ๆ และดกู ารเรียน การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และใบงานต่าง ๆ และดูการเรยี นการสอน ชิ้นงาน/ภาระงาน ด้วยตนเอง

การสอนลว่ งหนา้ ในเว็บไซตข์ อง DLTV ของนักเรียนตามตาราง ลว่ งหน้าในเว็บไซตข์ อง DLTV ทีบ่ ้าน กาํ กับดูแล และ

(www.dltv.ac.th) กจิ กรรมประจาํ วัน (www.dltv.ac.th) เพ่อื ออกแบบ ช่วยเหลอื อย่างใกลช้ ิด

4) ศกึ ษาช่องทางการเรยี นรู้ที่บ้าน 4) เขา้ รว่ มชอ่ งทางการติดตอ่ แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 4) รับ–สง่ แฟม้ งานนักเรียน และ

(Learn from home) และวิธกี ารใชง้ าน สอื่ สารกบั ครู เช่น ไลน์ (Line) ให้เหมาะสมกบั นักเรยี น ส่อื สารกับครตู ามการนัดหมาย

5) สํารวจนักเรยี นท่ีสามารถเรียนท่บี ้านทกุ คน เฟซบุค๊ (Facebook) 4) สาํ รวจข้อมลู นกั เรยี นท่ีอยใู่ นความดแู ล 5) ร่วมมอื กบั ครูหาแนวทางแก้ไข

และสํารวจผู้ปกครองที่มีความพร้อม โทรศัพท์ หรือช่องทางอ่นื ๆ ให้ครบถ้วน การจัดประสบการณ์

ในการเรียนของนักเรียน ตามบรบิ ท 5) จัดสง่ เอกสารการจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ของนักเรยี น

6) จดั สง่ เอกสาร ใบงาน สอ่ื อุปกรณ์ ให้ผปู้ กครอง 5) นาํ นกั เรียนรายงานตวั กับครู การเรียนรู้สาํ หรับนกั เรยี น

7) เยยี่ มบ้านนักเรียนให้ครบทุกคน ผ่านชอ่ งทางการสอ่ื สารก่อน 6) เยี่ยมบ้านนกั เรยี นใหค้ รบทุกคนทําความเข้าใจ

8) สรา้ งความเขา้ ใจและขอความรว่ มมือ เรมิ่ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ และขอความร่วมมือกบั ผปู้ กครอง

จากผู้ปกครอง ในการจัดประสบการณ์ และดูแลนกั เรยี นขณะจัด ในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

การเรยี นรใู้ หน้ กั เรียนทบ่ี า้ น ประสบการณ์การเรยี นรู้ 7) รว่ มกบั ผู้ปกครองหาแนวทางแกไ้ ข

9) ขอความร่วมมือผ้ปู กครองในการช่วยครูจดั ตามตารางกิจกรรม การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้

ประสบการณ์การเรยี นรูใ้ หน้ ักเรียน ของนักเรียน

ทีบ่ ้าน



กรณสี าหรบั นักเรยี นทีส่ ามารถเรยี นท่บี ้านได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรยี นที่ไมส่ ามารถเรยี นทบี่ า้ นได้ ทง้ั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง แนวทางปฏิบตั สิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง

6) สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น

ในขณะจัดประสบการณ์การเรียนรู้

เพอื่ ประเมินคุณลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์ แลว้ รายงาน

ใหค้ รูทราบ

7) พบปะครูรายสปั ดาห์ตามที่

นดั หมาย เพื่อรบั –สง่ แฟ้มงาน

พร้อมท้งั แจ้งปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้น

ให้ครูทราบเพ่อื หาทาง

แกป้ ัญหารว่ มกัน

หมายเหตุ : การทวนสอบข้อมูลนักเรียนและครอบครัว จะช่วยให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนในช่วงเวลาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ท้ังน้ี
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอยรู่ ะหวา่ งพจิ ารณากําหนดมาตรการอืน่ ท่จี ะชว่ ยครูในการทวนสอบข้อมูลดังกล่าวอีกทางหน่ึงด้วย

๑๐

3.2 การจดั การเรียนการสอนทางไกลเพ่อื ประเมินความเขา้ ใจในการเรยี นตามมาตรการท่ีส่วนกลางจัดให้ ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 30 มิถุนายน 2563

กรณสี าหรบั นกั เรียนท่ีสามารถเรยี นท่ีบา้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นักเรยี นที่ไมส่ ามารถเรยี นท่บี า้ นได้ ท้งั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผู้ปกครอง

1) ศกึ ษาแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1) เตรียมส่อื /ใบงาน ทไ่ี ดร้ ับจากครู 1) ศึกษาแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 1) รับการตรวจเย่ยี มบา้ นจากครู

สือ่ ใบงาน ของ DLTV (www.dltv.ac.th) (กรณีผปู้ กครองพร้อม) สื่อใบงาน ของ DLTV (www.dltv.ac.th) 2) สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์

2) เตรียมส่ือ/ใบงาน และอุปกรณ์ ใหน้ กั เรียน 2) กาํ กับดูแลการจดั ประสบการณ์ เพ่ือออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์ การเรียนรทู้ บ่ี า้ นตามศักยภาพ

3) ครูออกเยย่ี มบ้านนักเรียน เพ่ือพูดคุย การเรียนรู้ ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ การเรยี นรูใ้ ห้เหมาะสมกบั นักเรียน และบริบทของครอบครวั

ใหค้ าํ ปรกึ ษา เก็บช้ินงานของนกั เรียน ตามช่วงเวลาแต่ละวนั ทเ่ี หมาะสม 2) เตรียมสอ่ื /ใบงาน สง่ ไปให้ท่บี ้าน 3) กาํ กบั ดูแลให้นักเรยี น

กลบั มาตรวจ และกระตุ้นผู้ปกครอง กับนักเรียนและผปู้ กครอง 3) เย่ยี มบ้านนักเรยี น พรอ้ มรับ-ส่งเอกสาร ทาํ แบบฝึกหดั /ใบงาน/ชิ้นงาน/

อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 1 คร้ัง วิเคราะห์ 3) รับ-ส่งชนิ้ งานของนักเรียน ใหผ้ ู้ปกครอง เพ่ือใหค้ ําปรกึ ษา ภาระงาน ด้วยตนเองทบ่ี า้ น

4) ผลการตรวจเยี่ยมบา้ นเพ่ือนํามาทบทวน ตามนดั หมาย และกระตุ้นผู้ปกครอง อยา่ งน้อยสัปดาห์ โดยคอยให้คําแนะนํา กาํ กบั

และจัดทาํ เอกสาร/ส่ือ เพม่ิ เติมตามบรบิ ท 4) รับการประเมินจากครู ละ 1 ครงั้ ดูแล และช่วยเหลอื อย่างใกล้ชดิ

ของนักเรียนรายบคุ คล ในขณะตรวจเย่ยี มบ้าน 4) วเิ คราะห์ผลการตรวจเยี่ยมบา้ น 4) รบั –สง่ แฟ้มงานนักเรยี น

5) ออกแบบการประเมนิ ผลตามบรบิ ท 5) ปฏบิ ัตติ ามคาํ แนะนาํ ของครู เพ่ือนํามาทบทวนและจัดทําเอกสาร/สอ่ื และสื่อสารกับครูตามการนดั หมาย

ของนักเรยี นรายบคุ คล ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพิ่มเติมตามบรบิ ทของนักเรยี นรายบคุ คล 5) ใหค้ วามรว่ มมือกบั ครู

5) ออกแบบการประเมนิ ผลตามบรบิ ท หาแนวทางแก้ไขการจดั

ของนักเรียนรายบคุ คล ประสบการณ์การเรยี นรู้

๑๑

3.3 กรณีจดั การเรยี นการสอนที่โรงเรียนได้
กรณีท่ีได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในจังหวัด ในการจัดการเรียนการสอน

แบบปกติเรยี นที่โรงเรียนโดยให้ปฏิบตั ิตามมาตรการและแนวทางการดําเนินงานเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดังน้ัน หากมจี ํานวนนักเรียนน้อย
และมีพ้ืนทีเ่ พยี งพอ ก็จัดการเรยี นการสอนตามปกตไิ ด้

หากจํานวนนักเรียนมาก หรือมีพื้นท่ีไม่เพียงพอสาหรับการเรียนแบบ Social distancing / New Normal ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
ระหว่างการเรียนท่ีโรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) และการเรียนผ่านออนไลน์ (ONLINE) ให้นักเรียนสลับกันมาเรียน สลับกันมาสอบท่ีโรงเรียนได้
โดยครูต้องคาํ นึงถงึ การจดั ทําขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel examination) เพื่อความเปน็ ธรรมของผู้เข้าสอบ

กรณีสาหรับนักเรียนท่สี ามารถเรยี นทีบ่ า้ นได้ (Learn from home) กรณสี าหรบั นกั เรยี นที่ไม่สามารถเรียนทบี่ า้ นได้ ทง้ั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผ้ปู กครอง

1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) ประสานครูในการเตรยี มความ 1) ทบทวนขอ้ มลู จากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1) ประสานครูในการเตรียม

นกั เรียน และระบบจดั เก็บขอ้ มลู นกั เรียน พร้อมในการจัดประสบการณ์ นกั เรยี น และระบบจดั เกบ็ ขอ้ มูลนักเรยี น ความพร้อมในการจัดประสบการณ์

รายบคุ คล (Data Management Center) การเรียนรสู้ ําหรบั นักเรียน รายบคุ คล (Data Management Center) การเรียนรู้ สําหรบั นักเรียน

2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล 2) สนับสนุนนกั เรียนในการจัด 2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล 2) สนับสนนุ นักเรียนในการเรยี น

3) ศกึ ษาและประยุกต์ใช้แผนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ ตาม 3) ศกึ ษาและประยกุ ต์ใช้แผนการจัด ตามศักยภาพและบรบิ ท

ประสบการณ์การเรยี นรู้ สื่อใบงาน ช่องทางการเรียน ตาม ประสบการณ์การเรียนรู้ สื่อ ใบงาน ของครอบครัว

ของ DLTV (www.dltv.ac.th) ศักยภาพและบริบทของ ของ DLTV (www.dltv.ac.th) 3) กรณีท่ผี ู้ปกครองมีความสามารถ

4) จดั ทาํ แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ครอบครวั 4) จัดทาํ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ชว่ ยจัดการเรยี นการสอนได้

และตารางสอนแบบ New Normal 3) กรณที ่ีผู้ปกครองมีความสามารถ และตารางสอนแบบ New Normal ให้ผูป้ กครองวางแผนจัด

5) จดั ทาํ และจัดสง่ เอกสารการจัด ชว่ ยจัดประสบการณก์ ารเรียนรไู้ ด้ กล่มุ ที่ 1 นักเรียนทผี่ ้ปู กครองไม่ ประสบการณ์การเรียนรู้รว่ มกับครู

ประสบการณ์การเรียนรู้ สําหรับผ้ปู กครอง ใหผ้ ้ปู กครองวางแผนจดั สามารถดูแลได้มาเรยี นท่โี รงเรียน

และนักเรยี นแบบ New Normal ประสบการณ์การเรยี นรู้รว่ มกบั ครู กลุ่มท่ี 2 นักเรยี นทีผ่ ปู้ กครองสามารถ

6) วางแนวทางติดต่อประสานงานในระยะยาว ดูแลได้ ใหม้ าเรียนทีโ่ รงเรยี นใช้วธิ กี าร

กบั ผู้ปกครอง และหมัน่ ติดตามผลเปน็ ระยะ สลบั มาเรียน

7) ออกแบบการประเมินผลตามบริบท 5) จัดส่งเอกสารการจดั ประสบการณ์

และบันทึกผลการประเมนิ การเรียนรู้ สําหรบั นักเรยี นใหผ้ ู้ปกครอง

๑๒

กรณสี าหรบั นกั เรียนท่สี ามารถเรยี นที่บ้านได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรยี นทีไ่ ม่สามารถเรยี นทีบ่ า้ นได้ ทง้ั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผู้ปกครอง

6) วางแผนรว่ มกบั ผ้ปู กครองในการจัด

ประสบการณก์ ารเรียนรู้ และติดตามผล

การเรียนเปน็ ระยะ

7) ออกแบบการประเมินพฒั นาการ

๑๓

มาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดบั ประถมศกึ ษาทส่ี ่วนกลางจัดให้

1. การจัดการเรียนการสอน ใช้การเรยี นการสอนทม่ี ลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ผลิตขน้ึ วันละ 2 ชว่ั โมง 30 นาที และออกอากาศซํ้า (rerun)
วนั ละ 2 รอบ วนั เสารน์ ํารายการวันจนั ทร์ วันอังคาร และวันพธุ มาออกอากาศซา้ํ (rerun) วนั อาทิตย์นํารายการวันพฤหัสบดี และวนั ศุกรม์ าออกอากาศซํ้า (rerun) การ
รับชมต้องคํานึงถึงสุขภาวะของนักเรียน และให้ถือว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกลเป็นช่องทางสนับสนุนเท่าน้ัน ไม่สามารถใช้ทดแทนการเรียนการสอนได้ทั้งหมด
ท้ังนี้ โรงเรยี นสามารถออกแบบการเรียนการสอนเองได้ตามความเหมาะสม

2. ชอ่ งทางการเรยี นทีบ่ ้าน (Learn from home) เลอื กชมได้ 6 ช่องทาง ไดแ้ ก่

(1) ทวี ีดิจทิ ัลชอ่ ง 40 - 45 (2) ทวี ีผา่ นดาวเทียมระบบ KU-Band (จานทบึ ) ช่อง 186 – 191 (3) ทีวผี า่ นดาวเทียมระบบ C-Band (จานโปร่ง) ช่อง 340 – 345

(4) Mobile Application : DLTV (5) Youtube : www.youtube.com (6) www.dltv.ac.th (DLTV 1 – 6)

หมายเหตุ
1. มาตรการที่อยู่ระหว่างการพิจารณา คือ กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ขั้นตํ่าท่ีสามารถยอมรับได้สําหรับรองรับการจัดการเรียนรู้
ในความปกติใหม่ (New Normal) กําหนดเงื่อนไขในการบริหารหลักสูตรรวมถึงการวัดและประเมินผลในสถานการณ์พิเศษ พร้อมจัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจประจําจังหวัด
เพ่ือช่วยเหลือครูประจําการในการจัดการเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์โควิด และฝึกอบรมสมรรถนะจําเป็นสําหรับครูที่คิดเป็นช่ัวโมงพัฒนาวิชาชี พได้ ทั้งนี้
ภาระงานครูที่เปลี่ยนไปตามบริบทสถานการณ์จะต้องไม่กระทบต่อการประเมินวิทยฐานะครู อีกทั้งยังต้องเพ่ิมปัจจัยสนับสนุนการดําเนินงานให้ครูอย่างเหมาะสมด้วย
เพ่ือให้ครูมีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สุขของนักเรียนอย่างแท้จริง ทั้งน้ี กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายต่อต้านการทุจ ริตทางการศึกษา
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในสถานการณพ์ ิเศษ เชน่ ลอกเลียนคําตอบ/การรับจา้ งทาํ การบา้ นออนไลน์ เปน็ ตน้ ผู้ที่ดาํ เนินการมีความผิดตามกฎหมาย
2. เทปการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่นํามาออกอากาศ

ในขณะน้ีอิงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 การถ่ายทําเทปให้สอดคลอ้ งกับตัวชว้ี ัดใหม่ยังไม่แลว้ เสร็จ เน่ืองจากโรงเรียนต้นทางปิดเรียน

ตามประกาศของรัฐบาล มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงอยู่ระหว่างประสานงานกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี เพื่อจัดทาํ เทปการเรียนการสอนใหท้ ันใช้งานกอ่ นเปดิ ภาคการศึกษาใหม่

๑๔

3. แนวทางปฏิบัติสาหรับครูและผู้ปกครอง
3.1 ช่วงเวลาปรบั พ้ืนฐานเพ่ือประเมินการเขา้ ถงึ ระบบการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ระหวา่ งวนั ที่ 18 - 31 พฤษภาคม 2563

กรณสี าหรับนกั เรยี นทสี่ ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) กรณสี าหรบั นักเรียนทไี่ มส่ ามารถเรยี นท่บี า้ นได้ ทัง้ 6 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบัติสาหรับผปู้ กครอง แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผู้ปกครอง

1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) รับการตรวจเยี่ยมบา้ นจากครู 1) ทบทวนขอ้ มูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) รับการตรวจเยี่ยมบ้านจากครู

นกั เรียนและระบบจดั เก็บข้อมูลนกั เรียน 2) สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ นกั เรียนและระบบจดั เก็บข้อมูลนักเรยี น 2) สนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้

รายบคุ คล (Data Management Center) ที่บา้ นตามศักยภาพและบรบิ ท รายบคุ คล (Data Management Center) ทบ่ี ้านตามศกั ยภาพและบริบท

2) ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครัว 2) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ของครอบครัว

3) ดาวน์โหลด ศึกษาแผนการสอน เตรียม 3) เตรียมชอ่ งทางในการเรียนทีบ่ า้ น 3) ดาวนโ์ หลดและศึกษาแผนการสอน 3) ดูแลให้นกั เรยี นทําแบบฝึกหดั /

เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานตา่ ง ๆ สาํ หรบั (Learn from home) เอกสาร และใบงานต่าง ๆ และดูการเรยี น ใบงาน/ชิน้ งาน/ภาระงาน

นักเรียน และศึกษาการเรียนการสอน การเรียนรู้ ใบงานตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ น การสอนลว่ งหนา้ ในเว็บไซตข์ อง DLTV ด้วยตนเองท่ีบา้ น โดยคอย

ลว่ งหน้าในเวบ็ ไซต์ของ DLTV การจัดการเรยี นรูข้ องนักเรียน (www.dltv.ac.th) เพ่อื วางแผนการ ให้คาํ แนะนาํ กาํ กับดูแล

(www.dltv.ac.th) 4) เข้าร่วมชอ่ งทางการสื่อสารกับ จดั การเรยี นรใู้ หก้ ับนักเรยี น และชว่ ยเหลืออยา่ งใกลช้ ิด

4) ศึกษาช่องทางในการเรยี นท่บี ้าน ครู เชน่ โทรศัพท์ ไลน์ (Line) 4) สาํ รวจขอ้ มลู นกั เรยี นเพอื่ เตรียมพร้อม 4) เขา้ ร่วมชอ่ งทางการสื่อสาร

(Learn from home) และวิธีการใช้งาน เฟซบุ๊ค (Facebook) หรือช่องทาง ในการจัดการเรยี นการสอน 1) กับครู ตามช่องทางที่นดั หมาย

5) สาํ รวจขอ้ มลู นักเรยี นเพื่อเตรียม อนื่ ๆ ตามนัดหมาย 5) เยี่ยมบา้ นนักเรียน ให้ครบทุกคน 5) รบั –ส่งแฟม้ งานนกั เรยี น

ความพร้อม และช่วยเหลือในการจัด 5) นํานกั เรยี นรายงานตวั ก่อนเริ่ม และรบั -สง่ เอกสารการเรยี นสําหรบั นกั เรียน และส่ือสารกับครูตามการนัดหมาย

การเรียนการสอนทางไกล จดั การเรียนรู้กับครู ผ่านช่องทาง 6) สร้างความเข้าใจ ความสําคญั ของการรว่ มมือ 5) ร่วมมอื กบั ครูหาแนวทางแก้ไข

6) เยยี่ มบา้ นนกั เรียน ให้ครบทุกคน การส่ือสารตามนัดหมายและดแู ล ระหว่างครแู ละผู้ปกครอง พร้อมทง้ั การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น

และรับ-สง่ เอกสารการเรียนสําหรบั นกั เรียนขณะจัดการเรยี นรู้ อธิบายถึงเอกสารจัดการเรยี นรู้

นักเรยี น 6) รับ–ส่งแฟม้ งานนกั เรยี น และวางแผนร่วมกันในการจัดการเรยี นรู้

และส่ือสารกบั ครตู ามการนดั หมาย ให้นักเรียนทบี่ า้ น

7) รว่ มมอื กบั ครูหาแนวทางแกไ้ ข

การจัดการเรยี นรู้ของนักเรยี น

๑๕

กรณสี าหรับนักเรียนทีส่ ามารถเรยี นทบ่ี ้านได้ (Learn from home) กรณสี าหรับนักเรียนท่ีไม่สามารถเรยี นทบี่ ้านได้ ทั้ง 6 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ัติสาหรับครู แนวทางปฏิบตั สิ าหรับผูป้ กครอง แนวทางปฏบิ ัติสาหรับครู แนวทางปฏิบัติสาหรับผปู้ กครอง

7) สร้างความเขา้ ใจกับผูป้ กครองถงึ เหตุผล 7) สาํ หรบั ผปู้ กครองมคี วามพร้อม

ทต่ี อ้ งปรับพ้ืนฐาน New Normal ในการช่วยจัดการเรียนรู้ ให้ร่วมวางแผน

และความสาํ คัญของการรว่ มมอื ระหวา่ ง กับครู จดั การเรียนรู้สาํ หรับนักเรยี นท่ีบา้ น

ครูและผปู้ กครอง พร้อมทั้งอธิบายถงึ 8) ร่วมกบั ผ้ปู กครองหาแนวทางแกไ้ ข

เอกสารจดั การเรียนรู้ และวางแผนรว่ มกัน การจัดการเรียนรู้

ในการจัดการเรียนรู้ให้นักเรยี นที่บ้าน

8) สําหรับผู้ปกครองมคี วามพร้อม

ในการช่วยจัดการเรียนรู้ที่บา้ นใหก้ บั

นกั เรียน ให้วางแผนรว่ มกนั จัดการเรยี นรู้

สาํ หรับนักเรยี น

หมายเหตุ : การทวนสอบข้อมูลนักเรียนและครอบครัว จะช่วยให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนในช่วงเวลาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ท้ังน้ี
กระทรวงศกึ ษาธิการอยรู่ ะหวา่ งพจิ ารณากําหนดมาตรการอ่ืนทีจ่ ะช่วยครูในการทวนสอบข้อมลู ดังกลา่ วอีกทางหน่งึ ด้วย

๑๖

3.2 การจดั การเรยี นการสอนทางไกลเพอ่ื ประเมินความเข้าใจในการเรียนตามมาตรการท่ีส่วนกลางจัดให้ ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 30 มิถนุ ายน 2563

กรณีสาหรับนกั เรยี นท่ีสามารถเรียนทบี่ ้านได้ (Learn from home) กรณสี าหรับนักเรยี นที่ไมส่ ามารถเรียนทบี่ ้านได้ ทงั้ 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั สิ าหรับครู แนวทางปฏิบัติสาหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผ้ปู กครอง

1) ศึกษาแผนการสอน ใบงานต่าง ๆ และเตรียม 1) ศกึ ษาและเตรียมเอกสาร ใบงาน 1) ศกึ ษาแผนการสอน ใบงานต่าง ๆ และเตรียม 1) ศึกษาและเตรยี มเอกสาร ใบงาน

เอกสารสําหรบั นกั เรยี น และศึกษาการเรียน ส่ือ อุปกรณก์ ารเรยี น เอกสารสําหรบั นักเรียน และศึกษาการเรยี น สื่อ อุปกรณ์การเรียน

การสอนลว่ งหนา้ ในเวบ็ ไซตข์ อง DLTV 2) สนับสนนุ กาํ กบั ดแู ลการเรียน การสอนล่วงหนา้ ในเว็บไซตข์ อง DLTV 2) สนบั สนุน กํากับ ดูแลการเรียน

(www.dltv.ac.th) ของนักเรยี นตามช่องทาง (www.dltv.ac.th) เพ่อื วางแผนการจัด ของนักเรยี นท่ีบ้านตามศักยภาพ

2) จัดทาํ และจดั สง่ เอกสารการจัดการเรียนรู้ การเรยี นการสอนทางไกล การเรยี นร้ใู หก้ บั นักเรียน และบริบทของครอบครัว

ระดับประถมศึกษา สาํ หรับนกั เรยี น ท่บี า้ นตามศักยภาพและบรบิ ท 2) จดั ทําและจดั สง่ เอกสารการจดั การเรียนรู้ 3) รบั -ส่งเอกสารการจัดการเรยี นรู้

แตล่ ะราย ของครอบครัว ระดับประถมศึกษา สําหรับนกั เรยี น ใบงาน อน่ื ๆ ของนักเรยี น

3) ออกเยี่ยมบา้ นนักเรยี น เพ่ือพูดคยุ 3) รบั -สง่ เอกสารการจัดการเรยี นรู้ แตล่ ะราย 4) รับการตรวจเย่ยี มบ้านจากครู

ให้คําปรึกษาผ้ปู กครอง และรับ-ส่งเอกสาร ใบงาน อื่น ๆ ของนักเรยี น 3) ออกเย่ียมบ้านนักเรยี น สรา้ งความเข้าใจ 5) ร่วมกับครปู ระเมินผลการเรยี น

การจัดการเรียนรู้ ใบงาน อื่น ๆ 4) รบั การตรวจเยย่ี มบ้านจากครู และขอความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครอง ของนักเรียน

อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 5) รว่ มกบั ครูประเมนิ ผลการเรยี น ในการจดั การเรียนรู้ และรบั -ส่งเอกสาร 6) รว่ มมือกบั ครูหาแนวทางแก้ไข

4) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรยี นการสอน ของนักเรยี น การจดั การเรียนรู้ ใบงาน อ่นื ๆ การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น

ทางไกล ผลจากการเย่ียมบ้านและปัญหา 6) ร่วมมือกบั ครหู าแนวทางแก้ไข อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครงั้

ตา่ ง ๆ เพ่ือนาํ มาทบทวน ปรบั ปรุงแก้ไข การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น 4) วิเคราะหผ์ ลการจดั การเรียนรู้

ตามบริบทของนักเรยี นรายบุคคล ของนักเรยี น ผลจากการเย่ียมบา้ น

5) ออกแบบการวัดและประเมนิ ผลการเรียน และปัญหาต่าง ๆ เพื่อนํามาทบทวน

และรว่ มกบั ผู้ปกครองประเมินผลการเรียน ปรบั ปรงุ แก้ไขตามบรบิ ทของนกั เรียน

ตามบรบิ ทนกั เรียนรายบุคคล รายบคุ คล

6) รว่ มมอื กับผูป้ กครอง หาแนวทางแก้ไข 5) ออกแบบการวัดและประเมินผลการ

การจัดการเรียนรู้ของนักเรียน เรยี นและร่วมกับผปู้ กครองประเมินผล

การเรียนตามบรบิ ทนักเรียนรายบคุ คล

6) ร่วมกบั ผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไข

การจัดการเรยี นรู้ของนักเรยี น

๑๗

3.3 กรณีจัดการเรยี นการสอนที่โรงเรียนได้
กรณที ไ่ี ดร้ ับการอนุญาตจากศนู ย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ในจงั หวัด ในการจดั การเรยี นการสอน

แบบปกติเรียนทีโ่ รงเรียนโดยให้ปฏบิ ัตติ ามมาตรการและแนวทางการดําเนนิ งานเพื่อการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน และควบคุมโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ดงั นัน้ หากมจี ํานวนนักเรยี น
น้อยและมีพื้นท่ีเพยี งพอ ก็จดั การเรยี นการสอนตามปกติได้

หากจํานวนนักเรียนมาก หรือมีพื้นที่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนแบบ Social distancing / New Normal ก็ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
ระหวา่ ง การเรียนทโ่ี รงเรียน (ON-SITE) การเรยี นผา่ นทวี ี (ON-AIR) และการเรยี นผ่านออนไลน์ (ONLINE) ให้นกั เรยี นสลับกนั มาเรียน สลับกันมาสอบทโ่ี รงเรียนได้ โดยครู
ต้องคํานึงถึงการจัดทาํ ข้อสอบคู่ขนาน (Parallel examination) เพือ่ ความเป็นธรรมของผเู้ ข้าสอบ

กรณีสาหรับนักเรียนที่สามารถเรียนทบี่ า้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรับนกั เรียนทีไ่ ม่สามารถเรียนทบ่ี า้ นได้ ท้งั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏบิ ัติสาหรับครู แนวทางปฏิบัติสาหรับผู้ปกครอง

1) ทบทวนขอ้ มูลจากระบบดูแลชว่ ยเหลอื 1) รบั การตรวจเยีย่ มบา้ นจากครู 1) ทบทวนข้อมลู จากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1) รบั การตรวจเยี่ยมบา้ นจากครู

นกั เรยี นและระบบจดั เก็บข้อมูลนกั เรยี น 2) สนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ นกั เรยี นและระบบจดั เก็บข้อมลู นกั เรียน 2) สนับสนนุ การจดั การเรียนรู้

รายบคุ คล (Data Management Center) ที่บ้านตามศักยภาพและบรบิ ท รายบคุ คล (Data Management Center) ท่บี ้านตามศักยภาพและบรบิ ท

2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ของครอบครัว 2) ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ของครอบครัว

3) ดาวนโ์ หลด ศึกษาแผนการสอน เตรียม 3) เตรยี มชอ่ งทางในการเรียนทีบ่ ้าน 3) ดาวน์โหลด ศึกษาแผนการสอน เตรยี ม 3) เขา้ รว่ มชอ่ งทางการสื่อสาร

เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานต่าง ๆ สําหรับ (Learn from home) เอกสาร เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานต่าง ๆ สาํ หรบั กับครู ตามนดั หมาย

นักเรยี น และศึกษาการเรียนการสอน การเรียนรู้ ใบงานตา่ ง ๆ ทีใ่ ชใ้ น นักเรียน และศึกษาการเรยี นการสอน 4) นาํ นกั เรียนรายงานตัวก่อนเร่ิม

ล่วงหนา้ ในเวบ็ ไซตข์ อง DLTV การจัดการเรยี นรู้ของนกั เรยี น ล่วงหนา้ ในเวบ็ ไซตข์ อง DLTV จดั การเรียนรกู้ บั ครู ผา่ นช่องทาง

(www.dltv.ac.th) 4) เข้ารว่ มช่องทางการส่ือสารกับ (www.dltv.ac.th) เพ่อื วางแผนการเรียนรู้ การส่ือสารตามนัดหมายและดแู ล

4) ศกึ ษาช่องทางในการเรยี นทบ่ี ้าน ครู เช่น โทรศพั ท์ ไลน์ (Line) ทเ่ี หมาะสม สําหรับนกั เรยี นที่เรยี นทบี่ า้ น นกั เรียนขณะจัดการเรยี นรู้

(Learn from home) และวธิ ีการใช้งาน เฟซบุค๊ (Facebook) หรอื ช่องทาง 4) จัดให้นกั เรียน มาเรยี นท่ีโรงเรียน 5) รับ–สง่ แฟม้ งานนกั เรียน

5) สํารวจข้อมูลนักเรยี นเพอ่ื เตรียม อืน่ ๆ ตามนดั หมาย โดยต้องปฏบิ ตั ิตามแบบSocial distancing และส่ือสารกับครูตามการนัดหมาย

ความพร้อม วางแผนการจัดการเรยี น 5) นํานกั เรยี นรายงานตัวก่อนเริม่ กรณีที่นักเรียนสลับกันมาเรียนที่โรงเรียน 6) รว่ มกับครปู ระเมนิ ผลการเรยี น

การสอนทางไกล ผา่ นช่องทางเรยี นทบี่ า้ น จดั การเรยี นรกู้ ับครู ผ่านช่องทาง ครตู ้องวางแผนการจัดการเรียนการสอน ของนักเรยี น

และแบง่ กลุม่ สลบั นกั เรียนมาเรยี นท่ี การสื่อสารตามนัดหมายและดูแล ของนักเรียนเปน็ รายบุคคล 7) ร่วมมอื กับครูหาแนวทางแกไ้ ข

โรงเรียน นกั เรยี นขณะจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น

๑๘

กรณีสาหรับนักเรยี นท่สี ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรยี นทไี่ ม่สามารถเรยี นที่บ้านได้ ทง้ั 6 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับผู้ปกครอง

6) ออกเย่ยี มบ้านนักเรียน เพื่อพดู คุย 6) รับ–ส่งแฟ้มงานนักเรียน 5) ออกเย่ียมบา้ นนักเรยี น สรา้ งความเข้าใจ

ใหค้ าํ ปรกึ ษาผปู้ กครอง และรับ-ส่ง และสื่อสารกบั ครูตามการนัดหมาย และขอความรว่ มมือกบั ผ้ปู กครอง

เอกสารการจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อ่ืน ๆ 7) ร่วมกับครปู ระเมินผลการเรียน ในการจัดการเรียนรู้ และรับ-สง่ เอกสาร

อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ของนักเรียน การจดั การเรียนรู้ ใบงาน อืน่ ๆ

7) วเิ คราะหผ์ ลการจัดการเรียนการสอน 8) ร่วมมือกับครูหาแนวทางแก้ไข อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครงั้

ทางไกล ผลจากการเย่ยี มบ้านและปญั หา การจัดการเรยี นรู้ของนักเรียน 6) วิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ ผลจากการเยย่ี มบา้ น

ต่าง ๆ เพ่ือนาํ มาทบทวน ปรบั ปรงุ แก้ไข และปัญหาตา่ ง ๆ เพ่ือนาํ มาทบทวน

ตามบรบิ ทของนักเรยี นรายบุคคล ปรับปรงุ แก้ไขตามบริบทของนกั เรียน

8) ออกแบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น รายบคุ คล

และร่วมกับผูป้ กครองประเมินผล 7) ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การเรียนตามบรบิ ทนักเรียนรายบุคคล และรว่ มกับผปู้ กครองประเมินผล

9) รว่ มมือกบั ผู้ปกครอง หาแนวทางแก้ไข การเรียนรู้ตามบริบทนักเรยี นรายบุคคล

การจดั การเรียนรู้ของนักเรียน 8) ร่วมมอื กับผู้ปกครอง หาแนวทางแก้ไข

การจดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น

๑๙

มาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นท่สี ว่ นกลางจดั ให้

1. การจดั การเรียนการสอน ใชก้ ารเรยี นการสอนทมี่ ูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผลติ ขน้ึ วนั ละ 2 ช่ัวโมง 30 นาที และออกอากาศซาํ้ (rerun)
วันละ 2 รอบ วันเสาร์นํารายการวันจันทร์ วันอังคาร และวันพุธมาออกอากาศซํ้า (rerun) วันอาทิตย์นํารายการวันพฤหัสบดี และวันศุกร์มาออกอากาศซํ้า (rerun)
การรับชมต้องคาํ นึงถึงสุขภาวะของนักเรียน และให้ถอื ว่าการจดั การเรียนการสอนทางไกลเป็นช่องทางสนับสนนุ เท่านั้น ไมส่ ามารถใช้ทดแทนการเรยี นการสอนได้
ทง้ั หมด ทัง้ นี้ โรงเรียนสามารถออกแบบการเรยี นการสอนเองไดต้ ามความเหมาะสม

2. ชอ่ งทางการเรยี นทีบ่ า้ น (Learn from home) เลือกชมได้ 7 ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่

(1) ทวี ดี จิ ทิ ัลช่อง 46 – 48 (2) ทวี ีผา่ นดาวเทียมระบบ KU-Band (จานทึบ) ชอ่ ง 192 – 194 (3) ทีวผี ่านดาวเทยี มระบบ C-Band (จานโปรง่ ) ช่อง 346 – 348

(4) www.dltv.ac.th (DLTV 7 – 9) (5) Mobile Application : DLTV (6) Youtube : www.youtube.com

(7) การเรยี นรู้ผา่ น www.deep.go.th (DEEP : Digital Education Excellence Platform)

หมายเหตุ
1. มาตรการท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณา คือ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ขั้นตํ่าที่สามารถยอมรับได้สําหรับรองรับการจัดการเรียนรู้
ในความปกติใหม่ (New Normal) กําหนดเง่ือนไขในการบริหารหลักสูตรรวมถึงการวัดและประเมินผลในสถานการณ์พิเศษ พร้อมจัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจประจํา
จังหวัดเพื่อช่วยเหลือครูประจําการในการจัดการเรียนรู้ภายใต้สถานการณ์โควิด และฝึกอบรมสมรรถนะจําเป็นสําหรับครูท่ีคิดเป็นช่ัวโมงพัฒนาวิชาชีพได้ ท้ังนี้
ภาระงานครูที่เปล่ียนไปตามบริบทสถานการณ์จะต้องไม่กระทบต่อการประเมินวิทยฐานะครู อีกทั้งยังต้องเพิ่มปัจจัยสนับสนุนการดําเนินงานให้ ครูอย่าง
เหมาะสมด้วย เพื่อให้ครูมีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์สุขของนักเรียนอย่างแท้จริง ท้ังน้ี กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายต่ อต้านการทุจริต
ทางการศกึ ษาโดยเฉพาะอย่างย่ิงในสถานการณ์พิเศษ เช่น ลอกเลียนคําตอบ/การรบั จ้างทําการบ้านออนไลน์ เป็นต้น ผทู้ ่ดี าํ เนนิ การมีความผิดตามกฎหมาย
2. เทปการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีนํามาออกอากาศใน
ขณะนีอ้ ิงตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ.2551 การถา่ ยทาํ เทปใหส้ อดคล้องกบั ตวั ชวี้ ัดใหม่ยงั ไมแ่ ลว้ เสรจ็ เนอื่ งจากโรงเรียนตน้ ทางปิดเรียนตาม
ประกาศของรัฐบาล มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงอยู่ระหว่างประสานงานกับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.) เพ่อื จัดทาํ เทปการเรยี นการสอนให้ทนั ใชง้ านก่อนเปิดภาคการศึกษาใหม่

๒๐

3. แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรบั ครูและผู้ปกครอง
3.1 ช่วงเวลาปรบั พื้นฐานเพ่ือประเมนิ การเข้าถงึ ระบบการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ระหวา่ งวันท่ี 18 - 31 พฤษภาคม 2563

กรณสี าหรบั นกั เรยี นทสี่ ามารถเรยี นที่บา้ นได้ (Learn from home) กรณสี าหรับนักเรยี นท่ีไม่สามารถเรียนทบ่ี า้ นได้ ทงั้ 7 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผ้ปู กครอง แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง

1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือ 1) รับการตรวจเยยี่ มบ้านจากครู 1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) รบั การตรวจเย่ยี มบ้านจากครู

นกั เรียนและระบบจดั เก็บข้อมลู นกั เรียน 2) สนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ นกั เรียนและระบบจดั เก็บข้อมลู นักเรยี น 2) สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้

รายบุคคล (Data Management Center) ทบ่ี ้านตามศักยภาพและบรบิ ท รายบุคคล (Data Management Center) ทบ่ี า้ นตามศักยภาพและบรบิ ท

2) ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครัว 2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครัว

3) ดาวน์โหลด ศึกษาแผนการสอน เตรียม 3) กระตนุ้ นักเรยี นเตรยี มชอ่ งทาง 3) ดาวน์โหลด ศึกษาแผนการสอน เตรียม 3) กระตุ้นนักเรยี นในการเรียน

เอกสารการเรียนรู้ ใบงานตา่ ง ๆ สาํ หรับ ในการเรยี นทีบ่ ้าน(Learnfrom เอกสารการเรียนรู้ ใบงานต่าง ๆ สําหรับ ทําการบา้ นหรือใบงานตามที่

นกั เรียน และศึกษาการเรยี นการสอน home)เอกสารการเรยี นรู้ นักเรียน และศึกษาการเรียนการสอน ครนู ดั หมาย

ล่วงหน้าในเวบ็ ไซต์ของ DLTV ใบงานต่างๆทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ลว่ งหน้าในเวบ็ ไซตข์ อง DLTV 4) เข้าร่วมช่องทางการส่ือสารกับ

(www.dltv.ac.th) ของนักเรยี น และรายงานตวั (www.dltv.ac.th) เพื่อวางแผนการเรียนรู้ ครู เชน่ โทรศัพท์ ไลน์ (Line)

4) ศึกษาช่องทางในการเรยี นท่บี ้าน กอ่ นเรยี นกบั ครู ผา่ นชอ่ งทาง ทีเ่ หมาะสม สําหรบั นกั เรยี นท่ีเรยี นท่บี ้าน เฟซบคุ๊ (Facebook) หรือ

(Learn from home) และวิธกี ารใชง้ าน การส่ือสารตามนดั หมาย 4) สํารวจขอ้ มลู นกั เรยี นรายบุคล ตาม ชอ่ งทางอ่ืน ๆ ตามนัดหมาย

5) สํารวจข้อมลู นกั เรยี นเพอ่ื เตรียม 4) เข้าร่วมช่องทางการส่ือสารกบั ระดับความสามารถในการเรียนทบี่ ้าน 6) รับ–ส่งแฟม้ งานนักเรียน ตามท่ีครู

ความพร้อม และช่วยเหลือในการจัด ครู เช่น โทรศัพท์ ไลน์ (Line) และผปู้ กครองท่ีมศี ักยภาพสามารถช่วย นดั หมาย

การเรยี นการสอนทางไกล เฟซบุ๊ค (Facebook) หรอื ช่องทาง จดั การเรยี นการสอนได้ 7) รว่ มมือกบั ครูหาแนวทางแกไ้ ข

6) เยย่ี มบ้านนกั เรยี น ให้ครบทุกคนให้ อ่ืน ๆ ตามนดั หมาย 5) เตรยี มแผนการสอน เอกสารการเรยี น การจัดการเรียนรู้ของนักเรยี น

คําแนะนําผ้ปู กครองถึงแนวทาง 6) รบั –สง่ แฟ้มงานนักเรียน ตามท่คี รู มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และใบงานต่าง ๆ

การปฏิบตั กิ ารจดั การเรยี นการสอน นดั หมาย เพื่อวางแผนการจดั การเรียนการสอน

ทางไกล ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และ 7) ร่วมมือกับครหู าแนวทางแก้ไข นกั เรียนเปน็ รายบุคคล

รับ-สง่ เอกสารการเรยี นสําหรับนักเรยี น การจัดการเรยี นรู้ของนักเรียน

๒๑

กรณีสาหรับนักเรียนที่สามารถเรยี นทบ่ี ้านได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรยี นที่ไมส่ ามารถเรียนท่ีบ้านได้ ทง้ั 7 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั สิ าหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผ้ปู กครอง

7) สร้างความเข้าใจกบั ผู้ปกครองถึงเหตผุ ล 6) เย่ยี มบา้ นนกั เรียน ให้ครบทกุ คน

ท่ตี อ้ งปรับพ้นื ฐาน New Normal ให้คาํ แนะนาํ ผูป้ กครองถึงแนวทาง

และความสําคัญของการร่วมมือระหวา่ ง การปฏบิ ตั ิการจดั การเรยี นการสอน

ครูและผู้ปกครอง พรอ้ มทงั้ อธิบายถงึ สร้างความเข้าใจกบั ผูป้ กครองนกั เรียน

เอกสารจดั การเรียนรู้ และวางแผนรว่ มกนั ถึงเหตผุ ล และความสาํ คญั ของความร่วมมอื

ในการจัดการเรียนรู้สําหรบั นกั เรยี นท่บี ้าน ระหวา่ งครูและผ้ปู กครอง

8) สําหรบั ผู้ปกครองท่สี ามารถช่วย ในการจัดการเรยี นการสอนสาํ หรับนกั เรยี น

จดั การเรยี นการสอนได้ ให้วางแผน และรบั -สง่ เอกสารการเรยี นสาํ หรับ

รว่ มกับผูป้ กครองจัดการเรยี นรสู้ าํ หรบั นักเรยี น

นกั เรยี น 7) สาํ หรบั ผู้ปกครองทสี่ ามารถช่วยจัด

การเรยี นการสอนได้ ใหว้ างแผนรว่ มกบั

ผ้ปู กครองจัดการเรียนร้สู ําหรับนักเรยี น

หมายเหตุ : การทวนสอบข้อมูลนักเรียนและครอบครัว จะช่วยให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนใน ช่วงเวลาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน
ทั้งนีก้ ระทรวงศึกษาธิการอยรู่ ะหว่างพจิ ารณากาํ หนดมาตรการอนื่ ท่ีจะช่วยครใู นการทวนสอบข้อมูลดังกล่าวอกี ทางหน่งึ ดว้ ย
อน่ึง ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษามีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสูง ครูผู้สอนควรออกแบบข้อสอบท่ีป้องกันการลอกเลียนจาก อินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้เรียนได้
เรียนรดู้ ว้ ยตนเองอย่างแทจ้ รงิ

๒๒

3.2 การจดั การเรียนการสอนทางไกลเพอ่ื ประเมินความเข้าใจในการเรียนตามมาตรการทส่ี ว่ นกลางจดั ให้ ระหวา่ งวันท่ี 1 – 30 มิถนุ ายน 2563

กรณีสาหรับนักเรยี นทส่ี ามารถเรยี นทีบ่ า้ นได้ (Learn from home) กรณสี าหรบั นักเรียนทไ่ี ม่สามารถเรียนท่ีบา้ นได้ ทงั้ 7 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผปู้ กครอง แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบตั สิ าหรับผู้ปกครอง

1) ศึกษาแผนการสอน ใบงานต่าง ๆ และเตรียม 1) สนบั สนนุ นักเรียนในการเรียน 1) ศึกษาแผนการสอน ใบงานต่าง ๆ และเตรียม 1) สนับสนุนนักเรียนในการเรียน

เอกสารสาํ หรับนักเรยี น และศึกษาการ ผา่ นช่องทางการเรยี นทางไกล เอกสารสาํ หรับนักเรยี น และศกึ ษา ตามศกั ยภาพและบริบท

เรียนการสอนลว่ งหนา้ ในเว็บไซตข์ อง ต่าง ๆ ตามศักยภาพและบริบท การเรียนการสอนล่วงหนา้ ในเว็บไซต์ ของครอบครัว

DLTV (www.dltv.ac.th) ของครอบครัว ของ DLTV (www.dltv.ac.th) เพื่อวางแผน 2) กรณีทผ่ี ้ปู กครองมคี วามสามารถ

2) จัดทําและจัดส่งเอกสารการจัดการเรียนรู้ 2) กรณีทผี่ ปู้ กครองมีความสามารถ การจดั การเรียนร้ใู หก้ ับนกั เรยี น ช่วยจัดการเรียนการสอนได้

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สําหรับนกั เรียน ช่วยจดั การเรียนการสอน 2) จัดทาํ และจัดส่งเอกสารการจัด ให้ผูป้ กครองวางแผนการเรียนรู้

3) ออกเยี่ยมบ้านนักเรยี น เพื่อพูดคุย ทางไกลได้ ให้ผปู้ กครองวางแผน การเรียนรู้ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ร่วมกบั ครู

ใหค้ าํ ปรึกษาผู้ปกครอง และรับ-ส่ง การเรยี นรู้ ร่วมกบั ครู สาํ หรับนักเรยี น 4) ตรวจสอบ ตดิ ตามการเรียนรู้

เอกสารการจัดการเรยี นรู้ ใบงาน อนื่ ๆ 3) ตรวจสอบ ติดตามการเรยี นรู้ 3) ออกเย่ยี มบ้านนักเรยี น สร้างความเขา้ ใจ ของนักเรียน และรับ-ส่งแฟ้ม

อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั ของนักเรยี น และรบั -ส่งแฟ้ม และขอความรว่ มมือกับผปู้ กครอง งานนักเรียน ตามการนัดหมาย

4) วิเคราะห์ผลการจัดการเรียนการสอน งานนักเรยี น ตามการนดั หมาย ในการจัดการเรยี นรู้ และรบั -สง่ เอกสาร 4) รว่ มกบั ครปู ระเมินผลการเรียน

ทางไกล ผลจากการเยีย่ มบ้านและปัญหา 4) ร่วมกบั ครปู ระเมนิ ผลการเรยี น การจดั การเรยี นรู้ ใบงาน อื่น ๆ ของนักเรียน

ต่าง ๆ เพื่อนาํ มาทบทวน ปรบั ปรงุ แก้ไข ของนักเรยี น อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครั้ง 5) รว่ มมือกบั ครหู าแนวทางแก้ไข

ตามบริบทของนักเรียนรายบุคคล 5) รว่ มมือกบั ครูหาแนวทางแก้ไข 4) วิเคราะห์ผลการจัดการเรียนการสอน การจดั การเรียนรู้ของนักเรียน

5) ออกแบบการวดั และประเมินผลการเรียน การจัดการเรียนรู้ของนักเรียน ทางไกล ผลจากการเย่ียมบ้านและ

และรว่ มกับผ้ปู กครองประเมินผลการ ปญั หาตา่ ง ๆ เพื่อนาํ มาทบทวน ปรับปรุง

เรียนตามบริบทนักเรยี นรายบุคคล แก้ไขตามบรบิ ทของนักเรยี นรายบุคคล

6) รว่ มมอื กบั ผปู้ กครอง หาแนวทางแกไ้ ข 5) ออกแบบการวัดและประเมนิ ผล

การจดั การเรียนรู้ของนักเรียน การเรยี นและรว่ มกับผู้ปกครอง

ประเมนิ ผลการเรยี นตามบริบทนกั เรียน

รายบุคคล

6) รว่ มมือกับผ้ปู กครอง หาแนวทางแก้ไข

การจัดการเรียนรู้ของนักเรยี น

๒๓

3.3 กรณีจดั การเรยี นการสอนทโ่ี รงเรียนได้
กรณีที่ได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ในจังหวัด ในการจัดการเรียนการสอน

แบบปกตเิ รียนท่ีโรงเรียนโดยให้ปฏิบตั ิตามมาตรการและแนวทางการดําเนินงานเพื่อการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน และควบคมุ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดงั นัน้ หากมจี าํ นวนนกั เรียน
นอ้ ยและมพี น้ื ทเ่ี พยี งพอ กจ็ ดั การเรียนการสอนตามปกตไิ ด้

หากจํานวนนักเรียนมาก พื้นท่ีไม่เพียงพอสาหรับการเรียนแบบ Social distancing / New Normal ก็ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่าง
การเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) และการเรียนผ่านออนไลน์ (ONLINE) ให้นักเรียนสลับกันมาเรียน สลับกันมาสอบที่โรงเรียนได้ โดยครูต้อง
คาํ นงึ ถึงการจัดทาํ ขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel examination) เพอื่ ความเปน็ ธรรมของผเู้ ขา้ สอบ

กรณีสาหรับนักเรียนที่สามารถเรียนทีบ่ ้านได้ (Learn from home) นักเรียนที่ไมส่ ามารถเรียนท่ีบ้านได้ ทั้ง 7 ชอ่ งทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผ้ปู กครอง แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผ้ปู กครอง

1) ทบทวนข้อมลู จากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1) รับการตรวจเยี่ยมบ้านจากครู 1) ทบทวนข้อมลู จากระบบดแู ลชว่ ยเหลือ 1) รับการตรวจเยี่ยมบา้ นจากครู

นกั เรียนและระบบจดั เก็บข้อมลู นกั เรียน 2) สนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ นกั เรียนและระบบจัดเก็บข้อมลู นักเรียน 2) สนับสนุนการจดั การเรียนรู้

รายบคุ คล (Data Management Center) ท่ีบา้ นตามศักยภาพและบรบิ ท รายบคุ คล (Data Management Center) ทบี่ ้านตามศักยภาพและบริบท

2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ของครอบครวั 2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล ของครอบครัว

3) ดาวนโ์ หลด ศึกษาแผนการสอน เตรยี ม 3) กระตุน้ นักเรยี นเตรียมชอ่ งทาง 3) ดาวนโ์ หลด ศึกษาแผนการสอน เตรียม 3) เขา้ รว่ มชอ่ งทางการส่ือสาร

เอกสารการเรยี นรู้ ใบงานต่าง ๆ สาํ หรับ ในการเรยี นท่บี ้าน (Learn เอกสารการเรียนรู้ ใบงานตา่ ง ๆ สาํ หรบั กับครู ตามนัดหมาย

นกั เรยี น และศึกษาการเรียนการสอน from home) เอกสารการ นกั เรียน และศึกษาการเรียนการสอน 4) กระตนุ้ นักเรยี นในการเรยี น

ล่วงหน้าในเวบ็ ไซต์ของ DLTV เรียนรู้ ใบงานต่าง ๆ ท่ใี ช้ใน ล่วงหนา้ ในเวบ็ ไซต์ของ DLTV ทาํ การบ้านหรือใบงานตามท่ี

(www.dltv.ac.th) การจดั การเรยี นรู้ ของนักเรยี น (www.dltv.ac.th) เพอ่ื วางแผนการเรยี นรู้ ท่ี ครูนดั หมาย

4) ศกึ ษาช่องทางในการเรยี นทบ่ี ้าน และรายงานตวั ก่อนเรยี นกับครู เหมาะสม สําหรบั นักเรียนท่เี รียนท่บี ้าน 5) รับ–สง่ แฟ้มงานนักเรยี น

(Learn from home) และวิธกี ารใช้งาน ผ่านชอ่ งทาง การสื่อสารตาม 4) จดั ให้นักเรยี น มาเรียนที่โรงเรียน และส่ือสารกบั ครูตามการนัดหมาย

5) สาํ รวจขอ้ มูลนักเรียนเพื่อเตรียม นดั หมาย โดยต้องปฏิบตั ิตามแบบSocial distancing 6) รว่ มกับครูประเมินผลการเรียน

ความพร้อม วางแผนการจัดการเรยี น 4) เข้าร่วมช่องทางการสื่อสารกับ กรณีท่ีนักเรยี นสลบั กันมาเรียนที่โรงเรียน ของนักเรียน

การสอนทางไกล ผา่ นช่องทางเรยี นทบ่ี ้าน ครู เชน่ โทรศัพท์ ไลน์ (Line) ครตู อ้ งวางแผนการจัดการเรียนการสอน 7) รว่ มมอื กับครหู าแนวทางแก้ไข

และแบง่ กลุม่ สลบั นกั เรียนมาเรยี นท่โี รงเรยี น เฟซบุค๊ (Facebook) หรือช่องทาง ของนักเรยี นเป็นรายบุคคล การจัดการเรยี นรู้ของนักเรยี น

อน่ื ๆ ตามนดั หมาย

๒๔

กรณีสาหรับนักเรยี นท่ีสามารถเรียนที่บา้ นได้ (Learn from home) นกั เรยี นที่ไม่สามารถเรยี นท่ีบา้ นได้ ทงั้ 7 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง

6) ออกเยย่ี มบา้ นนักเรียน เพ่ือพูดคยุ 5) ตรวจสอบ ติดตามการเรียนรู้ 5) ออกเยยี่ มบ้านนักเรยี น เพ่ือพูดคยุ

ใหค้ าํ ปรึกษาผปู้ กครอง และรับ-ส่งเอกสาร ของนักเรียน และรบั -ส่งแฟม้ ให้คาํ ปรกึ ษาผปู้ กครอง และรับ-สง่

การจดั การเรียนรู้ ใบงาน อน่ื ๆ อยา่ งน้อย งานนกั เรยี น ตามการนดั หมาย เอกสารการจัดการเรียนรู้ ใบงาน อ่นื ๆ

สัปดาห์ละ 1 ครง้ั 6) ร่วมกบั ครปู ระเมินผลการเรียน อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

7) สาํ หรบั ผู้ปกครองที่สามารถช่วยจัด ของนักเรียน 6) สาํ หรับผปู้ กครองที่สามารถช่วยจัด

การเรียนการสอนได้ ให้ครวู างแผน 7) รว่ มมือกบั ครูหาแนวทางแก้ไข การเรยี นการสอนได้ ให้ครวู างแผน

รว่ มกบั ผูป้ กครอง ในการจดั การเรียนการสอน การจดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น ร่วมกับผู้ปกครอง ในการจดั การเรียน

การสง่ งาน และการบา้ น การสอน การส่งงาน และการบา้ น

8) วิเคราะห์ผลการจัดการเรยี นการสอน 7) วเิ คราะห์ผลการจดั การเรียนรู้

ทางไกล ผลจากการเย่ียมบ้านและปญั หา ผลจากการเยยี่ มบ้านและปัญหาตา่ ง ๆ

ตา่ ง ๆ เพื่อนํามาทบทวน ปรบั ปรุงแก้ไข เพือ่ นาํ มาทบทวน ปรบั ปรงุ แกไ้ ข

ตามบริบทของนักเรียนรายบุคคล ตามบรบิ ทของนักเรียนรายบุคคล

9) ออกแบบการวัดและประเมินผลการเรยี น 8) ออกแบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น

และร่วมกบั ผู้ปกครองประเมินผล และรว่ มกับผ้ปู กครองประเมินผล

การเรียนตามบริบทนักเรยี นรายบคุ คล การเรียนตามบริบทนกั เรียนรายบคุ คล

10) ร่วมมอื กับผูป้ กครอง หาแนวทางแกไ้ ข 9) รว่ มมอื กับผปู้ กครอง หาแนวทางแกไ้ ข

การจัดการเรียนรู้ของนักเรียน การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น

๒๕

มาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายท่ีสว่ นกลางจัดให้

1. การจัดการเรยี นการสอน ใช้การเรยี นการสอนทีม่ ูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผลิตข้นึ วนั ละ 2 ชว่ั โมง 30 นาที และออกอากาศซาํ้ (rerun)
วันละ 2 รอบ วันเสาร์นํารายการวันจันทร์ วันอังคาร และวันพุธมาออกอากาศซ้ํา (rerun) วันอาทิตย์นํารายการวันพฤหัสบดี และวันศุกร์มาออกอากาศซํ้า (rerun)
การรบั ชมตอ้ งคํานึงถึงสุขภาวะของนักเรยี น และให้ถือวา่ การจดั การเรยี นการสอนทางไกลเป็นช่องทางสนับสนนุ เท่านั้น ไมส่ ามารถใช้ทดแทนการเรยี นการสอนได้
ท้ังหมด ทัง้ น้ี โรงเรียนสามารถออกแบบการเรียนการสอนเองได้ตามความเหมาะสม

2. ช่องทางการเรียนท่ีบ้าน (Learn from home) เลือกชมได้ 8 ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่

(1) ทีวดี จิ ทิ ัลช่อง 49 – 51 (2) ทีวผี า่ นดาวเทยี มระบบ KU-Band (จานทึบ) ชอ่ ง 198 – 200 (3)ทีวีผา่ นดาวเทียมระบบ C-Band(จานโปรง่ )ชอ่ ง349–351

(4) www.dltv.ac.th (DLTV 13 - 15) (5) Mobile Application : DLTV (6) Youtube : www.youtube.com

(7) การเรียนรูผ้ ่าน www.deep.go.th (DEEP : Digital Education Excellence Platform) (8) Interactive education platform

หมายเหตุ
1. มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้การสนับสนุน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ตามคําขอ) โดยงดออกอากาศ
รายการของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์เอง จํานวน 3 ช่อง ซึ่งปกติเป็นช่องรายการด้านการอาชีพ การอุดมศึกษา และการ
พัฒนาครู ตามลําดับ คือ ช่อง DLTV 13 – 15 เพื่อนําการจัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4 - 6) ที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐานจัดทําขน้ึ มาสง่ สญั ญาณแพร่ภาพออกอากาศให้แทน
2. มาตรการท่ีอยู่ระหว่างการพิจารณา คือ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความรู้ขั้นตํ่าที่สามารถยอมรับได้สําหรับรองรับการจัดก ารเรียนรู้
ในความปกติใหม่ (New Normal) กําหนดเง่ือนไขในการบริหารหลักสูตรรวมถึงการวัดและประเมินผลในสถานการณ์พิเศษ พร้อมจัดให้มีศูนย์เฉพาะกิจประจําจังหวัด
เพ่ือช่วยเหลือครูประจําการในการจดั การเรียนรภู้ ายใต้สถานการณ์โควดิ และฝึกอบรมสมรรถนะจําเป็นสําหรับครูท่ีคิดเป็นชัว่ โมงพฒั นาวชิ าชีพได้ ท้งั น้ี ภาระงาน
ครูที่เปลี่ยนไปตามบริบทสถานการณ์จะต้องไม่กระทบต่อการประเมินวิทยฐานะครู อีกท้ังยังต้องเพิ่มปัจจัยสนับสนุนการดําเนินงานให้ครูอย่างเหมาะสมด้วย
เพื่อให้ครูมีขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานเพ่ือประโยชน์สุขของนักเรียนอย่างแท้จริง ท้ังนี้ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายต่อต้านการทุจ ริตทางการศึกษา
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในสถานการณพ์ เิ ศษ เชน่ ลอกเลยี นคําตอบ/การรับจ้างทําการบา้ นออนไลน์ เปน็ ต้น ผู้ท่ดี าํ เนนิ การมีความผดิ ตามกฎหมาย

๒๖

3. แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับครูและผู้ปกครอง
3.1 ช่วงเวลาปรับพ้ืนฐานเพ่ือประเมินการเขา้ ถงึ ระบบการจดั การเรียนการสอนทางไกล ระหวา่ งวันที่ 18 - 31 พฤษภาคม 2563

กรณีสาหรับนกั เรยี นทีส่ ามารถเรียนท่ีบา้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรับนักเรียนท่ีไม่สามารถเรยี นทีบ่ ้านได้ ทัง้ 8 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผู้ปกครอง

1) ทบทวนขอ้ มูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) รับการตรวจเย่ยี มบา้ นจากครู 1) ทบทวนข้อมูลจากระบบดูแลชว่ ยเหลือ 1) รับการตรวจเยีย่ มบ้านจากครู

นักเรยี นและระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียน 2) สนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้ นักเรียนและระบบจัดเก็บข้อมูลนกั เรยี น 2) สนับสนุนการจดั การเรยี นรู้

รายบคุ คล (Data Management Center) ท่บี ้านตามศกั ยภาพและบรบิ ท รายบุคคล (Data Management Center) ท่ีบา้ นตามศักยภาพและบรบิ ท

2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครัว 2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครวั

3) ศึกษาช่องทางในการเรยี นทีบ่ ้าน 3) เตอื นนกั เรยี นเตรียมช่องทางใน 3) สํารวจข้อมลู นกั เรียนรายบุคล ตาม 3) เตือนนกั เรียนในการเรียน

(Learn from home) และวธิ กี ารใชง้ าน การเรยี นทบี่ ้าน(Learnfrom ระดบั ความสามารถในการเรยี นท่ีบ้าน ทําการบา้ นหรือใบงานตามที่

4) สํารวจข้อมลู นักเรยี นเพื่อเตรียม home)และรายงานตัวกอ่ นเรียน และผปู้ กครองที่มีศักยภาพสามารถช่วย ครูนัดหมาย

ความพร้อม และชว่ ยเหลือในการจดั กับครู ผ่านช่องทาง จดั การเรียนการสอนได้ 4) เขา้ ร่วมชอ่ งทางการสื่อสารกับ

การเรียนการสอนทางไกล การส่ือสารตามนัดหมาย 4) เตรยี มแผนการสอน เอกสารการเรยี น ครู เชน่ โทรศัพท์ ไลน์ (Line)

5) วางแผนจัดการเรียนการสอนรายวชิ า 4) เขา้ รว่ มชอ่ งทางการสื่อสารกบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย และใบงานต่าง ๆ เฟซบุค๊ (Facebook) หรอื ช่องทาง

พนื้ ฐานและรายวิชาเพ่ิมเติมตามหลกั สตู ร ครู เช่น โทรศัพท์ ไลน์ (Line) เพอ่ื วางแผนการจดั การเรยี นการสอน อื่น ๆ ตามนดั หมาย

สถานศึกษา โดยมเี อกสารประกอบ เชน่ เฟซบคุ๊ (Facebook) หรอื ช่องทาง นกั เรียนเปน็ รายบุคคล 5) รบั –สง่ แฟม้ งานนกั เรียน ตามที่

ใบความรู้ ใบงาน ส่ือ-อุปกรณ์ แบบฝกึ ให้ อื่น ๆ ตามนัดหมาย 5) เยีย่ มบา้ นนักเรยี น ให้ครบทกุ คน สร้าง ครูนัดหมาย

สามารถใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ท 6) รับ–สง่ แฟม้ งานนกั เรียน ตามทคี่ รู ความเขา้ ใจกับผู้ปกครอง ถึงแนวทาง 6) รว่ มมือกับครหู าแนวทางแก้ไข

6) วางแผนออกแบบการจัดการเรียน การ นัดหมาย การปฏบิ ัตกิ ารจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ของนักเรียน

สอนออนไลน์ เช่น DEEP (Digital 7) รว่ มมอื กับครูหาแนวทางแก้ไข ทางไกล ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 7) รว่ มกบั ครูแก้ไขปญั หาท่ีเกิดข้ึน

Education Excellence Platform) การจดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น และรับ-สง่ เอกสารการเรียนสําหรับ ในช่วงการจัดการเรยี นการสอน

ผ่านเวบ็ ไซต์ www.deep.go.th นกั เรียน อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 คร้งั

ประกอบดว้ ย แพลตฟอรม์ Google Suite

for MOE และ Microsoft Teams

๒๗

กรณสี าหรับนักเรียนท่ีสามารถเรยี นท่บี ้านได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรียนท่ีไม่สามารถเรียนที่บ้านได้ ทัง้ 8 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัตสิ าหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผ้ปู กครอง แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผปู้ กครอง

7) ระหว่างการเรียนการสอนทางไกล 6) สาํ หรบั ผ้ปู กครองทีส่ ามารถช่วย

ให้ตรวจสอบการเข้าเรียนของนกั เรยี น จัดการเรียนการสอนได้ ใหว้ างแผน

รับชมการจัดการเรยี นการสอนทางไกล รว่ มกับผู้ปกครองจัดการเรยี นรู้สาํ หรบั

พรอ้ มกบั นักเรียน ใหค้ ําปรึกษากรณี นกั เรียน

นักเรยี นไม่เขา้ ใจในเนอื้ หา สรุปผลการ

เรยี นร้รู ว่ มกนั และชีแ้ จงการเตรียม

ส่อื -อุปกรณท์ ่ใี ช้ในคร้ังต่อไป ในชอ่ งทาง

ที่นัดหมาย

7) เยย่ี มบ้านนักเรยี น ให้ครบทกุ คน สรา้ ง

ความเข้าใจกบั ผปู้ กครอง ถึงแนวทาง

การปฏบิ ตั ิการจดั การเรยี นการสอน

ทางไกล ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

และรบั -สง่ เอกสารการเรียนสําหรบั

นักเรียน อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 1 คร้ัง

8) สาํ หรับผูป้ กครองทีส่ ามารถช่วย

จัดการเรียนการสอนได้ ใหว้ างแผน

ร่วมกับผู้ปกครองจัดการเรยี นรู้สาํ หรบั

นักเรยี น

หมายเหตุ : การทวนสอบข้อมูลนักเรียนและครอบครัว จะช่วยให้ครูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนใน ช่วงเวลาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ทง้ั น้กี ระทรวงศึกษาธิการอยรู่ ะหว่างพจิ ารณากําหนดมาตรการอื่นที่จะชว่ ยครูในการทวนสอบข้อมลู ดังกลา่ วอกี ทางหนึง่ ด้วย
อน่ึง ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษามีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสูง ครูผู้สอนควรออกแบบข้อสอบที่ป้องกันการลอกเลียนจาก อินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างแท้จริง

๒๘

3.2 การจัดการเรียนการสอนทางไกลเพื่อประเมนิ ความเข้าใจในการเรียนตามมาตรการท่ีส่วนกลางจดั ให้ ระหวา่ งวนั ที่ 1 – 30 มิถุนายน 2563

กรณีสาหรับนกั เรียนท่ีสามารถเรียนท่บี ้านได้ (Learn from home) กรณีสาหรับนกั เรียนทไ่ี ม่สามารถเรียนท่บี ้านได้ ทัง้ 8 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบัติสาหรับผูป้ กครอง แนวทางปฏบิ ัติสาหรับครู แนวทางปฏิบตั ิสาหรับผปู้ กครอง

1) ศกึ ษารายวชิ าการเรยี นการสอนทางไกล 1) สนบั สนุน นกั เรยี นในการเรยี น 1) ศึกษารายวิชาการเรียนการสอนทางไกล 1) สนบั สนุน นักเรยี นในการเรียน

ในวชิ าพืน้ ฐานและวชิ าเพิม่ เตมิ ใหส้ อดคล้อง ผา่ นชอ่ งทางการเรียนตา่ ง ๆ ในวชิ าพื้นฐานและวิชาเพมิ่ เติมให้สอดคลอ้ ง ผา่ นชอ่ งทางการเรยี นต่าง ๆ

กับหลักสตู รสถานศึกษา ตามตาราง ตามศกั ยภาพและบรบิ ทของ กบั หลักสตู รสถานศึกษา ตามตาราง ตามศักยภาพและบรบิ ทของครอบครัว

ออกอากาศ รายวิชาท่ีไม่มีในตาราง ครอบครวั ออกอากาศ รายวชิ าที่ไมม่ ีในตาราง 2) กํากับ ตรวจสอบการสง่ งาน

ออกอากาศ ให้ครูออกแบบการเรยี น 2) กํากับ ตรวจสอบการสง่ งานของ ออกอากาศ ให้ครอู อกแบบการเรียน ของนักเรยี นตามที่ครูนัดหมาย

ที่เหมาะสมกบั บริบทของนักเรียน นักเรยี นตามที่ครนู ดั หมาย ท่ีเหมาะสมกับบรบิ ทของนักเรียน 3) รับการประเมินจากครูในขณะ

2) จดั ทําเอกสารใบงาน ประกอบการจัด 3) รบั การประเมินจากครใู นขณะ 2) จดั ทําเอกสารใบงาน ประกอบการจัด ตรวจเยี่ยมบ้านและรับ-ส่งแฟ้ม

การเรียนการสอนสําหรับนกั เรยี นเป็น ตรวจเยี่ยมบ้านและรบั -สง่ แฟ้ม การเรียนการสอนสาํ หรับนกั เรียนเปน็ งานนักเรียน

รายบคุ คล งานนกั เรยี น รายบุคคล 4) รว่ มกบั ครปู ระเมินผลการเรียน

3) ออกแบบการจดั การเรยี นการสอน 4) รว่ มกับครูประเมนิ ผลการเรียน 3) เยยี่ มบา้ นนักเรยี น ให้คาํ ปรึกษา ของนักเรียน

ออนไลน์ เชน่ DEEP (Digital Education ของนักเรยี น เก็บใบงานที่นกั เรียนทํามาตรวจ 5) รว่ มมอื กับครหู าแนวทางแกไ้ ข

Excellence Platform) ผา่ นเวบ็ ไซต์ 5) ร่วมมอื กบั ครหู าแนวทางแกไ้ ข อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั การจดั การเรยี นรู้ของนักเรียน

www.deep.go.th การจัดการเรยี นรู้ของนักเรยี น 4) วเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของนกั เรียน

ดว้ ย 2 แพลตฟอร์ม G Suite for MOE เพอ่ื นาํ มาทบทวน วางแผนการจดั

และ Microsoft Teams เป็นตน้ การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับ

4) เยี่ยมบา้ นนกั เรยี น ให้คําปรกึ ษา นกั เรียนรายบุคคล

เกบ็ ใบงานท่นี กั เรียนทํามาตรวจ 5) ออกแบบการวดั และประเมินผล

อยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั ตามบริบทของนกั เรยี น

5) วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของนักเรยี น 6) ร่วมมือกบั ผู้ปกครอง หาแนวทางแกไ้ ข

เพือ่ นํามาทบทวน วางแผนการจัด การจดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น

การเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับนกั เรียน

รายบุคคล

๒๙

กรณสี าหรบั นักเรยี นท่สี ามารถเรยี นท่ีบา้ นได้ (Learn from home) กรณสี าหรบั นกั เรยี นทีไ่ ม่สามารถเรยี นทบ่ี า้ นได้ ท้ัง 8 ช่องทาง

แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบตั สิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏิบตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผปู้ กครอง

6) ออกแบบการวดั และประเมินผล

ตามบริบทของนกั เรียน

7) ร่วมมือกบั ผ้ปู กครอง หาแนวทางแกไ้ ข

การจดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น

๓๐

3.3 กรณีจัดการเรยี นการสอนที่โรงเรียนได้
กรณีท่ีได้รับการอนุญาตจากศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ในจังหวัด ในการจัดการเรียนการสอน

แบบปกติเรยี นทีโ่ รงเรียนโดยให้ปฏิบตั ิตามมาตรการและแนวทางการดําเนินงานเพ่ือการเฝา้ ระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ดงั นนั้ หากมจี ํานวนนักเรียนน้อย
และมีพน้ื ที่เพยี งพอ ก็จัดการเรยี นการสอนตามปกติได้

หากจํานวนนักเรียนมาก พ้ืนท่ีไม่เพียงพอสาหรับการเรียนแบบ Social distancing / New Normal ก็ต้องจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่าง
การเรียนที่โรงเรียน (ON-SITE) การเรียนผ่านทีวี (ON-AIR) และการเรียนผ่านออนไลน์ (ONLINE) ให้นักเรียนสลับกันมาเรียน สลับกันมาสอบที่โรงเรียนได้
โดยครูต้องคํานึงถงึ การจดั ทาํ ขอ้ สอบคู่ขนาน (Parallel examination) เพือ่ ความเปน็ ธรรมของผู้เข้าสอบ

กรณสี าหรับนกั เรียนทีส่ ามารถเรยี นทีบ่ า้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นักเรยี นท่ไี มส่ ามารถเรียนท่ีบ้านได้ ทง้ั 8 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผูป้ กครอง แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผ้ปู กครอง

1) ทบทวนขอ้ มูลจากระบบดแู ลช่วยเหลอื 1) รับการตรวจเยย่ี มบ้านจากครู 1) ทบทวนขอ้ มลู จากระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 1) รับการตรวจเยย่ี มบ้านจากครู

นกั เรยี นและระบบจัดเก็บข้อมลู นกั เรียน 2) สนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ นกั เรียนและระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียน 2) สนับสนนุ การจัดการเรียนรู้

รายบุคคล (Data Management Center) ทบ่ี า้ นตามศักยภาพและบริบท รายบคุ คล (Data Management Center) ทบ่ี า้ นตามศกั ยภาพและบรบิ ท

2) ศึกษาแนวทางการจดั การเรียนการสอนทางไกล ของครอบครัว 2) ศกึ ษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ของครอบครวั

3) ศึกษาช่องทางในการเรียนทบ่ี ้าน 3) เตอื นนักเรยี นเตรยี มชอ่ งทางใน 3) สํารวจข้อมูลนักเรียนเพ่อื เตรียม 3) เขา้ รว่ มช่องทางการส่ือสาร

(Learn from home) และวิธีการใชง้ าน การเรียนทีบ่ ้าน(Learnfromhome) ความพร้อม วางแผนการจดั การเรยี นรู้ กับครู ตามนัดหมาย

4) สาํ รวจข้อมลู นกั เรยี นเพื่อเตรียม และรายงานตวั ก่อนเรยี นกับครู ท่บี า้ น และแบ่งกลุ่มสลบั นกั เรยี นมา 4) เตือนนักเรียนในการเรยี น

ความพร้อม วางแผนการจัดการเรยี น ผ่านช่องทาง เรยี นท่ีโรงเรียน ทําการบ้านหรือใบงานตามท่ี

การสอนทางไกล ผ่านช่องทางเรียนที่บา้ น การส่ือสารตามนดั หมาย 4) จดั ให้นักเรยี น มาเรยี นทโ่ี รงเรียน ครูนัดหมาย

และแบง่ กลุม่ สลบั นักเรยี นมาเรยี นทโ่ี รงเรยี น 4) เขา้ ร่วมช่องทางการส่ือสารกบั ครู โดยตอ้ งปฏิบัตติ ามแบบ Social distancing 5) รบั –ส่งแฟม้ งานนักเรียน

5) ศกึ ษารายวิชาการเรยี นการสอนทางไกล เช่น โทรศพั ท์ ไลน์ (Line) เฟซบุ๊ค กรณีทน่ี ักเรียนสลับกันมาเรียนที่โรงเรยี น และสอ่ื สารกบั ครูตามการนัดหมาย

ในวิชาพื้นฐานและวิชาเพิ่มเตมิ ให้สอดคล้อง (Facebook) หรือช่องทางอนื่ ๆ ครูต้องวางแผนการจดั การเรียนการสอน 6) รว่ มกบั ครปู ระเมนิ ผลการเรียน

กับหลักสูตรสถานศึกษา ตามตาราง ตามนัดหมาย ของนักเรียนเปน็ รายบุคคล ของนักเรียน

ออกอากาศ รายวชิ าท่ีไมม่ ีในตาราง 5) ตรวจสอบ ติดตามการเรยี นรู้ 5) ออกเยี่ยมบา้ นนักเรยี น เพื่อพูดคุย 7) ร่วมมือกบั ครหู าแนวทางแก้ไข

ออกอากาศ ให้ครูออกแบบการเรยี น ของนักเรียน และรบั -สง่ แฟม้ ให้คาํ ปรกึ ษาผู้ปกครอง และรับ-สง่ การจัดการเรยี นรู้ของนักเรยี น

ทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทของนักเรียน งานนักเรียน ตามการนัดหมาย เอกสารการจัดการเรยี นรู้ ใบงาน อืน่ ๆ

อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั

๓๑

กรณสี าหรบั นักเรยี นท่ีสามารถเรยี นทบี่ า้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นกั เรยี นทีไ่ ม่สามารถเรยี นทบี่ ้านได้ ทงั้ 8 ช่องทาง

แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับผูป้ กครอง แนวทางปฏิบัติสาหรับครู แนวทางปฏบิ ัติสาหรับผู้ปกครอง

6) จัดทําเอกสารใบงาน ประกอบการจัด 6) ร่วมกบั ครปู ระเมินผลการเรียน 6) สําหรับผปู้ กครองที่สามารถช่วยจดั

การเรียนการสอนสําหรับนักเรยี น ของนักเรยี น การเรยี นการสอนได้ ให้ครวู างแผน

เปน็ รายบคุ คล 7) รว่ มมือกบั ครหู าแนวทางแกไ้ ขการ รว่ มกบั ผปู้ กครอง ในการจดั การเรยี น

7) ออกแบบการจดั การเรยี นการสอน จดั การเรยี นรู้ของนักเรยี น การสอน การส่งงาน และการบา้ น

ออนไลน์ เช่น DEEP (Digital 7) วิเคราะห์ผลการจัดการเรยี นการสอน

Education Excellence Platform) ทางไกล ผลจากการเย่ียมบ้านและ

ผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th ปัญหาตา่ ง ๆ เพื่อนาํ มาทบทวน

ดว้ ย 2 แพลตฟอร์ม G Suite for MOE ปรบั ปรงุ แก้ไขตามบรบิ ทของนักเรยี น

และ Microsoft Teams เปน็ ต้น รายบคุ คล

8) ออกเยย่ี มบ้านนักเรียน เพื่อพูดคุย 8) ออกแบบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

ให้คาํ ปรกึ ษาผปู้ กครอง และรับ-ส่ง และร่วมกบั ผ้ปู กครองประเมินผล

เอกสารการจัดการเรียนรู้ ใบงาน อ่นื ๆ การเรยี นรู้ตามบริบทนักเรียนรายบุคคล

อยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 คร้ัง 9) ร่วมมอื กบั ผูป้ กครอง หาแนวทางแกไ้ ข

9) สาํ หรับผู้ปกครองที่สามารถช่วยจดั การจดั การเรียนรู้ของนักเรียน

การเรยี นการสอนได้ ให้ครูวางแผน

รว่ มกบั ผู้ปกครอง ในการจัดการเรยี น

การสอน การสง่ งาน และการบา้ น

10) วเิ คราะหผ์ ลการจดั การเรียนการสอน

ทางไกล ผลจากการเย่ียมบ้าน

และปัญหาตา่ ง ๆ เพื่อนํามาทบทวน

ปรบั ปรงุ แก้ไขตามบริบทของนกั เรยี น

รายบคุ คล

๓๒

กรณสี าหรับนักเรียนที่สามารถเรยี นท่ีบา้ นได้ (Learn from home) กรณีสาหรบั นักเรยี นทไ่ี ม่สามารถเรียนทบ่ี ้านได้ ทง้ั 8 ช่องทาง

แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผู้ปกครอง แนวทางปฏบิ ตั สิ าหรับครู แนวทางปฏิบัตสิ าหรับผู้ปกครอง

11) ออกแบบการวดั และประเมินผล

การเรยี นรู้และรว่ มกบั ผู้ปกครอง

ประเมินผลการเรียนรู้ตามบรบิ ท

ของนักเรียนรายบุคคล

12) ร่วมมอื กับผูป้ กครอง หาแนวทางแก้ไข

การจดั การเรียนรู้ของนักเรยี น

“...แมจ้ ะมเี ทคโนโลยีชนั้ สูง...แต่วา่ ท่จี ะอบรมโดยใช้ส่ือทีก่ ้าวหนา้ ท่ีมเี ทคโนโลยีสูงนย่ี ากที่สดุ
ท่ีจะอบรมบม่ นสิ ยั ด้วยเคร่ืองเหลา่ นี้ ฉะนน้ั ไม่มีอะไรแทนคนสอนคน ...การทีม่ ีความก้าวหน้า

เปล่ยี นแปลงในประเทศในสังคมไทย ก็ไม่ไดห้ มายความว่า จะเปล่ยี นแปลงในทางดี
นอกจากต้องหาวธิ ีใหม้ กี ารถ่ายทอดโดยใชต้ ำรา หรือใช้หลักสตู รทเ่ี หมาะสม ทท่ี ำใหค้ นเปน็ คน...”

พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทพ่ี ระราชทานแก่บคุ คลต่างๆ ที่เขา้ เฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสติ เมื่อวันพุธที่ 4 ธนั วาคม 2539


Click to View FlipBook Version