WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร
WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร สารบัญ สารสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ก ท าเนียบบุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ข บทสรุปผู้บริหาร ช ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ 2 1.2 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลังของหน่วยงาน 3 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 8 ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ 14 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 15 2.2 ผลการด าเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (ถ้ามี) 97 2.3 ผลการด าเนินงาน/โครงการตามนโยบายส าคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่ 99 ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 119 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน 120 3.2 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 126 3.3 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ 128 3.4 รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ (ถ้ามี) 139 ส่วนที่ 4 รายงานทางการเงิน 147 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน 148 4.2 งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน 149 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 151 ส่วนที่ 5 ภาคผนวกและ/หรือบรรณานุกรม 156
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ก WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร สารสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรีเป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคประจ าจังหวัดกาญจนบุรี สังกัดกรมส่งเสริม สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหน้าที่ส าคัญ การก ากับดูแล แนะน า ส่งเสริม รวมทั้งสนับสนุนการสร้างความ เข้มแข็งให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรี เพื่อให้เป็นองค์กรที่สามารถน าหลักการ แนวคิด วิธีการ อุดมการณ์ของสหกรณ์ ไปใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา ขับเคลื่อนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาความ ยากจน ลดความเหลื่อมล้ าของสังคมภายในชุมชน สร้างความกินดี มีรายได้ อยู่ดี มีสันติสุข ให้กับประชาชนในชุมชนอย่าง ยั่งยืน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รัฐบาลเห็นความส าคัญของการสหกรณ์โดยใช้สหกรณ์เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบาย ส าคัญของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ เช่น ปัญหาการขาดแคลนที่ดินท ากิน ปัญหาการเข้าถึงแหล่งทุนในการ ประกอบอาชีพและปัญหาราคาผลผลิตตกต่ าในรอบปีที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน จังหวัดกาญจนบุรีมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพรวมทั้งกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในกระบวนการเลิกตามกฎหมายรวม 135 แห่ง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี มีอัตราก าลัง ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการและลูกจ้างเหมา บริการ รวม 65 คน มีแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจ าปี2566 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ20 ปีด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน และด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บทด้านการเกษตร ด้านพลังทาง สังคมและด้านเศรษฐกิจฐานรากจ านวน 12,345,632.27 บาท การปฏิบัติงานของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรีในรอบปีที่ผ่านมาผลการปฏิบัติงานโดยรวมประสบ ความส าเร็จอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ จนสามารถแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์หรือผลลัพธ์สุดท้าย ที่เกิดขึ้นจากการใช้จ่าย งบประมาณประจ าปีครอบคลุมทุกมิติ ทั้งมิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ (Run the Business) ความส าเร็จในการปฏิบัติ ราชการและการรายงานผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติงานประจ าปีของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี มิติด้าน คุณภาพการให้บริการ (Serve the Customer) ความพึงพอใจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้รับบริการ มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ (Manage Resources) ความส าเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายงบด าเนินงานของส านักงาน สหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี มิติด้านการพัฒนาองค์กร (Capacity Building) ความส าเร็จในการด าเนินงานเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กรของส านักงาน สหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลจากรายงานผลการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของส านักงานสหกรณ์ จังหวัดกาญจนบุรี จะเป็นประโยชน์ส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจและต้องขอขอบคุณบุคลากรส านักงานสหกรณ์ จังหวัดกาญจนบุรี บุคลากรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหน่วยงานราชการและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ให้ความ ช่วยเหลือ สนับสนุน ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ขับเคลื่อนด าเนินงานในด้านต่าง ๆ จนประสบความส าเร็จส่งผลให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรภายในจังหวัดกาญจนบุรีเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็งมั่นคงอย่างยั่งยืน “WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของ เกษตรกร” (นายพิชัย ปานแก้ว) สหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี 30 กันยายน 2566
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ข WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ท าเนียบบุคลากรของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ นายนิติธร พุทธรรมมโน นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวน าอ้อย นิลวงค์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายรัชพล วิทยประพัฒน์ นางสาวภุมรินทร์ ดอกมะขาม นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวอุมาพร พูลสวัสดิ์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางโศรดา บุญจีน นักวิชาการสหกรณ์ นายพิชัย ปานแก้ว สหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี นายจักษุ์ชนก ภิรมย์ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ค WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร นางกอบแก้ว วงษ์คงค า นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวปาณิสรา บุญศิริชัย นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ -ว่างนิติกรปฏิบัติการ นายโกวิท แสงกระจ่าง นิติกร นางสาววลัยพรรณ ภุมรินทร์ นักวิชาการสหกรณ์ นายจิรวัฒน์ กุลภัทรนันท์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการพิเศษ สิบตรีอุกฤษณ์ ขาวสะอาด นายช่างโยธาช านาญงาน นางสาวพรรณวดี จันทร์เอี่ยม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวจันทร์นภา ละเอียด นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวจตุพร โอสถหงษ์ นักวิชาการสหกรณ์
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ง WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร นางสาวธนาวรรณ พิสิษฐ์กุล นักจัดการงานทั่วไป ช านาญการ นางสาวรุจิเรขา ประชุมเวช นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นายปิยะวัฒน์ มุกต์ปภาพิชญ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นายบุญเหลือ เหม่งเวหา เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน นางสาวภัทราพร สมรภูมิ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางกนกวรรณ สาระศาริน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี นายคมชาติ บุพศิริ เจ้าพนักงานธุรการ นายนิรันด์ โพธิศรี พนักงานขับรถยนต์ นายวิทยา นาจ าปา พนักงานขับรถยนต์ นางจิตรา ภิรมย์ พนักงานพิมพ์ดีดชั น 3 นางบุหงา อารีย์ชน พนักงานพิมพ์ดีดชั น 3 นายสุดยอด เฉียมวิเชียร คนงาน นาบุญมา ฉ่ าชื่น ธุรการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | จ WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร นายวรพจน์ วิเศษสิงห์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวนภัทร ทนยิ ม นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวพรจิตรา จันทร์แฝก นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวสุธิดา โกฐเชียง นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นายนพดล พงษ์พิมาย เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน อาวุโส นายณรงค์ชัย พ่วงคง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน อาวุโส นางสาวน าฝน อร่ามเรือง นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาววรารัตน์ วิบูลย์พันธ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางวรรณดี โพธิ์ศรี นักวิชาการสหกรณ์ นางพัชรินทร์ สมรภูมิ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวทยิดา วงศาโรจน์ เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ฉ WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร นางสาวนิรมล ดวงทาแสง เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวฐาปณีย์ เจริญหิรัญสกุลนักวิชาการ สหกรณ์ช านาญการ นางสาวปริณดา กาลพัฒน์ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นางสาวพัชรินทร์ คุณธนังกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวลัดดา รัตนกุสุมภ์ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นางสาวสุนิษา สันทัด เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ นางสาวกาญจนา อ่อนสุวรรณ นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ นายกิตติ สาคร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน นางสาวศิริวรรณ ยิ มแย้ม นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ช WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร บทสรุปผู้บริหาร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน ประกอบด้วย กลุ่มจัดตั้ง และส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ สหกรณ์ ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มตรวจการสหกรณ์ นิคมสหกรณ์ทองผาภูมิ และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 – 5 บุคลากรแยกเป็นข้าราชการ 32 คน ลูกจ้างประจ า 6 คน พนักงานราชการ 13 คน ลูกจ้างเหมารายปี14 คน รวมทั้งสิ้น 65 คน จ านวนสหกรณ์ 104 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 31 แห่ง รวม 135 แห่ง กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 35 แห่ง กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 – 5 แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 รับผิดชอบสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ อ.เมืองกาญจนบุรี อ.ด่านมะขามเตี้ย 2. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 รับผิดชอบสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ อ.ท่าม่วง อ.ท่ามะกา อ.เมืองกาญจนบุรี 3. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 รับผิดชอบสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ อ.ห้วยกระเจ า อ.บ่อพลอย อ.เลาขวัญ อ.หนองปรือ อ.พนมทวน 4. กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 รับผิดชอบสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ อ.ศรีสวัสดิ์อ.ไทรโยค อ.เมืองกาญจนบุรีอ.ด่านมะขามเตี้ย 5 . กลุ่มส่งเส ริมสหก รณ์ 5 รับผิดชอบสถ าบันเกษต รก รในพื้นที่ อ.ทองผ าภูมิ อ.สังขละบุรี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ได้รับอนุมัติแผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจ าปี ที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นจ านวนเงินงบประมาณ ทั้งสิ้น 12,345,632.27 บาท ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน และด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บทที่ 3 ด้านการเกษตร ประเด็น แผนแม่บทที่ 15 พลังทางสังคม ประเด็นแผนแม่บทที่ 16 ด้านเศรษฐกิจฐานราก โดยแบ่งเป็นผลผลิตและ โครงการ ดังนี้ แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1. ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า 2. โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 3. โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4. โครงการ ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร 5. โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 6. โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง 7. โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | ซ WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 8. โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 9. โครงการ แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวระบบสหกรณ์ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 10. โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 11. ผลผลิตเครื่องมือ กลไก การบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน งานนโยบายที่ส าคัญเรื่องการก าหนดแนวทางการส่งเสริมสหกรณ์ให้ความช่วยเหลือ เกษตรกรสมาชิกที่มีปัญหาในการประกอบอาชีพทางการเกษตร (สนับสนุนวงเงินกู้จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์) เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 31,770,000 บาท ประกอบด้วย โครงการปกติโครงการพิเศษ เช่น โครงการสนับสนุน เงินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัยและอื่น ๆ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการ พัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ (ปีที่ 4) โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ โครงการสนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (โครงการพิเศษ) ให้แก่สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริและสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และโครงการสนับสนุน เงินทุนส่งเสริมอาชีพเลี้ยงสัตว์ของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2566 ผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ชั้น 1 จ านวน 21 แห่ง ชั้น 2 จ านวน 17 แห่ง ชั้น 3 จ านวน 38 แห่ง ชั้น 4 (ช าระบัญชี) จ านวน 0 แห่ง ผลการจัดระดับชั้น กลุ่มเกษตรกร ชั้น 1 จ านวน 1แห่ง ชั้น 2 จ านวน 11 แห่ง ชั้น 3 จ านวน 10 แห่ง ชั้น 4 (ช าระบัญชี) จ านวน 0 แห่ง ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการ จัดที่ดินเพื่อการครองชีพและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ทุกประเภท กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ส่งเสริม เผยแพร่และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ให้ บุคลากรสหกรณ์ และประชาชนทั่วไป
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | 1 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | 2 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ "มุ่งพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งมีภูมิคุ้มกันและทันต่อการเปลี่ยนแปลง" พันธะกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและขยายการให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของ สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 2. ขยายเครือข่ายความร่วมมือและบูรณาการร่วมกับหน่วยงานภายในประเทศและต่างประเทศเพื่อ การพัฒนาระบบสหกรณ์ 3. เร่งรัดการจัดที่ดินและส่งเสริมอาชีพในเขตนิคมสหกรณ์ 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างจิตสานึกความเป็นสหกรณ์และการมีส่วนร่วม 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านการบริหารจัดการทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในระบบสหกรณ์ 6. สนับสนุนและคุ้มครองสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการ ของสมาชิกและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้หลักการสหกรณ์สากลและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7. ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐและบุคลากรให้เอื้อต่อการส่งเสริม และพัฒนาระบบสหกรณ์ อ านาจหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพเฉพาะในส่วน ที่เกี่ยวกับนิคมสหกรณ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษาวิเคราะห์วิจัยเพื่อพัฒนาระบบสหกรณ์ 3. ส่งเสริมเผยแพร่และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์หลักการวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมสนับสนุนและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 5. ศึกษาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ให้คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์ แห่งชาติ 6. ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการของตลาดสินค้าสหกรณ์และสร้างเครือข่ายการเชื่อมโยงธุรกิจ ระหว่างสหกรณ์กับสหกรณ์สหกรณ์กับเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์หรือตามที่ กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
รายงานประจ าปี (Annual Report) หน้า | 3 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1.2 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลังของหน่วยงาน 1) โครงสร้างการบริหารงานของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี 2) กรอบอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี กรอบอัตราก าลัง เพศชาย เพศหญิง รวม 1) ข้าราชการ 11 21 32 2) ลูกจ้างประจ า 3 3 6 3) พนักงานราชการ 3 10 13 4) ลูกจ้างเหมารายปี 11 3 14 รวม 28 37 65 หมายเหตุ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566
WE ARE HOPE เรา คือ1.3แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรแผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก งบบุคลากร รับจัดสรร ผลการเบิกจ่แผนงาน บุคลากรภาครัฐ รายการ บุคลากรภาครัฐ 4,758,441 4,758,44แผนงาน พื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน กิจกรรมหลัก การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปรับปรุงผิวทางจราจร พร้อมตีเส้นถนน ปรับปรุงรั้วคอนกรีตส านักงาน กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรม การออกหนังสือรับรองการท าประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการ พัฒนาพื้นที่โครงการหลวง กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง โครงการ ส่งเสริมการด าเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรม ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการ แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ สหกรณ์ กิจกรรมหลัก แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ สหกรณ์ กิจกรรม แก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบ สหกรณ์
อความหวังของเกษตรกร รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบด าเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน จ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย 41 108,000 108,000 1,048,942.00 1,048,942.00 4,243,167.60 4,243,167.60 11,225 11,225 30,100 30,100 222,720 222,720 12,000.00 12,000.00 1,725,535.67 1,725,535.67 22,400.00 22,400.00 รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า 4
WE ARE HOPE เรา คือแผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก งบบุคลากร รับจัดสรร ผลการเบิกจแผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรม การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์ โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร กิจกรรม ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร โครงการ ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร กิจกรรมหลัก ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร กิจกรรม ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดับความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อรักษาและยกระดับความเข้มแข็งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลผลิตเครื่องมือ กลไก การบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน กิจกรรมหลัก พัฒนาเครื่องมือและกลไกเพื่อการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน รวมทั้งสิ้น 4,758,441.00 4,758,44
อความหวังของเกษตรกร งบด าเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน จ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย รับจัดสรร ผลการเบิกจ่าย 18,600.00 18,600.00 10,200.00 10,200.00 20,750.00 20,750.00 49,800.00 49,800.00 62,751.00 62,751.00 1,000.00 1,000.00 1.00 4,692,713.60 4,692,713.60 1,156,942.00 1,156,942.00 1,737,535.67 1,737,535.67 รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า 5
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 6 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกับข้อมูล ย้อนหลัง 2 ปี (พ.ศ. 2564 - 2565) (จ าแนกตามประเภทงบรายจ่าย) หน่วย : บาท งบรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมงบประมาณ 14,214,859.86 10,834,984.05 12,345,632.27 งบบุคลากร 3,317,520.00 3,410,693.81 3,588,000.00 งบด าเนินงาน 6,485,622.74 5,526,718.04 5,661,570.80 งบลงทุน 167,000.00 238,900.00 1,156,942.00 งบอุดหนุน 4,199,142.12 1,644,287.20 1,927,894.47 งบรายจ่ายอื่น 45,575.00 14,385.00 11,225.00
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 7 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร เงินนอกงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม ผลการด าเนินงาน เงินที่ได้รับจัดสรร+ โอนเพิ่ม (บาท) จ านวนสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร (แห่ง) ผลการเบิกจ่าย (ร้อยละ) เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ 14,000,000 3 100 โครงการพิเศษ - โครงการสนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์ที่ ประสบสาธารณภัยและอื่น ๆ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5,000,000 1 100 - โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนา อาชีพสมาชิกสหกรณ์ (ปีที่ 4) 1,450,000 1 100 - โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพ การด าเนินธุรกิจสหกรณ์ 8,620,000 7 100 - โครงการสนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์ (โครงการพิเศษ) ให้แก่สหกรณ์ใน พื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ และสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 500,000 1 100 - โครงการสนับสนุนเงินทุนส่งเสริมอาชีพ เลี้ยงสัตว์ของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2566 2,200,000 2 100 รวม 31,770,000
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 8 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 1) ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์(จ าแนกตามประเภทสหกรณ์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 1.1) จ านวนสหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ (ถ้ามี) แยกตามสถานะสหกรณ์ ที่มา ข้อมูลจากกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 1.2) จ านวนสหกรณ์(Active) และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภท จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) สหกรณ์การเกษตร 35 56,255 สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม 4 4,783 สหกรณ์ร้านค้า 3 906 สหกรณ์บริการ 14 2,278 สหกรณ์ออมทรัพย์ 18 26,698 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4 1,760 รวมทั้งสิ้น 78 92,680 ที่มา ข้อมูลจากรายงานประจ าปีของสหกรณ์(ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) ประเภท จ านวนสหกรณ์ จ านวนชุมนุมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินกา ร เลิกสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม สหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร 0 34 2 0 1 0 37 สหกรณ์ประมง 0 0 0 0 0 0 0 สหกรณ์นิคม 0 4 0 0 0 0 4 สหกรณ์ร้านค้า 0 3 0 0 0 0 3 สหกรณ์บริการ 0 14 0 0 0 0 14 สหกรณ์ออมทรัพย์ 0 18 0 0 0 0 18 สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยน 0 4 0 0 0 0 4 รวมทั้งสิ้น 0 77 2 0 1 0 80
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 9 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1.3) จ านวนสหกรณ์(Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สหกรณ์การเกษตร 0 0 15 2 0 7 1 0 4 1 1 4 สหกรณ์ประมง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สหกรณ์นิคม 0 0 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สหกรณ์ร้านค้า 0 0 0 0 0 0 1 0 2 0 0 0 สหกรณ์บริการ 0 0 0 1 2 0 0 0 3 1 2 5 สหกรณ์ออมทรัพย์ 0 0 0 0 1 1 0 0 9 3 1 4 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 2 รวมทั้งสิ้น 0 0 19 3 3 9 2 0 18 5 5 15 ที่มา ข้อมูลจากกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 1.4) จ านวนสหกรณ์(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ (เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 สหกรณ์การเกษตร 4 11 20 0 สหกรณ์ประมง 0 0 0 0 สหกรณ์นิคม 0 1 3 0 สหกรณ์ร้านค้า 1 2 0 0 สหกรณ์บริการ 1 2 9 0 สหกรณ์ออมทรัพย์ 15 1 2 0 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 0 0 4 0 รวมทั้งสิ้น 21 17 38 0 ที่มา รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กองแผนงาน
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 10 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1.5) จ านวนสหกรณ์(Active) และปริมาณธุรกิจสหกรณ์แยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ สหกรณ์การเกษตร 42 550.72 1,468.88 464.96 1,478.23 60.1 3.76 4,026.65 สหกรณ์ประมง 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 สหกรณ์นิคม 4 2.26 0.38 0.64 157.42 0.00 0.46 161.16 สหกรณ์ร้านค้า 3 0.00 0.00 74.41 0.00 0.00 0.00 74.41 สหกรณ์บริการ 14 1.01 35.92 3.86 0.00 0.00 0.75 41.54 สหกรณ์ออมทรัพย์ 18 3,604.36 10,048.84 0.00 0.00 0.00 0.00 13,653.20 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4 14.26 23.99 0.00 0.00 0.00 0.00 38.25 รวมทั้งสิ้น 81 4,172.60 11,578.01 543.86 1,635.65 60.1 4.96 17,995.2 1 ที่มา ข้อมูลจากระบบรายงานปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 1.6) จ านวนสหกรณ์(Active)และผลการด าเนินงานของสหกรณ์ (ก าไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) สหกรณ์การเกษตร 27 63,485,928.41 8 -114,545,846.61 สหกรณ์ประมง 0 0.00 0 0.00 สหกรณ์นิคม 2 -164,081.82 1 -1,104,199.44 สหกรณ์ร้านค้า 3 2,151,959.17 0 0 สหกรณ์บริการ 10 1,083,203.60 0 0 สหกรณ์ออมทรัพย์ 17 636,144,590.21 0 0 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 3 871,308.06 1 -282,747.03 รวมทั้งสิ้น 62 703,572,907.63 10 -115,932,793.08 ที่มา ข้อมูลจากงบการเงินปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์ โดยเป็นข้อมูลจากงบการเงินที่รับรองจากผู้สอบบัญชี (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566)
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 11 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 2) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มเกษตรกร (จ าแนกตามประเภทกลุ่มเกษตรกร) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 2.1) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (ถ้ามี) แยกตามสถานะกลุ่มเกษตรกร ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร Active Non-Active รวมทั้งสิ้น ยังไม่เริ่มด าเนินการ ด าเนินการ เลิกกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรท านา 0 6 0 6 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 0 3 0 3 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 0 13 0 13 รวมทั้งสิ้น 0 22 0 22 ที่มา ข้อมูลจากกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 2.2) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และจ านวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) กลุ่มเกษตรกรท านา 6 575 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 3 161 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 13 929 รวมทั้งสิ้น 22 1,665 ที่มา : ข้อมูลจากรายงานประจ าปีของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 2.3) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่มเกษตรกร ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กลุ่มเกษตรกรท านา 0 1 5 1 0 0 0 0 0 0 0 0 กลุ่มเกษตรกรท า สวน 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 0 1 6 3 0 0 0 0 0 0 0 2 รวมทั้งสิ้น 0 2 11 4 0 1 0 0 0 0 0 4 ที่มา ข้อมูลจากกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566)
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 12 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 2.4) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร (เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 กลุ่มเกษตรกรท านา 0 4 2 0 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 0 2 1 0 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 1 5 7 0 รวมทั้งสิ้น 1 11 10 0 ที่มา รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กองแผนงาน 2.5) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active)และปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกรแยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝาก เงิน ให้เงินกู้ จัดหา สินค้ามา จ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ กลุ่มเกษตรกรท านา 6 0.00 1.15 8.86 0.00 0.00 0.00 10.01 กลุ่มเกษตรกรท า สวน 3 0.00 0.95 0.00 3.51 0.00 0.00 4.46 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 13 0.45 13.36 6.06 0.00 0.00 0.03 19.90 รวมทั้งสิ้น 22 0.45 15.46 14.92 3.51 0.00 0.03 34.37 ที่มา ข้อมูลจากระบบรายงานปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 2.6) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active)และผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร (ก าไรสุทธิ/ ขาดทุนสุทธิ) ประเภท ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนกลุ่ม เกษตรกร(แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จ านวนกลุ่ม เกษตรกร(แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) กลุ่มเกษตรกรท านา 5 354,808.05 0 0 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 3 126,899.59 0 0 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 12 593,059.56 0 0 รวมทั้งสิ้น 20 1,074,767.2 0 0
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 13 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ที่มา ข้อมูลจากงบการเงินปีบัญชีล่าสุดของกลุ่มเกษตรกร โดยเป็นข้อมูลจากงบการเงินที่รับรองจากผู้สอบบัญชี (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566) 3) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์(จ าแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 3.1) จ านวนกลุ่มอาชีพแยกตามสถานะกลุ่มอาชีพ ประเภท Active Non-Active รวมทั้งสิ้น ด าเนินธุรกิจ ด าเนินธุรกิจ เป็นครั้งคราว หยุด ด าเนินการ แจ้งยกเลิก กลุ่มแล้ว แต่ยังไม่ได้ แจ้งคืนเงินเข้า คลังจังหวัด แจ้งยกเลิกกลุ่ม และคืนเงินเข้า คลังจังหวัด เรียบร้อยแล้ว ติดตามไม่ได้ อาหารแปรรูป 13 3 10 26 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 8 1 1 10 ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 5 1 5 11 เลี้ยงสัตว์ บริการ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1 1 เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 3 1 4 สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา เพาะปลูก 1 1 ปัจจัยการผลิต 1 1 2 รวมทั้งสิ้น 30 5 20 55 ที่มา ข้อมูลจากรายงานประจ าปีของกลุ่มอาชีพ (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566)
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 14 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 15 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 2.1 ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการด าเนินภารกิจพื้นฐานเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 1) งานแนะน า ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาและก ากับการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) อ าเภอเมืองกาญจนบุรี อ าเภอด่านมะขามเตี้ย 30 30,186 - - 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 80,000 80,000 100 3. ผลการด าเนินการแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 91 แห่ง 8 4 50.00 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 แห่ง - - - 3) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 28 14 50.00 4) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 81 แห่ง - - - 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1 0.94 94.35 6) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1 - - 7) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปีภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี ร้อยละ 100 แห่ง 30 13 43.33 8) ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 แห่ง 30 22 73.33 1.1) งานแนะน า ส่งเสริม สนับสนุนฯ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 16 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 9) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 63 แห่ง 13 22 169.23 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แห่ง 30 30 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน เม.ย. 65- มี.ค. 66 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี แห่ง 30 13 43.33 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน เม.ย. 65 - มี.ค. 66 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายใน 150 วัน แห่ง 30 30 100 ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะน า ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 30 30 100 2. การเข้าตรวจการสหกรณ์ แห่ง 30 30 100 ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 30 30 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ใน ระดับมาตรฐานขึ้นไป แห่ง 30 30 100 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 30 30 100 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน การแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 30 30 100 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 (อ าเภอเมืองกาญจนบุรี อ าเภอด่านมะขามเตี้ย) มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 30 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 30,186 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจ จ านวน 23,979 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 79.44 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 598.23 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 94.35 มีสหกรณ์มีผลการด าเนินงานก าไร จ านวน 22 แห่ง มีผล ขาดทุน 3 แห่ง ไม่สามารถปิดบัญชีได้ 3 แห่ง เลิกสหกรณ์ 2 แห่ง สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง 1 แห่ง สหกรณ์ได้ ฟ้องร้องด าเนินคดีตามกฎหมายแล้ว และอยู่ระหว่างการติดตามให้ผู้กระท าละเมิดต่อสหกรณ์ชดใช้ความ เสียหายที่เกิดขึ้นซึ่งยังไม่แล้วเสร็จ สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จ านวน 26 แห่ง มีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานจ านวน 14 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 46.67 มีสหกรณ์อยู่ ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 18 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 60 5. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 สหกรณ์มีปัญหาหนี้สินค้างช าระท าให้สมาชิกไม่มาร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์ และขาดการ ติดตามแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 17 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 5.2 สหกรณ์ขนาดเล็กไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ท าให้การด าเนินงานหรือการจัดกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัยกรรมการเป็นผู้ขับเคลื่อน แต่กรรมการยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการ และขาดการ เสียสละ ท าให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 5.3 สหกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีและจัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ เนื่องจากไม่มี บุคลากรผู้รับผิดชอบ 6. แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ 6.1 ควรจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างกลุ่มงานและกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ เป็นประจ าเพื่อ ติดตามปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ 6.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) สหกรณ์ที่มีปัญหาในการด าเนินงานด้านต่าง ๆ เช่น ปัญหาหนี้สินค้างนานของสมาชิกต่อสหกรณ์ ปัญหาคณะกรรมการและฝ่ายจัดการขาดองค์ความรู้ด้านการ สหกรณ์ เป็นต้น 6.3 สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบางแห่งที่มีหนี้สินค้างนาน จากสมาชิก มีแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนานของสมาชิกและเพิ่มปริมาณธุรกิจ ดังนี้ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมด้วยประธานกรรมการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ออก ประชุมกลุ่มย่อยและเยี่ยมเยียนสมาชิกในพื้นที่ตามบ้านเรือนสอบถามข้อมูลการประกอบอาชีพและรายได้และ หนี้สินครัวเรือน จัดท าแผนประชุมกลุ่มสมาชิกเพื่อสอบทานหนี้สิน การรับช าระหนี้สิน รับเงินฝาก ในพื้นที่ หรือบางรายน ามาช าระเองที่สหกรณ์ - ในรายที่ไม่ยอมติดต่อหรือให้ความร่วมมือมีการใช้บทบังคับทางกฎหมาย ใช้ ทนายความแจ้งหนังสือทวงถามหนี้สิน ยื่นโนติสก์ ฟ้องร้องด าเนินคดี เป็นต้น - การจัดตั้งกลุ่มอาชีพในสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกประกอบอาชีพเสริมมีรายได้ เพียงพอในการช าระหนี้สหกรณ์ ภาพประกอบการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 18 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) อ าเภอท่าม่วง อ าเภอท่ามะกา อ าเภอเมืองกาญจนบุรี 18 53,281 12 774 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 82,400.00 82,400.00 100.00 ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 91 แห่ง 6 6 100 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 แห่ง - - - 3) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 8 10 125 4) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 81 แห่ง 12 11 91.67 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1 3.82 382 6) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1 (37.97) (379.7) 7) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปี ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี ร้อยละ 100 แห่ง 29 18 62.10 8) ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 แห่ง 23 22 95.65 9) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 63 แห่ง 23 12 52.17 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะน า ส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 แห่ง 29 29 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน เม.ย. 65- มี.ค. 66 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี แห่ง 29 18 62.10 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน เม.ย. 65 - มี.ค. 66 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายใน 150 วัน แห่ง 29 29 100 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 19 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 3. ผลการด าเนินการแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะน า ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 17 17 100 2. การเข้าตรวจการสหกรณ์ แห่ง 17 17 100 ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 29 19 65.52 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ ในระดับมาตรฐานขึ้นไป แห่ง 12 11 91.67 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 29 29 100 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน การแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 29 29 100 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ 4.1 สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอท่าม่วง อ าเภอท่ามะกา และอ าเภอเมือง กาญจนบุรี) มีสหกรณ์ที่อยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 18 แห่ง โดยแยกเป็นสหกรณ์ภาคเกษตร จ านวน 10 แห่ง สหกณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 8 แห่ง มีสมาชิกสหกรณ์ทั้งหมด จ านวน 53,281 คน แบ่งเป็นสมาชิก สหกรณ์ภาคการเกษตร จ านวน 47,496 คน สมาชิกสหกรณ์นอกภาคการเกษตร จ านวน 5,585 คน สมาชิก สหกรณ์มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจ จ านวน 13,399 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 25.15 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 137 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.82 มีผลก าไร/ขาดทุน รวม 125,939,697.36 บาท แยกเป็น สหกรณ์มีผลการด าเนินงานก าไร จ านวน 11 แห่ง มีผลขาดทุน จ านวน 1 แห่ง งบการเงินอยู่ระหว่างการตรวจ รับรองของผู้สอบบัญชี 1 แห่ง ไม่สามารถปิดบัญชีได้ 3 แห่ง หยุดด าเนินงาน 2 แห่ง เลิกสหกรณ์ 1 แห่ง สหกรณ์มีข้อบกพร่อง 4 แห่ง มูลค่าความเสียหาย 48,381,649.29 บาท สหกรณ์ได้ฟ้องร้องด าเนินคดีตาม กฎหมายแล้ว และอยู่ระหว่างการติดตามให้ผู้กระท าผิดต่อสหกรณ์ชดใช้ความเสียหายที่เกิดขึ้นยังไม่แล้วเสร็จ สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จ านวน 9 แห่ง สหกรณ์ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานจ านวน 10 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 55.56 มีสหกรณ์อยู่ในระดับชั้นความเข้มแข็งชั้น 1 และ 2 จ านวน 10 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 55.56 4.2 กลุ่มเกษตรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อ าเภอท่าม่วง อ าเภอท่ามะกา) ที่อยู่ในความ รับผิดชอบ จ านวน 12 แห่ง โดยมีสมาชิกกลุ่มเกษตรกรทั้งหมด จ านวน 774 คน สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีส่วน ร่วมในการท าธุรกิจ จ านวน 342 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 44.19 มีปริมาณธุรกิจรวม12,809,205.42 บาท ลดลงจากปีเดิม จ านวน 7.84 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 37.97 ผลการด าเนินงานมีก าไร จ านวน 11 แห่ง รวมเป็นเงิน 674,514.50 บาท ผลขาดทุน จ านวน 1 แห่ง กลุ่มเกษตรกรไม่สามารถยกระดับความเข้มแข็งขึ้นสู่ ชั้นที่ 1 ได้ โดยมีผลการประเมินระดับความเข้มแข็งอยู่ในระดับชั้นที่ 2 จ านวน 12 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในในระดับพอใช้ขึ้นไป จ านวน 11 แห่ง และไม่มีขอบกพร่องใน การด าเนินกิจการ กลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐาน จ านวน 11 แห่ง หรือคิดเป็น ร้อยละ 91.76
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 20 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 5. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องในการทุจริต ผู้ที่กระท าผิด ไม่สามารถช าระเงินตามมูลค่าความ เสียหาย/ตามค าสั่งศาลได้ โดยส่วนใหญ่เมื่อสหกรณ์ได้ด าเนินการสืบทรัพย์แล้ว พบว่าไม่มีทรัพย์สินให้บังคับคดี หรือมีทรัพย์สินที่จะสามารถบังคับคดีเพื่อชดใช้ต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม 5.2 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีปัญหาหนี้สินค้างนาน ส่งผลกระทบต่ออัตราการมีส่วนร่วมใน การท าธุรกิจของสมาชิกเนื่องจากสมาชิกที่มีการค้างช าระหนี้กับสหกรณ์จกลุ่มเกษตรกร ขาดการติดต่อกับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และทางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขาดการติดตามผลการแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างนาน อย่างต่อเนื่อง ท าให้ใช้ระยะเวลานานในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว 5.3 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขนาดเล็กไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ท าให้การด าเนินงานของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากคณะกรรมการ แต่ทั้งนี้กรรมการบางท่านยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ ตามแนวทางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ท าให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรสู่ระดับชั้นความเข้มแข็งที่สูงขึ้น 5.4 สหกรณ์ที่ไม่สามารถปิดบัญชีได้เป็นปัจจุบันและไม่สามารถส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชี ตรวจสอบได้นั้น เนื่องจากสหกรณ์ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และไม่มีผู้รับผิดชอบในการจัดท าบัญชี สหกรณ์ ท าให้เป็นปัญหาต่อเนื่อง 6. แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ 6.1 สหกรณ์ควรด าเนินการตามกฎหมาย มีการติดตามผลการการด าเนินการตามแผนการ แก้ไขปัญหาข้อบกพร่องสหกรณ์กรณีที่มีการทุจริตอย่างต่อเนื่อง มีการด าเนินการเพื่อมิให้พ้นระยะเวลาการ บังคับคดี 6.2 แนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุการค้าวช าระหนี้ ของสมาชิก เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาได้ตามล าดับขั้นตอนที่เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล พร้อม ทั้งแนะน าส่งเสริม ให้ความรู้ สร้างกิจกรรม และธุรกิจให้สมาชิกเล็งเห็นความส าคัญ เข้ามามีส่วนร่วมกับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มากยิ่งขึ้น 6.3 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรมีการจัดอบรม ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการเพื่อ สามารถเข้าใจการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรมากยิ่งขึ้น 6.4 สหกรณ์ควรมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบหรือจัดหาบุคบากรในการปฏิบัติหน้าที่จัดท า บัญชี เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาการปิดบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน และสมารถส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจรับรอง ได้ต่อไป
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 21 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร แนะน า ส่งเสริม และให้ความรู้สหกรณ์/สมาชิกสหกรณ์ในการจัดท าแผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีสหกรณ์ พร้อมให้ข้อเสนอแนะในการด าเนินการกิจการแก่สหกรณ์
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 22 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) อ าเภอบ่อพลอย 1 64 2 225 อ าเภอห้วยกระเจา 2 220 1 59 อ าเภอเลาขวัญ 2 504 - - อ าเภอหนองปรือ 1 69 2 133 อ าเภอพนมทวน 3 2,349 1 206 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 72,000.00 62,670.00 87.41 3. ผลการด าเนินการแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 91 แห่ง 8 5 62.50 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 แห่ง 2 0 0.00 3) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 9 5 55.56 4) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 81 แห่ง 5 6 120.00 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1 1.09 109.00 6) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1 1.07 107.00 7) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดท างบการเงินและปิดบัญชีประจ าปี ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี ร้อยละ 100 แห่ง 15 12 80.00 8) ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 แห่ง 15 11 73.33 9) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สิน ของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 63 แห่ง 13 6 46.15 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะน า ส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 แห่ง 15 15 100.00 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 23 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน เม.ย. 65- มี.ค. 66 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี แห่ง 15 11 73.33 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน เม.ย. 65 - มี.ค. 66 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายใน 150 วัน แห่ง 15 14 93.33 ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะน า ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 9 7 77.78 2. การเข้าตรวจการสหกรณ์ แห่ง 9 6 66.67 ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 15 15 100.00 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ใน ระดับมาตรฐานขึ้นไป แห่ง 15 15 100.00 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 15 15 100.00 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน การแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 15 15 100.00 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ 4.1 สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อ าเภอเมืองบ่อพลอย อ าเภอห้วยกระเจา อ าเภอ เลาขวัญ อ าเภอหนองปรือ อ าเภอพนมทวน) มีสหกรณ์ที่อยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 9 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 3,206 คน แยกเป็นสมาชิกสามัญ 3,149 คน สมาชิกสมทบ 57 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการท า ธุรกิจ จ านวน 2,807 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 88.94 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 1,260,024,459.57 บาท อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1.09 มีผลก าไร/ขาดทุน รวม 31,637,419.38 บาท แยก เป็นสหกรณ์มีผลการด าเนินงานก าไร จ านวน 6 แห่ง มีสหกรณ์ไม่สามารถปิดบัญชีได้ 2 แห่ง สหกรณ์ มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จ านวน 5 แห่ง สหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จ านวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 62.50 ของเป้าหมาย และสหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ านวน 5 แห่ง หรือ คิดเป็นร้อยละ 55.56 ของเป้าหมาย 4.2 กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 (อ าเภอเมืองบ่อพลอย อ าเภอห้วยกระเจา อ าเภอเลาขวัญ อ าเภอหนองปรือ อ าเภอพนมทวน) มีกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 6 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 623 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจ จ านวน 303 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 48.56 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จ านวน 2,825,187.88 บาท อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1.07 มีผลก าไร/ขาดทุน รวม 367,892.84 บาท เป็นกลุ่มเกษตรกรมีผลการด าเนินงานก าไรทั้ง 6 แห่ง กลุ่มเกษตรกรมีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จ านวน 5 แห่ง กลุ่มเกษตรกรอยู่ใน ระดับชั้น 2 จ านวน 4 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 66.67 ของกลุ่มเกษตรกรทั้งหมด กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน จ านวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 120 ของเป้าหมาย
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 24 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 5. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปัญหาหนี้สินค้างช าระท าให้สมาชิกไม่มาร่วมท าธุรกิจกับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร คณะกรรมการขาดการติดตามแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง 5.2 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ท าให้การด าเนินงานหรือ การจัดกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัยกรรมการเป็นผู้ขับเคลื่อน แต่กรรมการยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหาร จัดการ และขาดการเสียสละ ท าให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ความเข้มแข็ง 5.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่สามารถปิดบัญชีและจัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชี ตรวจสอบได้ เนื่องจากไม่มีบุคลากรผู้รับผิดชอบ 5.4 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีสาเหตุหลักมาจากสหกรณ์ ไม่สามารถจัดท างบการเงินแล้วเสร็จและส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วน าเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ของ สหกรณ์ ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีทางบัญชีได้ และมีผลการด าเนินงานขาดทุนสะสม ผลการ ด าเนินงานในปีปัจจุบันมีก าไรแต่น ามาชดเชยผลขาดทุนทั้งหมด 6. แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ 6.1 ด าเนินการให้ความรู้ สร้างกิจกรรม และธุรกิจให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมกับสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรให้มากขึ้น 6.2 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรมีการติดตามแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างช าระอย่างจริงจังและ ก ากับติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 6.3 ด าเนินการให้ความรู้ด้านการพัฒนาบุคลากรทางด้านการด าเนินธุรกิจในรูปแบบสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ความรู้ในบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและสมาชิก ความรู้ทางด้านกฎหมายสหกรณ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ภาพประกอบการปฏิบัติงานแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์พัฒนาชนบททุ่งสมอ จ ากัด
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 25 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร การเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สหกรณ์พัฒนาชนบททุ่งสมอ จ ากัด การเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สหกรณ์ปฏิรูปที่ดินหนองปรือ จ ากัด การเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีกลุ่มเกษตรกรท าไร่สับปะรดหนองปรือ
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 26 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ภาพที่ 1 เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีกลุ่มเกษตรกรท าไร่ต าบลหนองปรือ การแนะน าส่งเสริม การจัดท ารายละเอียดบัญชี สหกรณ์ปฏิรูปที่ดินหนองปรือ จ ากัด
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 27 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) อ าเภอไทรโยค อ าเภอศรีสวัสดิ์ อ าเภอเมืองกาญจนบุรี อ าเภอด่านมะขามเตี้ย 11 2 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 53,960 3. ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อย ร้อยละ 90 แห่ง 1 0 0 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25 แห่ง - 0 0 3) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 แห่ง 9 2 22.22 4) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 แห่ง 2 1 50.00 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1 1.09 100 6) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1 1.31 100 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะน า ส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.2565 แห่ง 13 13 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค. 64 - ก.ค. 65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี แห่ง 13 8 61.53 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน มี.ค. 64 - ก.พ. 65 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายใน 150 วัน แห่ง 13 13 100 ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะน า ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 1 1 100 2. การเข้าตรวจการสหกรณ์ แห่ง 11 11 100 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 28 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 13 13 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจให้อยู่ใน ระดับมาตรฐานขึ้นไป แห่ง 13 13 100 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 13 13 100 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน การแก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 1 1 100 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินงาน สหกรณ์ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 (อ าเภอไทรโยค อ าเภอศรีสวัสดิ์ อ าเภอเมือง และอ าเภอด่าน มะขามเตี้ย) มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบ จ านวน 13 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จ านวน 2,241 คน แยกเป็นสมาชิกสามัญ 2,181 คน สมาชิกสมทบ จ านวน 60 คน มีกลุ่มสมาชิก 20 กลุ่ม โดยสมาชิก มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจ จ านวน 1,588 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 70.86 มีปริมาณธุรกิจรวมทั้ง412,956,473.58 บาท สหกรณ์มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับดี จ านวน 2 แห่ง ชั้นคุณภาพพอใช้ จ านวน 8 แห่ง ปรับปรุง จ านวน 3 แห่ง และระดับชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ ชั้น 1 จ านวน 1 แห่ง ชั้น 2 จ านวน 3 แห่ง และชั้น 3 จ านวน 1 แห่ง และระดับชั้นความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร ชั้น 3 จ านวน 2 แห่ง มีสหกรณ์ผ่าน มาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง สหกรณ์ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 7 แห่ง กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง และมีสหกรณ์ที่ยังไม่น ามาจัดมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง เนื่องจาก เป็นสหกรณ์ตั้งใหม่ 5. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 5.1 ปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีลูกหนี้ค้างช าระนาน มียอดสูง เรียกเก็บ หนี้สินได้ยาก เนื่องจากสมาชิกได้รับผลกระทบสถานการณืต่างๆ เช่น โควิดท าให้สมาชิกไม่มาร่วมท าธุรกิจกับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และขาดการติดตามการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 5.2 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีขนาดเล็กไม่มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ท าให้การด าเนินงานหรือการจัด กิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัยกรรมการเป็นผู้ขับเคลื่อน แต่กรรมการยังขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการ และขาดการเสียสละ ท าให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 5.3 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่สามารถปิดบัญชีและจัดส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ภายใน 30 วัน นับแต่สิ้นปีทางบัญชี เนื่องจากไม่มีพนักงานและบุคลากรผู้รับผิดชอบประจ า และสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรไม่มีงบประมาณในการจัดจ้างพนักงาน 6. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข 6.1 ด าเนินการให้ความรู้ สร้างกิจกรรม และธุรกิจให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มากขึ้น 6.2 แนะน าให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรช่วยเหลือสมาชิกโดยมีโครงการส่งเสริมอาชีพ โครงการลดดอกเบี้ย อื่นๆ ให้กับสมาชิก
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 29 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 6.3 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรควรมีการติดตามแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างช าระอย่างจริงจังและก ากับติดตามผล การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 6.4 คณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการฝึกอบรมความรู้ที่จ าเป็นในการบริหารจัดการการด าเนินงาน และด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อย่างสม่ าเสมอ ภาพประกอบการปฏิบัติงานแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 30 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายด าเนินงาน พื้นที่ด าเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) จ านวน (แห่ง) สมาชิก (ราย) อ าเภทองผาภูมิ อ าเภอสังขละบุรี 12 6,520 2 190 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 69,600 69,600 100 3. ผลการด าเนินการแนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 91 แห่ง 12 3 25 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 30 แห่ง 2 0 0 3) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แห่ง 12 11 91.66 4) กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 81 แห่ง 2 1 50 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 1 893,997,350.70 73.01 6) อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 1 1,870,395.77 100 7) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดท างบการเงินและปิดบัญชี ประจ าปีภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี ร้อยละ 100 แห่ง 14 12 85.71 8) ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีก าไรประจ าปี ร้อยละ 100 แห่ง 14 12 85.71 9) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อ หนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 63 แห่ง 14 14 100 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการ แนะน าส่งเสริม พัฒนาและก ากับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แห่ง 14 14 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน เม.ย. 65- มี.ค. 66 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี แห่ง 14 12 85.71 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่างเดือน แห่ง 14 14 100 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 31 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร เม.ย. 65 - มี.ค. 66 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีภายใน 150 วัน ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ด าเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะน า ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 1 1 100 2. การเข้าตรวจการสหกรณ์ แห่ง 12 12 100 ด้านการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการ สมาชิก แห่ง 14 14 100 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ ให้อยู่ในระดับมาตรฐานขึ้นไป แห่ง 14 14 100 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 14 14 100 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน การแก้ไข ข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่ง 14 14 100 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการประเมินความเข้มแข็งในปีบัญชี 2566 ทั้งหมด 12 สหกรณ์ 2 กลุ่มเกษตรกร อยู่ระดับชั้นที่ 2 จ านวน 3 สหกรณ์ และระดับชั้นที่ 3 จ านวน 9 สหกรณ์ 2 กลุ่ม เกษตรกร เนื่องจากปีนี้เป็นปีที่ใช้ระบบประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นปีแรก อาจท า ให้ข้อมูลบางส่วนอาจจะตกหล่น สหกรณ์สามารถยกระดับมาตรฐานด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก โดยสมาชิกที่ร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อย 70 จ านวน 7 แห่ง จากสหกรณ์ทั้งหมด 14 แห่ง และสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จ านวน 8 แห่ง จากทั้งหมด 14 แห่ง ระหว่างปีแนะน าส่งเสริมพร้อมทั้งร่วมให้ค าปรึกษาแก่สหกรณ์ในการก าหนดแนวทางและวิธีการแก้ไขข้อสังเกต ตามข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี ท าให้สหกรณ์สามารถแก้ไขข้อสังเกตในประเด็นต่างๆในรอบปีได้ส าเร็จลุล่วง ไปด้วยดี สหกรณ์สามารถปฏิบัติงานได้เป็นไปตามแผนงานที่ได้วางไว้ โดยผู้ตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ได้เข้า ตรวจสอบการบริหารงานของคณะกรรมการด าเนินการและเข้าตรวจสอบการน านโยบายและแผนงานของ สหกรณ์ลงสู่การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการเป็นบางครั้ง พร้อมทั้งแจ้งผลการตรวจสอบกิจการให้คณะกรรมการ ด าเนินการได้ทราบในคราวประชุมเป็นประจ าทุกครั้งที่มีการประชุม รวมถึงเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่ รับผิดชอบได้เข้าก ากับ ดูแล แนะน า/ส่งเสริม และตรวจสอบการปฏิบัติงานของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง 5. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1 สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องในการทุจริต ไม่สามารถช าระเงินได้ตามค าสั่งศาล ส่วนใหญ่ไม่มี ทรัพย์สินให้บังคับคดี 2 สหกรณ์มีปัญหาหนี้ค้างช าระท าให้สมาชิกไม่มาร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์และขาด การติดตามแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 32 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 3 คณะกรรมการขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการ และขาดการเสียสละ ท าให้เป็น อุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง ภาพประกอบการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 33 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 2) งานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ การจัดประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ โครงการประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้เข้าประชุม ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. เป้าหมาย ผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์และผู้สังเกตการณ์ จ านวน 35 คน 3. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 5,200 5,200 100 4. ผลการด าเนินการ 1. ด าเนินการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 โดยคัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ จ านวน 12 แห่ง (ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด) โดยพิจารณาให้ความส าคัญเรียงล าดับ ดังนี้ 1.1 สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต 1.2 สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน 1.3 สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 2. เป้าหมายสหกรณ์ที่จะตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ จ านวน 12 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาญจนบุรี จ ากัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์เครือยง จ ากัด 3. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารราบที่ 19 จ ากัด 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจตระเวนชายแดนที่ 13 จ ากัด 5. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 จ ากัด 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจภูธรจังหวัดกาญจนบุรีจ ากัด 7. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมะการักษ์จ ากัด 8. สหกรณ์ออมทรัพย์มณฑลทหารบกที่ 17 จ ากัด 9. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จ ากัด 10. สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยเคนเปเปอร์จ ากัด 11. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองผาภูมิจ ากัด 12. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านเขาแหลม จ ากัด 2.1) การตรวจการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 34 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร 5. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ 1. ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการตรวจการณ์สหกรณ์ 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์ทราบถึงเทคนิคและวิธีการตรวจการสหกรณ์และการรายงานผลการ ตรวจการสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ 3. ผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์เป้าหมาย จ านวน 12 แห่ง ครบทุกแห่ง ภาพประกอบประชุมซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 35 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด 1. เป้าหมายสหกรณ์ การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด จ านวน 21 แห่ง (ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ ทั้งหมด ที่มีสถานการณ์ด าเนินงาน ณ วันที่ 1 กันยายน 2565) ได้แก่ ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 1 1. นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวฐาปนีย์ เจริญหิรัญสกุล ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวน้ าอ้อย นิลวงค์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นายนิติธร พุทธรรมนโม ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางสาวปริณดา กาลพัฒน์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์การเกษตรท่าม่วง จ ากัด พ.ค. 66 / / 2. สหกรณ์ผู้ปลูกหอมหัวใหญ่กาญจนบุรี จ ากัด มี.ค. 66 / / 3. สหกรณ์การเกษตรบ้านเจ้าเณร จ ากัด มี.ค. 66 / / ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 2 1. นายรัชพล วิทยประพัฒน์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นายกิตติ สาคร ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวภุมริน ดอกมะขาม ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางสาวอุมาพร พูลสวัสดิ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางโศรดา บุญจีน ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. นางนิรมล ดวงทาแสง ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์การเกษตรพนมทวน จ ากัด ธ.ค. 65 / / 2. สหกรณ์การเกษตรเลาขวัญ จ ากัด พ.ย. 65 / / 3. สหกรณ์พัฒนาชนบททุ่งสมอ จ ากัด ธ.ค. 65 / / ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 3 1. นายจิรวัฒน์ กุลภัทรนันท์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวพัชรินทร์ คุณธนังกุล ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวศิริวรรณ ยิ้มแย้ม ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางสาวพรรณวดี จันทร์เอี่ยม ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางสาวจตุพร โอสถหงส์ ผู้ช่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 36 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.กาญจนบุรี จ ากัด ม.ค. 66 / / 2. สหกรณ์ผู้ปลูกหอมหัวใหญ่กาญจนบุรี จ ากัด ม.ค. 66 / / 3. สหกรณ์การเกษตรบ้านเจ้าเณร จ ากัด มี.ค. 66 / / ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 4 1. นายวรพจน์ วิเศษสิงห์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวนภัทร ทนยิ้ม ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวพรจิตรา จันทร์แฝก ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางสาวสุธิดา โกศเชียง ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางวรรณดี โพธิ์ศรี ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์การเกษตรด่านมะขามเตี้ย จ ากัด ธ.ค. 65 / / 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนนกขมิ้น จ ากัด ม.ค. 66 / / ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 5 1. นางกอบแก้ว วงษ์คงค า ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวปาณิสรา บุญศิริชัย ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาววลัยพรรณ ภุมรินทร์ ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นายโกวิท แสงกระจ่าง ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์บริการเพื่อประชาชนกาญจนบุรี จ ากัด ธ.ค. 65 / / 2. สหกรณ์ท่าเรือมั่นคง จ ากัด ก.พ. 66 / / 3. สหกรณ์การเกษตรโป่งสวรรค์ จ ากัด ม.ค. 66 / / 4. สหกรณ์บริการบ้านมั่นคงชุมชนร่วมพัฒนา จ ากัด มี.ค. 66 / / 5. สหกรณ์บ้านมั่นคงปากแพรก จ ากัด พ.ค. 66 / / ทีมตรวจสอบระดับจังหวัด ชุดที่ 6 1. นายนพดล พงษ์พิมาย ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นายเศกสิทธิ์ เมฆฉาย ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวน้ าฝน อร่ามเรือง ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางสาววรารัตน์ วิบูลย์พันธ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 5. นางพัชรินทร์ สมรภูมิ ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ 6. นางสาวทยิดา วงศาโรจน์ ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์โคนมท่าม่วง จ ากัด มี.ค. 66 / / 2. สหกรณ์การเกษตรสุวรรณภูมิ จ ากัด ก.พ. 66 / / 3. สหกรณ์การเกษตรท่ามะกา จ ากัด ม.ค. 66 / /
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 37 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร ทีมตรวจการ ชุดที่ 7 1. นายวรพจน์ วิเศษสิงห์ ประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 2. นางสาวลัดดา รัตนกุสุมภ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. นางสาวกาญจนา อ่อนสุวรรณ ผู้ตรวจการสหกรณ์ 4. นางสาวสุนิษา สันทัด ผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ สหกรณ์ที่ได้รับมอบหมาย แผนการเข้าตรวจ การเข้าตรวจการ การส่งรายงาน 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางพาราทองผาภูมิ จ ากัด ธ.ค. 65 / / 2. สหกรณ์นิคมทองผาภูมิ จ ากัด มี.ค. 66 / / 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 49,800 49,800 100 3. ผลการด าเนินการ การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดกาญจนบุรี เข้าตรวจสอบกิจการ และฐานะการเงินของสหกรณ์ จ านวน 21 แห่ง ครบตามเป้าหมายที่ก าหนด 4. ผลสัมฤทธิ์จากการด าเนินการ สหกรณ์เป้าหมายได้รับการตรวจสอบกิจการและฐานะการเงิน เพื่อป้องกันปัญหาการเกิด ข้อบกพร่องอันเกิดจากการด าเนินงานหรือการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ ภาพประกอบทีมตรวจการสหกรณ์
รายงานประจ าปี 2566 ( Annual Report) หน้า | 38 WE ARE HOPE เรา คือความหวังของเกษตรกร การตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 1. เป้าหมายสหกรณ์ การตรวจการสหกรณ์โดยผู้ตรวจการสหกรณ์ จ านวน 12 แห่ง แห่ง (ร้อยละ 25 ของ สหกรณ์ทั้งหมด ที่มีสถานการณ์ด าเนินงาน ณ วันที่ 1 กันยายน 2565) ได้แก่ ที่ สหกรณ์เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาญจนบุรี จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ 2. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารราบที่ 19 จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ 3. สหกรณ์ออมทรัพย์มณฑลทหารบกที่ 17 จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ 4. สหกรณ์ออมทรัพย์เครือยง จ ากัด นายนพดล พงษ์พิมาย 5. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมะการักษ์ จ ากัด นายนพดล พงษ์พิมาย 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจภูธรจังหวัดกาญจนบุรี จ ากัด นางสาวพัชรินทร์ คุณธนังกุล 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองผาภูมิ จ ากัด นางสาวลัดดา รัตนกุสุมภ์ 8. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจตระเวนชายแดนที่ 13 จ ากัด นายกิตติ สาคร 9. สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยเคนเปเปอร์ จ ากัด นายเศกสิทธิ์ เมฆฉาย 10. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 จ ากัด นางสาวนภัทร ทนยิ้ม 11. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านเขาแหลม จ ากัด นางสาวพรจิตรา จันทร์แผก 12. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จ ากัด นางสาวณฐมน นะภิใจ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ งบด าเนินงาน 14,000 14,000 100 3. ผลการด าเนินการ ที่ สหกรณ์เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ แผนการเข้า ตรวจ ผลการ เข้าตรวจ การส่ง รายงาน 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกาญจนบุรี จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ เม.ษ. 66 / / 2. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารราบที่ 19 จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ ม.ค. 66 / / 3. สหกรณ์ออมทรัพย์มณฑลทหารบกที่ 17 จ ากัด นางสาวศิรัณย์พร เสาวภายนต์ ก.พ. 66 / / 4. สหกรณ์ออมทรัพย์เครือยง จ ากัด นายนพดล พงษ์พิมาย ม.ค. 66 / / 5. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมะการักษ์ จ ากัด นายนพดล พงษ์พิมาย ม.ค. 66 / / 6. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจภูธรจังหวัดกาญจนบุรี จ ากัด นางสาวพัชรินทร์ คุณธนังกุล ม.ค. 66 / / 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนทองผาภูมิ จ ากัด นางสาวลัดดา รัตนกุสุมภ์ ธ.ค. 65 / / 8. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจตระเวนชายแดนที่ 13 จ ากัด นายกิตติ สาคร พ.ย. 65 / / 9. สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยเคนเปเปอร์ จ ากัด นายเศกสิทธิ์ เมฆฉาย พ.ย. 65 / / 10. สหกรณ์ออมทรัพย์กรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 จ ากัด นางสาวนภัทร ทนยิ้ม ม.ค. 66 / / 11. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านเขาแหลม จ ากัด นางสาวพรจิตรา จันทร์แผก ก.พ. 66 / / 12. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จ ากัด นางสาวณฐมน นะภิใจ มี.ค. 66 / /