The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitchanun.puk, 2022-03-07 22:51:36

แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569

แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569

Keywords: แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569

แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569)
Information System Plan

คณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยนครพนม

คานา

แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565-2569 ฉบับทบทวนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้จากการระดมความคิดจาก
บุคลากรภายในคณะฯ โดยแผนระบบสารสนเทศ ได้แสดงให้เห็นถึงแนวทางในการดาเนินงานด้านระบบ
สารสนเทศของคณะเกษตรและเทคโนโลยี เป็นแผนระยะยาว เพื่อใหร้ องรับกับกระแสการเปลย่ี นแปลงในทาง
เศรษฐกิจและสังคมส่งผลให้สถาบันการศึกษาต้องปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาเป็นกลไกในการดาเนินการด้านต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกับนโยบายและภารกิจของ
มหาวิทยาลยั อนั จะส่งผลให้การปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล

งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กรมีบทบาทหน้าท่ีในการดาเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
การบริหารจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย ให้สามารถตอบสนองต่อการปฏิบตั ิงานให้
บรรลุตามนโยบายและภารกิจของมหาวิทยาลัย รวมทั้งบริหารจัดการด้านฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ
คุณภาพ และเสถียรภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน จัดหาฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่เหมาะสม เพื่อเป็น
เครอ่ื งมอื สาคญั ในการดแู ลป้องกัน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมาย
ตามพันธกิจของคณะฯ อีกทั้งยังมีบทบาทในการพัฒนาบุคลากรให้มีสารสนเทศได้ตามมาตรฐาน อย่างเป็น
ระบบและต่อเนื่อง เน้นให้ทุกฝ่าย/งาน ในคณะฯ มีความสามารถในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่
ครอบคลุม ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย ดาเนินการด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความ
เหมาะสมในการใช้ปฏิบัติงานในปัจจุบัน รวมท้ังเช่ือมโยงระบบต่างๆ กับหน่วยงานอื่นทั้งภายในและภายนอก
มหาวิทยาลยั

งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ฝ่ายสื่อสารองค์กรและวิเทศสัมพันธ์ จึงได้จัดทา “แผนพัฒนา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปีประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2569” ขึ้น เพื่อให้การดาเนินงาน
บรรลุเปา้ หมายตามพนั ธกิจและวสิ ัยทัศน์ของคณะฯ จะเป็นกรอบทิศทาง และแนวทางการพัฒนา เพ่อื สามารถ
แปลงสู่แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีและมกี ารพฒั นา ไปสู่เป้าหมายทตี่ งั้ ไว้ในระยะยาวต่อไป

ฝา่ ยสื่อสารองค์กรและวเิ ทศสัมพนั ธ์
คณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั นครพนม

สารบัญ

หนา้

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569 คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม 1

บทที่ 1 บทนา 2

1.1 ประวัติความเป็นมา 2

1.2 วิสยั ทศั น์ 3

1.3 ปรัชญา 3

1.4 พันธกิจ 3

1.5 อัตลกั ษณ์ 4

1.6 เอกลักษณ์ 4

1.7 คา่ นิยม AG : SMILE 4

1.8 โครงสรา้ งการบริหารงาน 5

1.9 พันธกิจ (Mission) และนโยบายของแตล่ ะพันธกิจ 6

บทที่ 2 สภาพการณแ์ ละความทา้ ทายของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม 8

2.1 สภาพการณ์ของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม 8

2.2 ทรัพยากรบุคคล 9

2.3 หลกั สตู รและการเรยี นการสอน 11

2.4 งบประมาณคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม 11

2.5 การประกันคุณภาพการศึกษา 12

บทท่ี 3 แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) 13

3.1 ความเชอื่ มโยงแผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 13

3.2 วสิ ัยทัศน์ของแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 13

3.3 พันธกจิ ของแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 13

3.4 เป้าหมายวัตถปุ ระสงค์ของแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 14

3.5 ตวั ชีว้ ดั ของแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 14

3.6 แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม 16

3.7 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 17

ภาคผนวก 18

คาสงั่ คณะกรรมการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี 19

มหาวิทยาลยั นครพนม

แผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี มหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2565 – 2569 มหาวิทยาลัย
นครพนม ไดม้ ีการจัดประชมุ เพื่อทบทวนและหารอื แนวทางการพัฒนาร่วมระหวา่ งผู้บริหาร บุคลากร นักศกึ ษา
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภาครัฐและเอกชน และนาเสนอต่อคณะบุคคลปฏิบัติหน้าที่แทนนายกสภา
มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนม ในคราวประชมุ ท่ี 9/2564 เมอ่ื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม
พ.ศ. 2564 และคราวประชุมครั้งท่ี 11/2564 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2564 คณะบุคคลปฏิบัติหน้าที่แทน
นายกสภามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนม ได้มีมติเห็นชอบกรอบหลักของแผน
ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) โดยมอบให้มหาวิทยาลัยปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะ และเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ในความประชุมคร้ังถัดไป ซึ่งมหาวิทยาลัยนครพนม โดยกอง
นโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดาเนินการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ
คณะบุคคลปฏิบัติหน้าที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนมดังกล่าว
และเสนอตอ่ ท่ีประชุมสภามหาวทิ ยาลัยนครพนม ในคราวประชุมคร้ังที่ 2/2564 เมื่อวนั ที่ 15 ตุลาคม 2564

อนุสนธิจากมติท่ีประชุมสภามหาวิทยาลัยนครพนมคร้ังที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2564 ให้
มหาวทิ ยาลยั นครพนมทบทวนและจดั ทาแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565 - 2569 ดว้ ยการจัดสัมมนาเชิง
ปฏิบตั ิการร่วมกันระหวา่ งคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนมและฝ่ายบริหารมหาวทิ ยาลัยนครพนมโดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนา และการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยนครพนมให้สอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาและ
ยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตลอดจนบริบทท่ีเปลี่ยนไป รวมถึงการทบทวนและจัดทา
แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนมระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565 - 2569 และส่วนที่เก่ียวข้อง มหาวิทยาลัย
นครพนมโดนสานักงานสภามหาวิทยาลัยนครพนมร่วมกับกองนโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยนครพนม จึงได้จัดโครงการทบทวนและจัดทาแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2565 - 2569) ข้นึ ระหว่างวนั ท่ี 29 – 30 ตลุ าคม 2564 ณ มหาวทิ ยาลยั นครพนม

กองนโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนครพนม จึงได้นาข้อเสนอแนะจากผลการ
จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทาแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565
- 2569) มาปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) ฉบับนี้ ซึ่ง
ประกอบด้วย แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย 8 ยุทธศาสตร์ 8 เป้าประสงค์ 20 กลยุทธ์ 31 ตัวชี้วัด 84
โครงการ / กิจกรรม และคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ได้มีการประชุมเพ่ือจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569) เพ่ือให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569 )
มหาวทิ ยาลัยนครพนม ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ 8 เป้าประสงค์ 18 กลยทุ ธ์ 31 ตวั ชว้ี ัด 42 โครงการ

บทท่ี 1
บทนา

1.1 ประวัตคิ วามเป็นมา

คณะเกษตรและเทคโนโลยี ตั้งอยู่เลขที่ 103 หมู่ 3 บ้านกุดข้าวปุ้น ตาบลขามเฒ่า อาเภอเมือง

นครพนม จังหวัดนครพนม ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212(ถนนชยางกูร) สายนครพนม-ธาตุพนม

– มุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดนครพนม 14 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร 750 กิโลเมตร ได้รับการ

จัดต้งั เป็น “โรงเรียนเกษตรกรรมนครพนม” เมอื่ วันท่ี 1 พฤษภาคม 2517 ในพ้ืนที่สาธารณประโยชน์ดงคาไฮ

โคกหนองบัว มีพน้ื ทีร่ วมท้ังสิน้ 875 ไร่

ประวัติคณะผู้บรหิ าร

1 พฤษภาคม 2517 กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้พิจารณาเห็นชอบตามข้อเสนอ

ของจังหวัดนครพนม ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรรมนครพนมตาม

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

1 กันยายน 2517 นายทองมา วัชรนิภานนั ท์ วุฒิ ป.มก., วท.บ. (ศึกษาศาสตรเ์ กษตร)

ตาแหนง่ ครใู หญโ่ รงเรยี นเกษตรกรรมนครพนม

23 มถิ ุนายน 2523 นายนยิ ม จิตรแกว้ ตาแหนง่ อาจารยใ์ หญโ่ รงเรียนเกษตรกรรมนครพนม

19 กรกฎาคม 2526 นายนยิ ม จิตรแก้ว ตาแหนง่ ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครพนม

12 พฤษภาคม 2529 นายธนูทอง ทานะ รกั ษาการผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมนครพนม

30 พฤศจกิ ายน 2538 นายประจวบ วรรณพงษ์ รกั ษาการนตาแหน่งผ้อู านวยการวิทยาลยั

เกษตรกรรมนครพนม

26 กนั ยายน 2539 กระทรวงศึกษาธิการ มีประกาศเปล่ียนชื่อวิทยาลัยเกษตรกรรมนครพนม

เป็น วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม สงั กัดกองวิทยาลัย

เกษตรกรรม กรมอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

9 พฤศจิกายน 2541 นายวณิชย์ อ่วมศรี รักษาการผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

นครพนม

19 ตุลาคม 2543 นายอธิป นนทะลี ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม

ถึงวันที่ 31 มกราคม 2545

11 กุมภาพนั ธ์ 2545 ดร.สุรฉัตร สนทอง ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม

ถงึ วนั ที่ 15 ธนั วาคม 2547

16 ธันวาคม 2547 นายพนม แพนแกว้ มาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการวทิ ยาลัยเกษตรและ

เทคโนโลยนี ครพนม ถึงวันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2549

2 กนั ยายน 2548 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม ได้ถูกหลอมรวมจดั ตง้ั เป็น

มหาวิทยาลัยนครพนม ตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548

และเปลยี่ นชอื่ เป็น “วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม

มหาวิทยาลยั นครพนม”

1 มนี าคม 2549 นายสพุ จน์ เพ็งอ่า ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม

ถึงวันท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2550

3

1 ธนั วาคม 2550 นายสุพจน์ เพง็ อ่า คณบดวี ิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม
1 มีนาคม 2551 มหาวิทยาลยั นครพนม ถึงวันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2551
1 เมษายน 2553 ดร.สมเกียรติ กสิกรานันท์ คณบดีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม
1 สิงหาคม 2553 มหาวทิ ยาลัยนครพนม ถึงวนั ท่ี ถงึ 31 มีนาคม 2553
1 กรกฎาคม 2555 นายขวัญชัย พันธ์หมุด รักษาการใน ตาแหน่งคณบดีวิทยาลัยเกษตรและ
26 ธนั วาคม 2555 เทคโนโลยีนครพนม มหาวทิ ยาลยั นครพนม ถึงวนั ที่ 31 กรกฎาคม 2553
1 เมษายน 2556 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นยิ ม บุญพคิ า คณบดีวิทยาลัยเกษตรและ
1 เมษายน 2559 เทคโนโลยีนครพนม มหาวทิ ยาลัยนครพนม ถงึ 30 มถิ นุ ายน 2555
18 กนั ยายน 2560 ดร.สมเกยี รติ กสกิ รานันทน์ รกั ษาการคณบดวี ิทยาลัยเกษตรและ
19 กนั ยายน 2564 เทคโนโลยนี ครพนม มหาวิทยาลยั นครพนม ถงึ วันที่ 31 มนี าคม 2556
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม เปล่ียนชื่อเป็น
“คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม”
รองศาสตราจารย์ ดร.สุวพงษ์ สวัสดพ์ิ าณชิ ย์ คณบดคี ณะเกษตรและ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ถงึ วันที่ 31 มนี าคม 2559
นายสุรศักดิ์ ตั้งตระกลู รกั ษาการคณบดคี ณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลัยนครพนม ถึงวนั ท่ี 17 กนั ยายน 2560
นายสุรศักดิ์ ตั้งตระกูล คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
นครพนม ถึงวันที่ 18 กันยายน 2564
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอม ทาทอง คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั นครพนม ถึงปจั จบุ นั

1.2 วิสัยทัศน์ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
มุ่งสคู่ วามเปน็ เลิศเพื่อพัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารเกษตรอยา่ งยั่งยนื

1.3 ปรัชญา คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
นานวัตกรรมและเทคโนโลยเี กษตรสู่สงั คม

1.4 พันธกิจ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
1. การบริหารจัดการทีด่ ดี ้วยหลักธรรมาภบิ าล
2. จัดหลักสูตรการสอนและพัฒนากาลังคนท่ีมีความรู้ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรมภายใต้

บรบิ ทความหลากหลายทางวัฒนธรรมและสงั คมของประเทศกลุม่ อนภุ ูมภิ าคลมุ่ นา้ โขงตอนกลาง
3. การวิจยั และพฒั นานวัตกรรมและองคค์ วามรู้ที่สาคัญต่อการสร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยนื ทุกภาคสว่ น
4. ให้บริการวิชาการและเป็นผู้นาในการถ่ายทอดองค์ความรู้ในประเทศกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง

ตอนกลางเพื่อการพัฒนาอยา่ งยั่งยืน
5. ส่งเสริม ทานุบารุง และเผยแพร่ศิลปะ วฒั นธรรมที่หลากหลายเพื่อการบูรณาการ การอยู่ร่วมกัน

ในประเทศกลุ่มอนุภูมภิ าคลุม่ นา้ โขงตอนกลาง

4

1.5 อตั ลักษณ์ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม
รอบรูภ้ าษา เชี่ยวชาญเทคโนโลยี มีจติ สาธารณะ พร้อมทักษะการทางาน

1.6 เอกลักษณ์ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
คณะแหง่ การสร้างสรรคน์ วตั กรรมและเทคโนโลยที างการเกษตร

1.7 ค่านยิ ม AG : SMILE
A = Accountability ความโปร่งใส ตรวจสอบได้
G = Goals driver to growth mindset ม่งุ สู่เป้าหมายด้วยใจที่มงุ่ มน่ั
S = Social Devotion and Environment Conservation อุทิศตนเพื่อสงั คมและอนุรักษ์

สิง่ แวดล้อม
M = Management by Factual Information บรหิ ารจัดการบนฐานข้อมลู จริง
I = Innovation focus มุง่ เนน้ นวตั กรรม
L = Long Life Learning and Work Integrated Learning เรียนรู้ตลอดชีวิตและบูรณาการการ

ทางาน
E = Excellence Service for All มงุ่ สกู่ ารบริการทเ่ี ปน็ เลิศเพื่อทกุ คน

5
1.8 โครงสรา้ งการบริหาร คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม

5

6

1.9 พันธกจิ (Mission) และนโยบายของแตล่ ะพันธกจิ
พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั นครพนม พ.ศ. 2548 ไดก้ าหนดให้มหาวทิ ยาลยั เป็นสถานศกึ ษาและวจิ ัย

มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพขั้นสูง ทาการสอน ทาการวิจัย ให้บริการทางวิชาการ
แก่สังคมและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภายใต้พันธกิจ 5 ด้านประกอบด้วย (1) ด้านการบริหารจัดการองค์กร
(2) ด้านการผลิตบัณฑิต (3) ด้านการวิจัย (4) ด้านการบริการวิชาการ (5) ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
และเพือ่ เปน็ แนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นามหาวิทยาลยั จึงไดก้ าหนดนโยบายของพันธกิจแต่
ละดา้ น ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

1) พันธกิจดา้ นการบรหิ ารจัดการองคก์ ร
 เปน็ องคก์ รท่ีมรี ะบบการบริหารจัดการที่ดี
 บริหารจัดการทรัพยากรของมหาวทิ ยาลยั ให้มีการสร้างรายไดเ้ พ่อื การพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณให้

มากขึ้น และปฏิรูประบบการจัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นกลไกขับเคลื่อนการก้าวไปสู่
เปา้ หมายของมหาวิทยาลัย
 ปฏิรูประบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือให้บุคลากรมีสมรรถนะสูงและมีความผาสุกเพื่อเป็นกาลัง
สาคัญในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยไปสู่เป้าหมาย รวมทั้งใช้ศักยภาพของผู้
เกษียณอายุราชการ
 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เช่ือมโยงกันเพื่อให้สามารถจัดการข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการ
ตดั สินใจของผูบ้ รหิ ารทุกระดบั
 พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้มีทักษะในการทางานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป และ
สามารถใชผ้ ลงานในการเข้าสูต่ าแหน่งชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเชย่ี วชาญ
 พัฒนาระบบโครงสรา้ งพ้ืนฐาน รวมท้งั ภมู ิทัศน์ของมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ป็นมหาวทิ ยาลยั สีเขยี วและยง่ั ยนื

2) พนั ธกิจด้านการผลิตบัณฑิต
 พัฒนาระบบรับเข้านักศึกษาในทุกระดับเพื่อให้ได้ผู้เข้าคึกษาท่ีมีคุณภาพสูง และเพิ่มสัดส่วน

บัณฑิตศึกษาที่เน้นการผลิตบัณฑิตเพ่ือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนไปสู่มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนา
ชุมชนเชงิ พ้ืนท่ี
 มีหลักสูตรที่ทันสมัย ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บัณฑิตจาก
มหาวิทยาลยั นครพนมเป็น “ผู้นาการเปลย่ี นแปลง”และมีทักษะท่สี อดคล้องกับทักษะศตวรรษท่ี 21
 พัฒนาคุณวฒุ ิและตาแหนง่ ทางวิชาการของอาจารย์ เพอ่ื มุง่ สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ
 สร้างบัณฑิตท่ีจบการศึกษาให้มีอัตลักษณ์ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีพื้นฐานด้านการวิจัย
นวัตกรรม และการพฒั นา
 สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของการเรียนรู้ให้มีความ
พร้อมท่ีจะสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ของนักศึกษา ณ สถานที่ไหน เวลาใด และอย่างไรก็ได้เพ่ือ
นาไปสู่การเป็น smart campus

7

3) พันธกจิ ดา้ นการวจิ ัย
 กาหนดโจทย์วิจยั เพือ่ แก้ปญั หาของพนื้ ที่ และการพัฒนานกั วิจัยใหม่ นกั วจิ ยั รุ่นกลาง และนักวจิ ัยอาวโุ ส

เพือ่ เป็นกลไกในการขับเคล่ือนงานวิจยั อย่างต่อเน่ืองและมปี ระสทิ ธภิ าพ
 พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเก่ียวกับงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพที่ได้รับการ

ยอมรับของสงั คม
 สร้างความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและแก้ปัญหาของ

องคก์ รดว้ ยงานวิจัยทีม่ คี ณุ ภาพ
 พฒั นาและส่งเสรมิ การนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชนแ์ ละแกป้ ัญหาทางสังคม

4) พันธกิจด้านการบริการวิชาการ
 ส่งเสริมให้มีการบริการวิชาการท่ีเช่ือมโยงกับงานวิจัยและความเช่ียวชาญของมหาวิทยาลัย เพ่ือพัฒนา

งานวิจัยให้เข้มแข็ง และเกิดการบูรณาการกับการเรียนการสอน รวมถึงสร้างความมีช่ือเสียงของ
มหาวิทยาลัย
 สรา้ งเครือข่ายการให้บรกิ ารวชิ าการกบั องค์กรภาครฐั ภาคเอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน เพื่อ
แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาชุมชนใหเ้ ขม้ แข็งอย่างยง่ั ยนื ตามความเชีย่ วชาญ
 พัฒนาให้เกดิ ศนู ย์กลางการใหบ้ รกิ ารในด้านต่าง ๆ ของอนภุ มู ภิ าคล่มุ นา้ โขงตอนกลาง
 ปฏิรูประบบการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัย โดยจัดให้มีศูนย์กลางการประสานงานและเกิด
การบูรณาการร่วมกนั ของคณะวชิ าต่าง ๆ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
 พัฒนาอุทยานการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชนและสงั คม

5) พนั ธกจิ ดา้ นการทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม
 เปน็ ศูนย์กลางด้านการอนุรักษ์ สง่ เสรมิ ศิลปะ วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และภาษา
 บูรณาการศิลปะและวฒั นธรรมเข้ากับการเรยี นการสอน การวิจยั และการบรกิ ารวชิ าการ
 พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปะและวฒั นธรรมของกลุ่มจังหวัดสู่ระดับประเทศ อนุภูมิภาคลุ่ม

น้าโขงตอนกลาง ภูมภิ าคอาเซียน และระดบั นานาชาติ

บทท่ี 2
สภาพการณ์และความทา้ ทายของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

2.1 สภาพการณ์ของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
จากวเิ คราะหจ์ ุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส และภาวะคกุ คาม มีผลดงั ตอ่ ไปน้ี

จดุ แข็ง (Strengths)
 บคุ ลากรสายวิชาการ มคี ณุ วฒุ สิ งู และมคี วามรคู้ วามสามารถ
 บุคลากรมีความเช่ียวชาญที่หลากหลายและสามารถบูรณาการได้อย่างครบวงจรในทาง
การเกษตร
 หลักสูตรมีความเช่ือมโยงทุกระดับการศึกษาต้ังแต่ระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี และ ป.โท ซ่ึง
สามารถเข้าสตู่ ลาดแรงงานได้หลากหลาย
 มีทรัพยากรพ้ืนท่ีที่เหมาะสมต่อการพัฒนาด้านการวิจัย บริการวิชาการ และงานฟาร์ม
ตลอดจนพฒั นาเปน็ แหลง่ เรยี นรกู้ ารเกษตรเชงิ พ้นื ที่ และการเกษตรเชิงท่องเที่ยวเชงิ นเิ วศน์
 มงี านวจิ ัย และงานบริการวชิ าการทีม่ ีศกั ยภาพในการพัฒนาเชงิ พ้นื ที
 ไดร้ ับทนุ สนับสนนุ จากภายนอกจานวนมาก
 อยูใ่ นจุดยุทธศาสตร์ท่ีเหมาะสมสาหรับการพัฒนาเพือ่ รองรบั พน้ื ที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ

จดุ ออ่ น (Weakness)
 ขาดงบประมาณในการพัฒนาและการบรหิ ารงบประมาณยังขาดสภาพคล่อง โดยคณะพึ่งพา
รายไดจ้ ากนกั ศกึ ษาเปน็ หลกั
 ขาดการวางแผนใช้ทรัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์ และไม่สามารถพัฒนาพนื้ ท่ีเพอ่ื สร้างรายได้ได้
 บคุ ลากรบางกลุ่มไม่มคี วามมน่ั คง ขาดสวัสดกิ ารท่เี หมาะสม และไม่เพียงพอ
 หลกั สตู รเกษตรเป็นสาขาวชิ าทไี่ ม่นิยม ทาให้มนี กั ศึกษาน้อย
 โครงสร้างทางกายภาพ/สง่ิ อานวยความสะดวก อาคารและสง่ิ ก่อสร้างเก่าทรดุ โทรม ทาให้ไม่
สามารถดงึ ดดู ผูเ้ รยี น และผปู้ กครองได้
 เทคโนโลยที ีน่ ามาใช้ในการบรหิ ารงานขาดประสิทธิภาพทาใหก้ ารดาเนินงานล่าชา้
 ระบบความปลอดภัยสถานท่ีราชการยังน้อยไม่มีการใช้ระบบที่ทันสมัยเข้ามารักษาความ
ปลอดภยั
 บุคลากรไมส่ ามารถตพี ิมพ์ผลงานวิจัยไดต้ ่อเน่ืองเพ่ือรองรบั การเปิดหลกั สตู รใหมๆ่
 การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานและสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีของคณะยังไม่เต็ม
ประสทิ ธภิ าพ

โอกาส (Opportunity
 มีแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัยด้านเกษตรจากภายนอกส่งเสริมงานทางด้านเกษตรอย่าง
ตอ่ เน่ืองและหลากหลาย
 รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนาคน และสร้างงานดา้ นวชิ าชพี เกษตร
 มีการอุดหนุนงบประมาณรายหัวผู้เรียน ปวช. โครงการปฎิรูปเกษตรเพ่ือชีวิต เป็น
งบประมาณเรียนฟรีตลอดหลักสตู ร โดยมเี งนิ อดุ หนนุ มากกวา่ สาขาอ่ืนๆ

9
 สถานศึกษาต้งั อยใู่ นชุมชน ผ้ปู กครองนกั ศึกษา ให้ความร่วมมือในการพัฒนาและจดั กิจกรรม

ต่างๆ
 สถานการณ์การระบาดของโรคทาให้สามารถพัฒนาหลักสูตรระยะส้ันเพื่อสร้างอาชีพให้กับ

บุคคลที่ไดร้ บั ผลกระทบได้
 ท่ีต้งั ของคณะ เหมาะในการพัฒนาเปน็ Farm Outlet และแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตร
 นโยบายชาติ BCG เอ้อื ต่อการปรับกระบวนการเรยี นการสอนด้านเกษตรและเทคโนโลยี
อุปสรรค (Threat)
 สถาบนั การศกึ ษามีจานวนมากทาให้นักศึกษามีทางเลอื กที่หลากหลาย
 สถานการณ์โควิด 19 ทาให้เกิดผลกระทบต่อการดาเนินงาน และทาให้มีการปิดด่านเข้า-

ออกประเทศส่งผลต่อการรบั นกั ศึกษาต่างชาติ
 ไมส่ ามารถคดั เลือกนกั ศกึ ษาได้
 ค่านิยมของผ้เู รียนไม่นิยมเรยี นเกษตร เนื่องจากกลวั ความลาบาก ทาใหม้ ีนกั ศึกษานอ้ ยลง
 อยู่ห่างไกลสังคมเมือง ทาให้สภาพแวดล้อมไม่ดึงดูดและไม่เอื้อต่อการดารงชีพของนักศึกษา

และบคุ ลากร
กราฟแสดงการวเิ คราะห์ตาแหนง่ ทางยุทธศาสตรค์ ณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

2.2 ทรพั ยากรบคุ คล
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียน

การสอน ระดบั อาชีวศึกษา และระดบั อุดมศกึ ษา รวมทั้งส้นิ 75 คน โดยจาแนกเป็นบคุ ลากรที่ปฏิบตั งิ านระดับ
อาชีวศึกษาสายวิชาการ จานวน 24 คน ระดับอุดมศึกษา สายวิชาการ จานวน 22 คน และบุคลากรสาย
สนับสนุน จานวน 29 คน รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 1

10

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลจานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอนทั้งหมด จาแนกตาม

ประเภทของบคุ ลากร ประจาปีการศึกษา 2564

ประเภทบคุ ลากร ปฏบิ ตั ิงานจริง ไปชว่ ยราชการ ลาศกึ ษาตอ่ รวมทัง้ ส้ิน

ระดบั อาชวี ศึกษา

- บคุ ลากรสายวชิ าการ 24 - - 24

ระดบั อดุ มศกึ ษา

- บคุ ลากรสายวชิ าการ 22 - - 22

ระดับอาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา

- บุคลากรสายสนับสนุน 29 - - 29

รวมทั้งสน้ิ 75 - - 75

ตารางที่ 2 ข้อมูลบุคลากรสายวิชาการปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษาท้ังหมด

จาแนกตามคณุ วฒุ ิ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 (1 มิถุนายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วทิ ยาลัย ปรญิ ญาตรี วฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาเอก รวมท้ังส้นิ
ปริญญาโท

คณะเกษตรและเทคโนโลยี 3 15 6 24

รอ้ ยละ 12.50 62.50 25.00 100.00

ที่มา: งานบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ กองกลาง สานักงานอธิการบดี

ตารางท่ี 3 จานวนบุคลากรสายวิชาการปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาท้ังหมด

จาแนกตามคณุ วฒุ ิ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 (1 มิถนุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วิทยาลัย ปรญิ ญา ปริญญา ปรญิ ญา ปฏบิ ตั ิ ลาศึกษา
ตรี โท เอก งานจรงิ ตอ่

คณะเกษตรและเทคโนโลยี - 7 15 22 -

รอ้ ยละ - 34.81 68.18 100 -

ทม่ี า: งานบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี

ตารางที่ 4 จานวนบุคลากรสายวิชาการปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาท้ังหมด

จาแนกตามตาแหนง่ ทางวิชาการ ประจาปีการศึกษา 2563 (1 มิถนุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วทิ ยาลัย ปฏิบัติงานจรงิ อาจารย์ ผศ. รศ.

คณะเกษตรและเทคโนโลยี 25 12 13 -

รอ้ ยละ 100 48 52 -

ที่มา: งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ กองกลาง สานักงานอธิการบดี

11

2.3 หลักสตู รและการเรียนการสอน
ปกี ารศึกษา 2564 คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม มีหลักสูตรที่เปิดการเรียนการ

สอนใน ระดบั อาชวี ศึกษา และระดับอุดมศึกษา โดยมีรายละเอียดระดับต่าง ๆ ท่ีเปดิ สอนดงั นี้
1) หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ จานวน 1 หลักสตู ร

2) หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง 5 หลกั สูตร

3) หลกั สตู รปริญญาตรี 1 หลกั สูตร

กราฟท่ี 1 ข้อมลู จานวนนกั ศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษาและระดับปรญิ ญาตรี ปกี ารศึกษา 2564

160 ป.ตรี, 143
140
ปวส., 116
120 ปวช., 98

100

80

60

40

20

0

ปวช. ปวส. ป.ตรี

ทม่ี า ฐานขอ้ มูลระบบบริการการศึกษา ผู้ตรวจสอบข้อมูล นายอภิชาติ จาปา ณ วันท่ี 7 ก.ค.2564

2.4 งบประมาณคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยนครพนม ได้รับการจัดสรรเงนิ งบประมาณแผ่นดิน เป็นเงิน

4,380,000 บาท และเงินรายได้เป็นเงิน 2,057,300 บาท เงินรายได้สะสม 1,872,000 บาท รวมเป็น
เงินทั้งสิ้น 8,309,300 บาท (แปดล้านสามแสนเก้าพันสามร้อยบาทถ้วน) ซึ่งแนวโน้มการได้รับจัดสรร
งบประมาณจากรัฐบาลของมหาวิทยาลัยนครพนม มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ แผนการใช้จ่ายเงนิ รายได้มีแนวโน้ม
ท่ีสงู ข้ึน รายละเอียดดังตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 งบประมาณแผน่ ดนิ 5 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม

งบประมาณแผน่ ดิน 2561 2562 2563 2564 2565

งบบุคลากร

งบดาเนินงาน 2,191,100 1,447,740 4,731,400 2,449,100 804,300

งบลงทนุ 18,316,000 5,548,500 2,620,000 3,283,000 3,836,500

งบเงนิ อดุ หนนุ 6,067,065 4,666,000 3,886,000 1,045,995 3,575,700

งบรายจา่ ยอื่นๆ

รวม 26,574,165 11,662,240 11,237,400 6,778,095 8,216,500

ท่ีมา งานนโยบายและแผน ฝา่ ยบรหิ ารและยทุ ธศาสตร์

12

ตารางที่ 6 งบประมาณเงินรายได้ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

รายการ 2561 2562 2563 2564 2565

งบบุคลากร 289,644 389,460 418,848 1,277,400 769,200

งบดาเนินงาน 1,110,356 1,264,029 1,081,152 1,400,000 2,692,100

งบลงทุน 316,511 2,394,325 468,000

รวม 1,400,000 1,970,000 3,894,325 2,677,400 3,929,300

ที่มา งานนโยบายและแผน ฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์

ตารางที่ 7 สรปุ งบประมาณ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม

รายการ 2561 2562 2563 2564 2565

งบประมาณแผ่นดิน 26,574,165 11,662,240 11,237,400 6,778,095 8,216,500

งบประมาณเงนิ รายได้ 1,400,000 1,970,000 3,894,325 2,677,400 3,929,300

รวมงบประมาณทัง้ หมด 27,974,165 13,632,240 15,131,725 9,455,495 12,145,800

2.5 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
สาหรับการพัฒนามหาวิทยาลัยตามพันธกิจในปี 2562 มหาวิทยาลัยได้มีการปรับปรุงและพัฒนา

หลักสูตร ให้เปน็ หลักสตู รที่ตอบสนองความต้องการ ที่โดดเด่นและเปน็ ท่ียอมรบั ต่อการพัฒนาสงั คม เศรษฐกิจ
และวัฒนธรรมของอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงตอนกลาง พัฒนาด้านการวิจัย บริการวิชาการและพัฒนา
กระบวนการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล เสมอมาจนประสบความสาเรจ็ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 8

ตารางที่ 8 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563)

ระดบั การศกึ ษา 2560 ระดับผลคะแนน 2563
2561 2562 4.36
ระดบั ดี
ระดับอดุ มศึกษา 3.87 4.46 4.41
ระดับ ดี ระดับ ดี ระดับ ดี 4.53
ระดบั ยอดเย่ียม
ระดบั อาชีวศึกษา 4.70 4.58 4.62
ระดับ ดมี าก ระดับ ดีมาก ระดับ ยอดย่ียม

บทท่ี 3
แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569)

3.1 ความเชอื่ มโยงแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ท่ีมีธรรมาภิบาล

โปร่งใส ตรวจสอบได้ (4 กลวธิ ี) (5 ตวั ชว้ี ดั )
เป้าประสงค์ มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีธรรมาภิบาล มีเทคโนโลยีและสารสนเทศท่ีทันสมัย

ทีเ่ ชื่อมโยงทกุ ภารกิจของมหาวิทยาลัย โดยประชาคมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการ
ตัวชว้ี ดั 1) ร้อยละของตัวชี้วดั ของแผนยทุ ธศาสตร์ทีบ่ รรลเุ ป้าหมาย
2) มกี ารจดั ทาระบบบริหารความเสีย่ งและควบคุมภายในครบทกุ สว่ นงาน
3) มีการจัดทารายงานการเงินเสนอสภามหาวทิ ยาลัยอย่างสมา่ เสมอ
4) ระดบั ความพงึ พอใจของบุคลากรที่ใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
5) ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน
กลยทุ ธ์ที่ 1 การบริหารจดั การองค์กรที่มีธรรมาภบิ าลดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลยุทธท์ ี่ 2 การสรา้ งวฒั นธรรมองค์กรดา้ นชมุ ชนสมั พันธ์และการส่ือสารองค์กร
กลยทุ ธท์ ี่ 3 การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการทมี่ คี ุณภาพ

การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานภายในองค์กรจะทาให้การบริหารงานและการ
ปฏิบัติงานมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากสามารถทางานได้รวดเร็ว แม่นยา และประหยัด
ค่าใช้จ่าย ดังน้ัน จาเป็นต้องมีการจัดทาแผนเทคโนโลยีสารสนเทศและพัฒนาระบบการบริหารด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ

3.2 วิสยั ทศั น์
มรี ะบบเครอื ข่ายท่ีครอบคลมุ หนว่ ยงานทกุ ฝ่าย สามารถรองรบั ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศทใี่ ช้ร่วมกัน

โดยบุคลากรสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการบริหารจัดการและให้บริการผู้ใช้ได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รวมท้ังผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงบริการข้อมูลสารสนเทศได้ทุกด้านและมีความพึง
พอใจในบรกิ าร

3.3 พนั ธกจิ
1) กาหนดมาตรฐานและพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีคุณภาพและเสถียรภาพ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์
ระบบขอ้ มลู ขา่ วสารเพ่ือการบริหาร รวมท้ังจดั หาซอฟทแ์ วรท์ ี่เหมาะสม
2) พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ตามมาตรฐานแล ะสอดคล้องกับ
สถานการณ์ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
3) บริการข้อมูลที่ครอบคลุมทุกฝ่าย ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบบริการที่มี
ประสิทธิภาพและได้รับความพงึ พอใจจากผูใ้ ช้บริการในทุกขนั้ ตอนการบริการ
4) พัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศคณะฯ บริการเครือข่ายที่ครอบคลุม เหมาะสมและมีเสถียรภาพ
รวมทง้ั เช่ือมโยงระบบเครอื ข่ายกับหนว่ ยงานภายนอก

14

3.4 เปา้ หมายวัตถุประสงค์ของแผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) เพื่อจดั ทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหส้ นบั สนนุ พันธกิจ/ภารกจิ ของคณะเกษตรฯ
2) เพอื่ ส่งเสรมิ และสนับสนุน การใชง้ านระบบสารสนเทศของผูบ้ รหิ าร บคุ ลากร และนักศกึ ษา
3) เพอ่ื พัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศ การบริการเครือขา่ ยที่ครอบคลุมเหมาะสม

3.5 ตัวชี้วดั ของแผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) จานวนระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารและการตัดสนิ ใจ
2) ระดบั ความสาเรจ็ ของการพฒั นาระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัย
3) จานวนซอฟท์แวรล์ ขิ สิทธิ์เพื่อการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
4) ผูใ้ ชร้ ะบบสารสนเทศมีความพึงพอใจในระดบั คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
5) จานวนบคุ ลากรทีไ่ ด้รับการพัฒนาด้านระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารและการตัดสนิ ใจ
6) ระดับความสาเร็จของการบริหารจัดการสารสนเทศ

ตารางที่ 9 เปา้ หมายและตัวชวี้ ดั ความสาเร็จของแผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เป้าหมาย ตวั ชวี้ ดั นา้ หนกั เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน
12345

1. มีระบบสารสนเทศ 1) จานวนระบบสารสนเทศเพื่อ 20 3 12345

ตามพันธกิจ/ภารกิจ การบริหารและการตัดสินใจ

ด้านการจัดการเรียน การบริหารและการตัดสินใจที่

การสอน การวิจัย การ ครอบคลมุ

บรหิ ารจัดการ การเงนิ 2) ระดับความสาเร็จของการ 20 3 12345

พัฒนาระบบเครือขา่ ย

3) จานวนซอฟท์แวรล์ ิขสิทธิ์ 15 2 01234

เพ่ือการเรียนการสอนและการ

บรหิ ารจัดการ

2.ผู้บริหารทุกระดับนา 1) ผใู้ ช้ระบบสารสนเทศมีความ 20 3 12345

ระบบสารสนเทศ ไปใช้ พงึ พอใจในระดับคะแนนเฉลย่ี

ในการบริหารจัด การ ไมน่ ้อยกวา่ 3.51 จากคะแนน

และการตดั สนิ ใจ เต็ม 5

3. มีการบริหารระบบ 1)จานวนบุคลากรท่ีได้รับการ 10 3 12345

ส ารส น เท ศ อ ย่ างมี พัฒนาด้านระบบสารสนเทศ

ประสิทธิภาพ มีบริการ เพอ่ื การบริหารและการตัดสนิ ใจ

เครือข่ายที่ครอบคลุม 2) ระดับความสาเร็จของการ 15 3 12345

เหมาะสม บริหารจัดการระบบสารสนเทศ

รวมท้ังหมด 100

แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม

แตง่ ตงั้ คณะกรรมการพัฒนา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประชมุ จัดทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ -บุคลากร
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) -งบประมาณ
-อปุ กรณร์ ะบบเครือขา่ ย
คณะกรรมการ -การบารุงรักษา
-การประเมนิ ความพงึ
คณะเกษตรและเทคโนโลยี
(ผู้บริหาร) พอใจของผ้ใู ชบ้ รกิ าร

สง่ คืน แกไ้ ขตามมติ

ดาเนนิ การตามแผน
ปฏิบัติงานตามแผนงานประจา

ผบู้ ริหาร

รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนงานประจา
และประเมนิ ผล ตดิ ตาม วิเคราะหผ์ ลการปฏิบตั ิงาน

1

ตารางที่ 10 แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาว

กิจกรรม

1. การจัดทาแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาล
นครพนม
2. การศึกษาวเิ คราะห์และวางระบบสารสนเทศ เพอ่ื สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจของผ้บู รหิ า
3. การพัฒนาระบบงานสารสนเทศ พัฒนาโปรแกรมและพัฒนาส่ืออิเล็กทรอนิกส
นาไปใช้ ใหเ้ ขา้ กบั การดาเนินงานของผมู้ สี ว่ นรว่ มกับหน่วยงานในสังกัด

ตารางท่ี 11 กจิ กรรมและแผนการดาเนนิ การ แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ

คาส่งั จดั ทาแผนการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศฯ
ศกึ ษาและทบทวนแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
จัดทาแผนพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
นาแผนการพฒั นาที่ผา่ นการเห็นชอบของ คณะกรรมการ
บริหารระดบั คณะฯ หรือคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศฯ
ประเมนิ ความพึงพอใจผู้ใช้งานระบบสารสนเทศฯ
จัดทาแผนปรบั ปรุงระบบสารสนเทศตามข้อเสนอแนะ
ปรบั ปรงุ ระบบสารสนเทศฯ
รายงานผลการปรับปรงุ ระบบสารสนเทศฯตอ่ ผบู้ ริหาร

16 2569 หมาย
เหตุ
วทิ ยาลัยนครพนม
ระยะเวลาดาเนนิ การ(ปงี บประมาณ)

2565 2566 2567 2568
ลัย

าร
ส์ เพื่อ

ศ ประจาปี
แผนการดาเนนิ งานในชว่ งแต่ละเดือน

ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

17

3.6 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ประเด็นภายใน

คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม จัดทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการให้บริการระบบการบริหารท่ีมีส่วนร่วมจากนักศึกษา และบุคลากรทุกกลุ่มงาน เพ่ือให้มีระบบและ
กลไกในการให้บริการด้านเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ และแนวทางการดาเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
นโยบายด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศของมหาวิทยาลัยนครพนม แต่ยังขาดนโยบายและข้อปฏิบัติที่เป็นลาย
ลักษณ์อักษรในการให้บริการที่ชัดเจน ท้ังน้ี เน่ืองจากคณะฯ ขาดบุคลากรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศองค์กร การรายงานการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนามาพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึง
วัสดุ-อปุ กรณอ์ านวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านไม่เพยี งพอและไมม่ ีประสิทธภิ าพ ดังน้ี

จุดแข็ง (Strengths)
1. คณะเกษตรและเทคโนโลยี ให้ความสาคัญต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใชใ้ นการบรหิ าร
จัดการ สนบั สนนุ การทางาน และสนับสนุนการเรียนการสอน
2. มีแนวทางการดาเนินกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกับนโยบายด้านเทคโนโลยแี ละสารสนเทศของ
มหาวทิ ยาลยั นครพนม
3. คณะเกษตรและเทคโนโลยี มนี โยบายสนับสนุนใหบ้ คุ ลากรพฒั นาเพ่มิ พนู ความรู้ ด้านสารสนเทศ
อย่างต่อเนือ่ ง

จุดอ่อน (Weaknesses)
1. ขาดบคุ ลากรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศองค์กร
2. ขาดระบบรายงานการเก็บรวบรวมข้อมลู เพื่อพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. คณะฯ มวี สั ดุ-อปุ กรณ์อานวยความสะดวกในการปฏบิ ตั ิงานไม่เพียงพอและไมม่ ีประสิทธิภาพ
4. ไดร้ ับการสนับสนนุ วสั ดุ-อุปกรณ์ จากมหาวทิ ยาลยั ไม่เพียงพอ

ประเดน็ ภายนอก
เนื่องจากในปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว ซ่ึง

ทาให้ความตอ้ งการด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมีสูงขึ้น ส่งผลให้คณะฯ ต้องพัฒนาทั้งในด้านความรู้ความสามารถ
ของบุคลากร และระบบสารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการ
จากการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอกของคณะฯ แลว้ พบว่ามีโอกาส และอปุ สรรค ดังนี้

โอกาส (Opportunities)
1. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานภายในและนอกที่ นามาใช้ในการดาเนินงานที่
หลากหลาย
2. มีบคุ ลากรจากมหาวิทยาลัยนครพนม ให้การสนับสนุนการดาเนนิ งานสารสนเทศ

อุปสรรค (Threats)
1. ระบบสัญญาณเครอื ข่ายสารสนเทศไมเ่ สถียร
2. ผู้ใหบ้ ริการระบบสารสนเทศมีจากดั ไมเ่ พียงพอ และไมค่ รอบคลมุ พน้ื ทข่ี องคณะฯ

ภาคผนวก

คำสั่งคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหำวทิ ยำลยั นครพนม

ท่ี 163/2564

เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมกำรพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ

……………………………………………………………

เพ่ือให้การบริหารจัดการ ด้านพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ เอ้ือผลประโยชน์สูงสุดให้แก่คณะฯ

จงึ อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลยั นครพนม พ.ศ. ๒๕๔๘ และขอ้ บงั คับ

มหาวทิ ยาลยั นครพนม ว่าด้วยการบังคับบัญชาข้าราชการพลเรอื นและบุคลากร พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๕ ให้แต่งต้ัง

คณะกรรมการพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและเทคโนโลยี ดงั รายนามต่อไปนี้

1. คณะกรรมกำรอำนวยกำร

1.1 คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี ประธานกรรมการ

1.2 รองคณบดีฝา่ ยบรหิ ารและยุทธศาสตร์ รองประธานกรรมการ

1.3 รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ กรรมการ

1.4 รองคณบดฝี ่ายกิจการพิเศษและหารายได้ กรรมการ

1.5 หัวหนา้ สาขาวิชาทกุ สาขาวิชา กรรมการ

1.6 ผชู้ ่วยคณบดฝี ่ายสอ่ื สารองค์กรและวิเทศสมั พันธ์ กรรมการและเลขานุการ

หน้ำที่ 1. ใหค้ าปรกึ ษาเกีย่ วกบั ยทุ ธศาสตร์และแนวทางการดาเนินกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกบั นโยบาย
ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศของมหาวทิ ยาลยั นครพนม และของคณะเกษตรและเทคโนโลยี

2. กากับ ควบคุม ดูแลทรัพยากรและระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเกษตรและ
เทคโนโลยี ให้เป็นไปดว้ ย ความเรยี บร้อย และมีประสิทธิภาพ เอื้อผลประโยชนส์ ูงสุดให้แกค่ ณะฯ

2. คณะกรรมกำรจดั ทำแผนพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ

2.1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เสาวคนธ์ เหมวงษ์ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
2.2 นางสาวนสิ ากร ศรีธัญรัตน์ กรรมการ
กรรมการ
2.3 หวั หน้าสาขาวิชาทุกสาขาวิชา กรรมการ
กรรมการ
2.4 นางณรากร สารบิ ตุ ร กรรมการ
กรรมการ
2.5 นางสาวอรเพ็ญ พิมพา กรรมการ
กรรมการ
2.6 นางสาวมะลิวลั ย์ สงิ ห์เสอื กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
2.7 นางศิรนิ ทรา ทาทอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

2.8 นางสาวแพงมา โคตรสา /หน้าท่ี ดาเนนิ การ …

2.9 นางสาวอภิสรา โสภา

2.10 นางสาวรชั นพี ร พลหาญ

2.11 นางสาวอรอุมา สกุลไทย

2.12 ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายสือ่ สารองค์กรและวิเทศสัมพันธ์

2.13 นางสาวศริ ิภรณ์ โสมาลยี ์

2

หน้ำท่ี ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับพันธกิจ/ภารกิจ
ของคณะฯ และมหาวิทยาลัย

๓. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ

3.1 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยถ์ นอม ทาทอง ประธานกรรมการ

3.2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เสาวคนธ์ เหมวงษ์ รองประธานกรรมการ

3.3 ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ ชั วาล แสงฤทธ์ิ กรรมการ

3.4 นายสขุ ุม สุดโกทา กรรมการ

3.5 นางสาวนิสากร ศรธี ัญรตั น์ กรรมการ

3.6 นางสาววันเพญ็ กาคาผยุ กรรมการ

3.7 นายทนงศกั ดิ์ กุมภโิ ร กรรมการ

3.8 หัวหน้าสาขาวชิ าทุกสาขาวิชา กรรมการ

3.9 หัวหน้าสานกั งานคณบดี กรรมการ

3.10 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อดิเทพชัยย์การณ์ ภาชนะวรรณ กรรมการ

3.11 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์กัญลยา มขิ ะมา กรรมการ

3.12 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์หทัยกาญจน์ กกแก้ว กรรมการ

3.13 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ตรี วาทกิจ กรรมการ

3.14 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วา่ ที่ รต.วัชรินทร์ เขียวไกร กรรมการ

3.15 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยธ์ นพฒั น์ สุระนรากุล กรรมการ

3.16 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์พิศมาส หวังดี กรรมการ

3.17 นายพลู ทรพั ย์ ศิริสานต์ กรรมการ

3.18 นายพิชิต รอดชุม กรรมการ

3.19 นายสตั วแพทย์ชาตรี ชานาญดี กรรมการ

3.20 นางสาวนวรตั น์ ผอบงา กรรมการ

3.21 นางวจิ ิตรตา อรรถสาร กรรมการ

3.22 นางสาวพรทิพย์ พทุ ธโส กรรมการ

3.23 นายรงุ่ ศริ ิ อรณุ พานชิ เลิศ กรรมการ

3.24 นายจริ ะศกั ดิ์ บอุ อ่ น กรรมการ

3.25 นายสราวุธ คาพุช กรรมการ

3.26 นางบงกชไพร ศรพรหม กรรมการ

3.27 นางนวลจนั ทร์ เพชรนุย้ กรรมการ

3.28 นางสาวจิราวรรณ คาธร กรรมการ

3.29 นางสาววมิ ล พรหมทา กรรมการ

3.30 นางสาววรินทร์ วงศส์ ามารถ กรรมการ

3.31 นายสนัน่ จันทรห์ อม กรรมการ

3.32 นางสาวประภสั สร มะลาด กรรมการ

/3.33 นางสาวอ้อมทพิ ย์ …

3

3.33 นางสาวอ้อมทพิ ย์ มาลีลัย กรรมการ

3.34 นายสรนิ ทรเทพ สายเนตร กรรมการ

3.35 นางสาวศริ ิภรณ์ โสมาลยี ์ กรรมการ

3.36 นายนคิ ม ศรีหะมงคล กรรมการและเลขานุการ

3.37 นางสาวกฤติกา ชณุ ห์วจิ ิตรา กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

หน้ำที่ ดาเนินการพัฒนา ทบทวน ปรับปรุงระบบสารสนเทศ นาเสนอผลการพัฒนาต่อผู้บรหิ าร

ขน้ั ต้นและผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัยฯ

๔. คณะกรรมกำรดำเนนิ งำนจดั ทำขอ้ มลู ป้อนข้อมูล และปรบั ปรุงข้อมลู เข้ำสู่ระบบสำรสนเทศ

๔.๑ นายอนิรุทธ์ิ ผงคลี ประธานกรรมการ

๔.2 นางสาววนดิ า ถาปนั แกว้ รองประธานกรรมการ

๔.3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เสาวคนธ์ เหมวงษ์ กรรมการ

4.4 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชชั วาล แสงฤทธิ์ กรรมการ

4.4 นายสุขุม สดุ โกทา กรรมการ

4.5 นางสาวนิสากร ศรธี ญั รัตน์ กรรมการ

4.6 นางสาววันเพญ็ กาคาผยุ กรรมการ

4.7 นายทนงศักด์ิ กุมภโิ ร กรรมการ

4.8 หัวหน้าสาขาวิชาทกุ สาขาวิชา กรรมการ

4.9 นางสาวพรทพิ ย์ พทุ ธโส กรรมการ

4.10 นางนาฏยา โคสะสุ กรรมการ

4.11 นางสาวศิริวรรณ หาวลิ ี กรรมการ

4.12 นางอนุตราพร ปิยะนนั ท์ กรรมการ

4.13 นางวัลจริ าพร รอดชมุ กรรมการ

4.14 นางสาวอรอมุ า สกลุ ไทย กรรมการ

4.15 นางสาวอภิสรา โสภา กรรมการ

4.16 นางสาวรชั นพี ร พลหาญ กรรมการ

4.17 นายเจตพล คาปัน กรรมการ

4.18 นางสาวศริ ภิ รณ์ โสมาลยี ์ กรรมการและเลขานุการ

4.19 นางสาวกฤติกา ชณุ ห์วจิ ิตรา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน้ำท่ี 1. ดาเนินการจัดทาข้อมลู ป้อนข้อมูล และปรบั ปรุงข้อมูล เขา้ สรู่ ะบบสารสนเทศ

2. ตรวจสอบผลการป้อนข้อมูลด้านต่าง ๆ ซ่ึงประกอบด้วย ระบบงานนักศึกษา/ศิษย์เก่า

งานหลกั สูตร งานบคุ ลากร งานวิจยั งานอาคารสถานท่ี และงานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เป็นตน้

๕. คณะกรรมกำรติดตำมประเมินผลระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ

5.๑ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ สาวคนธ์ เหมวงษ์ ประธานกรรมการ

5.2 นางสาวนสิ ากร ศรธี ญั รัตน์ รองประธานกรรมการ

/ 5.3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยต์ รี …

4

5.3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ตรี วาทกิจ กรรมการ

5.4 ผชู้ ่วยศาสตราจารยพ์ ศิ มาส หวังดี กรรมการ

5.5 นางบงกชไพร ศรพรหม กรรมการ

5.6 นายนิคม ศรหี ะมงคล กรรมการ

5.7 นางนวลจนั ทร์ เพชรน้ยุ กรรมการ

5.8 นางสาวมัทนยี า สารกุล กรรมการ

5.9 นางสาวจริ าวรรณ คาธร กรรมการ

5.10 นางวิจติ รตา อรรถสาร กรรมการ

5.11 นายสนัน่ จนั ทรห์ อม กรรมการ

5.12 นายเดชา วงศ์ปสั สะ กรรมการ

5.13 นางสาวนายกิ า สมร กรรมการ

5.14 นางนาตยา พมิ พ์บตุ ร กรรมการ

5.15 นางสาวอรอุมา สกลุ ไทย กรรมการ

5.16 นางสาวอภสิ รา โสภา กรรมการ

5.17 นางสาวรชั นพี ร พลหาญ กรรมการ

5.18 นายอนิรุทธิ์ ผงคลี กรรมการและเลขานุการ

5.19 นางสาววนิดา ถาปันแก้ว กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

5.20 นางสาวกฤติกา ชณุ หว์ ิจติ รา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

5.21 นางสาวศิรภิ รณ์ โสมาลยี ์ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

หน้ำที่ 1. ดาเนินการออกแบบการติดตาม และประเมินผล การดาเนินการตรวจสอบ บันทึกข้อมูล

รายงานผลการติดตามให้กบั ผ้บู ริหาร และประเมนิ ความพึงพอใจระบบสารสนเทศ

2. ศึกษาความต้องการของระบบ วิเคราะห์ระบบและออกแบบระบบ พัฒนาระบบ ทดสอบ

ระบบ จดั ฝกึ อบรมการใช้งานระบบ ตดิ ตามการใชง้ านและประเมินผลระบบ

ให้คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถ
เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์และก่อให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ทางราชการ

ทั้งนต้ี ้ังแต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไปจนภาระหนา้ ท่ีสน้ิ สุดลง

ส่ัง ณ วันที่ 22 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖4

(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยถ์ นอม ทาทอง)
คณบดคี ณะเกษตรและเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั นครพนม

แผนพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569)

คณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั นครพนม


Click to View FlipBook Version