The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2565-2569

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitchanun.puk, 2022-03-07 05:49:12

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2565-2569

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2565-2569

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2565-2569
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม

ฉบบั ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะฯ
ในคราวประชุม คร้ังท่ี 1/2565 วนั ท่ี 19 มกราคม 2565

คานา

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569 ) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม เป็น
เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม แต่เน่ืองจากแผนดงั กลา่ วเป็นแผนระยะยาว
ท่ีใช้มาเปน็ ระยะเวลานาน เมื่อสภาพแวดลอ้ มของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม เปล่ียนแปลงไป
จึงจาเป็นต้องมีการทบทวน และปรับปรุงให้มีความสอดคล้อง ทันต่อแนวโน้มการเปล่ียนแปลงในด้านต่างๆ
เช่น การเปลี่ยนแปลงดา้ นสงั คมวฒั นธรรม ส่งิ แวดลอ้ ม ตลาดแรงงาน โครงสรา้ งเศรษฐกิจ โลกาภวิ ตั น์ เทคโนโลยีและ
ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ฯลฯ ตลอดทั้งการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย เชน่ ดา้ นบุคลากร การเงนิ
การงบประมาณ การบริหารจัดการ โครงสร้างหน่วยงานภายใน และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นตน้ ดังน้นั คณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั นครพนม จึงได้ทาการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน และ ภายนอก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ
ได้มีการทบทวนปรับปรุงเน้ือหาบางส่วนจากแผนปีที่ผ่านมา และจัดทาให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี
(พ.ศ. 2565 - 2569) มหาวทิ ยาลยั นครพนม หวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ แผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) คณะ
เกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ท่ีจัดทาข้ึนนี้ จะเป็นกรอบทิศทาง และ แนวทางการพัฒนา เพ่ือ
สามารถแปลงสู่แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีและมกี ารพฒั นา ไปสเู่ ป้าหมายที่ตั้งไวใ้ นระยะยาวตอ่ ไป

ฉบับได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมครั้งที่ 1/2565 เมอ่ื วันที่ 19 มกราคม 2565

สารบญั

บทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร หน้า
1
บทท่ี 1 3
ประวตั คิ วามเป็นมา 4
ปรชั ญา / วสิ ัยทัศน์ / พันธกิจ / อตั ลักษณ์ / เอกลักษณ์ 5
โครงสร้างการบริหารคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม 14

บทที่ 2 34
สภาพการณแ์ ละความทา้ ทายของคณะเกษตรและเทคโนโลยี
ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยนครพนมกับแนวทางการพัฒนา 43
มหาวทิ ยาลัยนครพนมจากสภามหาวทิ ยาลยั นครพนม พระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลัยนครพนม
พ.ศ. 2548 (มาตรา 7) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 12 45
(พ.ศ.2560-2564) ยุทธศาสตร์สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 20 ปี
(พ.ศ.2560-2579) แผนพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ แผนพฒั นาการศึกษา 56
ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม 64
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) และยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ตารางวิเคราะห์ความเช่ือมโยงของ
ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั นครพนมกับ แผนพฒั นากลุม่ จังหวดั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ตอนบน 2 (พ.ศ.2561-2565) ฉบับทบทวนประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 และแผนพัฒนา
จงั หวัดนครพนม พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบบั ทบทวน รอบปี 2565)
ความเชือ่ มโยงกลยุทธ์ โครงการกจิ กรรมตามยทุ ธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัยนครพนม กบั
ตัวชี้วดั การจัดกลุ่มสถาบนั อดุ มศกึ ษา และเป้าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (SDGs)

บทที่ 3
รายละเอียดของยุทธศาสตร์/ตวั ชีว้ ดั /กลยุทธ์/กจิ กรรม/โครงการ ท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
และเป้าประสงค์

บทท่ี 4
ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมายของแผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569

ภาคผนวก
ปฏทิ ินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม
แผนการเปิดหลกั สตู ร/สาขาวิชาใหม่ ปี พ.ศ. 2565 – 2568
คาสง่ั คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ที่ 072/2564 เร่อื ง แตง่ ตั้งกรรมการ
จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2565 – 2569 และแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

ฉบับไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประชุมครั้งท่ี 1/2565 เมอ่ื วันท่ี 19 มกราคม 2565

แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2565-2569
คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี มหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2565 – 2569 มหาวิทยาลัยนครพนม ได้มี
การจัดประชุมเพื่อทบทวนและหารือแนวทางการพัฒนาร่วมระหว่างผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียทั้งภาครฐั และเอกชน และนาเสนอต่อคณะบุคคลปฏิบัติหน้าท่แี ทนนายกสภามหาวทิ ยาลัยและคณะกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยนครพนม ในคราวประชุมท่ี 9/2564 เม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 และคราวประชุมคร้ังท่ี
11/2564 เม่ือวันที่ 23 กันยายน 2564 คณะบุคคลปฏิบัติหน้าที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสภา
มหาวทิ ยาลัยนครพนม ได้มมี ติเห็นชอบกรอบหลักของแผนยุทธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565
– 2569) โดยมอบให้มหาวิทยาลัยปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะ และเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ในความประชุมครั้งถัดไป
ซึ่งมหาวิทยาลัยนครพนม โดยกองนโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนครพนม ได้ดาเนินการ
ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของคณะบุคคลปฏิบัติหน้าที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยนครพนมดังกล่าว และเสนอต่อท่ีประชุมสภามหาวิทยาลัยนครพนม ในคราวประชุมคร้ังท่ี 2/2564 เมื่อ
วนั ท่ี 15 ตุลาคม 2564

อนุสนธิจากมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยนครพนมครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันท่ี 15 ตุลาคม 2564 ให้
มหาวิทยาลัยนครพนมทบทวนและจัดทาแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565 - 2569 ด้วยการจัดสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการร่วมกันระหว่างคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนมและฝ่ายบริหารมหาวิทยาลัยนครพนมโดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือกาหนดแนวทางการพัฒนา และการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยนครพนมให้สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาและยุทธศาสตร์
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตลอดจนบริบทที่เปลี่ยนไป รวมถึงการทบทวนและจัดทาแผนยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยนครพนมระยะ 5 ปี พ.ศ. 2565 - 2569 และส่วนที่เก่ียวข้อง มหาวิทยาลัยนครพนมโดนสานักงานสภา
มหาวิทยาลัยนครพนมร่วมกับกองนโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนครพนม จึงได้จัดโครงการ
ทบทวนและจัดทาแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) ข้ึนระหว่างวันท่ี 29 – 30
ตลุ าคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยนครพนม

กองนโยบายและแผน สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนครพนม จึงได้นาข้อเสนอแนะจากผลการจัด
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) มา
ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565 - 2569) ฉบับนี้ ซึ่งประกอบด้วย แนว
ทางการพัฒนามหาวิทยาลัย 8 ยทุ ธศาสตร์ 8 เป้าประสงค์ 20 กลยทุ ธ์ 31 ตัวชวี้ ัด 84 โครงการ / กิจกรรม และคณะ
เกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ได้มีการประชุมเพื่อจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569)
เพื่อให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2565 – 2569 ) มหาวทิ ยาลัยนครพนม ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์
8 เป้าประสงค์ 18 กลยุทธ์ 31 ตวั ช้วี ดั 42โครงการ ดังรายละเอียดต่อไปน้ี

ฉบบั ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชมุ คร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวนั ท่ี 19 มกราคม 2565

บทที่ 1
บทนา

1.1 ประวัตคิ วามเป็นมา

คณะเกษตรและเทคโนโลยี ตั้งอยู่เลขที่ 103 หมู่ 3 บ้านกุดข้าวปุ้น ตาบลขามเฒ่า อาเภอเมืองนครพนม จังหวัด

นครพนม ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนชยางกูร) สายนครพนม – ธาตุพนม – มุกดาหาร ห่างจากตัว

จังหวัดนครพนม 14 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร 750 กิโลเมตร ได้รับการจัดตั้งเป็น “โรงเรียนเกษตรกรรม

นครพนม” เม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม 2517 ในพ้นื ทส่ี าธารณประโยชน์ดงคาไฮ โคกหนองบัว มพี ื้นท่รี วมท้ังสิ้น 875 ไร่

1 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้พจิ ารณาเหน็ ชอบตามข้อเสนอของจังหวดั
นครพนม ไดป้ ระกาศจดั ต้งั โรงเรียนเกษตรกรรมนครพนมตามประกาศ
1 กันยายน พ.ศ. 2517 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ลงวนั ที่ 9 พฤษภาคม 2517 ตง้ั แตว่ นั ที่ 1 พฤษภาคม 2517
นายทองมา วัชรนภิ านันท์ วฒุ ิ ป.มก., วท.บ. (ศึกษาศาสตร์เกษตร)
23 มถิ ุนายน พ.ศ. 2523 ตาแหนง่ ครโู ทโรงเรยี นเกษตรกรรมกรรมบรุ ีรัมย์ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์
19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 ดารงตาแหนง่ ครโู ทรโรงเรยี นเกษตรกรรมนครพนม
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 นายนยิ ม จิตรแกว้ ดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญโ่ รงเรียนเกษตรกรรมนครพนม
30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 นายนิยม จิตรแกว้ ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เกษตรกรรมนครพนม
26 กันยายน พ.ศ. 2539 นายธนูทอง ทานะ
รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการวทิ ยาลัยเกษตรกรรมนครพนม
9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2541 นายประจวบ วรรณพงษ์
19 ตุลาคม พ.ศ. 2543 รกั ษาการในตาแหนง่ ผ้อู านวยการวทิ ยาลัยเกษตรกรรมนครพนม
11 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2545 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มปี ระกาศเปลย่ี นชอ่ื วทิ ยาลัยเกษตรกรรมนครพนม
เป็น วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครพนม สังกดั กองวทิ ยาลัยเกษตรกรรม
กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นายวณชิ ย์ อว่ มศรี
รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครพนม
นายอธิป นนทะลี ผู้อานวยการวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม
ถึงวันท่ี 31 มกราคม พ.ศ. 2545
ดร.สุรฉตั ร สนทอง ผู้อานวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครพนม
ถงึ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2547

16 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 นายพนม แพนแก้ว มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

หน้า 1ฉบบั ไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชมุ คร้ังที่ 1/2565 เมื่อวันท่ี 19 มกราคม 2565

2 กนั ยายน พ.ศ. 2548 นครพนม ถึงวันที่ 28 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2549
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม ไดถ้ ูกหลอมรวมจัดต้ังเป็น มหาวิทยาลยั
1 มนี าคม พ.ศ. 2549 นครพนม ตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลยั นครพนม พ.ศ. 2548
1 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และเปลย่ี นชอื่ เป็น “วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม มหาวทิ ยาลัยนครพนม”
1 มีนาคม พ.ศ. 2551 นายสพุ จน์ เพง็ อ่า ผู้อานวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม
1 เมษายน พ.ศ. 2553 ถึงวนั ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
1 สงิ หาคม พ.ศ. 2553 นายสุพจน์ เพง็ อา่ คณบดวี ทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครพนม มหาวทิ ยาลยั
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 นครพนม ถงึ วนั ท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2551
26 ธนั วาคม พ.ศ. 2555 ดร.สมเกยี รติ กสกิ รานันท์ คณบดวี ทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครพนม มหาวทิ ยาลัย
1 เมษายน พ.ศ. 2556 นครพนม ถึงวนั ท่ี ถึง 31 มนี าคม 2553
1 เมษายน พ.ศ. 2559 นายขวญั ชัย พันธ์หมุด รักษาการในตาแหน่งคณบดวี ิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
18 กนั ยายน 2560 นครพนม มหาวิทยาลยั นครพนม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
19 กันยายน 2564 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิยม บุญพิคา คณบดวี ทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม
มหาวิทยาลยั นครพนม ถงึ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555
ดร.สมเกียรติ กสกิ รานนั ทน์ รกั ษาการคณบดวี ิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครพนม
มหาวิทยาลัยนครพนม ถงึ วนั ท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2556
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม
เปลี่ยนชื่อเป็น คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุวพงษ์ สวัสด์พิ าณชิ ย์
คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนมถึงวนั ที่ 31 มนี าคม 2559
นายสุรศักด์ิ ตัง้ ตระกูล รักษาการคณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั นครพนม ถงึ วนั ที่ 17 กันยายน 2560
นายสุรศักดิ์ ตัง้ ตระกลู
คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยนครพนม ถึงวันที่ 18 กันยายน 2564
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ถนอม ทาทอง
คณบดีคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ถงึ ปัจจบุ นั

หนา้ 2ฉบับได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมครงั้ ที่ 1/2565 เม่อื วันท่ี 19 มกราคม 2565

ปรชั ญา /วิสัยทศั น์/พันธกจิ /เปา้ ประสงค/์ อัตลกั ษณ์/เอกลกั ษณ/์ คา่ นยิ ม
วสิ ัยทัศน์ มงุ่ สู่ความเป็นเลิศเพื่อพฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารเกษตรอย่างย่ังยนื

ปรชั ญา นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี กษตรสู่สังคม
พนั ธกจิ

1 . การบริหารจัดการท่ดี ดี ว้ ยหลักธรรมาภบิ าล
2. จดั หลกั สตู รการสอนและพัฒนากาลังคนที่มีความรู้ความสามารถ และคณุ ธรรม จริยธรรมภายใต้

บรบิ ทความหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคมของประเทศกลุ่มอนุภมู ภิ าคลุม่ นา้ โขงตอนกลาง
3. การวิจัยและพฒั นานวตั กรรมและองค์ความรทู้ ี่สาคัญตอ่ การสร้างการเตบิ โตอยา่ งย่งั ยืนของทุกภาค

ส่วน
4. ใหบ้ ริการวชิ าการและเปน็ ผู้นาในการถ่ายทอดองค์ความรใู้ นประเทศกลมุ่ อนุภมู ภิ าคลุ่มน้าโขง

ตอนกลางเพื่อการพัฒนาอย่างยงั่ ยืน
5. ส่งเสริม ทานุบารุง และเผยแพร่ศิลปะ วฒั นธรรมท่หี ลากหลายเพ่ือการบรู ณาการ การอยรู่ ว่ มกัน

ในประเทศกลุม่ อนุภมู ิภาคลุ่มน้าโขงตอนกลาง

อัตลักษณ์ รอบรู้ภาษา เช่ียวชาญเทคโนโลยี มีจติ สาธารณะ พร้อมทกั ษะการทางาน
เอกลกั ษณ์ คณะแห่งการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการเกษตร

ค่านิยม AG:SMILE
A = Accountability ความโปร่งใส ตรวจสอบได้
G = Goals driver to growth mindset มุง่ สูเ่ ปา้ หมายดว้ ยใจท่มี งุ่ ม่นั
S = Social Devotion and Environment Conservation อุทศิ ตนเพื่อสงั คมและอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม
M = Management by Factual Information บริหารจดั การบนฐานขอ้ มลู จรงิ
I = Innovation focus มุ่งเนน้ นวตั กรรม
L = Long Life Learning and Work Integrated Learning เรยี นรตู้ ลอดชีวติ และบรู ณาการการทางาน
E = Excellence Service for All มงุ่ สูก่ ารบริการที่เปน็ เลิศเพื่อทุกคน

หนา้ 3ฉบบั ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประชมุ คร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวันที่ 19 มกราคม 2565

ฉบบั ไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ะชมุ คร้งั ที่ 1/2565 เม่อื วนั ท่ี 19 มกราคม 2565 หนา้ 4

พนั ธกิจ (Mission) และนโยบายของแต่ละพนั ธกิจ
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 ได้กาหนดให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานศึกษาและวิจัยมี
วัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพข้ันสูง ทาการสอน ทาการวิจัย ให้บริการทางวิชาก ารแก่
สังคมและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภายใต้พันธกิจ 5 ด้านประกอบด้วย (1) ด้านการบริหารจัดการองค์กร (2)
ดา้ นการผลิตบัณฑิต (3) ด้านการวิจัย (4) ด้านการบริการวิชาการ (5) ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และเพ่ือ
เป็นแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย จึงได้กาหนดนโยบายของพันธกิจแตล่ ะด้าน ดัง
รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

1) พันธกจิ ดา้ นการบรหิ ารจัดการองค์กร
 เปน็ องค์กรท่มี ีระบบการบรหิ ารจัดการทีด่ ี
 บริหารจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัยให้มีการสร้างรายได้เพ่ือการพึ่งพาตนเองด้านงบประมาณให้มากขึ้น
และปฏิรูประบบการจัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นกลไกขับเคลื่อนการก้าวไปสู่เป้าหมายของ
มหาวทิ ยาลัย
 ปฏิรูประบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อให้บุคลากรมีสมรรถนะสูงและมีความผาสุกเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการ
ขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยไปสู่เปา้ หมาย รวมท้งั ใช้ศักยภาพของผู้เกษียณอายุราชการ
 พัฒนาระบบสารสนเทศให้เช่ือมโยงกันเพื่อให้สามารถจัดการข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารทุก
ระดบั
 พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้มีทักษะในการทางานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไป และสามารถใช้
ผลงานในการเขา้ สตู่ าแหน่งชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเช่ียวชาญ
 พฒั นาระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน รวมท้งั ภมู ิทศั นข์ องมหาวทิ ยาลยั ให้เป็นมหาวิทยาลยั สีเขยี วและยง่ั ยืน

2) พันธกิจด้านการผลติ บณั ฑิต
 พัฒนาระบบรบั เข้านักศึกษาในทุกระดับเพื่อให้ได้ผู้เข้าคึกษาท่ีมีคุณภาพสูง และเพิ่มสัดส่วนบัณฑิตศึกษาท่ีเน้น
การผลิตบณั ฑติ เพ่ือเป็นกลไกในการขับเคล่ือนไปสู่มหาวทิ ยาลัยเพ่ือการพฒั นาชุมชนเชงิ พน้ื ที่
 มีหลักสูตรที่ทันสมัย ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บัณฑิตจากมหาวิทยาลัย
นครพนมเปน็ “ผูน้ าการเปล่ยี นแปลง” และมีทักษะท่ีสอดคล้องกับทักษะในศตวรรษท่ี 21
 พฒั นาคณุ วุฒิและตาแหน่งทางวชิ าการของอาจารย์ เพอ่ื มงุ่ สู่ความเป็นเลิศด้านวชิ าการ
 สร้างบัณฑิตที่จบการศึกษาให้มีอัตลักษณ์ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีพ้ืนฐานด้านการวิจัย นวัตกรรม และ
การพัฒนา
 สร้างสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานของการเรียนรู้ให้มีความพร้อมที่จะ
สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ของนักศึกษา ณ สถานท่ีไหน เวลาใด และอย่างไรก็ได้เพื่อนาไปสู่การเป็น smart
campus

3) พนั ธกจิ ด้านการวจิ ัย
 กาหนดโจทย์วิจัยเพ่ือแก้ปัญหาของพื้นที่ และการพัฒนานักวิจัยใหม่ นักวิจัยรุ่นกลาง และนักวิจัยอาวุโส เพื่อ
เปน็ กลไกในการขับเคล่ือนงานวิจยั อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

หน้า 5ฉบบั ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชมุ คร้งั ท่ี 1/2565 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2565

 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเกี่ยวกับงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพท่ีได้รับการยอมรับของ
สังคม

 สร้างความร่วมมือกบั ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและแก้ปัญหาขององค์กรด้วย
งานวิจยั ที่มคี ณุ ภาพ

 พฒั นาและส่งเสริมการนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใชป้ ระโยชน์และแก้ปัญหาทางสังคม
4) พันธกจิ ด้านการบริการวิชาการ

 ส่งเสริมให้มีการบริการวิชาการท่ีเช่ือมโยงกับงานวิจัยและความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัย เพ่ือพัฒนางานวิจัย
ใหเ้ ขม้ แข็ง และเกดิ การบรู ณาการกับการเรียนการสอน รวมถงึ สร้างความมีชื่อเสยี งของมหาวิทยาลัย

 สร้างเครือข่ายการให้บริการวิชาการกับองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อแก้ไข
ปญั หาและพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอยา่ งยั่งยืนตามความเชี่ยวชาญ

 พฒั นาให้เกิดศนู ย์กลางการให้บริการในดา้ นต่าง ๆ ของอนุภูมภิ าคลุ่มนา้ โขงตอนกลาง
 ปฏิรูประบบการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัย โดยจัดให้มีศูนย์กลางการประสานงานและเกิดการบูร

ณาการร่วมกันของคณะวิชาต่าง ๆ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
 พัฒนาอุทยานการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ที่เป็นความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนและ

สังคม
5) พนั ธกิจด้านการทานุบารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม

 เป็นศูนยก์ ลางดา้ นการอนรุ ักษ์ สง่ เสริมศิลปะ วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน และภาษา
 บูรณาการศลิ ปะและวฒั นธรรมเขา้ กับการเรียนการสอน การวิจยั และการบริการวิชาการ
 พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมของกลุ่มจังหวัดสู่ระดับประเทศ อนุภูมิภาคลุ่มน้า

โขงตอนกลาง ภูมภิ าคอาเซยี น และระดับนานาชาติ

หนา้ 6ฉบบั ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชมุ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวนั ท่ี 19 มกราคม 2565

บทที่ 2
สภาพการณ์และความท้าทายของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม

2.1 สภาพการณ์ของคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม

จากวิเคราะหจ์ ดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส และภาวะคุกคาม มผี ลดงั ตอ่ ไปนี้
จุดแขง็ (Strengths)

 บุคลากรสายวชิ าการ มีคุณวฒุ สิ งู และมีความรคู้ วามสามารถ
 บคุ ลากรมคี วามเชี่ยวชาญท่ีหลากหลายและสามารถบูรณาการได้อยา่ งครบวงจรในทางการเกษตร
 หลักสูตรมีความเช่ือมโยงทุกระดับการศึกษาต้ังแต่ระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี และ ป.โท ซ่ึงสามารถเข้าสู่

ตลาดแรงงานได้หลากหลาย
 มที รัพยากรพนื้ ที่ที่เหมาะสมต่อการพัฒนาด้านการวิจัย บริการวิชาการ และงานฟาร์ม ตลอดจนพัฒนา

เป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรเชงิ พืน้ ที่ และการเกษตรเชิงท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศน์
 มีงานวจิ ยั และงานบริการวชิ าการท่ีมศี กั ยภาพในการพฒั นาเชงิ พ้ืนที
 ได้รบั ทุนสนับสนุนจากภายนอกจานวนมาก
 อยู่ในจดุ ยุทธศาสตร์ท่เี หมาะสมสาหรับการพฒั นาเพ่อื รองรบั พ้ืนท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ
จดุ อ่อน (Weakness)
 ขาดงบประมาณในการพัฒนาและการบริหารงบประมาณยงั ขาดสภาพคล่อง โดยคณะพึ่งพารายได้จาก

นกั ศกึ ษาเปน็ หลกั
 ขาดการวางแผนใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชน์ และไม่สามารถพฒั นาพนื้ ทเ่ี พ่ือสรา้ งรายได้ได้
 บคุ ลากรบางกล่มุ ไมม่ ีความมน่ั คง ขาดสวสั ดกิ ารทเ่ี หมาะสม และไม่เพียงพอ
 หลักสตู รเกษตรเปน็ สาขาวิชาทีไ่ มน่ ิยม ทาใหม้ นี ักศึกษานอ้ ย
 โครงสร้างทางกายภาพ/ส่ิงอานวยความสะดวก อาคารและสิ่งก่อสร้างเก่าทรุดโทรม ทาให้ไม่สามารถ

ดงึ ดดู ผเู้ รียน และผูป้ กครองได้
 เทคโนโลยีทน่ี ามาใช้ในการบริหารงานขาดประสิทธภิ าพทาให้การดาเนนิ งานล่าชา้
 ระบบความปลอดภยั สถานท่ีราชการยงั นอ้ ยไม่มกี ารใชร้ ะบบทท่ี ันสมยั เข้ามารักษาความปลอดภัย
 บคุ ลากรไม่สามารถตพี มิ พ์ผลงานวิจัยได้ตอ่ เน่ืองเพ่ือรองรับการเปิดหลักสตู รใหม่ๆ
 การประชาสมั พันธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานและสรา้ งภาพลกั ษณ์ท่ดี ีของคณะยังไม่เตม็ ประสทิ ธิภาพ

หน้า 7ฉบบั ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมครั้งท่ี 1/2565 เมอื่ วันที่ 19 มกราคม 2565

โอกาส (Opportunity
 มีแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัยด้านเกษตรจากภายนอกส่งเสริมงานทางด้านเกษตรอย่างต่อเนื่องและ
หลากหลาย
 รฐั บาลสนบั สนุนการพฒั นาคน และสร้างงานดา้ นวิชาชพี เกษตร
 มกี ารอดุ หนุนงบประมาณรายหัวผ้เู รียน ปวช. โครงการปฎิรูปเกษตรเพ่ือชีวิต เป็นงบประมาณเรียนฟรี
ตลอดหลกั สูตร โดยมเี งินอุดหนุนมากกวา่ สาขาอ่ืนๆ
 สถานศึกษาตง้ั อยู่ในชมุ ชน ผปู้ กครองนกั ศึกษา ใหค้ วามรว่ มมือในการพัฒนาและจดั กิจกรรมต่างๆ
 สถานการณก์ ารระบาดของโรคทาให้สามารถพฒั นาหลกั สูตรระยะส้นั เพ่อื สร้างอาชพี ให้กบั บุคคลทไี่ ดร้ ับ
ผลกระทบได้
 ทตี่ ้งั ของคณะ เหมาะในการพฒั นาเปน็ Farm Outlet และแหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ เกษตร
 นโยบายชาติ BCG เอือ้ ต่อการปรับกระบวนการเรียนการสอนด้านเกษตรและเทคโนโลยี

อปุ สรรค (Threat)
 สถาบันการศกึ ษามีจานวนมากทาให้นักศกึ ษามที างเลอื กท่หี ลากหลาย
 สถานการณ์โควิด 19 ทาให้เกิดผลกระทบต่อการดาเนินงาน และทาให้มีการปิดด่านเข้า-ออกประเทศ
ส่งผลตอ่ การรับนกั ศกึ ษาต่างชาติ
 ไมส่ ามารถคัดเลอื กนกั ศกึ ษาได้
 ค่านยิ มของผเู้ รียนไม่นิยมเรยี นเกษตร เนอ่ื งจากกลัวความลาบาก ทาให้มีนกั ศกึ ษาน้อยลง
 อยู่ห่างไกลสังคมเมือง ทาให้สภาพแวดล้อมไม่ดึงดูดและไม่เอื้อต่อการดารงชีพของนักศึกษา และ
บคุ ลากร

หนา้ 8ฉบบั ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมครั้งท่ี 1/2565 เมอื่ วนั ที่ 19 มกราคม 2565

กราฟแสดงการวเิ คราะห์ตาแหนง่ ทางยุทธศาสตร์คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม

หน้า 9ฉบบั ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมคร้ังท่ี 1/2565 เมอ่ื วันที่ 19 มกราคม 2565

2.2 ทรพั ยากรบคุ คล

คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม มีบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอน
ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสิ้น 75 คน โดยจาแนกเป็นบุคลากรท่ีปฏิบัติงานระดับอาชีวศึกษาสาย
วิชาการ จานวน 24 คน ระดับอุดมศึกษา สายวิชาการ จานวน 22 คน และบุคลากรสายสนับสนุน จานวน 29 คน
รายละเอียดดงั ตารางที่ 2.2.1

ตารางที่ 2.2.1 แสดงข้อมูลจานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานจัดการเรียนการสอนทั้งหมด จาแนกตามประเภท

ของบคุ ลากร ประจาปีการศกึ ษา 2564

ประเภทบคุ ลากร ปฏบิ ตั งิ านจริง ไปช่วยราชการ ลาศกึ ษาต่อ รวมทัง้ สิ้น

ระดับอาชีวศึกษา

- บคุ ลากรสายวชิ าการ 24 - - 24

ระดับอดุ มศกึ ษา

- บุคลากรสายวิชาการ 22 - - 22

ระดบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา

- บุคลากรสายสนบั สนนุ 29 - - 29

รวมท้ังสนิ้ 75 - - 75

ตารางท่ี 2.2.2 ข้อมูลบุคลากรสายวชิ าการปฏิบตั ิงานในหน่วยงานจดั การเรยี นการสอนระดบั อาชีวศึกษาทง้ั หมด

จาแนกตามคุณวฒุ ิ ประจาปกี ารศึกษา 2563 (1 มิถนุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วทิ ยาลัย ปรญิ ญาตรี วฒุ ิการศกึ ษา รวมท้งั ส้ิน
ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก

คณะเกษตรและเทคโนโลยี 3 15 6 24

ร้อยละ 12.50 62.50 25.00 100

ทมี่ า: งานบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ กองกลาง สานกั งานอธกิ ารบดี

ตารางท่ี 2.2.3 จานวนบุคลากรสายวิชาการปฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยงานจดั การเรยี นการสอนระดับอุดมศกึ ษาทงั้ หมด

จาแนกตามคณุ วฒุ ิ ประจาปีการศึกษา 2563 (1 มถิ นุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วทิ ยาลัย ปรญิ ญา ปริญญา ปรญิ ญา ปฏิบัติ ลาศกึ ษา
ตรี โท เอก งานจรงิ ตอ่

คณะเกษตรและเทคโนโลยี - 7 15 22 -

รอ้ ยละ - 34.81 68.18 100 -

ท่มี า: งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ กองกลาง สานกั งานอธกิ ารบดี

หนา้ 10ฉบบั ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประชมุ คร้ังท่ี 1/2565 เมอื่ วนั ที่ 19 มกราคม 2565

ตารางท่ี 2.2.4 จานวนบุคลากรสายวิชาการปฏิบัตงิ านในหนว่ ยงานจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาทั้งหมด จาแนก

ตามตาแหน่งทางวชิ าการ ประจาปีการศึกษา 2563 (1 มถิ นุ ายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564)

คณะ/วิทยาลัย ปฏบิ ัติงานจรงิ อาจารย์ ผศ. รศ.

คณะเกษตรและเทคโนโลยี 25 12 13 -

ร้อยละ 100 48 52 -

ทมี่ า: งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี

2.3 หลกั สูตรและการเรียนการสอน

ปีการศึกษา 2564 คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม มีหลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนใน
ระดับอาชีวศกึ ษา และระดบั อุดมศกึ ษา โดยมีรายละเอยี ดระดบั ตา่ ง ๆ ท่เี ปิดสอนดังน้ี

1) หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ จานวน 1 หลกั สตู ร
2) หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สูง 5 หลักสูตร
3) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี 1 หลกั สูตร
4) หลกั สูตรปริญญาโท 1 หลกั สูตร

ตารางที่ 2.3.1 จานวนหลักสูตรที่เปิดทาการสอนในคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม ประจาปีการศึกษา

2564

ระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี

15 1

รวมทง้ั สนิ้ 1 5 1

ทม่ี า : กองส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น

ตารางท่ี 2.3.2 ข้อมลู จานวนนกั ศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษาและระดับปรญิ ญาตรี ปกี ารศึกษา 2564
ระดับ ปวช. ปวส. ป.ตรี รวม
98 116 143 357
รวม 98 116 143 357

ท่มี า ฐานข้อมลู ระบบบรกิ ารการศกึ ษา ผู้ตรวจสอบขอ้ มลู นายอภชิ าติ จาปา ณ วนั ที่ 7 ก.ค.2564

ฉบับไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประชมุ ครัง้ ท่ี 1/2565 เม่อื วนั ที่ 19 มกราคม 2565

หนา้ 11

2.4 งบประมาณคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนครพนม

ในปีงบประมาณ 2565 มหาวิทยาลัยนครพนม ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดิน เป็นเงิน 4,380,000
บาท และเงินรายได้เป็นเงิน 2,057,300 บาท เงินรายได้สะสม 1,872,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น
8,309,300 บาท (-แปดล้านสามแสนเก้าพันสามร้อยบาทถ้วน.-) ซึ่งแนวโนม้ การไดร้ ับจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลของ
มหาวทิ ยาลัยนครพนม มแี นวโน้มลดลง ในขณะที่ แผนการใช้จ่ายเงนิ รายได้มแี นวโน้มท่สี ูงขึ้น รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2.4.1

ตารางท่ี 2.4.1 งบประมาณแผ่นดิน 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม

งบประมาณแผน่ ดนิ 2561 2562 2563 2564 2565

งบบุคลากร

งบดาเนินงาน 2,191,100 1,447,740 4,731,400 2,449,100 804,300

งบลงทนุ 18,316,000 5,548,500 2,620,000 3,283,000 3,836,500

งบเงนิ อดุ หนนุ 6,067,065 4,666,000 3,886,000 1,045,995 3,575,700

งบรายจา่ ยอน่ื ๆ

รวม 26,574,165 11,662,240 11,237,400 6,778,095 8,216,500

ที่มา งานนโยบายและแผน ฝา่ ยบรหิ ารและยุทธศาสตร์

ตารางท่ี 2.4.2 งบประมาณเงนิ รายได้ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) คณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม

รายการ 2561 2562 2563 2564 2565

งบบุคลากร 289,644 389,460 418,848 1,277,400 769,200

งบดาเนินงาน 1,110,356 1,264,029 1,081,152 1,400,000 2,692,100

งบลงทุน 316,511 2,394,325 468,000

รวม 1,400,000 1,970,000 3,894,325 2,677,400 3,929,300

ท่ีมา งานนโยบายและแผน ฝา่ ยบริหารและยทุ ธศาสตร์

รายการ 2561 2562 2563 2564 2565
งบประมาณแผน่ ดนิ 26,574,165 11,662,240 11,237,400 6,778,095
งบประมาณเงินรายได้ 1,400,000 1,970,000 3,894,325 2,677,400 8,216,500
รวมงบประมาณทงั้ หมด 27,974,165 13,632,240 15,131,725 9,455,495 3,929,300
12,145,800

หน้า 12ฉบบั ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประชุมครัง้ ที่ 1/2565 เม่อื วันที่ 19 มกราคม 2565

2.5 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา

สาหรับการพัฒนามหาวิทยาลัยตามพันธกิจในปี 2562 มหาวทิ ยาลัยได้มีการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตร ให้
เป็นหลักสตู รท่ีตอบสนองความต้องการ ทโี่ ดดเด่นและเป็นที่ยอมรับต่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ของอนุ
ภูมภิ าคลมุ่ น้าโขง ตอนกลาง พัฒนาด้านการวิจยั บรกิ ารวชิ าการ และพฒั นากระบวนการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิ
บาล เสมอมาจนประสบความสาเร็จ รายละเอยี ดดังตารางที่ 2.5.1

ตารางที่ 2.5.1 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายใน 4 ปี (พ.ศ. 2560 - 2563)

ระดบั การศึกษา 2560 2561 2562 2563

ระดับอดุ มศึกษา 4.36
ดี
ผลคะแนน 3.87 4.46 4.41
4.53
อยใู่ นระดบั ดี ดี ดี ยอดเยี่ยม

ระดับอาชวี ศึกษา

ผลคะแนน 4.70 4.58 4.62

อยใู่ นระดบั ดีมาก ดมี าก ยอดเยยี่ ม

หน้ า 13ฉบบั ไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประชุมครง้ั ที่ 1/2565 เมื่อวนั ท่ี 19 มกราคม 2565

ตารางวเิ คราะหค์ ว

ยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยนครพนมกับ พระราชบญั ญ

แผนพฒั นาการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2561-2580) ย

แผนพฒั นาการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 กรอบแผนพฒั นา

ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20

ปรชั ญา : พฒั นาตน ต่นื รู้ ผรู้ ับใช้สังคม

การจัดกลมุ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทีเ่ นน้ ภารกิจหลกั : มหาวทิ ยาลยั นครพนม เป็นมห

แนวทางการจัดกลมุ่ สถาบันอดุ มศกึ ษาเชงิ ยุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลยั นครพนมมีศ

(Area-Based and Community)

เป้าหมายกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-256

ตลาดแรงงานและพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรม เพ่ือ

พฒั นาท่ยี ัง่ ยืนของทอ้ งถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภบิ าล การเงนิ การกากับมา

และเอกภาพเชิงระบบ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพัฒนาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอดุ มศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบับท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยุทธศาสตร์ที่ ยุทธศาสตร์ท่ี (7) สง่ เสริมและ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5

1 การบรหิ าร 1 การบรหิ าร พฒั นาเครือขา่ ย ยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ

จดั การทีช่ าญ จัดการท่ชี าญ ความรว่ มมือทาง และพัฒนาระบบ

ฉลาดและธรร ฉลาดและธรร การศึกษา การวจิ ยั เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่

มาภิบาล มาภบิ าล และการบริการกับ การศกึ ษาท่ีมงุ่ หวัง

สถาบนั และ ให้คนไทยได้รบั

หนว่ ยงานอื่น ทงั้ ใน โอกาสในการเรียนรู้

ประเทศและ อย่างต่อเนอื่ งตลอด

ตา่ งประเทศ ชวี ิตโดยใชเ้ ทคโนโลยี

(8) จัดการศกึ ษา สารสนเทศ ซ่ึง

ฉบับได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

วามเช่ือมโยงของ
ญตั ิมหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548 (มาตรา 7)
ยุทธศาสตรส์ านกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
าเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2570) และ
0 ปี (พ.ศ. 2561–2580)

หาวิทยาลัยมหาวทิ ยาลยั กล่มุ ข ทเ่ี น้นการผลิตบัณฑิตระดบั ปรญิ ญาตรี
ศกั ยภาพการดาเนนิ งานทจ่ี ดั อยู่ในกล่มุ ที่ 3 การพฒั นาชมุ ชนเชิงพนื้ ท่ี

65) : ยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย เพ่ือผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสู่
อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศโลกภิวัตน์ รวมท้ังสนับสนุนการ
าตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษาพ้ืนฐานของเสรีภาพทางวิชาการความหลากหลาย

ยทุ ธศาสตรส์ านกั งาน แผนพฒั นา กรอบแผนพัฒนา ยุทธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ เศรษฐกิจและสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับท่ี 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

4.เพิ่มประสิทธิภาพ 6. การพฒั นา ประเด็นการพฒั นาที่ 6. การปรบั สมดุล

การบริหารจดั การ ประสทิ ธิภาพ ของ 4 การเปลีย่ นผ่าน และพฒั นาระบบ

อาชวี ศกึ ษาภายใต้ ระบบ บรหิ าร จากกาลงั คนทกั ษะ การบรหิ ารจัดการ

หลกั ธรรมาภบิ าล จดั การ ตา่ และภาครัฐท่ี ภาครฐั

5.เพิม่ ศักยภาพ ล้าสมัย ไปสู่ (- การวางระบบ

กาลังคนดา้ นวชิ าชีพ กาลังคนและภาครัฐ บริหารงาน

ให้มสี มรรถนะดา้ น ทีม่ สี มรรถนะสงู ราชการแบบ

เทคโนโลยี เพือ่ เอื้อต่อการ บรู ณาการ

6.สง่ เสริมและพัฒนา เปลยี่ นผ่านประเทศ - การยกระดับงาน

ระบบเครือข่าย ไปสูก่ ารเป็น บริการประชาชน

ะชุมครัง้ ท่ี 1/2565 เม่อื วนั ที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 14

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพัฒนาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอดุ มศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

โดยเนน้ ประชาชนใน ตอบสนอง การ

ภูมภิ าคทตี่ ้ังของ พฒั นาในดา้ นการ

มหาวทิ ยาลัยและ เข้าถึงการใหบ้ ริการ

ประเทศใกล้เคียง ด้านความเทา่ เทยี ม

เปน็ สาคญั และด้าน

(10) จดั ให้ ชมุ ชนมี ประสิทธิภาพ

ส่วนร่วมในการ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6

จดั การ การ ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนา

บารงุ รักษา และการ ระบบบรหิ ารจดั การ

ใช้ประโยชน์จาก และส่งเสริมใหท้ ุก

ทรัพยากร ธรรมชาติ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ ม

และส่ิงแวดล้อมอย่าง ในการจดั การศึกษาท่ี

สมดลุ และยั่งยืน มงุ่ หวังใหม้ ีการใช้

เพ่ือให้ เกดิ ประโยชน์ ทรพั ยากรทงั้ ด้าน

สงู สุดแกช่ ุมชน และ งบประมาณและ

ให้ ชมุ ชนมสี ่วนรว่ ม บุคลากรได้อยา่ ง

ในการกาหนด ค้มุ ค่า ไมเ่ กิด การสญู

นโยบายและบริหาร เปล่า และมคี วาม

จดั การ คลอ่ งตวั ซง่ึ

ตอบสนองการพฒั นา

ในด้านประสทิ ธิภาพ

ฉบับได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตร์สานกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับท่ี 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อ เศรษฐกิจสรา้ ง และการอานวย

การจดั การ คุณค่า สังคม ความสะดวก

อาชีวศึกษา และ เดินหนา้ อย่างยงั่ ยืน ภาครัฐสู่ความเป็น

หมดุ หมายท่ี 13 เลิศ

ไทยมภี าครฐั ที่มี - การปรับปรุง

สมรรถนะสูง บทบาท ภารกจิ

และโครงสรา้ ง

ภาครฐั

- การพฒั นาระบบ

บรหิ ารจัดการ

กาลังคน และ

พัฒนาบคุ ลากร

ภาครัฐ ในการ

ปฏบิ ัตริ าชการ

และมีความเปน็ มือ

อาชพี

- การตอ่ ต้านการ

ทุจรติ แลพ

ประพฤติมชิ อบ

- การปรบั ปรุง

แก้ไขกฎหมาย

ระเบยี บ และ

ขอ้ บงั คบั ให้มีความ

ะชมุ ครั้งที่ 1/2565 เมือ่ วนั ท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 15

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยุทธศาสตร์ที่ ยุทธศาสตรท์ ่ี (3) สร้างหรือพัฒนา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2
2 การบรหิ าร 2 การบริหาร
ทรัพยากร ทรพั ยากร องค์ความรู้ อยา่ ง ยทุ ธศาสตร์ผลติ
บคุ คล บุคคล
ตอ่ เน่อื ง และนา พฒั นาครู คณาจารย์

ความรู้ นน้ั ไปใช้ เพ่ือ และบุคลากรทางการ

ประโยชน์ในการ ศึกษา ทีม่ งุ่ หวัง ใหม้ ี

พัฒนา ประเทศและ การผลิตครไู ด้

ภูมิภาคใกล้ เคยี ง สอดคล้องกับความ

โดยเนน้ การวิจัย การ ต้องการในการจดั

ประยุกต์และการบรู การศึกษาทุกระดับ

ณาการภูมปิ ญั ญา ทกุ ประเภท และมี

ทอ้ งถิ่นเข้ากับ สมรรถนะ ตาม

เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนา มาตรฐานวิชาชีพ

ชมุ ชนและสังคมให้ สามารถใช้ศักยภาพ

เข้มแข็ง มีสันติสุข ในการสอนได้อยา่ ง

และยัง่ ยนื เต็มที่ ซงึ่ ตอบสนอง

การพัฒนาในด้าน

คุณภาพยุทธศาสตร์

ฉบับไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพฒั นา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาติ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับที่ 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

ชัดเจน ทันสมัย

เป็นธรรมและ

สอดคลอ้ งกบั

ข้อบังคับสากล

หรือข้อตกลง

ระหวา่ งประเทศ)

1.ผลิตและพฒั นา 2. การผลติ และ ประเดน็ การพฒั นาที่ 3. การพฒั นาและ

กาลังคนดา้ นวิชาชีพ พฒั นา กาลังคน 4 การเปลีย่ นผา่ น เสรมิ สรา้ ง

อย่างมีคณุ ภาพและ การวจิ ยั และ จากกาลงั คนทักษะ ศักยภาพคน (การ

เพียงพอกับความ นวัตกรรม เพ่ือสรา้ ง ตา่ และภาครฐั ท่ี ปรบั เปลีย่ น

ต้องการพัฒนา ขดี ความสามารถใน ลา้ สมัย ไปสู่ ค่านยิ มและ

ประเทศ การ แข่งขนั ของ กาลงั คนและภาครัฐ วัฒนธรรมเพ่อื

2.พฒั นาขดี ประเทศ ทีม่ ีสมรรถนะสงู สร้างคนไทยท่ีมี

ความสามารถ 3. การพัฒนา เพ่ือเอ้ือตอ่ การ คณุ ภาพ คุณธรรม

กาลังคนดา้ นวิชาชีพ ศกั ยภาพ คนทุกช่วง เปลีย่ นผา่ นประเทศ จรยิ ธรรม มี

ในทุกช่วงวัย วัยและ การสร้าง ไปสูก่ ารเปน็ ระเบียบ วินัย

5.เพมิ่ ศักยภาพ สงั คม แหง่ การ เศรษฐกิจสร้าง เคารพกฎหมาย

กาลงั คนด้านวชิ าชีพ เรยี นรู้ คุณคา่ สังคม - การพฒั นา

ให้มีสมรรถนะด้าน เดนิ หน้าอยา่ งย่งั ยนื ศักยภาพคนตลอด

เทคโนโลยี หมดุ หมายท่ี 12 ช่วงชวี ติ )

ไทยมีกาลังคน

สมรรถนะสงู มงุ่

เรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง

ะชมุ ครงั้ ที่ 1/2565 เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 16

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอดุ มศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3

ยทุ ธศาสตรผ์ ลิตและ

พฒั นากาลังคน

รวมทงั้ งานวิจยั ที่

สอดคลอ้ งกบั ความ

ตอ้ งการของการ

พัฒนาประเทศ ที่

มุ่งหวังให้กาลงั คน

ได้รับการผลติ และ

พฒั นาเพ่ือเสริมสรา้ ง

ศกั ยภาพ การแข่งขัน

ของประเทศ และมี

องค์ความรู้

เทคโนโลยี นวตั กรรม

สนบั สนนุ การพฒั นา

ประเทศอยา่ งย่ังยนื

ซึ่งตอบสนองการ

พฒั นาในดา้ น

คุณภาพ และดา้ น

การตอบโจทย์บริบท

ทเ่ี ปลีย่ นแปลง

ยทุ ธศาสตร์ที่ ยุทธศาสตรท์ ่ี (10) จัดให้ ชมุ ชนมี ยุทธศาสตร์ท่ี 6

3การพฒั นา 3การพฒั นา สว่ นรว่ มในการ ยุทธศาสตร์พัฒนา

ฉบับได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประ

ยทุ ธศาสตร์สานกั งาน แผนพฒั นา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบับที่ 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

ตอบโจทย์การ

พัฒนาแห่งอนาคต

3.สง่ เสรมิ ความ 2. การผลติ และ ประเดน็ การพฒั นาที่ 5 การสรา้ งความ
รว่ มมอื ภาครฐั และ พัฒนา กาลังคน 4 การเปล่ียนผา่ น เติบโตบนคุณภาพ

ะชมุ ครั้งท่ี 1/2565 เม่อื วันที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 17

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

โครงสรา้ ง โครงสร้าง จดั การ การ ระบบบริหารจดั การ

พ้ืนฐาน พน้ื ฐาน บารงุ รกั ษา และการ และสง่ เสริมให้ทุก

ใชป้ ระโยชนจ์ าก ภาคสว่ นมีส่วนร่วม

ทรัพยากร ธรรมชาติ ในการจดั การศกึ ษาท่ี

และส่ิงแวดล้อมอย่าง มงุ่ หวังใหม้ กี ารใช้

สมดุลและย่งั ยืน ทรพั ยากรท้งั ด้าน

เพ่อื ให้ เกดิ ประโยชน์ งบประมาณและ

สงู สดุ แกช่ มุ ชน และ บุคลากรได้อยา่ ง

ให้ ชุมชนมสี ว่ นรว่ ม ค้มุ ค่า ไม่เกิด การสญู

ในการกาหนด เปลา่ และมีความ

นโยบายและบริหาร คล่องตวั ซงึ่

จดั การ ตอบสนองการพฒั นา

ในด้านประสิทธิภาพ

ฉบบั ไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตร์สานกั งาน แผนพฒั นา กรอบแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบบั ที่ 13
การอาชวี ศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

เอกชนในการจัดการ การวจิ ัย และ จากกาลงั คนทกั ษะ ชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับ

อาชวี ศกึ ษา นวัตกรรม เพ่ือสร้าง ตา่ และภาครฐั ท่ี สิง่ แวดล้อม

ขดี ความสามารถใน ล้าสมยั ไปสู่ (- จดั ระบบ

การ แข่งขันของ กาลังคนและภาครัฐ อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู

ประเทศ ทมี่ ีสมรรถนะสูง และป้องกนั การ

3. การพัฒนา เพอื่ เอ้ือต่อการ ทาลาย

ศกั ยภาพ คนทกุ ช่วง เปลย่ี นผา่ นประเทศ ทรัพยากรธรรมชา

วัยและ การสร้าง ไปสูก่ ารเป็น ติ

สังคม แหง่ การ เศรษฐกิจสร้าง - พัฒนาและใช้

เรียนรู้ คณุ ค่า สงั คม พลงั งานทเี่ ปน็ มติ ร

5. การจัดการศึกษา เดินหน้าอยา่ งยัง่ ยนื กับสิง่ แวดล้อมกับ

เพ่ือสร้างเสริม หมดุ หมายที่ 13 ทกุ ภาคเศรษฐกิจ

คณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ป็น ไทยมภี าครัฐที่มี - รว่ มลดปัญหา

มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม สมรรถนะสูง โลกร้อน และ

ปรับตวั ให้พร้อม

รับการ

เปลี่ยนแปลง

สภาพภูมิอากาศ

2. การสร้าง

ความสามารถใน

การแข่งขนั

(- การพัฒนา

ปัจจยั สนับสนุน

ะชมุ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 18

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพัฒนาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อดุ มศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบับท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยุทธศาสตรท์ ่ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ (2) จัดการศึกษา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1

4 การศึกษาท่ี 4 การศกึ ษาท่ี ทางดา้ นวชิ าชพี ทง้ั ยุทธศาสตร์พัฒนา

เปน็ เลศิ เปน็ เลศิ ระดบั ตา่ กวา่ ปริญญา หลักสูตร

และระดบั ปริญญา กระบวนการเรยี น

(3) สร้างหรือพัฒนา การสอน การวดั และ

องค์ความรู้ อย่าง ประเมินผล ที่มงุ่ หวงั

ตอ่ เนอ่ื ง และนา ใหค้ นไทยมีคุณธรรม

ความรู้ น้ันไปใช้ เพอื่ จริยธรรม มีภูมิคุ้มกนั

ประโยชนใ์ นการ ต่อการเปลยี่ นแปลง

พฒั นา ประเทศและ และการพฒั นา

ภูมิภาคใกล้ เคยี ง ประเทศ ในอนาคต

โดยเน้นการวจิ ัย การ ซ่งึ ตอบสนองการ

ประยกุ ต์และการบูร พฒั นาในดา้ น

ณาการภมู ปิ ัญญา คุณภาพและด้านการ

ท้องถน่ิ เข้ากบั ตอบโจทย์บริบทท่ี

เทคโนโลยีเพือ่ พฒั นา เปล่ียนแปลง

ชุมชนและสงั คมให้ ยุทธศาสตร์ที่ 3

เขม้ แข็ง มีสนั ตสิ ุข ยุทธศาสตรผ์ ลติ และ

ฉบับไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตร์สานกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแห่งชาติ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

และการพฒั นา

โครงสรา้ งพนื้ ฐาน

เพอ่ื เพ่ิมขีด

ความสามารถใน

การแขง่ ขนั )

1.ผลติ และพฒั นา 1. การจัดการศึกษา ประเดน็ การพฒั นาท่ี 2. การสร้าง

กาลงั คนดา้ นวิชาชีพ เพ่ือความมน่ั คง 4 การเปลีย่ นผ่าน ความสามารถใน

อย่างมีคุณภาพและ ของสังคมและ จากกาลังคนทกั ษะ การแขง่ ขนั (การ

เพยี งพอกับความ ประเทศชาติ ต่าและภาครัฐท่ี พัฒนาภาคการ

ตอ้ งการพฒั นา 3. การพฒั นา ลา้ สมัย ไปสู่ ผลติ และบริการ

ประเทศ ศักยภาพ คนทกุ ชว่ ง กาลังคนและภาครฐั การพัฒนาสังคม

2.พัฒนาขีด วัยและ การสร้าง ที่มีสมรรถนะสูง ผปู้ ระกอบการ

ความสามารถ สงั คม แห่งการ เพ่ือเอื้อต่อการ เพ่อื สรา้ ง

กาลงั คนดา้ นวิชาชีพ เรยี นรู้ เปลีย่ นผ่านประเทศ ผู้ประกอบการ

ในทุกช่วงวัย 4. การสร้างโอกาส ไปสกู่ ารเปน็ ทางธุรกจิ การ

3.สง่ เสริมความ ความเสมอภาค เศรษฐกจิ สรา้ ง พัฒนาปัจจยั

รว่ มมอื ภาครฐั และ และความ เท่าเทยี ม คุณค่า สังคม สนบั สนนุ และ

เอกชนในการจัดการ ทางการศึกษา เดนิ หนา้ อยา่ งยงั่ ยืน การพฒั นา

อาชีวศึกษา 5. การจัดการศึกษา หมุดหมายท่ี 12 โครงสรา้ ง

เพอื่ สร้างเสรมิ ไทยมีกาลังคน พื้นฐาน เพ่ือเพม่ิ

คณุ ภาพชีวติ ที่เป็น สมรรถนะสูง มงุ่ ขดี ความสามารถ

มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม เรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง ในการแข่งขนั

ตอบโจทยก์ าร และการ

ะชมุ คร้ังท่ี 1/2565 เมอ่ื วนั ที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 19

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อดุ มศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

และย่งั ยืน พัฒนากาลังคน

(8) จดั การศกึ ษา รวมท้ังงานวจิ ัยที่

โดยเน้นประชาชนใน สอดคลอ้ งกบั ความ

ภูมภิ าคทต่ี ั้งของ ตอ้ งการของการ

มหาวทิ ยาลยั และ พฒั นาประเทศ ที่

ประเทศใกล้เคียง มุง่ หวงั ให้กาลังคน

เปน็ สาคญั ไดร้ ับการผลิตและ

พัฒนาเพ่ือเสริมสรา้ ง

ศกั ยภาพ การแข่งขนั

ของประเทศ และมี

องค์ความรู้

เทคโนโลยี นวตั กรรม

สนับสนุนการพัฒนา

ประเทศอย่างยั่งยืน

ซึง่ ตอบสนองการ

พฒั นาในดา้ น

คณุ ภาพ และด้าน

การตอบโจทยบ์ ริบท

ทีเ่ ปลี่ยนแปลง

ฉบบั ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบบั ที่ 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570) วางรากฐานท่ี
(พ.ศ.2560-2579) แข็งแกรง่ เพ่ือ
พัฒนาแหง่ อนาคต สนับสนนุ การ
เพม่ิ ขีด
ความสามารถใน
การแข่งขนั )
3. การพัฒนา
และเสริมสร้าง
ศกั ยภาพคน
(การปรับเปล่ยี น
คา่ นิยมและ
วัฒนธรรมเพ่อื
สรา้ งคนไทยที่มี
คุณภาพ
คุณธรรม
จรยิ ธรรม มี
ระเบยี บ วินยั
เคารพกฎหมาย
- การพฒั นา
ศกั ยภาพคน
ตลอดช่วงชวี ติ
- การปฏริ ูปการ
เรียนรูแ้ บบพลกิ

ะชมุ คร้งั ท่ี 1/2565 เม่อื วนั ท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 20

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ฉบบั ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยทุ ธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยุทธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570) โฉม
(พ.ศ.2560-2579) - การพฒั นาและ
รักษากลุ่มผู้มี
ความสามารถ
พิเศษ
การเสรมิ สร้างให้
คนไทยมสี ุขภาวะ
ทด่ี ี และการ
สร้างความอยดู่ ีมี
สุขของครอบครวั
ไทย)
4. การสรา้ งโอกาส
ความเสมอภาค
และเท่าเทยี มกนั
ทางสังคม (การ
สร้างความมน่ั คง
ทางเศรษฐกจิ และ
สงั คม รวมทง้ั
ความม่นั คงในชวี ติ
และทรัพย์สินของ
ทุกคนทุกกลุ่มใน
สังคม)

ะชมุ คร้งั ที่ 1/2565 เมอ่ื วันท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 21

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยุทธศาสตร์ที่ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี (3) สร้างหรือพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4

5 งานวิจัย 5 งานวิจัย องค์ความรู้ อยา่ ง ยุทธศาสตร์ขยาย

และนวตั กรรม และนวตั กรรม ต่อเนื่อง และนา โอกาสการเข้าถงึ

ทเ่ี ปน็ เลิศ ที่เป็นเลศิ ความรู้ นนั้ ไปใช้ เพ่อื บรกิ ารทางการศึกษา

ประโยชนใ์ นการ และการเรียนรู้ อย่าง

พฒั นา ประเทศและ ตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ ท่ี

ภูมภิ าคใกล้ เคียง มุ่งหวังใหก้ ารบริการ

โดยเน้นการวจิ ยั การ การศกึ ษาแกผ่ ้เู รียน

ประยกุ ต์และการบรู ทกุ กลมุ่ ทุกวยั ใน

ณาการภูมปิ ญั ญา ระดบั ทีเ่ หมาะสมกับ

ทอ้ งถิ่นเขา้ กบั สภาพบริบทและ

เทคโนโลยเี พอ่ื พฒั นา สภาพพ้ืนท่ี ซ่ึง

ชุมชนและสงั คมให้ ตอบสนองการพฒั นา

เข้มแข็ง มสี ันติสขุ ในดา้ นการเขา้ ถงึ การ

และย่ังยนื ให้บริการและด้าน

(4) สง่ เสรมิ ประยกุ ต์ ความเทา่ เทียม

และพัฒนาวิชาการและ

วชิ าชพี ชั้นสูง

(7) สง่ เสรมิ และ

พัฒนาเครือขา่ ย

ความร่วมมอื ทาง

การศึกษา การวิจยั

และการบริการกับ

ฉบับได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาติ เศรษฐกิจและสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบบั ที่ 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

3.สง่ เสริมความ 2. การผลิตและ ประเดน็ การพัฒนาที่ 1. ความมัน่ คง

รว่ มมือภาครัฐและ พัฒนา กาลังคน 4 การเปลยี่ นผ่าน (การบริหาร

เอกชนในการจดั การ การวจิ ัย และ จากกาลังคนทักษะ จัดการความ

อาชวี ศกึ ษา นวัตกรรม เพ่ือสรา้ ง ตา่ และภาครฐั ที่ ม่ันคงให้

7.ผลติ และพฒั นาครู ขดี ความสามารถใน ลา้ สมัย ไปสู่ สอดคล้องกับ

อาชวี ศกึ ษาใหม้ ี การ แขง่ ขนั ของ กาลงั คนและภาครัฐ แผนงานพฒั นา

สมรรถนะสอดคล้อง ประเทศ ท่ีมีสมรรถนะสูง อืน่ ๆ เพ่ือ

กับบริบทความ 3. การพัฒนา เพือ่ เอื้อต่อการ ชว่ ยเหลอื

เปลย่ี นแปลง ศักยภาพ คนทกุ ช่วง เปล่ยี นผา่ นประเทศ ประชาชนและ

วยั และ การสรา้ ง ไปสู่การเป็น รว่ มพัฒนา

สังคม แหง่ การ เศรษฐกจิ สรา้ ง ประเทศ)

เรียนรู้ คณุ ค่า สังคม 3. การพัฒนา

4. การสร้างโอกาส เดนิ หนา้ อย่างยั่งยนื และเสริมสรา้ ง

ความเสมอภาค หมดุ หมายที่ 12 ศกั ยภาพคน

และความ เท่าเทียม ไทยมีกาลงั คน (- การพฒั นา

ทางการศกึ ษา สมรรถนะสงู มงุ่ ศักยภาพคน

5. การจัดการศึกษา เรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง ตลอดชว่ งชีวิต

เพอ่ื สรา้ งเสรมิ ตอบโจทย์การ - การปฏริ ูปการ

คุณภาพชีวิตที่เป็น พฒั นาแหง่ อนาคต เรียนรแู้ บบพลกิ

มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม หมดุ หมายที่ 1 โฉม

การเกษตรและ - การเสรมิ สร้าง

เกษตรแปรรปู มลู ค่า ให้คนไทยมสี ุข

สงู ภาวะท่ีดี และ

ะชมุ คร้ังท่ี 1/2565 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 22

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพัฒนาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

สถาบนั และ

หน่วยงานอนื่ ทั้งใน

ประเทศและ

ต่างประเทศ

(9) รว่ มพฒั นา

ทอ้ งถนิ่ ดาเนินการ

จดั การศึกษาและ

ฝึกอบรมที่ตอบสนอง

ความต้องการและ

เสริมสรา้ ง องค์

ความร้ขู องชมุ ชนให้

เขม้ แข็ง เชดิ ชภู ูมิ

ปญั ญาของท้องถ่นิ

สร้างสรรค์ศลิ ปวทิ ยา

เพอื่ ความ

เจรญิ ก้าวหนา้ อยา่ ง

มั่นคงและย่ังยนื ของ

ปวงชน

(10) จดั ให้ ชุมชนมี

สว่ นรว่ มในการ

จัดการ การ

บารุงรักษา และการ

ใช้ประโยชน์จาก

ฉบบั ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาติ เศรษฐกิจและสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

หมุดหมายท่ี 2 การ การสร้างความ

ทอ่ งเท่ยี วเน้น อย่ดู ีมีสขุ ของ

คณุ ภาพ และเพ่ิม ครอบครัวไทย)

มูลคา่ 4. การสร้าง

หมดุ หมายที่ 3 ฐาน โอกาสความ

ผลิตยานยนตไ์ ฟฟา้ เสมอภาคและ

ของอาเซยี น เท่าเทยี มกันทาง

หมดุ หมายท่ี 4 สังคม (การสรา้ ง

การแพทย์และ ความมนั่ คงทาง

สขุ ภาพแบบครบ เศรษฐกจิ และ

วงจร สังคม รวมทัง้

หมดุ หมายที่ 5 ความมั่นคงใน

ประตกู ารค้าการ ชีวิต และ

ลงทุนและโลจิสตกิ ส์ ทรัพยส์ นิ ของทุก

ของภมู ิภาค และ คนทกุ กลุม่ ใน

หมุดหมายที่ 6 สังคม)

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 5 การสรา้ งความ

อัจฉรยิ ะและดจิ ิทัล เติบโตบน

ประเดน็ การพฒั นาท่ี คุณภาพชวี ิตท่ี

2 การเปล่ียนผา่ น เปน็ มติ รกบั

จากสังคมทม่ี เี พยี ง ส่ิงแวดล้อม

บางกลุ่มทเี่ ขา้ ถึง (- จัดระบบ

โอกาสไปสสู่ ังคมท่มี ี อนรุ ักษ์ ฟื้นฟู

ะชมุ ครงั้ ท่ี 1/2565 เมือ่ วันท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 23

ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ทรพั ยากร ธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง

สมดุลและยัง่ ยืน

เพื่อให้ เกิดประโยชน์

สูงสดุ แกช่ ุมชน และ

ให้ ชมุ ชนมสี ่วนรว่ ม

ในการกาหนด

นโยบายและบรหิ าร

จัดการ

ฉบบั ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประ

ยทุ ธศาสตร์สานกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแห่งชาติ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13
การอาชวี ศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

โอกาสสาหรบั ทุกคน และป้องกนั การ

และทกุ พ้ืนที่ หรือ ทาลาย

การสรา้ งสังคมแห่ง ทรัพยากรธรรมช

โอกาสและความ าติ

เสมอภาค - พัฒนาและใช้

หมดุ หมายท่ี 7 มุ่ง พลงั งานที่เป็น

ลดความเหล่อื มล้า มิตรกบั

ระหว่างธุรกิจขนาด สง่ิ แวดลอ้ มกับ

ใหญแ่ ละ SMEs ทกุ ภาคเศรษฐกจิ

หมดุ หมายท่ี 8 มุ่ง - รว่ มลดปญั หา

ลดความเหลื่อมลา้ โลกรอ้ น และ

ระหว่างพื้นที่ และ ปรับตัวใหพ้ ร้อม

หมุดหมายท่ี 9 มุ่ง รับการ

เพม่ิ พลวตั การเลอ่ื น เปล่ยี นแปลง

ช้ันทางสังคมและลด สภาพภูมอิ ากาศ)

ความเหลื่อมลา้ เชิง

รายไดแ้ ละความมั่ง

คง่ั

ประเดน็ การพัฒนาท่ี

3 การเปลย่ี นผ่าน

จากการผลิตและ

การบรโิ ภคที่ทาลาย

สิ่งแวดล้อม ไปสวู่ ิถี

ะชมุ คร้ังที่ 1/2565 เมือ่ วันท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 24

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ฉบบั ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

ชวี ิตท่เี ป็นมติ รต่อ

สงิ่ แวดลอ้ มและมี

ความปลอดภัยหรอื

การเสริมสร้างวถิ ี

ชีวิตที่ย่งั ยืน

หมดุ หมายท่ี 11

ไทยสามารถปรบั ตวั

และลดความเสี่ยง

จากภัยธรรมชาติ

ประเดน็ การพฒั นาที่

4 การเปลีย่ นผ่าน

จากกาลงั คนทกั ษะ

ต่าและภาครฐั ที่

ลา้ สมยั ไปสู่

กาลงั คนและภาครัฐ

ทมี่ ีสมรรถนะสูง

เพื่อเอ้ือต่อการ

เปล่ียนผา่ นประเทศ

ไปส่กู ารเปน็

เศรษฐกจิ สรา้ ง

คุณคา่ สงั คม

เดนิ หน้าอย่างยงั่ ยืน

หมดุ หมายที่ 12

ะชมุ คร้งั ที่ 1/2565 เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 25

ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพฒั นาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอุดมศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบับที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ยุทธศาสตร์ที่ (1) ผลิตบณั ฑิตให้ มี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1
6 การผลติ 6 การผลิต
บัณฑติ ท่เี ป็น บัณฑติ ท่เี ป็น ความรคู้ วามสามารถ ยทุ ธศาสตร์พฒั นา
เลศิ เลิศ
ทางวิชาการและ หลกั สูตร

ทกั ษะในวชิ าชีพ รู้ กระบวนการเรียน

จกั คดิ อยา่ งมเี หตุผล การสอน การวัดและ

มีคุณธรรม จริยธรรม ประเมินผล ทม่ี ุ่งหวัง

และมคี วามใฝ่ ให้คนไทยมคี ุณธรรม

เรียนรู้ จรยิ ธรรม มีภมู คิ ุ้มกนั

ต่อการเปลย่ี นแปลง

และการพฒั นา

ประเทศ ในอนาคต

ซงึ่ ตอบสนองการ

พฒั นาในดา้ น

คณุ ภาพและด้านการ

ตอบโจทย์บริบทที่

เปลีย่ นแปลง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3

ยทุ ธศาสตรผ์ ลติ และ

ฉบับไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตร์สานกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพฒั นา ยุทธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแห่งชาติ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับท่ี 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

ไทยมีกาลงั คน

สมรรถนะสงู มงุ่

เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง

ตอบโจทยก์ าร

พัฒนาแห่งอนาคต

1.ผลิตและพัฒนา 1. การจดั การศึกษา ประเดน็ การพัฒนาที่ 2. การสร้าง

กาลงั คนดา้ นวิชาชีพ เพอ่ื ความมัน่ คง 4 การเปลี่ยนผา่ น ความสามารถใน

อยา่ งมีคณุ ภาพและ ของสังคมและ จากกาลังคนทักษะ การแข่งขัน (การ

เพยี งพอกบั ความ ประเทศชาติ ต่าและภาครฐั ท่ี พฒั นาภาคการ

ตอ้ งการพฒั นา 3. การพัฒนา ลา้ สมยั ไปสู่ ผลิต และบรกิ าร

ประเทศ ศักยภาพ คนทุกช่วง กาลงั คนและภาครัฐ การพัฒนาสังคม

2.พัฒนาขีด วยั และ การสรา้ ง ท่ีมีสมรรถนะสงู ผูป้ ระกอบการ

ความสามารถ สังคม แห่งการ เพือ่ เอื้อตอ่ การ เพือ่ สร้าง

กาลังคนดา้ นวิชาชพี เรียนรู้ เปลีย่ นผ่านประเทศ ผู้ประกอบการ

ในทุกช่วงวัย 4. การสรา้ งโอกาส ไปสกู่ ารเปน็ ทางธรุ กิจ การ

3.ส่งเสริมความ ความเสมอภาค เศรษฐกจิ สรา้ ง พัฒนาปจั จยั

รว่ มมือภาครัฐและ และความ เท่าเทียม คณุ คา่ สงั คม สนับสนนุ และ

เอกชนในการจัดการ ทางการศึกษา เดินหน้าอย่างยั่งยืน การพฒั นา

อาชวี ศกึ ษา 5. การจัดการศึกษา หมดุ หมายท่ี 12 โครงสรา้ ง

เพอ่ื สรา้ งเสริม ไทยมีกาลงั คน พ้นื ฐาน เพื่อเพม่ิ

คณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ สมรรถนะสูง มงุ่ ขีดความสามารถ

มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม เรยี นร้อู ยา่ งต่อเนือ่ ง ในการแข่งขนั

ตอบโจทยก์ าร และการ

ะชมุ ครงั้ ที่ 1/2565 เมอื่ วนั ที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 26

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบญั ญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับท่ี 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

พฒั นากาลงั คน

รวมทั้งงานวิจยั ที่

สอดคลอ้ งกับ ความ

ตอ้ งการของการ

พฒั นาประเทศ ท่ี

มุ่งหวงั ใหก้ าลงั คน

ได้รับการผลิตและ

พัฒนาเพื่อเสริมสร้าง

ศกั ยภาพ การแข่งขัน

ของประเทศ และมี

องค์ความรู้

เทคโนโลยี นวตั กรรม

สนับสนนุ การพัฒนา

ประเทศอย่างย่ังยนื

ซง่ึ ตอบสนองการ

พฒั นาในดา้ น

คุณภาพ และด้าน

การตอบโจทย์บริบท

ท่เี ปลย่ี นแปลง

ฉบับไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตร์สานกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพฒั นา ยุทธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับที่ 13
การอาชีวศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570) วางรากฐานท่ี
(พ.ศ.2560-2579) แขง็ แกร่ง เพ่ือ
พฒั นาแหง่ อนาคต สนับสนนุ การ
เพ่ิมขีด
ความสามารถใน
การแข่งขนั )
3. การพัฒนา
และเสริมสรา้ ง
ศกั ยภาพคน
(การปรับเปลี่ยน
ค่านยิ มและ
วฒั นธรรมเพอื่
สรา้ งคนไทยท่ีมี
คุณภาพ
คุณธรรม
จรยิ ธรรม มี
ระเบียบ วนิ ัย
เคารพกฎหมาย
- การพฒั นา
ศกั ยภาพคน
ตลอดช่วงชวี ิต
- การปฏิรปู การ
เรียนรแู้ บบพลกิ

ะชมุ คร้ังที่ 1/2565 เมอ่ื วนั ท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 27

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพฒั นาการศกึ ษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดบั อุดมศึกษา
และเทคโนโลยี ฉบับที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ฉบบั ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั นครพนม ในคราประ

ยทุ ธศาสตร์สานกั งาน แผนพฒั นา กรอบแผนพฒั นา ยุทธศาสตรช์ าติ
คณะกรรมการ การศึกษาแหง่ ชาติ เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 13
การอาชีวศึกษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570) โฉม
(พ.ศ.2560-2579) - การพัฒนาและ
รักษากลุ่มผู้มี
ความสามารถ
พิเศษ
การเสรมิ สร้างให้
คนไทยมีสขุ ภาวะ
ท่ีดี และการ
สร้างความอยดู่ ีมี
สขุ ของครอบครวั
ไทย)
4. การสรา้ งโอกาส
ความเสมอภาค
และเทา่ เทียมกัน
ทางสังคม (การ
สรา้ งความมน่ั คง
ทางเศรษฐกจิ และ
สงั คม รวมท้ัง
ความมัน่ คงในชีวิต
และทรัพย์สินของ
ทกุ คนทุกกลุ่มใน
สังคม)

ะชมุ คร้งั ที่ 1/2565 เมือ่ วนั ท่ี 19 มกราคม 2565 หน้า 28

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ พระราชบัญญัติ แผนพัฒนาการศึกษา
คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม ระดับอดุ มศกึ ษา
และเทคโนโลยี ฉบบั ที่ 13
นครพนม พ.ศ. 2548
(มาตรา 7) (พ.ศ.2561-2580)

ยทุ ธศาสตร์ที่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี (6) ทะนบุ ารงุ ศลิ ปะ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1

7 7 วัฒนธรรม สงเสริม ยุทธศาสตรพ์ ฒั นา

ศลิ ปวัฒนธรรม ศลิ ปวัฒนธรรม และสนบั สนนุ การ หลกั สูตร

ท่เี ปน็ เลศิ ท่เี ป็นเลิศ กฬี าและนันทนาการ กระบวนการเรยี น

การสอน การวัดและ

ประเมนิ ผล ท่มี ุง่ หวัง

ใหค้ นไทยมคี ุณธรรม

จรยิ ธรรม มีภูมคิ ุม้ กัน

ตอ่ การเปลี่ยนแปลง

และการพัฒนา

ประเทศ ในอนาคต

ซ่งึ ตอบสนองการ

พัฒนาในด้าน

คุณภาพและด้านการ

ตอบโจทยบ์ ริบทท่ี

เปลี่ยนแปลง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ยุทธศาสตรท์ ี่ (3) สร้างหรอื พัฒนา ยทุ ธศาสตร์ที่ 4
8 8 องค์ความรู้ อย่าง ยุทธศาสตรข์ ยาย
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ตอ่ เนือ่ ง และนา โอกาสการเข้าถงึ
เพอ่ื การ เพอ่ื การ ความรู้ นนั้ ไปใช้ เพือ่ บรกิ ารทางการศึกษา

ฉบบั ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะเกษตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั นครพนม ในคราประ

ยุทธศาสตรส์ านกั งาน แผนพัฒนา กรอบแผนพัฒนา ยทุ ธศาสตร์ชาติ
คณะกรรมการ การศกึ ษาแหง่ ชาติ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579 แห่งชาติ ฉบับท่ี 13
การอาชวี ศกึ ษา 20 ปี (พ.ศ. 2566–2570)
(พ.ศ.2560-2579)

1.ผลติ และพฒั นา 1. การจดั การศึกษา ประเดน็ การพฒั นาท่ี 3. การพฒั นาและ

กาลังคนด้านวชิ าชีพ เพื่อความมนั่ คง 4 การเปลีย่ นผา่ น เสรมิ สรา้ ง

อยา่ งมีคณุ ภาพและ ของสังคมและ จากกาลังคนทักษะ ศักยภาพคน (การ

เพยี งพอกบั ความ ประเทศชาติ ตา่ และภาครัฐท่ี ปรบั เปล่ยี น

ต้องการพัฒนา 3. การพัฒนา ล้าสมัย ไปสู่ คา่ นยิ มและ

ประเทศ ศกั ยภาพ คนทุกช่วง กาลงั คนและภาครัฐ วฒั นธรรมเพ่ือ

2.พัฒนาขีด วัยและ การสร้าง ทีม่ ีสมรรถนะสงู สร้างคนไทยท่มี ี

ความสามารถ สงั คม แห่งการ เพ่ือเอ้ือตอ่ การ คณุ ภาพ คุณธรรม

กาลงั คนดา้ นวชิ าชพี เรียนรู้ เปลย่ี นผ่านประเทศ จริยธรรม มี

ในทกุ ชว่ งวยั 4. การสรา้ งโอกาส ไปสู่การเป็น ระเบยี บ วินยั

3.สง่ เสรมิ ความ ความเสมอภาค เศรษฐกิจสร้าง เคารพกฎหมาย

ร่วมมอื ภาครัฐและ และความ เท่าเทียม คณุ ค่า สังคม

เอกชนในการจัดการ ทางการศกึ ษา เดินหนา้ อยา่ งยง่ั ยนื

อาชีวศกึ ษา 5. การจัดการศึกษา หมดุ หมายท่ี 12

เพ่อื สรา้ งเสรมิ ไทยมีกาลังคน

คุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็น สมรรถนะสูง มุ่ง

มติ รกับสิ่งแวดล้อม เรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ือง

ตอบโจทยก์ าร

พฒั นาแหง่ อนาคต

3.สง่ เสริมความ 2. การผลติ และ ประเด็นการพฒั นาที่ 1. ความมน่ั คง

ร่วมมอื ภาครฐั และ พฒั นา กาลงั คน 1 การเปลี่ยนผา่ น (การบรหิ าร

เอกชนในการจัดการ การวิจัย และ จากเศรษฐกจิ ฐาน จัดการความ

อาชวี ศกึ ษา นวัตกรรม เพ่ือสร้าง ทรัพยากร ไปสู่ ม่นั คงให้

ะชุมครง้ั ที่ 1/2565 เมอ่ื วันที่ 19 มกราคม 2565 หน้า 29


Click to View FlipBook Version