The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวิเคราะห์ปัญหาจากการใช้นวัตกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 406202007, 2020-02-20 23:24:14

การวิเคราะห์ปัญหาจากการใช้นวัตกรรม

การวิเคราะห์ปัญหาจากการใช้นวัตกรรม

Keywords: ปัญหาและอุปสรรคในการใช้นวัตกรรม,ผลกระทบด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการน านวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้

139

บทที่ 8
การวเิ คราะห์ปัญหาจากการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปญั หาและอปุ สรรคในการใช้นวัตกรรม
ปจั จุบนั มกี ารนานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยกุ ตใ์ ช้ในดา้ นการศกึ ษาอย่าง

แพรห่ ลาย ทง้ั การบริหารจัดการศึกษาและการจัดการเรียนการสอน ด้วยเหตผุ ลในหลายประการ ไมว่ ่าจะ
เปน็ ความรวดเรว็ ในการทางาน ความแมน่ ยาและถูกต้องของขอ้ มูล ความหลากหลายในรปู แบบการ
นาเสนอ เปน็ ต้น ถึงแมว้ ่าประโยชน์ของนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศจากมมี ากมาย แตก่ ็มี
ผลกระทบในทางลบที่ตามมา ซ่ึงผ้ใู ช้จาเป็นจะต้องศกึ ษาเพอ่ื หาทางป้องกนั และลดปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น
โดยมีประเด็นปัญหาท่ีเกิดจากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา ดงั นี้

การปฏเิ สธนวตั กรรม
เมอ่ื มีผคู้ น้ คดิ หานวตั กรรมมาใชไ้ มว่ า่ ในวงการใดก็ตาม มกั จะได้รับการตอ่ ต้านหรอื การปฏิเสธ
ตัวอยา่ งเช่นการปฏวิ ัตอิ ตุ สาหกรรมในยโุ รป ลัทธิการปกครอง หรือวิธีการสอนใหม่ ๆ เนื่องมาจากสาเหตุ
หลายประการด้วยกนั ดังนี้
1. ความเคยชนิ กบั วธิ กี ารเดมิ ๆ เนอ่ื งจากบคุ คลมีความเคยชินกบั วิธกี ารเดิม ๆ ที่ ตนเองเคยใช้และ
พงึ พอใจในประสทิ ธภิ าพของวธิ ีการนั้น ๆ บุคคลผนู้ ้ันกม็ กั ท่ีจะยืนยันในการใชว้ ธิ กี ารน้นั ๆ ต่อไปโดยยากที่
จะเปลี่ยนแปลง
2. ความไม่แนใ่ จในประสิทธภิ าพของนวตั กรรม แมบ้ คุ คลผ้นู นั้ จะทราบข่าวสารของนวัตกรรมน้นั ๆ
ในแง่ของประสิทธภิ าพว่าสามารถนาไปใชแ้ ก้ปญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้เป็นอย่างดีก็ตาม การทต่ี นเอง
มิไดเ้ ป็นผู้ทดลองใชน้ วัตกรรมน้นั ๆ ก็ย่อมทาใหไ้ มแ่ นใ่ จวา่ นวัตกรรมนนั้ ๆ มีประสทิ ธิภาพจรงิ หรอื ไม่
3. ความรู้ของบคุ คลตอ่ นวัตกรรม เนื่องจากนวตั กรรมเปน็ สิง่ ท่ีโดยมากแลว้ บุคคลส่วนมากมีความรู้
ไม่เพียงพอแก่การทีจ่ ะเข้าใจในนวตั กรรมน้ันๆ ทาใหม้ คี วามรู้สกึ ท้อถอยที่จะเข้าใจในนวตั กรรมน้ัน ๆ ทา
ให้มีความรสู้ ึกทอ้ ถอยทจี่ ะแสวงหานวตั กรรมมาใช้ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนเปน็ ตวั อยา่ งหนง่ึ ของนวตั กรรมที่
นาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการเรยี นการสอน ผู้ที่มคี วามร้พู ้นื ฐานทางคอมพวิ เตอร์ไม่
พอเพยี งก็จะร้สู กึ ท้อถอยและปฏเิ สธในการทจ่ี ะนานวตั กรรมนมี้ าใช้ในการเรยี นการสอนในชัน้ ของตน
4. ขอ้ จากดั ทางด้านงบประมาณ โดยทวั่ ไปแลว้ นวตั กรรมมักจะตอ้ งนาเอาเทคโนโลยี สมยั ใหม่มา
ใชใ้ นการพัฒนานวัตกรรม ดงั น้ันคา่ ใชจ้ ่ายของนวตั กรรมจึงดวู ่ามีราคาแพง ในสภาพเศรษฐกิจโดยท่วั ไป จึง
ไม่สามารถทจ่ี ะรองรบั ต่อคา่ ใช้จา่ ยของนวัตกรรมน้นั ๆ แมจ้ ะมองเห็นวา่ จะช่วยใหก้ ารดาเนนิ การ
โดยเฉพาะการเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขึน้ จริง ดงั นนั้ จะเปน็ ได้ว่าปัญหาดา้ นงบประมาณเป็นสว่ น
หนึ่งท่ที าให้เกิดการปฏิเสธนวตั กรรม

140

ปัญหาเกยี่ วกับการใชน้ วตั กรรมในการจัดการเรียนรู้ มดี ังน้ี
1. ปัญหาด้านบคุ ลากร บุคลากรขาดความรู้ความเขา้ ใจในการผลิตสอื่ ประกอบการจัดกจิ กรรม
บุคลากรขาดประสบการณใ์ นการใชส้ ื่อนวตั กรรมทางการศึกษา ไม่เขา้ ใจและรู้จกั วิธกี ารใชน้ วตั กรรมทที่ าง
โรงเรยี นจัดทาขนึ้ ขาดความชานาญในการใชน้ วัตกรรม ขาดสอ่ื ประกอบการเรียน บคุ ลากรส่วนใหญใ่ ห้
ความรว่ มมือในการใชน้ วัตกรรม แต่ขาดความตอ่ เนอื่ งแนวทางแกไ้ ข คือ สรา้ งความตระหนกั ความ
รบั ผิดชอบในส่วนท่ยี งั บกพร่องทางนวตั กรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้เขา้ ร่วมการอบรมสมั มนา ส่งเสริม
ให้เกดิ การศึกษาด้วยตนเอง เพือ่ ให้ความรู้และประสบการณใ์ นการใชส้ ่ือนวตั กรรมทางการศึกษาทมี่ ากขน้ึ
2. ปญั หาดา้ นวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เกีย่ วกบั นวตั กรรม คอื ขาดงบประมาณในการพัฒนา
นวตั กรรม ขาดวสั ดุ – อุปกรณแ์ ละงบประมาณทจ่ี ะพัฒนาสอ่ื นวตั กรรม การจดั หา การใช้ การดูแลรกั ษาและ
ขาดงบจดั หาสอ่ื ทันสมัย แนวทางการแก้ไข เพมิ่ งบประมาณให้เพียงพอ ใหห้ นว่ ยงานทม่ี ีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง
จัดหางบประมาณสนับสนุน สานักงานเขตพน้ื ทตี่ ้องช่วยดแู ลและใหค้ วามช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้
เพือ่ ใชใ้ นการพัฒนานวตั กรรมใหม้ ีคณุ ภาพดยี งิ่ ขึน้ และระดมทรัพยากรทม่ี ีในท้องถนิ่ มาช่วยสนับสนุน
3. ปญั หาด้านสภาพแวดล้อม และสถานท่กี ารใช้นวัตกรรม สภาพแวดลอ้ มโดยทวั่ ไปยงั ไม่
เหมาะสมกบั การใชส้ อ่ื เนื่องจากความยงุ่ ยากและไม่คล่องตวั มีสถานทไ่ี มเ่ ปน็ สดั ส่วน ไม่มีห้องทีใ่ ช้เพื่อ
เก็บรกั ษาส่ือ นวตั กรรมเป็นการเฉพาะ ทาใหก้ ารดแู ลทาได้ยากและขาดการพฒั นาท่ีตอ่ เน่ือง แนวทางการ
แกไ้ ข คือ ใชส้ ่อื นวัตกรรมตามความเหมาะสมของเนือ้ หาวชิ าตามความยากง่ายของเนือ้ หา จัดทาหอ้ งส่ือ
เคลอ่ื นที่ แบง่ ส่อื ไปตามห้องให้ครูรับผิดชอบ ควรจัดหาห้องเพ่อื การนีเ้ ป็นการเฉพาะ
4. ปัญหาด้านสภาพการเรียนการสอน เด็กมคี วามแตกต่างกนั ดา้ นสตปิ ัญญา และดา้ นรา่ งกาย
ปัญหาครอบครวั แตกแยก เด็กอาศยั อยูก่ ับญาติ มีเนอื้ หาวิชาท่ีมากและสาระ การเรยี นการสอนแต่ละคร้ังไม่
ตอ่ เนือ่ ง นกั เรียนบางคนไมส่ บายใจในกิจกรรม และทาไม่จริงจงั จึงมผี ลต่อการจดั กิจกรรม นักเรยี นต้อง
เข้าคิวรอนานกับนวตั กรรมบางชนิด และสภาพการเรยี นการสอน ครยู ังยึดวธิ กี ารสอนแบบเดมิ คอื
บรรยายหนา้ ชน้ั เรยี น แต่ส่วนใหญ่มแี นวโนม้ ในการพฒั นาทีด่ ีขึ้น ครูยังไม่มีการนาสอื่ นวัตกรรมมาใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนอย่างตอ่ เนือ่ ง แนวทางการแก้ไข คอื จดั กล่มุ ใหเ้ พ่ือนชว่ ยเพอื่ น คอยกากบั แนะนา
ช่วยเหลือ จัดครเู ขา้ สอนตามประสบการณค์ วามถนดั ควรจดั อบรมเพื่อใหค้ วามรู้ จัดทานวัตกรรมที่มี
โอกาสเป็นไปได้ และสร้างการมีส่วนร่วมจากชมุ ชน สอนเพม่ิ เตมิ นอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมชั้น
โดยใช้กระบวนการเรยี นการสอนตามช่วงชนั้
5. ปญั หาดา้ นการวดั ผลและประเมนิ ผล คือ บคุ ลากรขาดความรู้ในการท่ีจะนาส่อื นวตั กรรมมาใชใ้ น
การวัดผลและประเมินผล นกั เรยี นท่ไี ม่คอ่ ยสนใจหรือไมช่ อบกจิ กรรมก็จะมผี ลตอ่ การจัดผลประเมินผล
ขาดนวัตกรรมส่ือคอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เนต็ การวัดประเมนิ ผล ครสู ว่ นใหญ่ยงั ใช้วิธีการทาแบบทดสอบ
แบบปรนยั แนวทางการแกไ้ ข จัดทาแบบสอบถามสุม่ เป็นรายบุคคล เพศชาย หญงิ เน้นนกั เรยี นได้ฝึก
ปฏิบตั จิ ริง และสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง จัดแบบทดสอบทห่ี ลากหลาย ทั้งแบบปรนยั และอตั นยั และ
ประเมินผลตามสภาพจริง ประเมนิ ผลงานจากแฟม้ สะสมงาน

141

ปัญหาที่เกยี่ วกบั ตัวบุคคล

1.คนไทยส่วนใหญ่ไมน่ ับถือตนเอง คนไทยสว่ นใหญข่ าดความเชื่อม่นั และไมน่ ับถอื ตนเอง ใน

สภาพการเรยี นการสอนทีค่ รูเปน็ ศ ป็ า่ ง

143

ผลกระทบดา้ นต่างๆ ทเ่ี กิดขน้ึ จากการนานวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใช้
ในปัจจุบันการใชน้ วัตกรรมเปน็ สงิ่ ทพ่ี วกเราทกุ คนหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ คนในวัยใดกต็ าม

สอ่ื นวตั กรรมนีซ้ มึ ซาบเข้ามาสู่ตวั เราโดยไม่รูต้ วั และจะเกิดสง่ิ ใหม่ ๆ ขน้ึ ตามมาเสมอในสื่อนวตั กรรม ทา
ให้คนทุกคนตอ้ งวิง่ เขา้ หา จนทาให้เกิดคาว่า ปัญหา ตามมาตลอด นับตั้งแต่เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มามี
บทบาทในชีวติ ประจาวนั มากขน้ึ การใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ ไปอย่างกวา้ งขวาง ซง่ึ หมายถึงการใชเ้ ทคโนโลยไี ป
ใน ด้านตา่ ง ๆ ซง่ึ แนน่ อนยอ่ มตอ้ งมีทั้งคุณและโทษ ภาพยนตรห์ ลายเรอ่ื งได้ สะทอ้ นความคิดของการนาเอา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นทางลบ ผลกระทบ ในทางลบเหลา่ นบี้ างอยา่ งเป็นเพียงการคาดคะเนยงั ไมไ่ ด้
เกดิ ข้นึ จริง แต่ อยา่ งไรกต็ ามยอ่ มมีโอกาสเกดิ ขน้ึ ได้ ผลกระทบท่อี าจเกิดขึ้น มีดงั นี้

1. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศตอ่ การศึกษา
1.1 ครูกับนกั เรยี นจะขาดความสมั พันธแ์ ละความใกล้ชดิ กนั เพราะนักเรยี นสามารถที่จะ

เรยี นไดจ้ ากโปรแกรมสาเร็จรูปทาใหค้ วามสาคญั ของโรงเรยี นและครลู ดน้อยลง
1.2 นกั เรียนทมี่ ฐี านะยากจนไม่สามารถที่จะใช้ส่อื ประเภทน้ีได้ ทาให้เกิดข้อได้เปรียบ

เสียเปรยี บกันระหว่างนกั เรียนทฐี่ านะดีและยากจนทาให้เห็นวา่ ผทู้ มี่ ีฐานะทางเศรษฐกิจ กย็ อ่ มทจี่ ะมีโอกาส
ทางการศกึ ษาและทางสังคมดกี วา่ ดว้ ย

2. ผลกระทบด้านวัฒนธรรม
2.1 กอ่ ให้เกิดการรบั วฒั นธรรม หรอื แลกเปล่ียนวฒั นธรรมของคนในสงั คมโลก การแพร่

ของวฒั นธรรมจากสงั คมหนง่ึ ไปสู่สังคมอกี สงั คมหนง่ึ เป็นการสรา้ งค่านยิ มใหมใ่ หก้ บั สังคมที่รบั วฒั นธรรม
น้นั ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิด ค่านยิ มที่ไมพ่ ่ึงประสงค์ขน้ึ ในสงั คมนน้ั เช่น พฤติกรรมทีแ่ สดงออกทางค่านยิ มของ
เยาวชนด้านการแต่งกายและการบริโภค การมอมเมาเยาวชนในรปู ของเกมส์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สง่ ผลกระทบตอ่
การพัฒนาอารมณ์และจิตใจของเยาวชน เกิดการกลนื วัฒนธรรมดงั เดมิ ซ่ึงแสดงถงึ เอกลักษณ์ของสังคมนนั้ ๆ

2.2 ทาใหเ้ กดิ การแพรว่ ฒั นธรรมและกระจายขา่ วสารทไ่ี ม่เหมาะสมอยา่ งรวดเรว็
คอมพวิ เตอร์เปน็ อปุ กรณท์ ีท่ างานตามคาสงั่ อยา่ งเครง่ ครัด การนามาใช้ ในทางใดจงึ ข้นึ อยู่กับผู้ใช้ จรยิ ธรรม
การใชค้ อมพวิ เตอรซ์ ่ึงเป็นเร่ืองสาคญั ดงั เชน่ การใช้งานอินเทอร์เน็ตมผี ูส้ รา้ งโฮมเพจหรือสร้างขอ้ มูลข่าว
สารในเรื่องภาพที่ไมเ่ หมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพท่ีทาให้ ผอู้ ่นื เสยี หาย นอกจากน้ยี ังมีการปลอม
แปลงระบบจดหมาย เพ่ือส่ง จดหมายถงึ ผู้อืน่ โดยมเี จตนากระจายขา่ วทีเ่ ป็นเท็จ ซงึ่ จริยธรรมการ ใช้งาน
เครอื ข่ายเปน็ เร่อื งทต่ี ้องปลูกฝงั กันมาก

2.3 ก่อให้เกดิ ผลด้านศลี ธรรม การตดิ ตอ่ ส่อื สารทร่ี วดเร็วในระบบเครือขา่ ยก่อใหเ้ กิดโลก
ไรพ้ รมแดน แต่เม่ือพิจารณาศีลธรรมของแตล่ ะประเทศ พบวา่ มีความแตกต่างกนั ประเทศตา่ งๆผ้คู นอยู่
ร่วมกันได้ดว้ ยจารีตประเพณี และศลี ธรรมดีงามของประเทศนนั้ ๆ การแพร่ภาพหรอื ขอ้ มูลขา่ วสารทไ่ี ม่ดไี ป
ยงั ประเทศตา่ งๆ มผี ลกระทบต่อความรู้สกึ ของคนในประเทศน้นั ๆท่นี ับถือศาสนาแตกต่างกนั และมีค่านยิ ม
แตกต่างกัน ทาใหเ้ ยาวชนรุ่นใหมส่ ับสนตอ่ คา่ นยิ มที่ดีงามดงั่ เดมิ เกิดการลอกเลียนแบบ อยากรูอ้ ยากเหน็ สง่ิ
ใหม่ๆ ท่ีผิดศลี ธรรม จนกลายเป็นสง่ิ ทถี่ ูกตอ้ งในกล่มุ เยาวชน เมอื่ เยาวชนปฏิบตั ิต่อๆ กันมากจ็ ะทาให้
ศีลธรรมของประเทศน้นั ๆ เสอ่ื มสลายลง

144

3. ผลกระทบด้านสขุ ภาพ
3.1 กอ่ ใหเ้ กดิ ความเครยี ดขน้ึ ในสงั คม เนื่องจากมนษุ ย์ไม่ชอบการเปลีย่ นแปลง เคยทา

อะไรอย่กู ็มกั จะชอบทาอยา่ งน้ันไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แต่เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้าไปเปล่ียนแปลง
โครงสรา้ งองคก์ ร บคุ คลวิถกี ารดาเนินชีวติ และการทางาน ผทู้ ี่รับตอ่ การเปลี่ยนแปลงไมไ่ ดจ้ งึ เกิดความวติ ก
กังกลข้ึนจนกลายเปน็ ความเครยี ด กลัววา่ เครอ่ื งจักรกลคอมพิวเตอร์ทาให้คนตกงาน การนาเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศเขา้ มาแทนมนษุ ย์ในโรงงานอุตสาหกรรมกเ็ พ่อื ลดตน้ ทุนการผลติ และผลติ ภณั ฑ์มีคุณภาพมาก
ยง่ิ ข้นึ จงึ เปน็ เหตผุ ลทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงการทางานความ เปลยี่ นแปลงก่อให้เกดิ ความเครยี ด เกดิ ความทุกข์
และความเดอื ดรอ้ นแกค่ รอบครวั ติดตามมา การดาเนนิ ธรุ กจิ ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อใหเ้ กิดสภาวะ
การแข่งขนั ที่รนุ แรง การทางานต้องรวดเรว็ เรง่ รีบเพื่อชนะคแู่ ขง่ ตอ้ งตัดสินใจอย่างรวดเรว็ และถกู ต้อง หาก
ทาไม่ไดก้ จ็ ะทาให้หน่วยงานหรอื องค์กรตอ้ งยบุ เลกิ ไป เมื่อชวี ิตของคนในสงั คมเทคโนโลยีสารสนเทศต้อง
แขง่ ขัน ก็ย่อมกอ่ ให้เกดิ ความเครยี ดสงู ข้นึ

3.2 ทาให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจติ ใจของกลมุ่ บคุ คลบาง
กลมุ่ ทีม่ ีความวิตกกงั วลว่าคอมพวิ เตอรอ์ าจทาใหค้ นตกงานมากขน้ึ มีการใช้งานหนุ่ ยนต์ มาใช้งานมากขน้ึ มี
ระบบการผลติ ทอ่ี ัตโนมัติมากข้ึน ทาใหผ้ ใู้ ช้ แรงงานอาจวา่ งงานมากขนึ้ ซึง่ ความคิดเหล่าน้จี ะเกดิ กับบุคคล
บางกลมุ่ เทา่ น้นั แตถ่ ้าบคุ คลเหลา่ น้นั สามารถปรับตัวเขา้ กับเทคโนโลยี หรือมกี ารพฒั นา ใหม้ ีความรู้
ความสามารถสงู ขนึ้ แล้วปัญหาน้จี ะไม่เกิดขึน้

3.3 นับตัง้ แต่คอมพิวเตอรเ์ ข้ามามบี ทบาทในการทางาน การศกึ ษา บันเทงิ ฯลฯ การจอ้ ง
มองคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานๆ มีผลเสียต่อสายตาซึ่งทาใหส้ ายตาผิดปกติ มีอาการแสบตา เวยี นศรี ษะ
นอกจากนัน้ ยงั มีผลตอ่ สุขภาพจิต เกิดโรคทางจติ ประสาท เชน่ โรคคล่งั อินเตอรเ์ น็ต เปน็ โรคที่เกดิ ขึ้นในคน
ร่นุ ใหมล่ ักษณะ คือ แยกตัวออกจากสังคมและมโี ลกส่วนตัว ไมส่ นใจสภาพแวดลอ้ มก่อให้เกิดอาการปว่ ย
ทางจิตคล้มุ คลัง่ สลับซึมเศร้า อกี โรคหน่งึ คอื โรคคลง่ั ชอ๊ ปปง้ิ ทางอนิ เตอรเ์ น็ต โดยเฉพาะการเสนอสนิ ค้า
ทางหน้าจอคอมพวิ เตอร์ผ่านอินเตอร์เนต็ ทเี่ รยี กวา่ พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ มลี ูกค้าสนใจเขา้ ไปชอ๊ ปปิ้งดู
สนิ คา้ ต่างๆ ทวีความรุ่นแรงมากยง่ิ ขน้ึ จนเปน็ ทีส่ นใจของจิตแพทย์ นอกจากนนั้ การใช้คอมพิวเตอร์เปน็
เวลานานๆ ก่อใหเ้ กิดโรคอารเ์ อสไอ ( Repetitive Strain Injury : RSI) ซึ่งมีอาการบาดเจ็บเนื่องจากการใช้
แป้นพมิ พเ์ ป็นเวลานานๆ ทาให้เสน้ ประสาทรบั ความรสู้ ึกที่มือ และน้ิวเกิดบาดเจ็บขนึ้ เม่ือใชอ้ วยั วะนน้ั
บ่อยคร้ัง เส้นประสาทรับความรสู้ ึกเกดิ เสยี หายไมร่ ับความรู้สกึ หรอื รับน้อยลง

3.4 เมื่อการดาเนินชีวิตจากเดิมท่เี ป็นแบบเรยี บง่าย ตอ้ งเปล่ียนมาปรับตัวใหท้ นั กบั
เหตุการณ์ปัจจุบันตลอดเวลา กอ็ าจจะทาให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ไมว่ า่ จะในหน้าทกี่ ารงานหรอื
การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันกต็ าม

3.5 พฤตกิ รรมของเยาวชน โดยเฉพาะพวกเกมคอมพวิ เตอรท์ าให้เยาวชนมีพฤติกรรม
ก้าวร้าว ชอบการตอ่ สู้ การใช้กาลงั เปน็ ต้น

3.6 นักธุรกจิ กต็ ้องทางานแขง่ กับเวลา ไม่มเี วลาพักผอ่ นก็ใหเ้ กิดความเครียด สขุ ภาพจติ ก็
เสียตามมาด้วย

145

4. ผลกระทบดา้ นสงั คม
4.1 การมีส่วนรม่ ของคนในสงั คมลดน้อยลง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกดิ ความ

สะดวก รวดเรว็ ในการสือ่ สาร และการทางาน แต่ในอกี ดา้ นหนง่ึ การมสี ่วนร่วมของกจิ กรรมทางสงั คมทม่ี ี
การพบปะสังสรรค์กนั จะมนี อ้ ยลง สังคมเริ่มหา่ งเหนิ จากกัน การใช้เทคโนโลยสี ื่อสารทางไกลทาใหท้ างาน
อย่ทู ่บี า้ นหรือเกิดการศกึ ษาทางไกล โดยไม่ตอ้ งเดนิ ทางมีผลต่อความสมั พันธ์ระหว่างหัวหน้ากบั ลูกนอ้ ง
ระหวา่ งครูกับนกั เรยี น ระหว่างกลุม่ คนตอ่ กล่มุ คนในสงั คมก่อใหเ้ กดิ ช่องว่างทางสังคมขน้ึ

4.2 เกิดช่องวา่ งทางสังคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวชอ้ งกับการลงทนุ ผูใ้ ชจ้ งึ
เป็นชนช้นั ในอกี ระดับหน่งึ ของสงั คม ในขณะที่ชนชั้นระดบั รองลงมามีอยจู่ านวนมากกลบั ไม่มโี อกาสใช้
และผู้ทยี่ ากจนกไ็ ม่มโี อกาสรจู้ ักกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาใหก้ ารใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศไมก่ ระจายตวั
เทา่ ท่คี วร กอ่ ใหเ้ กดิ ช่องว่างทางสงั คมระหว่างชนชั้นหน่งึ กบั อกี ชนช้นั หน่งึ มากย่ิงขนึ้

4.3 ทาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เส่อื มถอย การใชค้ อมพวิ เตอร์และอุปกรณส์ อ่ื สารทาให้
สามารถตดิ ต่อสื่อสารกนั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเห็นตัว การใชง้ านคอมพวิ เตอร์หรือแมแ้ ตก่ ารเลน่ เกมที่มี ลักษณะ
การใช้งานเพยี งคนเดยี ว ทาให้ความสมั พนั ธก์ ับผอู้ นื่ ลดนอ้ ยลง ผลกระทบนท้ี าใหม้ คี วามเชื่อวา่ มนษุ ยสัมพันธ์
ของบุคคลจะนอ้ ยลง สังคมใหมจ่ ะเป็นสังคมท่ไี ม่ตอ้ งพึง่ พาอาศยั กันมาก

4.4 ทาให้เกดิ ปญั หาการวา่ งงานของแรงงานเพราะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ ทาให้ไม่
จาเป็นต้องใช้แรงงานมนษุ ย์อีกต่อไป

4.5 การปรับตวั เพ่อื ใหท้ ันกับเทคโนโลยสี มยั ใหมข่ องพนักงานทีม่ ีอายุมากหรอื มคี วามรู้
น้อย กจ็ ะทาให้พวกเขาไมส่ ามารถปรับตัวเขา้ กบั เทคโนโลยีเหล่านไ้ี ด้ เพราะพวกเขารู้สกึ ว่าเปน็ สงิ่ ทท่ี าได้
ยากตอ้ งมคี วามรจู้ งึ จะเขา้ ใจได้

4.6 สมาชกิ ในสงั คมมกี ารดาเนินชวี ติ ทีเ่ ป็นแบบต่างคนตา่ งอยู่ ไม่มคี วามสัมพันธก์ ันภายใน
สงั คมเพราะตา่ งมชี ีวิตทตี่ อ้ งรบี เรง่ และด้ินรน

5. ผลกระทบดา้ นการละเมิดสทิ ธิเสรีภาพสว่ นบคุ คล
การละเมิดสทิ ธิเสรีภาพสว่ นบุคคล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไมม่ ีขดี จากัดย่อมส่งผลต่อ
การละเมดิ สิทธิสว่ นบคุ คล การนาเอาข้อมูลบางอย่างที่เก่ียวกับบุคคลออกเผยแพรต่ ่อสาธารณชน ซงึ่ ข้อมลู
บางอย่างอาจไมเ่ ปน็ จริงหรอื ยงั ไมไ่ ด้พสิ จู นค์ วามถกู ต้องออกสู่สาธารณชน ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ บคุ คล
โดยไมส่ ามารถปอ้ งกันตนเองได้ การละเมิดสทิ ธสิ ่วนบุคคล เชน่ น้ตี อ้ งมีกฎหมายออกมาให้ความคุ้มครอง
เพ่ือใหน้ าข้อมลู ต่างๆ มาใช้ในทางท่ีถูกตอ้ ง
6. ผลกระทบด้านเทคโนโลยี

6.1 เกิดการตอ่ ต้านเทคโนโลยี เมอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามามบี ทบาทต่อการทางานมาก
ข้นึ ระบบการทางานตา่ งๆ กเ็ ปลีย่ นแปลงไป มกี ารนาเอาคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาใชก้ ันอย่างแพร่หลายในดา้ น
ตา่ งๆ เชน่ ดา้ นการศกึ ษา การ สาธารณสุข เศรษฐกจิ การค้า และธรุ กจิ อตุ สาหกรรม รวมถึงกิจกรรมการ
ดาเนนิ ชีวิตด้านต่างๆ โดยท่ปี ระชาชนของประเทศส่วนมากยงั ขาดความร้ใู จเร่อื งของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เครือข่ายและคอมพิวเตอร์จึงเปน็ เรือ่ งนา่ เป็นหว่ งอยา่ งมาก โดยเฉพาะในด้านการทางาน คนท่ที างานดว้ ยวธิ ี

146

เกา่ ๆ กเ็ กดิ การตอ่ ตา้ นการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เกิดความรู้สึกหวาดระแวงและวติ กกงั วล เกรงกลวั ว่า
ตนเองดอ้ ยประสิทธภิ าพ จงึ เกิดสภาวะของความรู้สึกตอ่ ตา้ น กลัวสญู เสียคุณค่าของชวี ติ การทางาน สงั คม
รนุ่ ใหมจ่ ะยอมรับในเร่ืองของความรู้ความสามารถมากกวา่ ยอมรบั วยั วฒุ ิ และประสบการณ์ในการทางาน
เหมือนเชน่ เดมิ

6.2 อาชญากรรมบนเครอื ขา่ ย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศกอ่ ให้เกดิ ปัญหา
ใหม่ๆ ข้ึน เชน่ ปญั หาอาชญากรรม ตัวอย่างเชน่ อาชญากรรมในรูปของการขโมยความลับ การขโมยข้อมูล
สารสนเทศ การให้บริการ สารสนเทศที่มกี ารหลอกลวง รวมถงึ การบ่อนทาลายข้อมลู ท่ีมีอยใู่ นเครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์ต่างๆ ในระบบเครือขา่ ย เชน่ ไวรสั เครือข่ายการแพรข่ ้อมลู ทเี่ ปน็ เท็จ กอ่ ใหเ้ กิดการหลอกลวง
และมผี ลเสียติดตามมาลกั ษณะของอาชญากรรมท่ีเกิดข้นึ จากฝีมอื มนุษย์ที่รู้จักกันดีไดแ้ ก่ แฮกเกอร์ ( Hacker)
และแครกเกอร์ (Cracker) โดยเฉพาะแฮกเกอร์ คือ ผูท้ ี่มีความรู้ทางคอมพวิ เตอร์ และเครือข่ายสามารถเขา้ ถงึ
ขอ้ มลู ของหนว่ ยงานสาคัญๆ โดยเจาะผ่านระบบรกั ษาความปลอดภยั แตไ่ ม่ทาลายขอ้ มูล หรือหาประโยชน์
จากการบุกรุกคอมพิวเตอร์ของผอู้ ื่น แต่กถ็ อื ได้ว่าเปน็ อาชญากรรมประเภทหนงึ่ ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ สว่ นแครก
เกอร์ คอื ผ้ซู ่ึงกระทาการถอดรหัสผ่านขอ้ มูลต่างๆ เพือ่ ให้สามารถนาเอาโปรแกรมหรอื ขอ้ มูลต่างๆ มาใช้
ใหม่ไดเ้ ปน็ การกระทาละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ เปน็ การลักลอกหรือเป็นอาชญากรรมประเภทหน่ึง

6.3 ทาให้การพัฒนาอาวุธมีอานาจทาลายสูงมากขน้ึ ประเทศทเ่ี ป็นต้นตารับของเทคโนโลยี
สามารถนาเอาเทคโนโลยไี ปใช้ ในการสรา้ งอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพการทาลายสงู ทาให้หม่ินเหม่ตอ่ สงครามทม่ี ี
การทาลายสงู เกิดขน้ึ

6.4 ทาให้เกิดความเสยี่ งภัยทางด้านธุรกิจ ธรุ กิจในปัจจบุ ันจาเปน็ ตอ้ งพง่ึ พาอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศมากขน้ึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ทั้งหมดของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมลู เช่น ขอ้ มลู ลกู หนี้
การค้า ขอ้ มลู สินค้า และบริการ ตา่ ง ๆ หากเกดิ การสูญหายของข้อมลู อันเนือ่ ง มาจากเหตอุ บุ ตั ิภยั เชน่ ไฟ
ไหม้ นา้ ทว่ ม หรือ ด้วยสาเหตุใดก็ตามทท่ี าให้ขอ้ มลู หายย่อมทา ให้เกิดผลกระทบตอ่ ธุรกจิ โดยตรง

7. ผลกระทบดา้ นสิ่งแวดล้อม
เกดิ ปัญหามลพษิ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม ทง้ั น้ีก็เพระมนษุ ยน์ าเทคโนโลยีทางด้าน IT ไปพฒั นาอยา่ งผดิ วธิ ี
และนาไปใชใ้ นทางทีผ่ ิด เพราะมงุ่ เพยี งแตจ่ ะกอ่ ประโยชน์ใหแ้ กต่ นเองเท่าน้นั
8. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเศรษฐกิจ

8.1 มนุษยส์ ามารถจบั จา่ ยใชส้ อยได้ง่ายมากขึ้น เพราะมีบตั รเครดติ ทาให้ไม่ตอ้ งพกเงนิ สด
หากตอ้ งการซือ้ อะไรทไ่ี ม่ได้เตรยี มการ ไว้ลว่ งหนา้ กส็ ามารถซื้อได้ทนั ที เพียงแตม่ ีบตั รเครดิตเท่านนั้ ทาให้
อตั ราการเป็นหนส้ี งู ขนึ้

8.2 การแข่งขนั กันทางธุรกจิ สูงมากขน้ึ เพราะต่างกม็ ุ่งหวังผลกาไรซึ่งกเ็ กดิ ผลดี คืออตั รา
การขยายตวั ทางธรุ กจิ สงู ข้นึ แตผ่ ลกระทบ กเ็ กดิ ตามมาคอื บางครั้งก็ม่งุ แตแ่ ขง่ ขันกนั จนลมื ความมี
มนุษยธรรมหรอื ความมนี า้ ใจไป

147

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
ผลกระทบต่อชมุ ชน การเปล่ยี นแปลงทางเทคโนโลยดี า้ นต่างๆ ท่ีเกิดขนึ้ สง่ ผลใหม้ นุษยม์ ีส่วน

รว่ มในสังคมลดนอ้ ยลง ความรู้สึกว่าเปน็ ส่วนหน่งึ ของชมุ ชน มคี วามสัมพันธ์กับเพอ่ื นบา้ นหายไป เพราะ
มนุษยท์ ุกคนสามารถพึง่ ตนเองได้

ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีทาใหเ้ กดิ เทคโนโลยีที่ใชแ้ รงงานคน
น้อยลง ผู้ทีม่ ที นุ มากอาจนาเทคโนโลยใี หมม่ าใชง้ านทัง้ หมดเปน็ ธรุ กจิ ขนาดใหญ่มากข้ึน ทาให้ธรุ กจิ ขนาด
เล็กหดลงแตใ่ นทางตรงกันขา้ มการทแี่ ต่ละคนสามารถเป็นเจา้ ของเทคโนโลยที ี่มีขนาดเลก็ อาจจะทาให้เขา
กลายเปน็ นายทุนอสิ ระ หรือรวมตัวเป็นสหกรณ์เจ้าของเทคโนโลยี
รว่ มกัน และอาจทาใหเ้ กดิ องค์กรทางธรุ กจิ ใหม่ ๆ ได้

ผลกระทบด้านจติ วทิ ยา ความเจรญิ ทางเทคโนโลยที ีเ่ พิม่ ขึน้ ในเคร่ืองมือส่อสารทาใหม้ นุษยจ์ ะมี
การติดต่อส่ือสารผ่านทางจออิเลก็ ทรอนกิ ส์เท่าน้นั จึงทาให้ความสมั พนั ธ์ของมนษุ ยต์ ้องแบง่ แยกเปน็
ความสมั พนั ธ์อนั แท้จรงิ โดยการสือ่ สารกนั ตัวตอ่ ตัวทบ่ี ้านกับความสมั พันธ์ผ่านจออเิ ลก็ ทรอนกิ สซ์ ึ่งมีผลให้
ความรู้สึกนึกคิดในความเปน็ มนุษยเ์ ปลย่ี นไป

ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีบางตัวมผี ล กระทบตอ่
สภาพแวดลอ้ มดว้ ย นอกจากนก้ี ารสรา้ งเทคโนโลยีการผลิตมากขึน้ มีผลทาให้มกี ารขดุ ค้นพลงั งาน
ธรรมชาตมิ าใช้ได้มากขึ้นและเรว็ ขึน้ เปน็ การทาลายทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทางอ้อมและการสรา้ งโรงงาน
อุตสาหกรรมเพ่มิ ขึ้น โดยปราศจากทิศทางการดแู ลทีเ่ หมาะสมจะทาใหส้ ่ิงแวดล้อม อาทิ แมน่ า้ พื้นดนิ
อากาศ เกิดมลภาวะมากยงิ่ ขน้ึ

ผลกระทบทางดา้ นการศกึ ษา นวตั กรรมทางการศึกษามีลักษณะตามธรรมชาตทิ ี่เป็นสิง่ ใหม่ ดังนั้น
ในความใหม่จงึ อาจทาใหท้ ้งั ครู และผทู้ ่เี กี่ยวข้อง เชน่ นักเทคโนโลยที างการศึกษา ผบู้ ริหารการศกึ ษา อาจ
ตัง้ ขอ้ สงสัยและไมแ่ นใ่ จวา่ จะมีความพร้อมทจี่ ะนามาใชเ้ มือ่ ใด และเม่ือใช้แล้วจะทาใหเ้ กิดการเรียนร้มู าก
น้อยอย่างไร แต่นวตั กรรมกย็ งั มีเสนห่ ใ์ นการดงึ ดูดความสนใจ เกดิ การต่นื ตวั อยากรูอ้ ยากเหน็ ตาม
ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ หรอื อาจเกดิ ผลในเชงิ ตรงข้าม คือกลัวและไมก่ ลา้ เขา้ มาสัมผัสส่ิงใหม่ เพราะเกดิ
ความไม่แนใ่ จวา่ จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หาย หรอื ใช้เปน็ หรือไม่ ครูในฐานะผใู้ ช้นวตั กรรมโดยตรงจึงตอ้ งมี
ความตืน่ ตัวและหม่นั ติดตามความกา้ วหน้าทางดา้ นเทคโนโลยตี ่างๆ ให้ทันตามความกา้ วหนา้ และเลือก
นวตั กรรมและเทคโนโลยีทสี่ อดคล้องกับสถานภาพและสิ่งแวดล้อมของตนเอง การหมนั่ ศกึ ษา และตดิ ตาม
ความรวู้ ิทยาการใหม่ ๆ ใหท้ นั จะชว่ ยทาให้การตดั สนิ ใจนานวัตกรรมมาใช้เพอ่ื การศกึ ษา สามารถทาได้
อยา่ งถูกตอ้ งมปี ระสิทธภิ าพและลดการเสยี่ งและความส้ันเปลอื งงบประมาณและเวลาได้มากที่สดุ
สรปุ ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ ในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในด้านตา่ งๆ

นบั ตง้ั แต่เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามามบี ทบาทในชวี ิตประจาวนั มากขน้ึ การใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นไป
อย่างกวา้ งขวาง หมายถึงการใช้เทคโนโลยีไปในด้านตา่ ง ๆ ซึง่ แน่นอนย่อมต้องมีทั้งคุณและโทษ ภาพยนตร์
หลายเรอ่ื งได้ สะท้อนความคิดของการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นทางลบ ผลกระทบ ในทางลบ

148

เหล่านี้บางอย่างเปน็ เพียงการคาดคะเนยงั ไมไ่ ดเ้ กดิ ขึ้นจริง แต่อย่างไรกต็ ามยอ่ มมโี อกาสเกิดข้ึนได้
ผลกระทบในทางลบ มีดงั นี้

1. ทาให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถนามาใชใ้ นการก่อให้เกดิ อาชญากรรมได้
โจรผรู้ ้ายใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนการปลน้ วางแผนการ โจรกรรม มกี ารลกั ลอบใชข้ อ้ มลู
ขา่ วสาร มกี ารโจรกรรมหรอื แก้ไขตัวเลข บัญชีด้วยคอมพวิ เตอร์ การลอบเขา้ ไปแก้ไขข้อมูลอาจทาให้เกิด
ปัญหาหลาย อย่าง เช่น การแก้ไขระดับคะแนนของนักเรียน การแกไ้ ขข้อมูลในโรงพยาบาล เพื่อให้การ
รกั ษาพยาบาลคนไขผ้ ดิ ซึง่ เปน็ การทารา้ ยหรือฆาตกรรมดงั ท่เี หน็ ใน ภาพยนตร์

2. ทาให้ความสมั พนั ธ์ของมนุษยเ์ ส่ือมถอย การใช้คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์สอื่ สารทาใหส้ ามารถ
ติดต่อสอ่ื สารกนั ได้โดยไมต่ ้องเห็นตวั การใช้งานคอมพิวเตอร์หรอื แมแ้ ต่การเล่นเกมที่มี ลักษณะการใช้งาน
เพยี งคนเดียว ทาให้ความสัมพันธ์กบั ผอู้ น่ื ลดน้อยลง ผลกระทบนีท้ าให้มีความเชื่อวา่ มนุษยสัมพนั ธข์ อง
บคุ คลจะน้อยลง สังคมใหม่จะเปน็ สงั คมทีไ่ มต่ ้องพ่งึ พาอาศยั กันมาก

3. ทาใหเ้ กิดความวติ กกงั วล ผลกระทบนีเ้ ป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลมุ่ บุคคลบางกลุ่มที่มี
ความวติ กกังวลว่าคอมพิวเตอร์อาจทาให้คนตกงานมากขึน้ มกี ารใชง้ านหุ่นยนต์ มาใช้งานมากข้ึน มีระบบ
การผลิตทีอ่ ตั โนมตั ิมากขนึ้ ทาใหผ้ ใู้ ช้ แรงงานอาจว่างงานมากขน้ึ ซึง่ ความคิดเหลา่ นีจ้ ะเกิดกบั บุคคล บาง
กลุ่มเทา่ นั้น แตถ่ า้ บคุ คลเหล่าน้นั สามารถปรบั ตัวเขา้ กับเทคโนโลยี หรือมีการพัฒนา ใหม้ คี วามรู้
ความสามารถสงู ข้ึนแล้วปัญหาน้ีจะไม่เกดิ ข้ึน

4. ทาให้เกิดความเส่ยี งภัยทางดา้ นธรุ กิจ ธรุ กิจในปจั จุบันจาเป็นต้องพึง่ พาอาศยั เทคโนโลยี
สารสนเทศมากข้ึน ขอ้ มูลขา่ วสาร ท้งั หมดของธรุ กิจฝากไว้ในศนู ย์ข้อมลู เช่น ขอ้ มูลลูกหนีก้ ารคา้ ข้อมลู
สนิ ค้า และบริการ ตา่ ง ๆ หากเกิดการสูญหายของขอ้ มูล อันเนอื่ ง มาจากเหตุอุบตั ภิ ัย เชน่ ไฟไหม้ นา้ ทว่ ม
หรอื ด้วยสาเหตใุ ดก็ตามทท่ี าให้ข้อมูลหายยอ่ มทา ให้เกิดผลกระทบตอ่ ธรุ กจิ โดยตรง

5. ทาให้การพฒั นาอาวุธมอี านาจทาลายสูงมากขน้ึ ประเทศที่เป็นตน้ ตารบั ของเทคโนโลยี สามารถ
นาเอาเทคโนโลยไี ปใช้ ในการสร้างอาวุธท่มี ีอานภุ าพการทาลายสงู ทาให้หม่นิ เหม่ตอ่ สงครามที่มี การ
ทาลายสูงเกดิ ขน้ึ

6. ทาใหเ้ กดิ การแพรว่ ฒั นธรรมและกระจายข่าวสารท่ไี ม่เหมาะสมอยา่ งรวดเร็ว คอมพิวเตอรเ์ ปน็
อุปกรณ์ทที่ างานตามคาสัง่ อยา่ งเคร่งครัด การนามาใช้ ในทางใดจึงข้นึ อยกู่ บั ผูใ้ ช้ จริยธรรมการใช้
คอมพวิ เตอร์ซึ่งเปน็ เร่อื งสาคัญดงั เชน่ การใชง้ านอนิ เทอร์เน็ตมีผู้สร้างโฮมเพจหรอื สรา้ งขอ้ มลู ขา่ ว สารใน
เรื่องภาพท่ไี ม่เหมาะสม เชน่ ภาพอนาจาร หรอื ภาพท่ที าให้ ผู้อ่นื เสียหาย นอกจากน้ยี งั มกี ารปลอมแปลง
ระบบจดหมาย เพ่อื สง่ จดหมายถงึ ผู้อน่ื โดยมเี จตนากระจายข่าวที่เปน็ เทจ็ ซึง่ จรยิ ธรรมการ ใชง้ านเครอื ข่าย
เปน็ เร่อื งทต่ี อ้ งปลูกฝังกนั มาก
งานวจิ ัย เกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

จากงานวิจยั ของ Whittaker (1999: 23) พบว่า ปัจจัยของความลม้ เหลวหรือความผดิ พลาดที่
เกดิ จากการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในองค์การ มีสาเหตุหลัก 3 ประการ ไดแ้ ก่

149

1. การขาดการวางแผนทีด่ พี อ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การวางแผนจัดการความเส่ยี งไม่ดีพอ ยิ่งองค์การมี
ขนาดใหญ่มากขนึ้ เท่าใด การจัดการความเสี่ยงย่อมจะมีความสาคญั มากข้นึ เป็นเงาตามตัว ทาให้คา่ ใชจ้ า่ ย
ดา้ นนี้เพม่ิ สูงขึน้

2. การนาเทคโนโลยที ไ่ี ม่เหมาะสมมาใช้งาน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์การ
จาเปน็ ต้องพิจารณาใหส้ อดคล้องกับลักษณะของธรุ กิจหรืองานท่อี งค์การดาเนนิ อยหู่ ากเลอื กใช้เทคโนโลยที ่ี
ไมส่ อดรบั กบั ความต้องการขององค์การแล้วจะทาให้เกิดปญั หาต่าง ๆ ตามมา และเปน็ การสิ้นเปลอื ง
งบประมาณโดยใช่เหตุ

3. การขาดการจัดการหรือสนบั สนุนจากผ้บู รหิ ารระดบั สงู การท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา
ใชง้ านในองค์กร หากขาดซึง่ ความสนบั สนนุ จากผบู้ รหิ ารระดบั สูงแลว้ ก็ถอื วา่ ลม้ เหลวตัง้ แตย่ งั ไมไ่ ดเ้ ร่ิมตน้
การได้รบั ความมั่นใจจากผู้บรหิ ารระดับสงู เป็นกา้ วยา่ งทส่ี าคญั และจาเป็นทจี่ ะทาใหก้ ารนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในองคก์ ารประสบความสาเร็จสาหรบั สาเหตุของความลม้ เหลวอืน่ ๆ ที่พบจากการนา
เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ เช่น ใช้เวลาในการดาเนนิ การมากเกนิ ไป ( Schedule overruns) นาเทคโนโลยที ี่
ล้าสมัยหรอื ยงั ไมผ่ ่านการพิสูจน์มาใชง้ าน ( New or unproven technology) ประเมนิ แผนความตอ้ งการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศไมถ่ กู ตอ้ ง ผู้จัดจาหนา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ ( Vendor) ท่ีองค์การซ้ือมาใช้งานไมม่ ี
ประสทิ ธภิ าพและขาดความรบั ผิดชอบ ระยะเวลาของการพฒั นาหรือนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชจ้ นเสร็จ
สมบูรณใ์ ช้เวลานอ้ ยกว่าหนงึ่ ปี

จากงานวิจยั ของ (นายสาโรจน์ สะอาดเอ่ยี ม) ศึกษาสภาพปัญหาและความตอ้ งการ การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสมในการปฏิบัตงิ านทางการศึกษาของครูหรอื บคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผลการวจิ ัยสรปุ ไดด้ ังน้ี

1.สภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศนน้ั พบว่า วัสดทุ ่ีครหู รอื บุคลากรทางการศกึ ษานาไปใช้
สูงสุดคอื โปรแกรม Word Processing โปรแกรม Internet แผ่นดสิ ก์ แผ่นคอมแพคดิสก์ ( Compact Disc
Recordable : CD-R ) เคร่ืองมือหรืออุปกรณท์ น่ี าไปใช้สงู สุดคอื เคร่ืองพมิ พ์ ( Printer) เคร่อื งคอมพวิ เตอรต์ ้ัง
โต๊ะ กล้องดิจติ อลหรอื กลอ้ งจบั ภาพ และเทคนคิ วธิ ีการที่นามาใช้สูงสดุ คอื การค้นหาขอ้ มูลเพ่อื ดาวน์
โหลดขอ้ มูล ซง่ึ ครูหรือบคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี นเห็นว่ามคี วามจาเป็นอย่างมากท่ีต้องนาเอา
เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบตั งิ านทางการศกึ ษาอย่างมาก

2.ปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่าส่วนใหญ่การใชว้ ัสดุ เครอ่ื งมอื หรืออปุ กรณแ์ ละเทคนคิ
วิธีการ ครูหรอื บุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียนมปี ัญหาด้านงบประมาณไมเ่ พยี งพอและมีความลา่ ช้า
วสั ดุเครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณ์มีไมเ่ พยี งพอด้านการขาดบุคลากรทม่ี คี วามรแู้ ละคาแนะนาในการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศโดยตรง ดา้ นการขาดการประสานงานกนั ในหนว่ ยงานและระหว่างหน่วยงาน ดา้ นขาดส่ิง
อานวยความสะดวกในการใช้

3.ความต้องการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ส่วนใหญ่การใช้วสั ดุ เคร่อื งมอื หรืออุปกรณ์
และเทคนคิ วธิ กี าร เพอื่ การปฏบิ ัติงานทางการศึกษาของครูหรอื บคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี นมีความ
ต้องการด้านการจัดสรรงบประมาณในการผลิต จดั หา และซอ่ มแซม ให้เพยี งพอ สง่ิ อานวยความสะดวก

150

การอบรมความรู้ มีผ้ใู หค้ าแนะนาปรึกษา และยังมคี วามตอ้ งการเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างเร่งดว่ น
ประเภทวสั ดเุ ครอื่ งมือหรอื อปุ กรณ์ คือ เคร่อื งคอมพิวเตอร์ทมี่ ีประสทิ ธิภาพและเครื่องมอื หรอื ุปกรณท์ ี่
จาเปน็ สาหรับระบบเครือขา่ ยและโปรแกรมระบบเครอื ข่ายทุกระบบ
ปจั จยั ท่ีทาให้การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชไ้ ม่ประสบความสาเรจ็ ในด้านผใู้ ช้งาน

ปัจจยั อ่นื ๆ ทท่ี าให้การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ไมป่ ระสบความสาเรจ็ ในดา้ นผูใ้ ชง้ านนั้น
อาจสรุปได้ดงั นคี้ อื

1. ความกลวั การเปลี่ยนแปลง กลา่ วคอื ผคู้ นกลวั ท่ีจะเรยี นรกู้ ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมท้ัง
กลัวว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเขา้ มาลดบทบาทและความสาคญั ในหนา้ ที่การงานทีร่ ับผดิ ชอบของตนให้
ลดนอ้ ยลงจนทาให้ต่อต้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

2. การไมต่ ดิ ตามขา่ วสารความร้ดู า้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสม่าเสมอ เน่อื งจากเทคโนโลยี
สารสนเทศเปลี่ยนแปลงรวดเรว็ มาก หากไม่มัน่ ติดตามอยา่ งสมา่ เสมอแลว้ จะทาให้กลายเป็นคนล้าหลงั และ
ตกขอบจนเกิดสภาวะชะงกั งันในการเรยี นรู้และใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

3. โครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ท่ัวถึง ทาใหข้ าดความเสมอ
ภาคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกดิ การใชก้ ระจกุ ตวั เพียงบางพนื้ ที่ ทาให้เปน็ อุปสรรคในการใช้
งานดา้ นต่าง ๆ ตามมา เช่น ระบบโทรศัพท์ อินเทอร์เนต็ ความเร็วสูง ฯลฯ
ประเดน็ ปัญหาและอุปสรรคตอ่ มาตรฐานการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา

ประเดน็ แรก เก่ยี วกับ Hardware สถานศกึ ษาหลายแหง่ โดยเฉพาะทีอ่ ยชู่ นบทห่างไกล หรอื เปน็
โรงเรียนขนาดเลก็ มีจานวนเครื่องไม่เพียงพอ ขาดงบประมาณสนบั สนนุ เครือ่ งท่ีไดจ้ ากการบรจิ าคบางที่
เป็นเครอ่ื งท่ลี า้ สมยั ความเรว็ ต่า จานวนเคร่ืองต่อคนใชใ้ นอตั ราสูง ( สถานศึกษารอ้ ยละ 55 ใชค้ อมพิวเตอร์
1 เครือ่ งต่อนักเรียน 20 คน ร้อยละ 25 ใชค้ อมพิวเตอร์ 1 เครอื่ งต่อนักเรยี น 21-40 คน ส่วนทเี่ หลอื มสี ดั ส่วน
นักเรยี นมากกว่า 40 คนต่อ 1 เครื่อง : ขา่ วสด หนา้ 28 - วนั ท่ี 05 มีนาคม พ.ศ. 2551 ปที ่ี 17 ฉบับที่ 6306 )

ประเด็นทสี่ อง เกย่ี วกับ Software เนือ่ งจากการพฒั นาของเทคโนโลยดี า้ นโปรแกรม เป็นไปอยา่ ง
รวดเรว็ ดงั นัน้ ในการพัฒนาโปรแกรมใชง้ านของโรงเรยี นให้ทนั สมัยอยเู่ สมอก็เปน็ เรอ่ื งลาบาก ติดปัญหา
ตรงทีส่ ภาพเครอ่ื งไมร่ องรบั โปรแกรมบ้าง ขาดบคุ ลากรทม่ี ีความรู้ความเขา้ ใจบ้าง

ประเด็นทส่ี าม คือดา้ นการบริหารจัดการ โรงเรยี นใหค้ วามสาคญั กับการมเี ครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละ
ระบบเครอื ขา่ ยเพอ่ื ใช้ในกิจกรรมตา่ ง ๆในโรงเรียน (เพราะมีผลต่อการประเมินภายนอกของ สมศ. ใน
มาตรฐานที่ 5 และ 10 ดว้ ย) แตย่ ังประสบปญั หาด้านงบประมาณในการจดั หา ดูแลรกั ษา ระบบการ
วางแผนใชง้ าน และการตดิ ตามประเมนิ

ประเด็นท่สี ี่ คือดา้ นบุคลากรซงึ่ ถอื ว่าเป็นประเดน็ ปัญหาที่สาคญั เพราะเหลา่ นโยบาย มาตรฐาน
ตา่ งๆ ท่เี ขียนขน้ึ มาต้องอาศัยการขับเคลื่อนจากบคุ ลากร โดยเฉพาะครู ปญั หาการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศท่เี ก่ยี วกับบคุ ลากรซึ่งมักจะไดย้ นิ ไดฟ้ ัง หรอื พบเห็นตามส่อื ส่งิ พมิ พ์ บนกระทตู้ ่าง ๆ จาก
อินเตอรเ์ นต็ เชน่ โรงเรยี นขาดครทู ่ีจบทางด้านน้ีโดยตรง ครูไม่มีความรู้ดา้ นการใชง้ าน ICT ถึงแม้ว่า
รัฐบาลจะจัดงบประมาณส่งเสริมดา้ นนี้ในแต่ละปมี ากพอสมควร แต่พฤตกิ รรมหลังการอบรมแล้วครูไม่ได้

151

ใชค้ วามรู้จากการอบรม หรอื ใช้กส็ ่วนนอ้ ย อาจจะตดิ ขดั ทเี่ รอื่ งประเดน็ เวลา หรอื ภาระงานท่มี ากเกินไป
หรอื บางครงั้ เมอ่ื นาไปใชแ้ ลว้ ประสบปญั หาเกิดความท้อถอย ปญั หาดา้ นทัศนคติของครตู อ่ การใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ อาจจะเหน็ ว่าการใช้เทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ ป็นเรอ่ื งยงุ่ ยาก ซงึ่ อาจจะมาจากเรอ่ื งของ
ภาษาในโปรแกรม โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ การใชเ้ ครอื่ งมือต่าง ๆ ในโปรแกรมซบั ซ้อนเข้าใจยาก ปัญหา
ดา้ นพฤติกรรมการใชง้ าน ที่พบบ่อย ๆ คอื การใชค้ อมพิวเตอรเ์ ปน็ เคร่ืองพมิ พด์ ดี ราคาแพง นกั เรยี นใช้
เคร่ืองเพอ่ื การบันเทิงเปน็ สว่ นใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการดหู นงั ฟังเพลง เลน่ เกมส์ ซ่ึงพฤติกรรมเหล่านมี้ มี ากกวา่
การใช้เพ่ือการเสาะแสวงหาความรจู้ ากเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปัญหาเหล่าน้ีเป็นอปุ สรรคต่อความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบายและมาตรฐานการพฒั นา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอื่ การศกึ ษา ทที่ ุกคนทกุ ฝ่ายตอ้ งการเหน็ การนามาใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั เพอื่
การพฒั นาการศึกษาของชาตกิ า้ วหน้ากวา่ ทเี่ ป็นอยู่ คาตอบทสี่ าคญั จงึ อยทู่ ีต่ วั ครู ท้ังผู้บริหารและผู้
ปฏบิ ตั กิ าร เพราะครคู อื พลงั ขบั เคลือ่ นการศกึ ษาที่สาคญั หากครูไมใ่ หค้ วามสาคัญกับการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใชก้ ับการเรยี นการสอน อย่างจรงิ จงั ครยู ังใช้วิธกี ารสอนแบบเดมิ ๆ และไม่พฒั นาศักยภาพ
ด้านการนาเทคโนโลยีมาใชแ้ ล้ว แนวนโยบายและมาตรฐานการพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
สอ่ื สารเพ่อื การศกึ ษาทกี่ าหนดขึ้นมากค็ งเปน็ แค่ความหวังท่อี ยากให้มี มากกว่าท่จี ะเปน็ รปู ธรรมจรงิ

อยา่ งไรก็ตาม การดาเนินงานพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการศึกษาของหน่วยงานทางการศกึ ษาและ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มลี กั ษณะเปน็ ไปอย่างอิสระทาให้ขาดความเป็นเอกภาพ ประกอบกับขาดความพร้อมท้งั ดา้ น
งบประมาณ บุคลากร และอปุ กรณ์ตา่ งๆ เช่น คอมพวิ เตอร์ อุปกรณต์ อ่ เชอ่ื มระบบซอฟแวร์ เปน็ ตน้ ซ่ึง
ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ อันได้แก่ ปญั หาการผลิตข้อมูลปฐมภูมทิ ่มี ีขอ้ มลู ไม่ครบถ้วนตามท่ผี ู้ต้องการใช้
ปัญหาการจดั เกบ็ ข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ ปญั หาการประสานงานเครือข่าย รวมทง้ั ปัญหาการดาเนินงานสารสนเทศ
ปัญหาต่างๆ เหล่าน้ีส่งผลไปถงึ การจดั การศกึ ษาทีต่ อ้ งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมือสาคญั ในการ
ดาเนนิ งาน

จากปญั หาขา้ งต้น จงึ จาเป็นจะตอ้ งพฒั นาระบบสารสนเทศเพอื่ การศึกษา โดยมพี ้ืนฐานอยู่บน
หลกั การพัฒนารว่ มกนั ระหว่างหน่วยงานทางการศึกษาและที่เกีย่ วขอ้ ง เพือ่ ใหส้ ามารถประสานการ
ดาเนนิ งาน และการนาทรัพยากรมาใช้ในการบรหิ ารการวางแผนการจดั การศึกษา และการฝึกอบรมร่วมกัน
อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงแบ่งไดเ้ ปน็

1. ด้านการกระจายโครงสรา้ งพื้นฐานเพ่อื การศกึ ษา มีสถานศกึ ษาจานวนหน่ึงทโ่ี ทรศัพท์ยงั เข้าไม่
ถงึ และคอมพิวเตอร์ยังไมม่ หี รือมีแตไ่ ม่เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ และท่มี ีอยกู่ ็ขาดการบารงุ รกั ษา รวมทั้งไม่
อยู่ในสภาพที่ใชก้ ารได้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ โครงสรา้ งพ้ืนฐานเพอื่ การศึกษาโดยเฉพาะคูส่ ายโทรศัพท์ยังมี
บรกิ ารไม่ทว่ั ถึง อาจจะเป็นไปได้วา่ สถานศึกษาเหล่าน้อี ยใู่ นทอ้ งถิ่นท่หี า่ งไกล ดังนั้นสถานศกึ ษาต้องรบี
ดาเนนิ การเพราะเปน็ พื้นฐานทีจ่ าไปสู่ระบบอินเทอรเ์ นต็

2. ด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ครใู ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ส่ือสารเพ่อื พัฒนาทกั ษะวชิ าชพี ครูน้อยมาก และคอมพิวเตอรม์ จี านวนไม่พอกบั ความตอ้ งการท่ีครูจะใช้

152

แสดงให้เห็นว่าครยู งั ต้องไดร้ บั การพฒั นาด้านการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ อกี เป็นจานวนมาก และ
สถานศกึ ษาก็ต้องจดั หาคอมพวิ เตอร์ให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการของครู

3. ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพฒั นาการบรหิ ารจดั การและให้บรกิ าร
ทางการศกึ ษา สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ ผบู้ ริหารให้มคี วามรู้ความเข้าใจในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระดบั เบื้องตน้ แสดงใหเ้ หน็ ว่าสถานศึกษายังไมม่ รี ะบบขอ้ มลู
สารสนเทศท่ีเปน็ รปู ธรรมท่ีชัดเจน ผ้บู รหิ ารตอ้ งได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยสี ารเสนเทศและการ
สือ่ สารเพ่ือใหเ้ กิดความตระหนักและเห็นความสาคญั ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารทจ่ี ะ
นามาพฒั นาการบรหิ ารจดั การและการบริการทางการศึกษา

4. ด้านการผลติ และพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาตนเองของครดู ้าน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังขาดความต่อเน่อื ง บางคนใน 3 ปที ี่ผา่ นมายงั ไมเ่ คยไปเขา้ รบั การฝกึ อบรม
ดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเลย แสดงให้เห็นว่า ครไู ดร้ บั การพัฒนาดา้ นการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารยงั ไม่ทัว่ ถงึ เพราะมีครูอกี จานวนหน่ึงท่ีในรอบ 3 ปีที่ผา่ นมายังไม่เคย
ได้รบั การอบรมดา้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเลย

สรุป
ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษาอาจเกดิ ผลกระทบดา้ นตา่ ง ๆ ตามมา
ทง้ั ผลกระทบตอ่ ผ้ใู ช้นวตั กรรมคอื ผูส้ อน หรอื ผู้บริหาร และผลกระทบต่อผู้เรียน เชน่ ปญั หาการปรบั
พฤติกรรมการสอนของครูผูส้ อน ปัญหาด้านสขุ ภาพทเ่ี กิดจากการใชเ้ ทคโนโลยี ปัญหาด้านงบประมาณใน
การจัดหาเทคโนโลยี เปน็ ต้น นอกจากผลกระทบตอ่ การศกึ ษาโดยตรงแล้วยังมผี ลกระทบตอ่ ด้านอน่ื เชน่
ปญั หาสงั คม ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม ปญั หาตอ่ เศรษฐกิจ เป็นต้น ดงั น้นั ผ้ใู ช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษาควรเข้าใจถึงข้อดีและขอ้ เสียของสง่ิ เหลา่ นี้ เพื่อเลือกใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเกิด
ประสิทธิภาพต่อการศกึ ษามากท่ีสุด

แบบฝึกหัด
1. จงบอกปญั หาทเี่ กิดจากการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านต่าง ๆ มาอย่างน้อย 5

ด้าน อธบิ ายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
2. จงบอกปญั หาที่เกดิ จากการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษาวา่ มผี ลกระทบ

ตอ่ ผูเ้ รียนอย่างไร ระบมุ าอย่างนอ้ ย 5 ข้อ
3. จงบอกปญั หาทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทใ่ี ช้ Tablet เป็นสื่อการเรยี น

การสอน


Click to View FlipBook Version