The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการตัดสินคดีในสมัยท่านนบีมูฮำหมัด_ฉบับบสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-24 10:10:19

แนวทางการตัดสินคดีในสมัยท่านนบีมูฮำหมัด_ฉบับบสมบูรณ์

แนวทางการตัดสินคดีในสมัยท่านนบีมูฮำหมัด_ฉบับบสมบูรณ์

รายงาน
เรอ่ื ง แนวทางการตดั สนิ คดีในสมยั ท่านนบีมฮู าหมดั

จัดทาโดย

นายยาซิร ยูโซะ รหสั นกั ศกึ ษา 6060901004
นส.ซกู ยั นะห์ สามะ รหสั นักศกึ ษา 6160901002
นส.นูรฟัดวา มะ รหัสนกั ศกึ ษา 6160901005
นายมูฮัมหมดั ลตุ ฟี วาจิ รหสั นกั ศึกษา 6160901009
นส.สุไลฮาร์ อสิ มงิ รหัสนกั ศกึ ษา 6160901011

เสนอ

รองศาสตราจารย์ เจ๊ะเหล๊าะ แขกพงศ์

รายงานฉบับน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า 09-014-220 ระบบศาลอสิ ลาม
สาขาวิชากฎหมายอสิ ลาม สถาบนั อิสลามและอาหรับศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ปีการศกึ ษา 2564/1443

คานา

รายงานฉบับน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา (09-014-220)ระบบศาลอิสลาม ชั้นปีท่ี 4 สาขาวิชา
กฎหมายอิสลาม จัดทาขึ้นเพ่ือจุดประสงค์ในการศึกษาศึกษาแนวทางการตัดสินคดีในสมัย
ท่านนบีมูฮาหมัด โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการไกล่เกลี่คดีต่างๆตามแบบฉบับบกฎหมายอิสลามได
กาหนดไว้ รวมถึงรูแบบและลักษณะต่าง ๆ ของการตัดสินคดีในยุคสมัยท่านนบีมูฮาหมัด อันแสดงให้
เห็นถึงทา่ นรสลู ลุ ลอฮเฺ ปน็ ผชู้ ีข้ าดตัดสินและต้องยอมรับในคาพิพากษาโดยใชว้ ะหยูจากพระผ้อู ภิบาล

คณะผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องจากเป็นเร่ืองที่น่าสนใจ รวมถึงศึกษา
หาความรู้เพมิ่ เตมิ ในรูปแบบการตัดสินคดีต่าง ๆ สมัยของท่านนบีมูฮาหมัด เพ่ือนามาศึกษาแนวทาง
และกระบวนการตัดสนิ คดีตามกฎหมายอสิ ลาม

สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทาใคร่ขอพระคุณรองศาสตราจารย์ เจ๊ะเหล๊าะ แขกพงศ์ท่ีให้ความรู้
ให้คาปรึกษา และแนวทางการศึกษา รวมท้ังเพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มทุกคนท่ีได้เสียสละเวลาส่วนตัว
ของทุก ๆ คน เพื่อทางานกลุ่มในครั้งนี้ให้ประสบความสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และใส่ใจรายละเอียด
ของช้ินงานใหอ้ อกมาเป็นช้ินงานที่ดีและสมบูรณ์ที่สุด คณะผู้จัดทาหวังอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มน้ี จะมอบ
ความรู้ ความเข้าใจ และช่วยส่งเสริมให้มีความรู้ในเรื่องของแนวทางและกระบวนการตัดสินคดีต่าง ๆ
ตามระบบศาลอิสลาม เพ่ือเปน็ ประโยชน์แกผ่ ้อู า่ นทุก ๆ ท่านตอ่ ไป

(คณะผจู้ ัดทา)
นักศึกษาช้นั ปที ี 4 สาขาวชิ ากฎหมายอสิ ลาม



สารบญั หนา้

เร่ือง ข
คานา
สารบัญ 1
1
1.บทนา 2
1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของเนอ้ื หา
1.2 วตั ถุประสงค์ของรายงาน 3
3
2. ศกึ ษาการตัดสินคดีตามหลกั กฎหมายอิสลาม 4
2.1 ความหมายของการตัดสินคดี 6
2.1.1 ความหมายเชงิ ภาษาศาสตร์ 7
2.1.2 ความหมายเชงิ วชิ าการ 8
2.2 แหลง่ ทมี่ าและหลักฐานในการตดั สนิ คดใี นยุคสมยั ทา่ นนบีมูฮาหมัด 9
2.2.1 หลักฐานทาง อลั กุรอาน 9
2.2.2 หลักฐานทาง อัลหะดิษ 12
2.3 การพิพากษาคดีต่างๆ ในยคุ สมัยทา่ นนบีมูฮาหมัด
2.3.1 กระบวนลกั ษณะการพิพากษาคดีของท่านนบมี ูฮาหมัด 14

3. บทสรุป 18

บรรณานุกรม



1.บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของเน้ือหา

ความขัดแย้งนับว่าเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคมมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะ
เป็นสังคมเมืองหรือสังคมชนบทเองก็ตามความขัดแย้งอาจเกิดจากความต้องการที่แตกต่างกัน ความ
ต้องการในประโยชน์หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด การแย่งชิงอานาจ การแข่งขัน ซึ่งอาจเกิดขึ้น
ระหว่างบุคคล หรือประชาชนโดยท่ัวไปในสังคม อาจเป็นการละเมิด การเรียกร้อง หรือการรักษาสิทธิ
ต่าง ๆ ของบุคคลตามกฎหมายก็ได้ ซ่ึงความขัดแย้งเป็นเหตุการณ์อันเกิดข้ึนเม่ือบุคคลไม่อาจยืนอยู่ใน
สถานะใดสถานะหน่ึง อันเกิดจากความต้องการที่ตรงกันข้ามกันในขณะหนึ่งท่ีเกี่ยวกับความไม่สามารถ
ตัดสินใจกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งได้ หรือเป็นเพราะอยากทาทั้งสองสิ่งในเวลาเดียวกันความขัดแย้ง
นับเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกิดขึ้นเม่ือแต่ละฝุายมีจุดมุ่งหมายที่ไปด้วยกันไม่ได้และมีค่านิยมท่ี
แตกต่างกัน ความแตกต่างนมี้ ักเกิดจากการรบั รูม้ ากกวา่ ทจ่ี ะเป็นความแตกตา่ งที่เกิดขึ้นจริง1

ศาสนาอิสลามมีบทบัญญัติเป็นวิถีชีวิตท่ีผู้นับถือศาสนาอิสลามต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
ไม่ว่าจะเป็นหลักความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา เช่นการสมรส การหย่า อานาจปกครอง หรือ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุพการีและผู้สืบสันดาน และเมื่อเกิดข้อขัดแย้งระหว่างประชาติมุสลิม จาเป็นต่อ
ทา่ นนบมี ฮู าหมัด จดั ตัง้ งกระบวนการขจัดขอ้ ขดั แยง้ ระหวา่ งกันโดยใช้หลักบทบัญญัติอิสลาม จึงเป็น
ที่มาของศาลชะรีอะฮฺในสมัยของท่านนบีมูฮาหมัด สาหรับไกล่เกลี่ยความขัดแย้งน้ัน มีปรากฏอยู่ใน
อลั กรุ อานท่ีได้กล่าวถงึ เรอ่ื งนไี้ ว้ อัลลอฮฺ ไดต้ รัสวา่

2﴾‫﴿إَِّمنَا ٱلْ ُمْؤِمنُوَن إِ ْخَوةٌ فَأَ ْصلِ ُحواْ بََْْي أَ َخَويْ ُك ْم ۚ َوٱتمُقواْ ٱَّمللَ لََعلم ُك ْم تُْرََحُوَن‬

ความว่า “แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธาน้ันเป็นพ่ีน้องกัน ดังน้ันพวกเจ้าจงไกล่เกล่ีย
ประนีประนอมกันระหว่างพี่น้องทั้งสองฝุายของพว กเจ้า และจง
ยาเกรงอัลลอฮฺ เถดิ หวงั วา่ พวกเจา้ จะได้รับความเมตตา”

กล่าวอธบิ ายโองการนี้มีใจความว่า “ผู้ศรัทธาน้ันเป็นพ่ีน้องกัน เนื่องจากมีรากฐานเดียวกัน น่ัน
คอื ความศรทั ธาทีม่ ีผลต่อการใชช้ วี ิตอนั เป็นนริ นั ดร์ จึงเปน็ เหตุผลทอ่ี ัลลอฮฺ บัญชาให้มีการไกล่เกลี่ย
ขอ้ พพิ าทระหว่างพวกเขา”3

เนื่องจากความขัดแย้งทาให้มนุษย์ต้องมีการกระทบกระทั่งกันจนเกิดข้อพิพาทขึ้นระหว่าง
สมาชิกในชมุ ชนหรืออาจจะสง่ ผลต่อความวุ่นวายในสังคมส่วนรวมด้วย ซ่ึงไม่ใช่เพียงแต่จะส่งผลกระทบ
เฉพาะคู่กรณีที่พิพาทกันเท่านั้น ดังน้ันจึงจาเป็นอย่างยิ่งต่อท่านนบีมูฮาหมัดมูฮาหมัด ต้องมีจัดให้
มีระบบ กลไก หรือขน้ั ตอนในการจัดการกับความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึน โดยวิธีการในการแก้ไข หรือหาข้อยุติ
ความขัดแย้งที่เกิดข้ึนน้ันให้ยุติลงโดยเร็ว เพื่อสร้างความยุติธรรมให้แก่บรรดาศอฮาบะฮ์และ
เป็นแบบอย่างพร้อมนาพาให้สังคมน้ันกลบั ส่สู ภาพปกติ

1 อดุลเดช โตะ๊ แอ “การไกล่เกลีย่ ขอ้ พิพาทเกยี่ วกบั ครอบครวั ตามบทบัญญตั แิ ห่งศาสนาอิสลาม”
2 อลั กุรอาน, ซูเราะฮ์ อัล-หญุ ุรอต, 10.
3 อลั บยั ฎอวีย์, (al-Baidhawiy, n.d.b.: 215).

2

การอานวยความยุติธรรมและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาติมุสลิมหรือบรรดา
ศอฮาบะฮ์ภายใต้หลักคาสอนของท่านนบีมูฮาหมัด ถือเป็นเปูาหมายหลักของอิสลามในการอานวย
ความยุติธรรมให้แก่สังคมมุสลิมหากมุสลิมดารงชีวิตโดยไม่มีกฎหมายอิสลามบังคับใช้ในเร่ืองดังกล่าว
วิถีชีวิตของอิสลามก็จะไม่สอดคล้องกับหลักความเช่ือท่ีตนเองนับถือ ด้วยเหตุผลดังกล่าวชี้ให้เห็น
ความสาคัญของการมีระบบศาลอิสลามหรือการตัดสินคดีความต่าง ๆ เพ่ือเกิดความเป็นธรรมให้แก่
สงั คมมสุ ลิมมมี าตั้งแต่สมัยของท่านนบีมูฮาหมัด จนกระท่งั ปจั จบุ ัน

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของรายงาน

1. ศึกษาการตัดสนิ คดตี ามหลักกฎหมายอิสลาม
2. เพอื่ ศึกษาแนวทางการตดั สินคดีในสมยั ทา่ นนบมี ูฮาหมดั มูฮาหมัด
3. เพื่อศกึ ษาลักษณะในการตดั สินคดีในยคุ สมัยท่านนบีมูฮาหมดั มูฮาหมัด

2. ศึกษาการตัดสินคดีตามหลกั กฎหมายอสิ ลาม

2.1 ความหมายของการตัดสนิ คดี

ความหมายของการตัดสินคดี คือ การแสวงหาความสันติภาพในการอยู่ร่วมกันของสังคมมุสลิม
โดยมีรากฐานจากคาว่า อิสลาม ซึ่งนักวิชาการส่วนใหญ่ได้คานิยามความหมาย “อิสลาม” มาจากศัพท์
“สะละมะ” หมายถึงเข้าไปในสันติ หรือ “อัสลัม” หมายถึงยอมมอบน้อมตัว เพราะฉะน้ัน อิสลาม จึง
หมายถึง 1) สันติ 2) การยอมมอบตัวโดยนอบน้อม โดยนัยน้ี การแสวงสันติ กับพระผู้เป็นเจ้า คือการ
ยอมมอบตนโดยส้ินเชิงยังพระประสงค์ของพระองค์ และการแสวงสันติกับมนุษย์ก็มิได้หมายถึงการไม่
กระทาส่งิ ใดบาดหมางใจหรอื ให้ร้ายต่อผู้นัน้ แต่หมายถึงการทาดตี อ่ ผู้นน้ั ดว้ ย นอกจากน้ันคาว่าสันติยังได้
ระบุหลายคร้ังในอัลกุรอาน อีกท้ังการเผยแพร่ศาสนาอิสลา มนั้นยังได้ระบุในอัลกุรอาน

อลั ลอฮฺ ได้ตรสั ว่า

‫ِإ من‬ ‫أَ ْح َس ُن‬ ‫ِى َي‬ ‫ِبلمِت‬ ‫د ْلُم‬4ِ﴾‫اِبْلْْلَُمَْسهنَتَِةِديَوَنَجا‬ ‫َعِبْنْلِ َْكسبَِميلِِةِوَوَاوْلُىَمَوْوأَِعْعلَظَِةُم‬ ‫َربِّ َك‬ ‫َربم﴿َاكْد ُىُعَوِإ أََٰلْعلَ ُمَسبِِِيبَِلن‬
‫َض مل‬

ความว่า “จงเรียกร้องสู่แนวทางแห่งพระ เจ้าของสูเจ้า โดยสุขุม และการ
ตักเตือนที่ดี และจงโต้แย้งพวกเขาด้วยสิ่งท่ีดีกว่า แท้จริงพระเจ้าของ พระองค์
และพระองคท์ รงรู้ดยี ง่ิ ถึงบรรดาผู้ท่ีอยู่ในทางทถ่ี กู ต้อง”

ซ่ึงจะเหน็ วา่ ใหม้ สุ ลมิ เผยแพร่ด้วยความรู้ ท่ีไม่ใช่การบังคับ ขณะเดียวกัน คาว่า “สันติ” ยังเป็น
อกี หนึง่ พระนามที่ใชเ้ รียกอัลลอฮว่าเปน็ ผู้ “ทรงสนั ติ” ดังในอัลกรุ อา่ นอัลลอฮฺ ไดต้ รัสว่า

ُ ‫الْ َعِي‬ ‫الْ ُمَهْي ِم ُن‬ ‫الْ ُمْؤِم ُن‬ ُ‫ال مسَمم‬ ‫ُق مدو ُس‬5ْ‫االَّْملُملُتَ اَكلمِّّبُِيُسْبَهَحاإَِٰلنَوَاَّإِملِلمه َعُمىماَويُالْْشَمِرُكلِوَُكن ا﴾ل‬ ‫﴿ ُى َو‬
‫اْْلَبماُر‬

ความว่า “พระองค์คืออัลลอฮฺ ซ่ึงไม่มีพระ เจ้าอื่นใดอีกนอกจากพระองค์ผู้ทรง
อานาจสูงสุด ผู้ทรงบริสุทธิ์ ผู้ทรงความศานติสุข ผู้ทรงคุ้มครอง การศรัทธา
ผู้ทรงปกปักรักษาความปลอดภัย ผู้ทรงความยิ่งใหญ่ ภูมิใจมหาบริสุทธิ์
แคอ่ ัลลอฮฺ ให้พน้ จากสงิ่ ที่พวกเขาตงั้ ภาคตี อ่ พระองค์”

4 อัลกรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อนั -นะหล์ ,ฺ 125.
5 อลั กรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อลั -หัชร,์ 23.

4

2.1.1 ความหมายเชงิ ภาษาศาสตร์

“ศาล”ในตารากฎหมายอิสลามภาษาอาหรับใช้คาว่าอัลเกาะฏออฺ (‫ ) القضاء‬หรือบางทีคาว่า
ศาลในภาษาอาหรับใช้คeว่าอัลมะหฺกะมะฮฺ ( ‫ ) ا﵀كمة‬โดยคาแรก (อัลเกาะฏออฺ) มีความหมายมุ่งเน้น
ถึงกระบวนการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีในขณะท่ีคาหลัง (อัลมะหฺกะมะฮฺ) มีความหมายเน้นไป
ทางด้านสถานท่ีท่ีทาการพิพากษาคดีของศาลตารานิติศาสตร์อิสลามมัซฮับต่างๆ นิยมใช้คาว่า
“อัลเกาะฏออฺ” ในความหมายว่าระบบหรือกระบวนการทางศาล ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงศาลอิสลามเป็น
ท่ีเขา้ ใจโดยท่วั ไปว่าหมายถึงศาลตามนัยของคาวา่ “อัลเกาะฎออฺ”

คาว่า “อัลเกาะฎออฺ” มีความหมายในเชิงภาษาศาสตร์ได้หลายความหมายข้ึนอยู่กับบริบท
และจุดประสงค์ของการใช้ ดังปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอานหลายแห่งในบริบทและความหมายท่ีแตกต่าง
กัน เช่น มีความหมายว่า (การบังคับบัญชา , การเสร็จส้ินภารกิจโดยสมบูรณ์ , การบอกแจ้ง ,
การสังหาร , การสร้าง , การบรรลคุ วามสมประสงค์ , และการพพิ ากษา )

“อลั เกาะฎออฺ” ท่ใี หค้ วามหมายว่า การบังคบั บญั ชา ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์ อัลอิสรออฺ
อายะห์ที่ 23 อลั ลอฮฺ ได้ตรัสว่า

6﴾...ُ‫﴿َوقَ َض ٰى َربم َك أَمه تَ ْعبُ ُدوا إِمه إَِّميه‬
ความว่า “และพระเจ้าของเจ้า บัญชา ว่าพวกเจ้าอย่าเคารพภักดีผู้ใดนอกจาก
พระองคเ์ ทา่ นั้น”
“อัลเกาะฎออฺ” ที่ให้ความหมายว่า การเสร็จสิ้นภารกิจโดยสมบูรณ์ ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซู
เราะฮ์ อัลบะเกาะเราะฮฺ อายะหท์ ี่ 200 อลั ลอฮฺ ได้ตรัสว่า

7﴾...‫﴿ فَِإذَا قَ َضْيتُم منَا ِس َك ُك ْم‬
ความว่า “ครั้นเม่ือพวกเจ้าประกอบพิธีฮัจญ์ของพวกเจ้าเสร็จแล้ว” (การเสร็จ
ส้นิ ภารกิจโดยสมบรู ณ์) ในการประกอบพิธฮี จั ญ์

6 อัลกุรอาน, ซเู ราะฮ์ อลั อิสรออ,ฺ 23.
7 อลั กุรอาน, ซูเราะฮ์ อลั บะเกาะเราะฮ,ฺ 200.

5

“อัลเกาะฎออฺ” ท่ีให้ความหมายว่า การบอกแจ้ง ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์ อัลอิสรออฺ อายะห์
ท่ี 4 อลั ลอฮฺ ไดต้ รสั ว่า

8﴾...‫﴿َوقَ َضْينَا إَِٰل بَِن إِ ْسَرائِي َل‬
ความว่า “และเราไดแ้ จง้ แก่วงศ์วานของอสิ รออีล” (การบอกแจง้ ในคัมภีร์)
“อัลเกาะฎออฺ” ที่ให้ความหมายว่า การสังหาร ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์ อัลเกาะศ็อศ อายะห์
ท่ี 15 อัลลอฮฺ ไดต้ รัสว่า

9﴾...‫فََوَكَهُ ُمو َس ٰى فََق َض ٰى َعلَْيِو‬... ﴿
ความว่า “คนที่มาจากพวกพ้องของเขาได้ร้องขอความช่วยเหลือ เพื่อให้ปราบ
ฝาุ ยที่เป็นศัตรูของเขา มูซาได้ต่อยเขาแลว้ ได้ฆ่าเขา” (การตอ่ ย คอื การสงั หาร)

“อัลเกาะฎออฺ” ที่ให้ความหมายว่า การสร้าง ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์ ฟุศศิลัต อายะห์ท่ี 12
อลั ลอฮฺ ได้ตรัสวา่

10﴾...‫﴿ فََق َضا ُى من َسْب َع ََسَاَوا ٍت ِف يَْوَمِْْي‬
ความว่า “ดังนั้นพระองคท์ รงสร้างมันสาเรจ็ เป็นชั้นฟาู ท้ังเจด็ ในระยะเวลา 2 วนั ”
“อัลเกาะฎออฺ” ที่ให้ความหมายวา่ การบรรลุความสมประสงค์ ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์
อัลอะหฺซาบ อายะห์ที่ 37 อลั ลอฮฺ ได้ตรสั วา่

11﴾...‫فَلَ مما قَ َض ٰى َزيٌْد ِّمْن َها َوطًَرا َزمو ْجنَا َكَها‬...﴿
ความว่า “ครั้นเมื่อเซด ได้หย่ากับนางแล้ว เราได้ให้เจ้าแต่งงานกับนาง”
(การแตง่ งานการ บรรลคุ วามสมประสงค)์

8 อัลกรุ อาน, ซูเราะฮ์ อลั อสิ รออฺ, 4.
9 อลั กุรอาน, ซเู ราะฮ์ อลั เกาะศอ็ ศ, 15.
10 อัลกุรอาน, ซูเราะฮ์ ฟศุ ศลิ ตั , 12.
11 อัลกรุ อาน, ซูเราะฮ์ อลั อะหซฺ าบ, 37.

6

“อัลเกาะฎออฺ” ท่ีให้ความหมายว่า และการพิพากษา ปรากฏอยู่ในอัลกุรอานซูเราะฮ์ ฏอฮา
อายะหท์ ่ี 72 อลั ลอฮฺ ได้ตรสั ว่า

12﴾...‫فَاقْ ِض َما أَن َت قَا ٍض إَِّمنَا تَْق ِضي َٰى ِِه اْْلَيَاَة ال مدنْيَا‬... ﴿
ความว่า “ท่านจงกระทาตามส่ิงท่ีท่านต้องการจะกระทาผิด (การพิพากษา)
แท้จรงิ ท่านจะกระทาไดใ้ นชีวิตแหง่ โลกน้เี ทา่ นั้น”

อย่างไรก็ตาม แม้ว่า “อัลเกาะฎออฺ” ในเชิงภาษาจะมีหลายความหมาย แต่นักภาษาศาสตร์กล่าวว่าทุก
ความหมายน้ันมีท่ีมาจากแหล่งความหมายเดิมอันเดียวกัน น่ันคือ ความเสร็จสิ้นบริบูรณ์ ดังจะเห็นได้
ในทุกความหมายที่กล่าวมาข้างต้น ไม่ว่าการบังคับบัญชา การเสร็จสิ้นภารกิจ การแจ้ง การสร้าง การ
สังหาร การบรรลุความสมประสงค์ หรือแม้แต่การพิพากษาล้วนมีนัยท่ีบ่งช้ีถึงความเสร็จสิ้นบริบูรณ์
แฝงอยู่ในความหมายดงั กล่าวนัน้ ท้งั สิน้ 13

2.1.2 ความหมายเชงิ วิชาการ

ความหมายในเชิงวิชาการ “อัลเกาะฎออฺ” เป็นคาท่ีบรรดานักปราชญ์กฎหมายอิสลามได้ให้
นิยามไว้แตกต่างกัน ยิ่งกว่าน้ันนักปราชญ์ในมัซฮับเดียวกันก็ได้ให้นิยามไว้ด้วยถ้อยคาสานวนท่ีแตกต่าง
กันอีกด้วย แต่เป็นเพียงความแตกต่างในเชิงการใช้ถ้อยคาเท่านั้น ส่วนความมุ่งหมายในเชิงเนื้อหามี
ความใกล้เคยี งกนั ดงั คานยิ ามต่าง ๆ ต่อไปน้ี

อิบนุอาบิดีน จากมัซฮับหะนะฟี ให้ความหมายว่า อัลเกาะฎออฺ หมายถึง การทาให้ข้อพิพาท
และขอ้ ขัดแยง้ ต่าง ๆ ยุติและสิ้นสดุ ตามแนวทางท่ีกาหนดไวเ้ ฉพาะ

อัลกาสานี จากมัซฮับหะนะฟีเช่นเดียวกัน กล่าวว่าอัลเกาะฎออฺ หมายถึงการตัดสินในระหว่าง
มนุษยด์ ้วยสจั ธรรม

อิบนุฟัรหูน จากมัซฮับมาลิกีย์ กล่าวว่า อัลเกาะฎออฺ หมายถึงการบอกแจ้งถึงข้อบัญญัติ
ทางศาสนา(หุกมฺ)โดยมีผลผูกพันท่ีจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตาม

อัลเคาะฏีบอัขชิรบีนี จากมัซฮับชาฟิอี กล่าวว่า อัลเกาะฎออฺ หมายถึง การประกาศข้อช้ีขาด
ทางศาสนาในกรณีหนึ่งกรณีใดโดยผู้มีอานาจหน้าท่ีที่จะต้องดาเนินการให้เป็น ไปตามข้อชี้ขาดนั้น ผู้ที่มี
หน้าท่ีดังกลา่ วคือผพู้ พิ ากษา (กอฎี)

อัลบุฮูตี จากมัซฮับฮัมบาลี ได้ให้นิยาม อัลเกาะฏออฺ หมายถึง การบังคับให้เป็นไปตาม
ข้อบัญญัตทิ างศาสนาและการชข้ี าดขอ้ พิพาทตา่ ง ๆ

12 อลั กรุ อาน, ซูเราะฮ์ ฏอฮา, 72.
13 เอกสารประกอบการสอน, “บทท่ี 1” หน้า 2.

7

จากคานิยามดังกล่าวข้างต้น “อัลเกาะฎออฺ” หรือ ศาลในระบบกฎหมายอิสลาม หมายถึง
“การพิพากษาอรรถคดีระหว่างคู่พิพาทตามวิธีการและข้ันตอนที่กาหนดไว้โดยเฉพาะในบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายอิสลาม” ซ่ึงความหมายตามคานิยามน้ี เป็นความหมายของศาลยุติธรรมท่ัวไปหรือ
ศาลยุตธิ รรมกลาง ไม่รวมถงึ ศาลประเภทอน่ื ๆ14

2.2 แหล่งท่ีมาและหลกั ฐานในการตัดสนิ คดีในยคุ สมัยท่านนบีมฮู าหมดั

กฎหมายอิสลามเป็นกฎหมายแห่งความยุติธรรม บรรดาศาสนทูตของอัลลอฮฺ นับตั้งแต่ศาสน
ทูตอาดัมผู้เป็นบิดาแห่งมนุษยชาติกระท่ังศาสนทูตท่านสุดท้าย คือ ศาสนทูตมุฮัมมัด นอกจาก
เป็นศาสนทูตแล้วยังเป็นผู้พิพากษาช้ีขาดตัดสินคดีความ โดยยึดหลักความยุติธรรมและเที่ยงธรรม
ตามนยั แหง่ คมั ภีรอ์ ลั กรุ อาน ซูเราะหย์ นุ สุ อายะห์ที่ 47

15﴾‫﴿َولِ ُك ِّل أُمٍة مر ُسوٌل فَِإذَا َجاءَ َر ُسوُْلُْم قُ ِض َي بَْينَ ُهم ِبلِْق ْس ِط َوُى ْم َهيُظْلَ ُموَن‬
ความวา่ “และสาาหรบั ทุกประชาชาติมีศาสนทูต และเม่ือศาสนทูตของพวกเขา
ไดม้ าแลว้ กิจการระหวา่ งพวกเขาก็ถูกตัดสินโดยเทยี่ งธรรม”
และในซูเราะห์ อนั นซิ าอฺ อายะหท์ ี่ 58

16﴾ ...‫َوإَِذا َح َك ْمتُم بََْْي النما ِس أَن َْت ُك ُموا ِبلَْع ْدِل‬... ﴿
ความว่า “และเม่ือพวกเจ้าตัดสินระหว่างผู้คน พวกเจ้าจงตัดสินด้วยความ
ยตุ ธิ รรม”
จะสังเกตได้ว่าโองการอัลกุรอานที่กล่าวมาข้างต้นได้อธิบายถึงวิธีการพิพากษาคดีและกาหนด
หลักการสาคัญในการพิพากษา น่ันคือการท่ีต้องยึดคัมภีร์อัลกุรอานเป็นบรรทัดฐาน ไม่คล้อยตาม
อารมณ์ใฝุต่า และให้ระวังกลอุบายหลอกลวงให้หันเหออกจากความเท่ียงธรรม อีกท้ังอัลลอฮ ทรง
บัญชาให้ท่านศาสนทูตมุ่งแสวงหาความยุติธรรมและดารงไว้ซึ่งความเป็นกลางอย่างแท้จริง
โดยไม่แบ่งแยกว่าคู่กรณีจะสังกัดอยู่เผ่าใด ลัทธิ เชื้อชาติ หรือศาสนาใด อันเป็นการยอมรับในสิทธิ
มนุษยชนของทุกคนอยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียม

14 เอกสารประกอบการสอน, “บทที่ 1” หนา้ 2-3.
15 อลั กุรอาน, ซเู ราะฮ์ ยนุ สุ , 47.
16 อลั กรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อันนซิ าอ,ฺ 58.

8

2.2.1 หลกั ฐานทางบทบญั ญัติอัลกรุ อาน

ในระบบกฎหมายอิสลาม อัลลอฮฺ พระผู้เป็นเจ้าทรงไว้ซ่ึงความยุติธรรมย่ิงในโลกหน้าอัน
เป็นโลกแห่งการตอบแทนส่วนในโลกนี้พระองค์ทรงโองการให้บรรดาศา สนทูตของพระองค์ทาการ
พิพากษาอรรถคดีด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรมและเท่ียงธรรมตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายของพระองค์
ท่านนบีมุฮัมมัด ในฐานะศาสนทูตฯ ทรงมีอาานาจสูงสุดในรัฐอิสลามทั้งในด้านนิติบัญญัติ ด้านการ
บริหาร และด้านตุลาการ บรรดามุสลิมเม่ือได้ประสบเหตุการณ์หรือเกิดความขัดแย้ง ต่างก็นาเร่ืองราว
ไปหาท่านเพอ่ื รับฟังการชีข้ าดตัดสิน โดยนบีมุฮัมมัด จะทาาการตัดสินด้วยคัมภีร์อัลกุรอานและหลัก
ความยตุ ธิ รรม

ดงั ปรากฏในอลั กรุ อานซูเราะห์อนั นซิ าอฺ อายะห์ท่ี 105 อัลลอฮฺ ได้ตรัสว่า
‫ْي َك الْ ِكتَا َب ِبْْلَِّق لِتَ ْح ُك َم بََْْي النما ِس ِِبَا أََرا َك اَّمللُ َوَه تَ ُكن لِّْل َخائِنَِْي‬1َ‫إِل‬7‫َخ﴿إَِِّمصنيأًَمناَلْنَ﴾ا‬
ความว่า “แท้จริงเราได้ให้คัมภีร์ลงมาแก่เจ้าเป็นความสัจจริง เพ่ือเจ้าจะได้
ตดั สินระหว่างผู้คนด้วยส่ิงที่อลั ลอฮ ไดท้ รงให้เจ้ารู้เห็น และเจ้าจงอย่าเป็นผู้
เถยี งแก้ให้แก่ผู้บิดพลิ้วทั้งหลาย”

ในซเู ราะห์อลั มาอดิ ะฮฺ อายะหท์ ่ี 48 อลั ลอฮฺ ไดต้ รัสวา่
18﴾ ...‫فَا ْح ُكم بَْينَ ُهم ِِبَا أَنََل اَّمللُ َوَه تَتمبِ ْع أَْىَواءَ ُى ْم‬... ﴿

ความว่า “เจา้ จงตัดสนิ ระหวา่ งพวกเขา (ยิว) ด้วยสิ่งที่อัลลอฮประทานลงมาเถิด
และอยา่ ปฏิบตั ิตามอารมณใ์ ฝตุ า่ ของพวกเขา”
และในซเู ราะหอ์ ัลมาอิดะฮฺ อายะห์ที่ 42 อลั ลอฮฺ ได้ตรัสวา่
19﴾ ...‫َوإِ ْن َح َك ْم َت فَا ْح ُكم بَْينَ ُهم ِبلِْق ْس ِط إِ من اَّمللَ ُِي مب الْ ُمْق ِس ِطَْي‬... ﴿
ความว่า “และหากเจ้าตัดสิน ก็จงตัดสินระหว่างพวกเขาด้วยความยุติธรรม
แทจ้ ริงอลั ลอฮนั้นทรงรกั บรรดาผทู้ ี่มคี วามยตุ ธิ รรม”

2.2.2 หลกั ฐานทางอัลหะดิษ

17 อัลกรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อนั นิซาอ,ฺ 105.
18 อลั กุรอาน, ซเู ราะฮ์ อลั มาอิดะฮ,ฺ 48.
19 อลั กรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อลั มาอดิ ะฮ,ฺ 42.

9

‫ِم ْن بَ ْع ٍض فَأَقْ ِضي‬ ‫أَلَلْوَُحقَِنطَْعِِةًبُ ِممجتَِنِو‬ ‫فَأَإَّْمننَايَأَقُْكوطََنُع‬ ‫بَْع َض ُك ْم‬ ‫ َولََع مل‬،‫َمل‬ ‫لَتَوُْخِِتَبَِِصّقُمأَوِخَنيِوإ‬ ‫ «إَّمنَا أَََّن بَ َشٌر َوإنم ُك ْم‬: ‫قال‬
‫ متفق عليو‬.20»‫النما ِر‬ ،ُ‫ََيْ ُخ ْه‬ ‫َشْيئاً فَم‬ ‫ فََم ْن قَ َضْي ُت‬،‫َما أََْسَ ُع‬ ‫َعلَى َْن ِو‬

อุมมุสะละมะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺอันฮา กล่าวว่า ท่านรอสูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “แท้จริงฉันก็
คือมนษุ ย์ธรรมดาคนหนงึ่ และพวกท่านก็นาขอ้ พิพาทมายงั ฉนั และเกรงว่าบางคนอาจจะนาหลักฐาน (ที่
ทาใหค้ ดคี ลาดเคลื่อนได้) ดีกวา่ อีกคน แล้วฉนั จะตดั สินตามท่ีฉันได้รับฟัง ดังน้ันผู้ใดที่ฉันได้ตัดสินให้เขา

ส่ิงใดก็ตาม (สทิ ธขิ องผอู้ ่นื ) เขาอยา่ ไดเ้ อามัน เพราะแท้จริงฉนั ไดต้ ัดสว่ นหน่งึ จากไฟนรกใหแ้ กเ่ ขา”

การตัดสินของผู้พิพากษาจะไม่เป็นผลเม่ือเขาได้ตัดสินให้แก่ตัวเอง หรือตัดสินให้แก่บุคคลที่ไม่
สามารถเป็นพยานให้แก่เขาได้ เช่น เช้ือสายต้นตระกูลทั้งสองฝุาย ภรรยา และคนอ่ืนๆ ที่มีสถานะ
เหมือนกัน เมอ่ื มบี ุคคลสองคนหรือมากกวา่ น้ันไดร้ ้องขอให้คนที่ดี (ศอลิหฺ) มาเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดกรณีของ
เขาทงั้ สอง กถ็ อื วา่ ใช้ได้

2.3 การพพิ ากษาคดตี ่างๆ ในยคุ สมัยท่านนบีมฮู าหมดั

นบมี ุฮัมมดั นบีมฮุ ัมมัด เป็นศาสนทูตแหง่ อัลลอฮฺ ดงั น้นั การดาเนินการต่าง ๆ ของท่าน
ไม่ว่าในด้านนิติบัญญัติ ด้านการบริหาร หรือด้านตุลาการ ตลอดจนการฟัตวาและการเผยแผ่สัจธรรม
อิสลามล้วนขบั เคล่อื นอย่ภู ายใตแ้ สงสว่างแห่งการช้ีนาของพระเจ้าผู้ทรงอภิบาลแห่งจักรวาลท้ังสิ้น ท่าน
มไิ ด้พดู หรือตัดสนิ คดคี วามตามอารมณ์อัลลอฮฺ ตรัสไว้ในอลั กรุ อาน

21﴾ ‫﴿ َوَما يَن ِط ُق َع ِن ٱ ْلََو ٰى * إِ ْن ُىَو إِمه َو ْح ٌى يُو َح ٰى‬

ความว่า “และเขามุฮัมมัดมิได้พูดตามอารมณ์ ทว่าสิ่งที่
เขาพูดนั้นมิใช่อื่นใดนอกจากเป็นวะฮฺที่ถูกประทานลง
มา”

ท่านนบีมุฮัมมัด ได้พิพากษาอรรถคดีด้วยตนเอง โดยอาศัยบทบัญญัติแห่งคัมภีร์อัลกุรอาน
หรอื วะหยู ู (การวิวรณ)์ จากพระเจ้าเปน็ บรรทัดฐานดังตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

(1) การพิพากษาคดีฆาตกรรมชงิ ทรพั ย์ของกลุ่มโจรจากเผ่าอุกุลและอุรัยนะฮฺ ท่ีได้ทาการฆ่าคน
เลี้ยงอูฐของท่านนบี และได้ไล่ต้อนอูฐ เอาไปทั้งหมด กล่าวคือในเบื้องต้นพวกเขาได้เดินทางมาท่ี
ทา่ นนบี ณ นครมะดีนะฮฺ แลว้ เกดิ อาการแพอ้ ากาศและล้มปุวย ท่านนบี จึงได้แนะนาให้ไปยัง
ท่งุ เลย้ี งอูฐ เพ่อื นาปสั สาวะและนมอูฐมาดืม่ เปน็ ยา พวกเขาก็ปฏิบัติตามคาแนะนาของท่านนบี คร้ัน
แล้วทาให้อาการปวุ ยทุเลาลง แต่เมอ่ื หายปวุ ยแล้วพวกเขากลับลงมือปฏิบัติการสังหารคนเล้ียงอูฐและไล่
ต้อนอูฐ หลบหนีไปด้วย ท่านนบี ทราบข่าวในตอนเช้าตรู่ของวันรุ่งข้ึนจึงสั่งให้สะกดรอยตามและ
สามารถจับกมุ ตวั พวกโจรเหล่าน้นั ได้ ท่านนบี จึงพิพากษาให้ติดมือตัดเท้าของพวกเขา ให้เอาเหล็ก
ร้อนทิมดวงตาของพวกเขา และปล่อยท้ิงไว้กลางทะเลทรายกระท่ังตาย อบูกิลาบะฮฺ กล่าวว่า คนพวก
น้ันกระทาผิดฐานลกั ทรพั ย์ ฆา่ คนพน้ สภาพการเปน็ มสุ ลิม และฐานดักปล้น (หิรอบะฮฺ) เป็นลักษณะของ

20 อัลบคุ อรียฺ, ‫ صحيح البخاري‬, หะดีษเลขท่ี : 1713.
21 อลั กรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อัน-นจั ญม์ ,ฺ 3-4.

10

การกระทาความผิดหลายกระทง ท้ังความผิดอัดและความผิดกิศอศรวมกัน และท่านนบี ได้ลงโทษ
ทุกกระทงความผดิ โดยลงโทษฮดั กอ่ นหลังจากน้นั จงึ ลงโทษกิศอส

(2) การพิพากษาคดีละเมิดในทางประเวณี (ซินา) ของมาอิซ อิบนุมาลิก อัลอัสละมีย์ และคดี
สตรีนางหนึ่งจากเผ่าอัลมอมิด โดยตัดสินให้ลงโทษรญัม (ขว้างจนกระท่ังตาย) ในความผิดฐานละเมิด
ทางประเวณี (ซินา) ทั้งนี้ภายหลังจากท่ีมาอิซ อิบนุมาลิกได้เข้าโอดครวญต่อท่านนบี และอ้อน
วอนให้ล้างมลทิลของเขา ท่านนบีจึงกล่าวช้ีแนะว่า" ช่างน่าเวทนาเหลือเกิน จงขอลุแก่โทษต่ออัลลอฮฺ
และกลับตัวต่อพระองค์เถิด” เขาก็ย้าคาอ้อนวอนดังกล่าวอีกท่านนบี ก็กล่าวตอบเช่นเดิมเป็น
เช่นนั้นถึงส่ีครั้งกระทั่งท่านนบี กล่าวว่า“ กระน้ันจะให้ฉันล้างมลทิลอะไรหรือ? " เขากล่าวว่า "
มลทิลจากการล่วงเกินทางประเวณี (ซนิ า) "ท่านนบไี ดจ้ ึงสอบถามเขาและพวกพ้องของเขาว่าเขามีสติฟ่ัน
เฟือนไปหรือไม่ เม่ือได้รับคาตอบว่า เขามีสติปัญญาสมบูรณ์มิได้ฟันเฟือน ท่านนบีจึงสอบถามต่อไปอีก
ว่าเขาเมาสุราหรือไม่ บุคคลหน่ึงจึงได้ลุกขึ้นเดินไปหาเขาแล้วได้พิสูจน์กล่ิน แต่ไม่พบว่ามีร่องรอยกล่ิน
สุรา แต่อย่างใดท่านนบีจึงกล่าวถามเพื่อความแน่นอนก่อนการพิพากษาว่า“ เจ้าได้กระทาผิดซินา
กระน้นั หรอื ” เขาสารภาพวา่ ใชท่ า่ นนบี จงึ พิพากษาเขาใหถ้ กู ลงโทษ “รญัม”

(3) การพิพากษาให้ลงโทษตัดมือในความผิดฐานเบียดบังเอาทรัพย์ของผู้อ่ืนเป็น ของตน ท่าน
หญิงอาอิชะฮฺ เล่าว่าสตรีเผ่ามักซูมซึ่งเป็นเผ่าท่ีมีฐานันดรสูงศักด์ิ เผ่าหน่ึงในขณะนั้นได้ยืมของใช้
ผอู้ ่ืนและปฏเิ สธ ทา่ นนบี จึงพพิ ากษาให้ลงโทษ "ตัดมอื " ของนาง ตามความในอัลกุรอานท่บี ญั ญัติไว้

22﴾...‫﴿ َوال مسا ِرُق َوال مسا ِرقَةُ فَاقْطَعُوا أَيْ ِديَُه َما‬
ความว่า “และชายที่ขโมยและหญิงที่ขโมยน้นั จงตดั มือของเขาทงั้ สองคน

คร้ันแล้วครอบครัวของนางจึงได้วิ่งเต้นหาช่องทาง ติดต่อบุคคลที่ใกล้ชิดกับท่านนบี และมี
ความกลา้ พอทีจ่ ะเจรจาต่อรองกบั ทา่ นนบีเพื่อให้ เปลย่ี นคาพิพากษาและบทลงโทษ บุคคลเช่นว่าน้ันไม่
มีใครนอกจากอุซามะฮฺ อิบนุชัย ผู้เป็นท่ีรัก ยิ่งของท่านนบี แต่คร้ันเม่ืออุซามะฮฺได้ขอต่อรอง
กบั ทา่ นนบี ท่านนบี จงึ ได้กล่าว

،‫ف‬،ُ‫الَّلَيسهَُرأَيعمقلهيااول الموضنماعِسيلمَُسم‬:‫قََصاولمإَلَذىا‬،،‫اُحلإُدوَذواِأد مناَسََّمرلفَِلاَقُِطاثمَلمقَةَمشابَِرميْن فََُتفَختَُطََمَرُكممَوبٍدُه‬،‫أنَمحُوهاٍّدْْميُِمَاكَناّملنُِلو‬،‫فمد‬،َِ‫مواأنتَعقَلْشيْبَفولَُعاُكْْمل‬:َ‫إف(َمّين(اهمفَ ََقأضاقَاملَلُم‬
23)) ‫َسَرقَ ْت لََقطَ َع ُُمَ مم ٌد يََد َىا‬

ความว่า “เจ้าประสงค์จะช่วยให้เขารอดพ้นจากบทลงโทษท่ีอัลลอฮฺ
ทรงบญั ญัตไิ วก้ ระนนั้ หรือ จากนันทา่ นนบี จึงได้ลุกข้ึนประกาศเทศนา
แก่คนท้ังหลาย ความว่า “มวลมนุษย์ทั้งหลาย ความจริงบรรดาผู้ที่
ประสบความหายนะกอ่ นหนา้ พวกเจา้ ก็เพราะเมอื่ คนมีเกียรติสูงส่งในหมู่

22 อัลกรุ อาน, ซเู ราะฮ์ อัลมาอดิ ะฮ,ฺ 5.
23 มสุ ลมิ เศาะฮีหมฺ สุ ลิม. หะดษิ เลขท่ี 4366.

11

พวกเขาลักขโมยพวกเขาต่าง พากันละเลย และเม่ือคนชั้นต่าในหมู่พวก
เขาลักขโมย พวกเขาดาเนินการลงโทษอย่างเด็ดขาด ขอสาบานต่อ
อลั ลอฮฺ หากแม้นว่า ฟาฏิมะฮฺ บุตรสาว ของมุฮัมมัดลักขโมย แน่แท้
ฉนั จะพพิ ากษาให้ลงโทษตัดมอื ของเธอ”

เหล่าน้ีเป็นส่วนหนึ่งของการพิพากษาคดีความต่าง ๆ ของนบีมุฮัมมัด ซึ่งได้รับการยึดถือ
เป็นต้นแบบของการพพิ ากษาอรรถคดที ี่เกิดขึ้นในภายหลงั ท้งั นี้เป็นการปฏบิ ัติตามนยั แหง่ อัลกุรอาน
อัลลอฮฺ ตรัสไว้

24﴾...ٌ‫﴿ لمَق ْد َكا َن لَ ُك ْم ِف َر ُسوِل اَّمللِ أُ ْسَوةٌ َح َسنَة‬

ความว่า “แท้จริงในศาสนทูตแหง่ อัลลอฮฺน้ันมีแบบฉบบั อันงามสาหรับพวกเจา้ ”
นบีมุฮัมมัด เป็นศาสนทูตซ่ึงได้รับระหยจากพระเจ้า แต่ในทางปฏิบัติการ ดาเนินกระบวน
พิจารณาคดีท่านนบีมิได้รอวะหยแต่เพียงอย่างเดียว ทว่าบ่อยคร้ังท่ีได้ทาการวิเคราะห์วินิจฉัยโดยใช้
วิธีการและปัจจัยต่าง ๆ ประกอบในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงแห่งคดีเสมือนหน่ึง ผู้พิพากษาทั่วไป ที่มิใช่ศา
สนทูตแห่งอัลลอฮฺ ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้น เช่น พยานหลักฐาน การรับ สารภาพ การจับสลาก การ
สาบาน และอ่ืน ๆ ซ่ึงเป็นการดาเนินกระบวนพิจารณาท่ีเหล่าเศาะหาบะฮฺ และมวลผู้ศรัทธาใน
ภ า ย ห ลั ง ส า ม า ร ถ เ จ ริ ญ ร อ ย ต า ม ไ ด้ ดั ง ป ร า ก ฏ ใ น ห ะ ดี ษ ห นึ่ ง ซึ่ ง เ ล่ า จ า ก ท่ า น ห ญิ ง
อุมมุสะละมะฮฺ ประหนึ่งว่าท่านนบี พิพากษาอรรถคดีตามข้อมูลท่ีได้สืบทราบได้จาก ท้ังสอง
ฝุาย คอื ทง้ั ฝาุ ยโจทกแ์ ละจาเลยเท่านน้ั ดงั มรี ายงานดงั น้ี

‫ر‬،‫م َإِنضوَّمناسايللمنمألامََِّنو‬:ِ‫َععَللةٌأيقْو‬،‫كِّقََصوزاْوٍَُمنمُجْأسفَبالِْلٍَمنلخمََرََفِّبَإجَِّممناعصنللميىبَهىيْعمالقِلفَهٍُقضطْا‬،َ‫َمفعَيملفلَيةََمَعورنملوِضبقََسَلميْعَضمْيالًضلاهَُُجتلَأبَلعْنةَنوهيِاَِخب‬،ُ‫قأ‬،ُ‫َوسوأَإَلََنِمسَْمحوَعةَِسَاَيْلِىنتمِْنُبيُدمِبأننبمنواصلمُعتََصىاأْصِادبلُميلٌه‬:‫لك‬،َُ‫م‬2‫أٌوُر‬5‫ببفَ)(تَ)(قَلش‬

“เล่าจากอุมมุสะละมะฮฺว่า ท่านรสูลุลลอฮฺ กล่าวว่าพวกท่าน
ขัดแย้งกันมาหาฉนั โดยที่ความจริงฉันเป็นเพยี งปุถุชนคนหน่ึง และ บางที
คนหนึ่งคนใด จากพวกท่านสามารถใช้เล่ห์เหล่ียมในการอ้าง
พยานหลกั ฐานได้ดกี ว่าอีกคนหน่งึ แลว้ ฉนั ก็จะตัดสินไปตามสิ่งท่ีฉัน ได้ฟัง
จากเขา ดงั นน้ั บคุ คลใดท่ีฉันตัดสินให้เขาได้รับสิทธิในสิ่งใด ๆ จากพี่น้อง
ของเขา เขาจงอย่าได้เอามันไปสักสิ่งเดียว เพราะแท้ท่ีจริง ฉันได้ตัด
ชน้ิ ส่วนชนิ้ หนึ่งจากไฟนรกให้แก่เขา”

จากน้ันชายท้ังสองคนถึงกับร่าให้ ท่านนบีมุฮัมมัด จึงกล่าวว่า “พวกท่านจงกลับไปแบ่ง
มรดกตามสทิ ธขิ องแต่ละคนเถดิ และจงขออภยั ให้แกก่ ันและกัน”

24 อัลกุรอาน, ซเู ราะฮ์ อลั -อะหซ์ าบ, 21.
25 ความหมายของหะดษี บนั ทกึ โดยมุสลมิ , เศาะฮฮี มุสลิม, หะดีษเลขที่ 4427.

12

2.3.1 กระบวนลกั ษณะการพพิ ากษาคดีของทา่ นนบีมฮู าหมัด

ตัวอย่างท่ี 1 จาลองกระบวนการพิพากษาคดีละเมิดในทางประเวณี (ซินา) ของมาอิซ
อิบนุมาลิก อัลอัสละมีย์ และคดีสตรีนางหนึ่งจากเผ่าอัลมอมิด โดยตัดสินให้ลงโทษรญัม
(ขว้างจนกระทั่งตาย) ดงั นี้

13

ตวั อยา่ งที่ 2 จาลองกระบวนการพิพากษาคดีฆาตกรรมชิงทรัพย์ของกลุ่มโจรจากเผ่าอุกุล
และอุรัยนะฮฺท่ีได้ทาการฆ่าคนเลี้ยงอูฐของท่านนบี และได้ปล้นชิงทรัพย์สิน (อูฐ)
ไปทั้งหมด ดงั นี้

3. บทสรุป

เมือ่ มขี อ้ พิพาทขดั แย้งใด ๆ เกิดข้ึนระหว่างบรรดาผู้ศรัทธาเป็นความจาเป็นจะต้องยินยอมมอบ
ให้ทา่ นรสูลลุ ลอฮฺเป็นผูช้ ้ขี าดตัดสินและต้องยอมรับในคาพิพากษานั้น อัลลอฮฺตรัสว่า ไว้ความขอสาบาน
ด้วยพระผู้อภิบาลของเจ้าเขาเหล่าน้ันจะยังไม่ศรัทธาจนกว่าพวกเขาจะให้เจ้าตัดสินในส่ิงที่ขัดแย้งกัน
ระหวา่ งพวกเขาแลว้ พวกเขาไม่พบความคับใจใด ๆ ในจิตใจของพวกเขาเกี่ยวกับส่ิงได้ตัดสินไปและพวก
เขายอมจานนดว้ ยดี” ทา่ นนบีมุฮัมมัดได้พิพากษาอรรถคดีด้วยตนเองโดยอาศัยบทบัญญัติแห่งคัมภีร์อัล
กุรอานหรือวะหยู (การววิ รณ)์ จากพระเจ้าเปน็ บรรทดั ฐานดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี

(1) การพิพากษาคดีฆาตกรรมชงิ ทรัพย์ของกลุ่มโจรจากเผ่าอุกุลและอุภัยนะฮฺที่ได้ทาการฆ่าคน
เลี้ยงอูฐของทา่ นนบี และได้ไล่ต้อนอูฐเอาไปทั้งหมดกล่าวคือในเบื้องต้นพวกเขาได้เดินทางมาที่ท่านนบี
ณ นครมะดีนะฮฺแล้วเกิดอาการแพ้อากาศและล้มปุวยท่านนบีจึงได้แนะนาให้ไปยังทุ่งเล้ียงอูฐเพ่ือนา
ปัสสาวะและนมอูฐมาด่ืมเป็นยาพวกเขาก็ปฏิบัติตามคาแนะนาของท่านนบี ครั้นแล้วทาให้อาการปุวย
ทุเลาลง แต่เมื่อหายปุวยแล้วพวกเขากลับลงมือปฏิบัติการสังหารคนเลี้ยงอูฐและไล่ต้อนอูฐหลบหนีไป
ดว้ ยท่านนบี ทราบข่าวในตอนเช้าตรู่ของวันรุ่งข้ึนจึงสั่งให้สะกดรอยตามและสามารถจับกุมตัวพวกโจร
เหล่าน้ันได้ท่านนบีจึงพิพากษาให้ตัดมือตัดเท้าของพวกเขาให้เอาเหล็กร้อนที่มดวงตาของพวกเขาและ
ปล่อยทงิ้ ไวท้ ะเลทรายกระทง่ั ตายอย่กู ลาบะฮฺกล่าววา่ คนพวกน้ันกระทาผิดฐานลักทรัพย์ฆ่าคนพ้นสภาพ
การเป็นมุสลิมและฐานดักปล้น (หริ อบะฮ)ฺ เปน็ ลักษณะของการกระทาความผิดหลายกระทงท้ังความผิด
ชัดทิศอศรวมกันและท่านนบี ได้ลงโทษทุกกระทงความผิดโดยลงโทษอัดก่อนหลังจากน้ันจึงลงโทษ
กิดอศ

(2) การพิพากษาคดีละเมิดในทางประเวณี (นา) ของมาอิซอิบนุมาลิกอัลอัสละมีย์และคดีสตรี
นางหนึ่งจากเผ่าอัลมอมิดโดยตัดสินให้ลงโทษรม (ขว้างจนกระท่ังตาย) ในความผิดฐานละเมิดทาง
ประเวณี (ซินา) ทั้งน้ีภายหลังจากที่มาอิซอิบนุมาลิกได้เข้าโอดครวญต่อท่านนบี และอ้อนวอนให้ล้าง
มลทิลของเขาท่านนบีจึงกล่าวช้ีแนะว่า“ ช่างน่าเวทนาเหลือเกินจงขอลุแก่โทษต่ออัลลอฮ และกลับตัว
ต่อพระองค์เถดิ ” เขาก็ย้าคาอ้อนวอนดังกล่าวอกี ท่านนบี ก็กล่าวตอบเช่นเดิมเป็นเช่นนั้นถึงส่ีครั้งกระทั่ง
ท่านนบี กล่าวว่า“ กระน้ันจะให้ฉันล้างมลทิลอะไรหรือว่า“ มลทิลจากการล่วงเกินทางประเวณี (ซินา)”
ท่านนบีได้จึงสอบถามเขาและพวกพ้องของเขาว่าเขามีสติฟ่ันเฟือนไปหรือไม่เมื่อได้รับค่าตอบว่าเขา
สติปัญญาสมบูรณ์มิได้ฟันเฟือนท่านนบีจึงสอบถามต่อไปอีกว่าเขาเมาสุราหรือไม่บุ คคลหน่ึงจึงได้ลุกข้ึน
เดินไปหาเขาแลว้ ไดพ้ สิ ูจนก์ ลิ่น แต่ไมพ่ บวา่ มีร่องรอยกล่ินสุรา แต่อย่างใดท่านนบีจึงกล่าวถามเพ่ือความ
แน่นอนก่อนการพิพากษาว่า“ เจ้าได้กระทาผิดชินากระนั้นหรือ” เขาสารภาพท่านนบีจึงพิพากษาเขาให้
ถูกลงโทษ“ รมส่วนการพิพากษาคดีของสตรีนางหน่ึงจากเผ่าอัลมอมิดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันกล่าวคือ
ท่านนบีพยายามบ่ายเบ่ียงไม่รับคาสารภาพกระทั่งเธอขอให้ท่านนบี สอบถามเธอเช่นเดียวกับที่ได้
สอบถามมาอิชอิบนุมาลิกและเธอก็สารภาพถึงขนาดว่าเธอได้ผิดประเวณีและต้ังครรภ์แล้วท่านนบี
กล่าวว่า“ บางทีเธออาจจะยังมิได้ต้ังครรภ์เธอจงกลับไปก่อนเถิดจนกว่าจะได้คลอดบุตร” เม่ือได้คลอด
แล้วเธอจึงมายังท่านนบีพร้อมด้วยทารกที่ห่อผ้าอ้อมและกล่าวว่าน่ีไงดิฉันคลอดแล้วท่านนบี กล่าวว่า“
ถึงกระน้ันก็จงกลับไปเถิดและจงให้นมลูกจนกว่าเธอจะได้หย่านมเขาแล้ว” เม่ือหย่านมแล้วเธอจึงได้มา
หาท่านนบีพร้อมด้วยเด็กน้อยที่ถือขนมปังอยู่ในมือและเธอก็กล่าวว่าโอ้ศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺ น่ีคือเด็ก
คนน้ันดิฉันได้หย่านมเขาแล้วท่านนบีจึงได้พิพากษาเธอให้ถูกลงโทษ“ รมโดยส่ังให้ขุดหลุมฝังเธอถึง
หนา้ อก

15

(3) การพิพากษาคดีละเมิดในทางประเวณีของชาวยิวชายหญิงสองคนตามคัมภีร์ของพวกเขา
กลา่ วคอื ชายหญิงชาวยิวคนู่ ้ไี ด้ประพฤตผิ ดิ ประเวณีและถูกนาตัวมาให้ท่านนบีตัดสินท่านนบีจึงได้ถามว่า
ในคมั ภีรข์ องพวกเจ้าบัญญตั ิอยา่ งไรท้งั สองกลา่ ววา่ บาดหลวงของพวกเราได้ปรับปรุงใหม่โดยให้ล้างหน้า
ด้วยน้าร้อนและทาให้ใบหน้าเสียโฉมมีสีดาจากน้ันจึงให้นาตัวข้ึนขี่หลังอูฐเ พ่ือประจานไปรอบเมืองอับ
ดุลลอฮฺอิบนอัสสลามกล่าวว่า: โอ้ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺขอให้พวกเขานาคัมภีร์เตารอตมาเปิดอ่านดู
เถิดทันใดน้ันคัมภีร์เตารอตจึงถูกนามาเปิดและอ่าน แต่ชาวยิวผู้หน่ึงได้ใช้มือปิดโองการท่ีบัญญัติให้
ลงโทษรมและอา่ นข้ามไปอบิ นุอสั สลามจงึ บอกให้เขายกมอื ออกปรากฏว่าโองการท่ีถูกปิดไว้คือบัญญัติให้
ลงโทษรมทา่ นนบจี ึงพิพากษาเขาให้ถูกลงโทษ“ รม” ณ บริเวณลานหน้ามสั ยิดอลั นะบะวยี ์

(4) การพิพากษาคดีละเมิดในทางประเวณี (นา) ระหว่างภริยาของนายจ้างกับลูกจ้างขณะท่ีมี
ชายอาหรับชนบทผู้หนึ่งได้เดินทางมายังท่านนบีและกล่าวว่าโอ้ศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺขอได้โปรดตัดสิน
ความระหว่างเราด้วยคัมภีร์ของอัลลอฮฺเกิดท่านศาสนทูตจึงอนุญาตให้เขาเล่าเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นเขา
กล่าวว่าบุตรชายของข้าพเจ้าซ่ึงเป็นลูกจ้างของนายจ้างนี้ได้กระทาผิดประเวณีกับภริยาของเขาต่อมา
พวกเขาบอกกับข้าพเจ้าว่าจะต้องลงโทษ“ รมบุตรของข้าพเจ้าข้าพเจ้าจึงได้ขอไถ่ถอนโทษดังกล่าวด้วย
แพะหน่งึ รอ้ ยตวั และทาสีหนึ่งคนหลังจากนั้นข้าพเจ้าได้สอบถามผู้รู้บรรดาผู้รู้บอกว่าความจริงภริยาของ
เขาจะตอ้ งถกู ลงโทษ“ รม” และบตุ รของขา้ พเจา้ เพียงต้องโทษเสย้ี นหนง่ึ ร้อยครงั้ และเนรเทศหน่ึงปีท่านน
บีเปล่งวาจาสาบานและยืนยันว่าจะทาการตัดสินคดีระหว่างทั้งสองฝุายด้วยคัมภีร์ของอัลลอฮฺคือ
คัมภีร์อลั กรุ อานโดยตดั สนิ วา่ "ทาสแี ละแพะน้ันจะต้องส่งคืนและบุตรชายของท่านจะต้องเขียนหนึ่งร้อย
ครั้งและเนรเทศหน่ึงปีสาหรับภริยาของชายผู้นี้ท่านนบี สั่งให้อุนัยไปสอบถามเธอหากเธอรับสารภาพก็
ให้ดาเนินการลงโทษเธอด้วยโทษ“ รมจึง“ มวลมนุษย์ทั้งหลายความจริงบรรดาผู้ท่ีประสบความหายนะ
ก่อนหน้าพวกเจ้าก็เพราะเมื่อคนมีเกียรติสูงส่งในหมู่พวกเขาลักขโมยพวกเขาต่างพากันละเลยและเม่ือ
คนช้นั ต่าในหมพู่ วกเขาลกั ขโมยพวกเขาดาเนินการ

(5) การพิพากษาให้ลงโทษตัดมือในความผิดฐานเบียดบังเอาทรัพย์ของผู้อื่นเป็นของตนท่าน
หญงิ อาอิชะฮฺ (รอยลั ลอฮอุ ันฮา) เล่าวา่ สตรีเผ่ามกั ซูมซึ่งเป็นเผา่ ท่ีมีฐานันดรสูงศักด์ิเผ่าหน่ึงในขณะน้ันได้
ยืมของใช้ผู้อ่ืนและปฏิเสธท่านนบีจึงพิพากษาให้ลงโทษ“ ตัดมือ” ของนางตามความในอัลกุรอานที่
บญั ญัติไวค้ วามว่า“ และชายท่ีขโมยและหญิงที่ขโมยน้ันจงตัดมือของเขาทั้งสองคน” (อัลมาอิดะฮฺ 5: 38)
คร้ันแล้วครอบครัวของนางจึงได้วิ่งเต้นหาช่องทางติดต่อบุคคลที่ใกล้ชิดกับท่านนบี และมีความกล้า
พอที่จะเจรจาต่อรองกับท่านนบี เพ่ือให้เปลี่ยนคาพิพากษาและบทลงโทษบุคคลเช่นว่านั้นไม่มีใคร
นอกจากอซุ ามะฮฺอิบนชุ ยั ผู้เปน็ ทีร่ ักย่ิงของท่านนบี แต่ครั้นเม่ืออุซามะฮไฺ ด้ขอต่อรองกับท่านนบี ท่านนบี
จึงได้กล่าวความว่า“ เจ้าประสงค์จะช่วยให้เขารอดพ้นจากบทลงโทษท่ีอัลลอฮฺ ทรงบัญญัติไว้กระนั้น
หรอื " จากนัน้ ท่านนบี จงึ ได้ลุกขน้ึ ประกาศเทศนาแก่คนทัง้ หลายความวา่ ลงโทษอย่างเด็ดขาดขอสาบาน
ต่ออัลลอฮฺหากแม้นว่าฟาฏิมะฮฺบุตรสาวของมุฮัมมัดลักขโมยแน่แท้ฉันจะพิพากษาให้ลงโทษตัดมือของ
เธอ

เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของการพิพากษาคดีความต่าง ๆ ของนบีมุฮัมมัดซึ่งได้รับการยึดถือเป็น
ต้นแบบของการพิพากษาอรรถคดีที่เกิดขึ้นในภายหลังทั้งน้ีเป็นการปฏิบัติตามนัยแห่งอัลกุรอานอัลลอฮฺ
ตรัสไว้ความว่า “แท้จริงในศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺน้ันมีแบบฉบับอันดีงามสาหรับพวกเจ้านบีมุฮัมมัด
เปน็ ศาสนทตู ซ่ึงไดร้ ับวะหยจากพระเจ้า แต่ในทางปฏิบัติการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีท่านนบีมิได้รอ
วะหย แต่เพียงอย่างเดียวทว่าบ่อยคร้ังท่ีได้ทาการวิเคราะห์วินิจฉัยโดยใช้วิธีการและปัจจัยต่าง ๆ

16

ประกอบในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงแห่งคดีเสมือนหนึ่งผู้พิพากษาท่ัวไปที่มิใช่ศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺปัจจัย
ต่าง ๆ เหลา่ น้นั เช่นพยานหลักฐานการรับสารภาพการจับสลากการสาบานและอื่น ๆ ซึ่งเป็นการดาเนิน
กระบวนพจิ ารณาทเ่ี หลา่ เศาะหาบะฮแฺ ละมวลผู้ศรัทธาในภายหลังสามารถเจริญรอยตามได้ดังปรากฏใน
หะดีษหนึ่งซ่ึงเล่าจากท่านหญิงอุมมุสะละมะฮฺประหน่ึงว่าท่านนบีพิพากษาอรรถคดีตามข้อมูลท่ีได้สืบ
ทราบได้จากทั้งสองฝาุ ยคอื ทง้ั ฝุายโจทกแ์ ละจาเลยเท่านั้นดังมีรายงานดงั นี้“ เลา่ จากอุมมุสะละมะฮฺว่า ....
ท่านรสูลุลลอฮกฺ ลา่ ววา่ พวกท่านขัดแย้งกันมาหาฉันโดยท่ีความจริงฉันเป็นเพียงปุถุชนคนหนึ่งและบางที
คนหนึ่งคนใดจากพวกท่านสามารถใช้เล่ห์เหล่ียมในการอ้างพยานหลักฐานได้ดีกว่าอีกคนหน่ึงแล้วฉันก็
จะตดั สินไปตามสงิ่ ที่ฉนั ไดฟ้ ังจากเขาดังนนั้ บุคคลใดท่ฉี ันตัดสนิ ให้เขาได้รับสิทธิในส่ิงใด ๆ จากพี่น้องของ
เขาเขาจงอยา่ ไดเ้ อามันไปสกั สง่ิ เดยี วเพราะแทท้ ี่จริงฉนั ได้ตัดชิ้นส่วนชิ้นหน่ึงจากไฟนรกให้แก่เขาจากนั้น
ชายท้ังสองคนถึงกับให้ท่านนบีมุฮัมมัดจึงกล่าวว่าพวกท่านจงกลับไปแบ่งมรดกตามสิทธิของแต่ละคน
เถดิ และจงขออภยั ใหแ้ กก่ ันและกัน

คาพิพากษาของนบมี ุฮมั มดั เป็นการวนิ ิจฉัยหรือววิ รณ์จากพระเจ้าคาพิพากษาของท่านนบี เป็น
การวินิจฉัยจากท่านนบีเองหรือเป็นวะหยูหรือวิวรณ์มาจากพระเจ้าในเร่ืองนี้บรรดานักปราชญ์อิสลาม
มัซฮับต่าง ๆ มีความเห็นขัดแย้งกันโดยบางท่านมีทัศนะว่าคาพิพากษาของท่านนบี เกิดจากการ
วิเคราะห์วินิจฉัยหรือการอิจญฮาดของท่านเองมิใช่การวะหยูหรือวิวรณ์มาจากพระเจ้าในขณะท่ี
นักปราชญ์บางท่านเห็นว่าส่ิงดังกล่าวน้ันเป็นวะหนูมาจากพระผู้เป็นเจ้าอย่างไรก็ตามเป็นท่ียอมรับ
โดยทั่วไปวา่ คาพิพากษาของท่านนบี น้ันเป็นสิ่งที่จะต้องถือปฏิบัติตามเน่ืองจากเพราะเป็นการวางหลัก
นติ ิบญั ญัติทง้ั นี้ไม่วา่ จะเป็นการพิพากษาตามตัวบทคือเป็นการปรับข้อเท็จจริงแห่งคดีกับตัวบทแห่งอัลกุ
รอานหรือด้วยการวินิจฉัยในคดีท่ีไม่มีตัวบทบัญญัติไว้โดยตรงก็ตามเพราะถ้าหากการวินิจฉัยคดีใดไม่
ถูกต้องก็จะมีโองการมาจากพระเจ้าเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขน่ันย่อมหมายความว่าในบั้นปลายท้ายท่ีสุดก็
คือวะหยจากพระเจ้าน่ันเองบรรดานักวิชาการส่วนใหญ่จึงมีความเห็นว่าการวินิจฉัยช้ีขาดของท่านนบี
อยู่ในลาดับเดียวกับวะหยูหรือวิวรณ์ความในหะดีษเล่าจากท่านหญิงอุมมุสะละมะฮฺข้างต้นจึงมี
ความหมายเพยี งการตักเตือนเชิงข่มขู่แก่คู่กรณีให้รู้สึกขยาดหวาดกลัวต่อโทษทัณฑ์ในวันอาคิเราะฮฺและ
ขจดั ความละโมบในสิง่ ทม่ี ใิ ช่สทิ ธขิ องตนมไิ ดห้ มายความว่าท่านนบี จะยอมรับความผิดพลาดและยืนยัน
การพิพากษาไปตามกลวิธีท่ีเหนือกว่าของฝุายหนึ่งฝุายใดในการนาสืบพยานหลักฐานขณะท่ี มีวะหยุ
ประทานลงมาแก่ท่านและสามารถเปล่ียนหรือแก้ไขให้ถูกต้องได้กรณีดังกล่าวนอกจากจะเป็นการเตือน
ค่พู พิ าทแลว้ ยงั หมายถงึ การอบรมบ่มสอนแก่เศาะหาบะฮฺตลอดจนประชาชาติมุสลิมท้ังมวลเกี่ยวกับการ
ดาเนินกระบวนพิจารณาว่าจะต้องชี้ขาดตัดสินไปตามปรากฏการณ์ท่ีสัมผัสหรือสังเกต ได้ภายนอกหรือ
พยานหลักฐานที่สามารถพิสูจน์และสัมผัสได้โดยไม่มีการแบ่งแยกว่าผู้พิพากษาจะเป็นศาสนทูตเองหรือ
ไม่ใช่ท้ังน้ีเพ่ือมวลประชาชาติจะได้สามารถเจริญรอยตามได้ด้วยจิตใจสงบไร้ความวิตกกังวลเพราะเป็น
การเจรญิ รอยตามในสิ่งทีบ่ ุคคลทว่ั ไปสามารถปฏิบัตไิ ด้โดยมิต้องอาศยั วะยู ซ่ึงเป็นวสิ ยั ของมนุษย์
ธรรมดาสามั

17

โดยทวั่ ไปว่าานาจสูงสุดแห่งรัฐแบ่งออกเปน็ 3 อานาจ ได้แก่ อานาจนิติบญั ญัตแิ ละบรรดาเศาะ
หาบะฮฺมาต้งั การบริหารและตลุ าการภายหลังจากการอพยพของท่านนบีมฮุ ัมมัดถิน่ ฐานสรา้ งอาณาจักร
ใหม่ ณ นครมะดนี ะฮฺท่านนบีมฮุ ัมมดั ในฐานะศาสนทตู แหง่ อัลลอฮฺเปน็ ผู้ทรงไวซ้ งึ่ อานาจสูงสดุ ในการใช้
อานาจอธิปไตยแหง่ รฐั ทัง้ ดา้ นนติ บิ ัญญัตบิ รหิ ารและตุลารวมท้งั การประกาศสัจธรรมอิสลามและการ
อธบิ ายปัญหาศาสนาหรือทีเ่ อที่เรียกว่า“ ฟัตวา” กลา่ วคอื ในดา้ นนติ ิบญั ญตั นิ บีมุฮมั มัดคือผรู้ ับวะหย
จากอัลลอฮฺซง่ึ เป็นธรรมนูญสูงสดุ มาเผยแผ่แก่มวลมนษุ ยชาติในฐานะศาสนทูตแหง่ พระองค์ในดา้ นการ
บรหิ ารนบีมฮุ ัมมัดเปน็ ผู้ทรงอานาจสงู สดุ ในการบริหารกจิ การต่าง ๆ แห่งนครมะดีนะฮฺเป็นผคู้ อยขจัด
ทุกขบ์ ารุงสุขสรา้ งความเป็นธรรมและความถกู ต้องใหเ้ กดิ ขึ้นอย่างแท้จริงในสงั คมใหม่ลบลา้ งจารีต
ประเพณีที่ไมเ่ หมาะสม และความเชือ่ ดง้ั เดมิ ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ซึ่งตกทอดมาจากยคุ อนารยธรรมก่อนอสิ ลาม
โดยอาศยั แนวนโยบายอนั ละเอยี ดอ่อนเลศิ ลา้ แห่งคมั ภรี ์อัลกรุ อาน บรรทดั ฐาน อุปนิสยั อันเปน็ ประเสรฐิ
ทไ่ี ด้รบั ความไวว้ างใจจากคนท่ัวไปท้ังผูท้ ีเ่ ลื่อมในศรทั ธา และผู้ท่ปี ฏเิ สธศรัทธาตอ่ พระเจ้าวถิ ีชีวติ และการ
ดาเนนิ งานในทุก ๆ ดา้ นของทา่ นเปน็ แบบฉบบั อันดีงามและเป็นรากฐานในการสร้างสรรค์จรรโลงสังคม
และประชาชนใหม้ ชี ีวิตอยู่อย่างสงบและสนั ตชิ ่วั นิรนั ดร์

ในดา้ นตุลาการนบีมุฮัมมดั เป็นผู้ใชอ้ านาจตุลาการในการตัดสินขอ้ พพิ าทต่างๆทเี่ กิดขึน้ ในยุค
สมัยของท่านโดยในชว่ งแรกท่านนบมี ุฮมั มดั เป็นผู้ใช้อานาจพิจารณาพพิ ากษา แต่ผ้เู ดยี วเนอื่ งจากเปน็
ช่วงท่อี าณาจักรอสิ ลามเพิง่ สถาปนาขึน้ ใหมเ่ ป็นอาณาจักรเล็ก ๆ ประกอบดว้ ยสมาชิกจานวนไมม่ าก
สามารถปกครองไดท้ ั่วถึงกรณีขัดแยง้ ตา่ ง ๆ จึงถกู นามาสทู่ า่ นเพอ่ื พิจารณาพิพากษา แตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว
ตอ่ มาเมือ่ อาณาจักรอิสลามขยายกวา้ งขึ้นภารกิจในด้านตา่ ง ๆ กเ็ พ่ิมมากขน้ึ นบมี ุฮัมมัดจึงได้มอบหมาย
ภารกิจบางอยา่ งใหเ้ สาะหาบะฮดฺ าเนนิ การแทนตามความจาเปน็ เพื่อชว่ ยแบง่ เบาภาระอีกทัง้ ยังเปน็ การ
ฝึกอบรมเศาะหาบะฮเฺ หลา่ น้นั ใหค้ ุ้นเคยกบั การดาเนินงานด้านต่าง ๆ รวมทงั้ งานด้านตุลาการโดยทา่ นได้
บัญชาใหผ้ ปู้ กครองหรือวาลีและผูพ้ ิพากษาหรือกอฎที ุกคนดารงไวซ้ ึ่งความยตุ ธิ รรมและตัดสินคดีความ
โดยยดึ อัลกรุ อานเปน็ บรรทดั ฐานอยา่ งเคร่งครดั เมอื่ มีข้อสงสัยทางศาสนาหรือมีการซักถามนบมี ฮุ ัมมัดจะ
เปน็ ผอู้ ธบิ ายโดยอาศัยเหตุผลและหลักฐานต่าง ๆ ท่ีมาจากอลั ลอฮฺ

บรรณานุกรม

อลั กรุ อาน

สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย. ม.ป.ป. พระคัมภีร์อัลกุรอาน พร้อมความหมายภาษาไทย.
ราชอาณาจกั ร ซาอดุ ีอาราเบยี : ศูนยก์ ษตั รยิ ์ ฟาฮัดเพอื่ การพิมพ์อลั กรุ อาน.

อัลฮะดิษ
อาบูดาวูด. สุลัยมาน บิน อัล-อัชอัษฺ บิน อิสหากฺ บิน บะซีรฺ บิน ชัดด๊าด บิน อัมรฺ บิน อามิรฺ อัล-อัซฺดีย์

อสั -สิญิสตานีย.์ ม.ป.ป. ‫سنن ابي داود‬. เลม่ 4. เบรตู : ดารุลรสิ าละฮฺ อลั อะละมียะฮฺ.

อาบู อับดลุ ลอฮฺ มุฮัมมัด อบิ น์ อสิ มาอลิ อัลบุคอรี อัลญุอ์ฟี, ‫صحيح البخاري‬. หะดีษเลขที่ : 1713.

อ้างอิงวทิ ยานพิ นธ์และรายงานการวิจยั
อดุลเดช โต๊ะแอ “การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับครอบครัวตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลาม”

ออนไลน์

รศ.เจะ๊ เหลา๊ ะ แขกพงศ์ “ลักษณะท่ัวไปของศาลในระบบกฎหมายอิสลาม” เอกสารประกอบการสอน
บทที่ 1 (มปป.). ออนไลน.์

สืบพงษ์ ศรีพงษ์กุล และคณะ. “หลักศาสนากับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท : ทางออกสู่การแก้ปัญหา”
สานกั ระงบั ขอ้ พิพาท สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม อาคารศาลอาญา. 2559. หนา้ 50-80. ออนไลน์.

อดุลเดช โต๊ะแอ. “การไกล่เกล่ียข้อพิพาทเก่ียวกับครอบครัวตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลา”
วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. 2561. ออนไลน.์

หน้าทสี่ มาชิกในกล่มุ

เม่ืออาจารยไ์ ด้มอบหมายงานกลุ่มคณะผู้จัดทาได้มีการแก้โจทย์ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายคือ
การแสดงบทบาทสมมติเก่ียวกับการตัดสินคดีในยุคของท่านนบี พร้อมแต่งตั้งหัวหน้ากลุ่มคือ นายยาซิร
ยูโซะ๊ เนอ่ื งจากนายยาซิร ยูโซ๊ะ มีความป็นผู้นาและมีความกล้าแสดงออก อีกทั่งยังสามารถประสานงาน
และแบ่งหน้าท่ีในการทางานให้แก่สมาชิกภายในกลุ่มได้อย่างชัดเจน เพ่ือให้เกิดความง่ายดายในการ
ทางานตามหัวข้อท่ีไดร้ บั มอบหมาย

นายยาซิร ยูโซะ๊ และนางสาวซูกัยนะห์ สามะ เป็นผตู้ ดิ ตามผลการปฏิบัติงาน ปรับปรุงงาน เล่ม
รายงาน พร้อมคอยชแี้ จงความกา้ วหน้าของข้อมูลให้สมาชิกทุกคนทราบ

นางสาวนูรฟัดวา มะ นางสาวสุไลฮา อิสมิง และนายมูฮัมมัดลุตฟี วาจิ ศึกษาค้นคว้าและ
รวบรวมข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลตา่ งๆ เชน่ หนังสือ อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นตน้

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากการศกึ ษา"แนวทางการตดั สนิ คดใี นสมยั ท่านนบมี ูฮาหมดั "

1. ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจในกระบวนการพิพากษา หรือการไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งต่างๆ ในยุคสมัยท่านนบีมู
ฮาหมดั

2. เม่ือเกิดข้อขัดแย้งในสังคม เราสามารถนามาเป็นแบบอย่างในการวิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้นได้ หรือ
นามาเปน็ ตน้ แบบ เพอ่ื ทาการประนีประนอม หรือแก้ปัญหาข้อขดั แย้งต่างๆ

3. จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวเน่ืองกัน คณะผู้จัดทาสามารถนามาเป็นแบบอย่างเพ่ือ
ถ่ายทอดกระบวนการพิพากษาของท่านรอซูลในคดีต่างๆท่ีเกิดข้ึนในสมัยของท่าน ซึ่งทางคณะได้
ถา่ ยทอดเป็นลายลักษณ์อักษร และทางคณะหวังอยา่ งยิ่งใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อ่านไม่มากก็น้อย

ปัญหา: เน่ืองจากอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ ทาให้เกิดอุปสรรคยากต่อการรวมตัว
และทาให้ไม่สะดวกการทางาน


Click to View FlipBook Version