The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

11.-อ.วราภรณ์ ขวัญเรือน -หัวข้อการประชุมสภาท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by korn461, 2023-04-23 23:57:11

11.-อ.วราภรณ์ ขวัญเรือน -หัวข้อการประชุมสภาท้องถิ่น

11.-อ.วราภรณ์ ขวัญเรือน -หัวข้อการประชุมสภาท้องถิ่น

การประชุมสภาท้องถิ่น ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2565 วราภรณ์ ขวัญเรือน


๑. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ๓. พระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ 4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕28 5. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕42 กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


๑. มีฐานะเป็นนิติบุคคล ๒. เป็นราชการส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


ประกอบด้วย ๑. สภาท้องถิ่น ๒. นายก/ผู้บริหารท้องถิ่น โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


(๑) ก าหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหาร ราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อบัญญัติ และนโยบาย (๒) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (๓) แต่งตั้งและถอดถอนรองนายก/เลขานุการนายก/ที่ปรึกษานายก อ านาจหน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่น


(๔) วางระเบียบเพื่อให้งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย (๕) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติท้องถิ่น (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและกฎหมายอื่น อ านาจหน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่น


๑. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒. ตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓. ตามกฎหมายก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔. ตามกฎหมายอื่น ๆ อ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


๑. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ๒. ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ๓. ค านึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดท า แผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดท างบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติงานตามอ านาจหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


๑. ประธานสภา/รองประธานสภาท้องถิ่น ๒. สมาชิกสภาท้องถิ่น ๓. เลขานุการสภาท้องถิ่น สภาท้องถิ่น


กระทรวงมหาดไทยออกโดยอาศัยอ านาจตามความใน ๑. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ๓. พระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุม สภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม


- ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภา อบจ./เทศบาล ต้องปฏิญานตนในที่ประชุมสภาว่า “จะรักษาไว้และปฏิบัติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จะซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของประชาชน/ท้องถิ่น” การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาท้องถิ่น


การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาท้องถิ่น - สมาชิกสภา อบจ./เทศบาล ย่อมเป็นผู้แทนของปวงชน ในเขต อบจ./เทศบาลนั้น และต้องปฏิบัติหน้าที่ ตามความเห็นของตนโดยบริสุทธิ์ใจ ไม่อยู่ในความผูกมัด แห่งอาณัติมอบหมายใด ๆ


๑. ที่มาและจ านวน ๒. การเลือกแทนต าแหน่งที่ว่าง ๓. กรณีไม่มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานในที่ประชุม ประธานสภา/รองประธานสภาท้องถิ่น


อบจ. - สภามีมติ - ประธานสภา ๑/รองประธานสภา ๒ เทศบาล - สภามีมติ + ผวจ. แต่งตั้ง - ประธานสภา ๑/รองประธานสภา ๑ จ านวนประธานสภา/รองประธานสภาท้องถิ่น


อบต. - สภามีมติ + นอภ. แต่งตั้ง - ประธานสภา ๑/รองประธานสภา ๑ จ านวนประธานสภา/รองประธานสภาท้องถิ่น


- ประธานสภามีหน้าที่ด าเนินกิจการของสภา และด าเนินการประชุมให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ การประชุมสภา - รองประธานสภามีหน้าที่ช่วยประธานสภาปฏิบัติการ ตามหน้าที่ และกระท ากิจการตามที่ประธานสภา มอบหมาย หน้าที่ของประธานสภา/รองประธานสภาท้องถิ่น


- กรณีที่ประธานสภาไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานสภา (ตามล าดับ) ปฏิบัติหน้าที่แทน - เมื่อประธานสภาและรองประธานสภา (ตามล าดับ) ไม่อยู่ในที่ประชุม ให้ให้สมาชิกสภาเลือกเลือกกันเอง เป็นประธานในที่ประชุมส าหรับการประชุมคราวนั้น กรณีไม่มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานในที่ประชุม


๑. ด าเนินกิจการของสภาตามที่กฎหมายก าหนด ๒. เป็นประธานของที่ประชุมสภาท้องถิ่น เว้นแต่ในขณะที่ เข้ากล่าวอภิปรายสนับสนุนหรือคัดค้านญัตติในที่ประชุม สภาท้องถิ่น ๓. บังคับบัญชาการงานในสภาท้องถิ่น อ านาจหน้าที่ประธานสภา


๔. รักษาความสงบเรียบร้อยในสภาท้องถิ่น ๕. เป็นผู้แทนของสภาในกิจการภายนอก ๖. อ านาจหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายก าหนดไว้ หรือตามที่ ก าหนดไว้ในระเบียบนี้ อ านาจหน้าที่ประธานสภา


๑. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติ ๒. ควบคุมตรวจสอบการท างานของฝ่ายบริหาร อ านาจหน้าที่ของสภาท้องถิ่น


- สภาท้องถิ่นมีมติเลือก - โดยเลือกจากพนักงาน/ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น หรือสมาชิกสภา ท้องถิ่นนั้นคนหนึ่ง - ค านึงถึงความรู้ความสามารถอันจะเป็นประโยชน์ ต่อสภาท้องถิ่น เลขานุการสภาท้องถิ่น


๑. แจ้งนัดประชุมสภาท้องถิ่นตามค าสั่งของประธานสภา ท้องถิ่น ๒. ชี้แจงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ค าสั่ง หนังสือ สั่งการ หรือแนวทางปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจการขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต่อที่ประชุมสภาท้องถิ่น ๓. ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นจัดท าระเบียบวาระการ ประชุมสภาท้องถิ่น หน้าที่เลขานุการสภาท้องถิ่น


๔. เชิญประธานสภาท้องถิ่นชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่ ๕. จัดท ารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น ๖. เก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร หรือเอกสารของสภาท้องถิ่น แต่จะเปิดเผยได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากประธานสภา ท้องถิ่น หน้าที่เลขานุการสภาท้องถิ่น


๗. ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นในการควบคุมการนับ คะแนนเสียง ๘. ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นในการรักษาความสงบ เรียบร้อยในสภาท้องถิ่น ๙. หน้าที่อื่นตามที่ก าหนดไว้ในระเบียบนี้หรือกระท า กิจการอื่นตามที่ประธานสภาท้องถิ่นมอบหมาย หน้าที่เลขานุการสภาท้องถิ่น


1. ตาย 2. ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานสภา 3. ครบอายุของสภา 4. มีการยุบสภา 5. สภามีมติให้พ้นจากต าแหน่ง การพ้นจากต าแหน่งเลขานุการสภาท้องถิ่น


กรณี อบต. เมื่อประธานสภาได้รับหนังสือลาออกจาก เลขานุการสภาแล้ว ให้เสนอมีมติให้พ้นจากต าแหน่ง การพ้นจากต าแหน่งเลขานุการสภาท้องถิ่น


- ห้ามประชุมปรึกษาหารือในเรื่องนอกเหนืออ านาจ หน้าที่/ฝ่าฝืนกฎหมาย/เรื่องการเมืองของรัฐ การประชุมสภาท้องถิ่น


- เมื่อประธานสภาเห็นสมควรอาจจัดการประชุมสภา ตามกฎหมายว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การประชุมสภาท้องถิ่น


- ย่อมเป็นการเปิดเผยตามลักษณะที่ได้ก าหนดไว้ ตามระเบียบข้อบังคับการประชุมสภา - ให้ประธานสภาจัดให้ประชาชนที่ประสงค์จะเข้าฟัง การประชุมและการปรึกษาของสภาท้องถิ่น ตามประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่สภา ท้องถิ่นก าหนด การประชุมสภาท้องถิ่น


- การถ่ายทอดการประชุมสภาทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยวิธีอื่นใด จะกระท าได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจาก ประธานสภา การประชุมสภาท้องถิ่น


- การประชุมสภาครั้งแรก - การประชุมสามัญ - การประชุมวิสามัญ การประชุมสภาท้องถิ่น


ให้ประธานสภาน าปรึกษาในที่ประชุมสามัญประจ าปีสมัยแรกของแต่ละปี - อบจ. 2 สมัย สมัยละ 45 วัน - เทศบาล 4 สมัย สมัยละไม่เกิน 30 วัน - อบต. 2 - 4 สมัย สมัยละไม่เกิน 15 วัน ** ก าหนดสมัยประชุมสามัญสมัยแรกของปีถัดไปด้วย ท าเป็นประกาศของสภาท้องถิ่น ปิดประกาศในที่เปิดเผย ณ สนง.อปท. กรณีไม่ได้ก าหนด / จ าเป็นต้องเปลี่ยนแปลง ให้ประธานสภาน าปรึกษา ในสมัยประชุมสามัญอื่น ๆ หรือในสมัยประชุมวิสามัญก็ได้ การประชุมสามัญ


- ประธานสภาเรียกประชุม - ท าเป็นหนังสือ - แจ้งให้สมาชิกทราบล่วงหน้า + ปิดประกาศก่อน ก าหนดวันเปิดสมัย ไม่น้อยกว่า 3 วัน - เว้นแต่เป็นการประชุมอันรีบด่วน จะแจ้ง + ปิดประกาศน้อยกว่า 3 วันก็ได้ แต่ต้อง ไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง ก่อนก าหนดเวลาเปิดสมัยประชุม ต้องระบุเหตุอันรีบด่วนในหนังสือด้วย การเรียกประชุม


- ท าเป็นหนังสือ - บอกนัดในที่ประชุม + ให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยัง ผู้ไม่ได้มาประชุมให้ทราบล่วงหน้าด้วย - แจ้งนัดล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน การนัดประชุม


การประชุมอันรีบด่วน - นัดน้อยกว่านั้นก็ได้ + ให้ระบุเหตุในหนังสือ + แจ้งให้ ที่ประชุมสภาทราบ *การประชุมโดยไม่มีการนัด ไม่ให้ถือว่าเป็นการประชุม ของสภาท้องถิ่น* การนัดประชุม


เมื่อถึงก าหนดเวลานัดประชุม - เลขาสภาฯ ตรวจสอบรายชื่อสมาชิก ที่ได้ลงชื่อไว้ ว่าครบองค์ประชุมหรือไม่ - เลขาสภาฯ ให้สัญญาณเชิญสมาชิกเข้าห้องประชุม - ประธานตรวจดูว่าสมาชิกเข้าประชุมครบองค์ประชุม หรือไม่ การประชุมสภาท้องถิ่น


การนับองค์ประชุม - ไม่ได้ลงชื่อแต่เข้าร่วมประชุม ถือว่ามาประชุม - ลงชื่อไว้ แต่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม ไม่ให้นับ ถือว่าขาด การประชุมสภาท้องถิ่น


การนับองค์ประชุม - ไม่ได้ลงชื่อแต่เข้าร่วมประชุม ถือว่ามาประชุม - ลงชื่อไว้ แต่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม ไม่ให้นับ ถือว่าขาด *ต้องมีสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่* การประชุมสภาท้องถิ่น


ถ้าไม่ครบองค์ประชุมและพ้นก าหนดเวลานัด 1 ชม. - ให้ประธานสภาสั่งเลื่อนการประชุม - ให้ถือว่าสมาชิกไม่อยู่ขาดประชุม การประชุมสภาท้องถิ่น


สมาชิกสภาท้องถิ่นขาดประชุมสภา 3 ครั้งติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุ อันสมควร - พ้นจากสมาชิกภาพโดยผลของกฎหมาย - กรณีที่มีข้อสงสัย ให้ผู้ก ากับดูแลสอบสวนให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่มีข้อสงสัย และวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่ วันสอบสวนเสร็จ - ค าวินิจฉัยของผู้ก ากับดูแลเป็นที่สุด + ต้องประกาศค าวินิจฉัย ให้ทราบทั่วกัน การประชุมสภาท้องถิ่น


๑. ญัตติเกี่ยวกับกิจการสภาท้องถิ่น ๒. ญัตติร่างข้อบัญญัติ ญัตติ


- ท าเป็นหนังสือยื่นต่อประธานสภา - มีสมาชิกรับรองอย่างน้อย ๒ คน เว้นแต่มีสมาชิก น้อยกว่า ๘ คน ให้สมาชิกรับรอง ๑ คน - ต้องเสนอล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า ๕ วัน กรณีเรื่องรีบด่วนต้องไม่น้อยกว่า ๒๔ ชั่วโมง ก่อนวันประชุม - ถ้าสมาชิกเสนอญัตติร่างข้อบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ต้องให้ผู้บริหารรับรองด้วย การเสนอญัตติ


- เสนอญัตติด้วยวาจาในที่ประชุม - ยกมือขึ้นพ้นศีรษะเมื่อประธานอนุญาตจึงกล่าวได้ ณ ที่ของตน / ที่จัดไว้ - มีสมาชิกรับรองอย่างน้อย ๒ คน เว้นแต่มีสมาชิกน้อยกว่า ๘ คน ให้สมาชิกรับรอง ๑ คน - การรับรอง : วิธียกมือขึ้นพ้นศีรษะ การเสนอญัตติ


ญัตติที่อาจเสนอด้วยวาจาในที่ประชุม (๑) ขอให้รับรองรายงานการประชุม (๒) ขอให้รับรองรายงานอื่น ๆ ของคณะกรรมการสภา (๓) ขอให้ปรึกษาหรือพิจารณาเป็นการด่วน (๔) ขอให้พิจารณาร่างข้อบัญญัติสามวาระรวดเดียว (๕) ญัตติตามข้อ ๔๑ เช่น ขอให้ลงมติ ขอให้ปิดอภิปราย ขอให้เปิดอภิปรายต่อไป (๖) ญัตติที่ประธานสภาท้องถิ่นเห็นควรอนุญาต การเสนอญัตติ


“กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด หรือบุคคลใด เป็นการเฉพาะ (พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539) ข้อบัญญัติท้องถิ่น


1. ข้อบัญญัติทั่วไป 2. ข้อบัญญัติงบประมาณ ข้อบัญญัติท้องถิ่น


อปท. สามารถ ตราข้อบัญญัติท้องถิ่นได้เมื่อ : 1. เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามหน้าที่ของ อปท. ตามที่ก าหนดไว้ใน กม. จัดตั้ง อปท. 2. เมื่อมี กม. บัญญัติให้ อปท. ตราข้อบัญญัติท้องถิ่น หรือให้มีอ านาจตราข้อบัญญัติท้องถิ่น ข้อบัญญัติท้องถิ่น


ร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นที่เสนอตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น สภาท้องถิ่นต้อง พิจารณาให้เสร็จภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับ ร่างข้อบัญญัตินั้น ข้อบัญญัติท้องถิ่น


๑. การเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น ๒. การพิจารณาของสภาท้องถิ่น ๓. การลงนามและประกาศเพื่อให้มีผลใช้บังคับ ขั้นตอนการจัดท าข้อบัญญัติท้องถิ่น


ในที่ประชุมสภาท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นมีสิทธิ ตั้งกระทู้ถามนายก/รองนายกในข้อความใด ๆ อันเกี่ยวกับ การงานในหน้าที่ได้ แต่นายก/รองนายกมีสิทธิที่จะไม่ตอบ เมื่อเห็นว่าเรื่องนั้นยังไม่ควรเปิดเผยเพราะเกี่ยวกับ ความปลอดภัยหรือประโยชน์ส าคัญของท้องถิ่น กระทู้ถาม


Click to View FlipBook Version