หนา้ 1
รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR)
ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา
อำเภอปลาปาก จังหวดั นครพนม
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครพนม
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
หนา้ 2
บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร
โรงเรียนปลาปากวิทยา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลปลาปาก อำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม มีพื้นที่
ทั้งหมด 58 ไร่ 2 งาน 57 ตารางวา เปิดสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖
ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๗ เป็นต้นมา ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ นี้ มีนักเรียน จำนวน ๑,๐๑๘ คน มีข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๖๐ คน จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพตนเองของโรงเรียน (SAR) ปีการศึกษา
256๔ เพอ่ื เสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานอนื่ ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดบั ยอดเย่ียม
มีผลการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้าน
คุณภาพผู้เรียนจำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน
การเขยี น การ สอื่ สาร การคดิ คำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา มีความสามารถ
ใน การวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การ
สื่อสาร และการมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน เจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ ในระดบั ดเี ยยี่ ม 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้เรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและ
สังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายในระดับ
ยอดเยี่ยม ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนสถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และได้
กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แบบ active Learning เน้นทกั ษะใน การอ่าน การเขียน และการคิด
คำนวณ การคิดวิเคราะห์ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ ภายในให้เหมาะสม มีสื่อด้าน
เทคโนโลยที ี่ทันสมัย จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีความ กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นอย่างมีความสุข เน้นทักษะการทำงานร่วมกัน ทำให้นักเรียนมีทักษะ ในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ
คิดคำนวณ การคิดวิเคราะห์ เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดใน แต่ระดับชั้น จากการประเมินนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ผลการอ่านออก เขียนได้อยู่ในระดับดีมาก นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ
ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถใน การรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม
เชื่อมโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณม์ าใช้ในการ สรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ จากการเรียนรู้โดย โครงการ/ กิจกรรมตา่ ง ๆ
นกั เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่นิ เห็น คณุ ค่าของความเป็นไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทั้ง
ภูมิปัญญาไทยเข้าร่วม กิจกรรมที่โรงเรียนจัดคิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ท่ี
สถานศกึ ษา กำหนด ไดร้ ะดับดีมาก รอ้ ยละ 82.98 ระดับดี รอ้ ยละ 15.96 มีผลการอา่ นคิด วิเคราะหแ์ ละเขียนผ่าน
เกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด ระดับดีมาก รอ้ ยละ 43.26 ระดบั ดี ร้อยละ 37.59 ระดับผ่าน รอ้ ยละ 18.44 กำหนด
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนตามที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
อยา่ งมีความสขุ ดังนั้นโรงเรยี นปลาปากวิทยา จึงกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาด้าน คุณภาพผเู้ รียนจำนวน 2 ดา้ น ไดแ้ ก่
1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การ สื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับ
ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ของผูเ้ รยี นมุ่งเน้นใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดีตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด และ
มีสุขภาวะทางร่างกาย และสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ
แตกต่างและ หลากหลายโดยมปี ระเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผเู้ รยี น ดังนี้ กล่าวคอื นักเรยี นมที ักษะในการอ่าน
หนา้ 3
การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกำหนดในแตร่ ะดบั ชนั้ มคี วามสามารถในการคิด
จำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการรวบรวมความรู้ เป็นแนวความคิด
โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ได้ทั้ง ด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ใน
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ จนได้รับรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติมาแล้วหลายรางวัลด้วยกัน สามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่าง
สรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม มคี วามก้าวหนา้ ในการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดิมในด้านความรู้ ความ
เข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอื่น ๆ มี
ความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น การทำงานหรืองานอาชีพมี
พฤติกรรมเปน็ ผทู้ ี่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มคี ่านยิ มและจิตสำนึกตามทส่ี ถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัด
กับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคมมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการ
อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภมู ปิ ัญญา ผู้เรียนยอมรับการอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ ง ระหว่างบุคคลในด้าน
เพศ วัย เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณมี ีการรักษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์ และสงั คม แสดงออก
อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น ด้าน
กระบวนการบริหารและการจัดการ เพือ่ ใหบ้ รรลุตามกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ คณุ ภาพของสถานศึกษา ได้
วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัด การศึกษาโดยใช้ข้อมูลกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน พัฒนา
วิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำ
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ดำเนนิ งานพฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในดา้ นวิชาชีพ ตามความต้องการ
ของครู สถานศึกษา และนโยบาย จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ
และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพของโรงเรียน
โดยประเมินภาพความสำเร็จตามเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น
สังกัด รวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนา
คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาโดยนำแผนไป ปฏบิ ัติ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง
มีการบริหารอตั รากำลัง ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูลมาใช้
ในการ บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัด
การศึกษา มกี ารบริหารจดั การเกี่ยวกบั งานวชิ าการ พัฒนาหลกั สตู ร กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรทีเ่ นน้ คณุ ภาพ ผเู้ รียนรอบ
ดา้ น เชื่อมโยงวถิ ชี วี ติ จรงิ และครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการจดั การเรียนการสอนของ กลมุ่ กลมุ่ เรียนรว่ มด้วย
มีการสง่ เสรมิ สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มชี ุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ใน
การพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และ
สภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมี คุณภาพ มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน จัดหา พัฒนาและ
บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
อย่างเหมาะสม ซึ่งอยู่ในระดับยอดเยี่ยม ส่วนด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้
ดำเนินงาน/โครงการ/ กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active
learning) ให้ผู้เรียน ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและ
ประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยใช้โปรแกรมการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่ทันยุคสมัย และลดภาระด้านการจัดการ
ของครูลงแต่เน้นระบบเทคโนโลยีเข้ามาแทนการใช้กระดาษ มีระบบการส่งข้อมูลการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนผ่านทาง
หนา้ 4
กลุ่มไลน์ครู กลุ่มไลน์ผู้ปกครอง และนำผลมาแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ในส่วนของการจัดการเรียนรู้ก็ใช้การเรียน
ผ่านระบบห้องเรียนออนไลน์ กูลเกิลคลาสรูม โดยเฉพาะในช่วงวกิ ฤตการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019 นี้ ทำให้
ลดภาระของครูผู้สอนในการติดตาม ตรวจสอบ ผู้เรียน สร้างความปลอดภัยจากการติดเช้ือได้เปน็ อย่างดี บางครั้งก็
ใช้การเรียนแบบ ออนไซต์ ออนแฮนท์ สลับกันไปมาตามนโยบายของภาครัฐที่กำหนดช่วงเวลาอันตรายและช่วง
ปลอดภยั รว่ มกนั แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลท่ไี ดม้ าปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ ครมู ีแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่สี ามารถ
นำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ทางเทคโนโลยี สื่อโซเชียลที่น่าเชื่อถือ รวมทั้งมีการบริหารจัดการ
ชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูล
มาร่วมพฒั นาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ผลติ นวัตกรรมแผนการจดั การเรยี นรู้ อกี ทัง้ ปรับโครงสร้าง
รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนน แต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่
สอดคล้องกับหนว่ ยการเรียนรู้ สนบั สนุนใหค้ รูจัดการเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสให้นกั เรียนทุกคนมีสว่ นร่วม ได้ลงมือ
ปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียน การสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน
มอบหมายให้นักเรียนจดั ป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ตา่ ง ๆ ท้ังภายในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น ครูใช้สื่อ
การเรียนการสอน นวัตกรรมและ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการ
สอนท่ใี ช้ ครทู กุ คนทำงานวจิ ยั ใน ช้ันเรยี น โดยมปี ระเด็นภาพความสำเร็จดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงนักเรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ นักเรียนได้
ฝึกทกั ษะ แสดงความคิดเห็น แสดงออก เปน็ ผ้สู ามารถสรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงาน โดยระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2
และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนต้องทำโครงงานและนำเสนอผลงานในช่วงสิ้นสุดปีการศึกษา ตามโครงการ
โรงเรียนมาตรฐานสากล และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก
สื่อที่หลากหลาย จัดการชั้นเรียนเชิงบวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู ครูกับเด็ก เด็กกับเด็ก เด็กรักการ
เรียนรู้ และสามารถอยรู่ ่วมกนั ได้อยา่ งมีความสุข ครรู ว่ มกนั ออกแบบการวดั ผลประเมนิ ผลเพือ่ ตรวจสอบ และประเมิน
ผู้เรียนอย่างมีขั้นตอน ใช้เครื่องมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม นำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน ครูผู้สอนร่วมกัน
แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และนำไป ปรับปรุง พัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ ระดบั ยอดเยย่ี ม
(นายวินยั เปย่ี มลาภโชตกิ ุล)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนปลาปากวทิ ยา
หนา้ 5
คำนำ
ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใชก้ ฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕61 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการ
พัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้ มาตรฐานการ
ศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานและระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ อาศัยอำนาจตาม
ความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา ๓๑ และมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับ มติคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานในการประชุม คร้ัง
ที่ ๕/2๕๖๑ เมื่อวัน ศุกร์ ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕61 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศให้ใช้
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อ
เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ ให้ใช้กบั
สถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ประกาศ ณ วนั ท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ นัน้
ดงั น้ัน โรงเรียนปลาปากวิทยา ได้ดำเนินการตามหลักการของกฎหมายที่เกี่ยวข้องทุกปีกการศึกษาและ
ได้จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลจากการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา ในปีการศึกษา ๒๕๖4 เสนอต่อเขตพื้นที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นฐานข้อมูล
สำหรับสถานศึกษานำไปจัดทำแผนปฏิบัติการในปีต่อไป และเป็นฐานข้อมูลสำหรับเขตพื้นที่นำไปใช้ประโยชน์
รายงานหน่วยงานต้นสังกัดและติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายใน โดยเขตพื้นที่ และเป็นฐานข้อมูล
สำหรับใช้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การ
มหาชน) ตามลำดบั ตอ่ ไป
ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ที่ให้ความร่วมมือในการ
จดั ทำรายงานครัง้ น้ี เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยดี
(นายวินยั เปย่ี มลาภโชตกิ ุล)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นปลาปากวิทยา
หนา้ 6
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 สถานศึกษามีภาระหนา้ ทีจ่ ะตอ้ งดำเนนิ การตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่กำหนดไวช้ ดั เจนในมาตรา ๔๘ ให้สถานศกึ ษามีการจัดทำ
รายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กัดเป็นประจำทุกปี
ดงั นั้นโรงเรียนปลาปากวิทยา จึงได้ดำเนินการประชุมหารือคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู ตลอดได้
แนวปฏิบตั ิ พร้อมทั้งไดด้ ำเนินการรวบรวมขอ้ มลู ผลงาน ซ่ึงทางโรงเรยี นได้ดำเนินกิจกรรม ตามสาระการเรยี นรู้
ตลอดจนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นทุกชัน้ ในรอบปกี ารศกึ ษา การจดั ทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา
ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 คณะกรรมการสถานศึกษาไดใ้ หค้ วามเห็นชอบและผา่ นความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษาเป็นที่เรยี บร้อยแลว้
(นายจติ ราช วงั กะธาตุ)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา
18 เมษายน 2565
หนา้ 7
สารบัญ
สว่ นท่ี หน้า
• บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร 2
• คำนำ 5
• ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 6
• สารบญั 7
๑. ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา 8
• ขอ้ มูลท่ัวไป 8
• อาคารสถานที(่ ผังโรงเรียน) 8
• ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 10
• ขอ้ มลู นักเรียน 11
๒. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 12
• มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น 12
• มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ 21
• มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ 30
• ผลการประเมินภาพรวม 34
3. การประเมนิ ความโดดเด่น (ถา้ ม)ี 36
4. ภาคผนวก 41
• สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 41
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
• กำหนดทิศทางองค์การของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครพนม 42
• รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม/รอบสี่ 44
• สรปุ ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา 45
• ผลการทดสอบระดบั ชาติของผ้เู รียน 48
• ผลงานเชิงประจกั ษ์ปีการศึกษา 2563-2564 50
• คำส่ัง 53
• โครงการ 59
• รูปภาพประกอบ 68
หนา้ 8
สว่ นที่ 1
ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1.1 ข้อมลู ทวั่ ไป
โรงเรยี นปลาปากวิทยา ตงั้ อยู่ เลขท่ี 125 หมู่ 2 ตำบลปลาปาก อำเภอปลาปาก จังหวดั นครพนม
รหสั ไปรษณีย์ 48160 โทรศพั ท์ 0-4258-9089 โทรสาร 0-4258-9252 website :
http://www.plapakwit.net email : [email protected] สงั กดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา
นครพนม เปิดสอนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
๑.๒ อาคารสถานท่ี (ผงั โรงเรยี น)
อาณาเขต ทิศเหนือ จดปา่ ช้าสาธารณประโยชน์ ทิศตะวนั ออก ติดถนนสาย 2276 หนองฮี - กรุ คุ ุ
ทิศตะวันตก ตดิ ถนนสายปลาปาก บา้ นมหาชัย ทศิ ใต้ จดสถานีตำรวจภูธรอำเภอปลาปาก
โรงเรยี นปลาปากวิทยาตง้ั อยใู่ นเขตบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เทศบาลตำบลปลาปาก
มพี ้ืนท่ีทง้ั หมด 58 ไร่ 2 งาน 57 ตารางวา
ในพ้ืนทเี่ ขตบริการประกอบด้วยหม่บู า้ น จำนวน 16 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านปลาปาก บ้านหนองบวั บา้ นวงั ยาง
บา้ นโคกกลาง บ้านใหม่วังเซือม บ้านถาวร บา้ นนาอุดม บา้ นกอก บ้านโนนคูณ บ้านวงั สมิ บ้านโนนศรีวลิ ัย
บา้ นปลาปากน้อย บา้ นนาขาม บ้านนาสนี วล บา้ นกุงโกน บา้ นหนองหมากแก้ว บ้านโคกสว่าง
หนา้ 9
ภาพรวมชมุ ชนในพ้นื ที่การบริหารมสี ภาพปจั จุบันปญั หาและความต้องการดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี ทต่ี ัง้ ของชมุ ชน
จะเป็นชมุ ชนชนบท แบง่ เป็นหมบู่ ้านซึง่ ตง้ั อยู่หา่ งกนั พอสมควร มเี สน้ ทางคมนาคมทตี่ ดิ ต่อถึงกนั ได้สะดวก เพราะเปน็
ถนนลาดยางระหวา่ งหมูบ่ ้าน และเปน็ ถนนคอนกรตี ภายในหมู่บ้าน พืน้ ท่สี ่วนใหญ่มีลกั ษณะเปน็ ปา่ เสื่อมโทรม สลบั กับ
ทุ่งนา ประชากรส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ ประกอบด้วยประชากรหา้ เผา่ หลกั ได้แก่ เผา่ ไทยญอ้ เผ่าไทยกะเลิง
เผา่ ไทยลาว เผา่ ภไู ท และเผ่าไทยโส้ สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ทางด้านเกษตรกรรมได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่
ยาสบู ปลูกแตงไทย นอกจากนีใ้ นปจั จุบนั กำลงั นยิ มปลูกตน้ ยางพารา ตน้ ยูคาลิปตัสและมันสำปะหลัง ซง่ึ เป็นพชื
เศรษฐกจิ ผูท้ ่ีจบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นบางสว่ นท่ไี ม่ได้เรยี นต่อก็ไปหางานทำในเมืองใหญ่ สว่ นผ้ทู ี่
จบช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วนใหญจ่ ะเรยี นตอ่ และบางส่วนก็จะเข้าไปหางานทำในเมอื งใหญ่
มวี ฒั นธรรมประเพณีของชาวอีสาน เช่น ฮตี 12 คอง 14 ประเพณหี มอเหยา ประเพณีไหว้พระธาตุ
มหาชยั และการทำบุญประเพณที างพระพุทธศาสนาตา่ งๆ ตามฤดูกาลและความเช่ือ
อาคารสถานท่ี จำนวน การใชป้ ระโยชน์
1 หอ้ งเรียนระดบั ช้นั ม.3–6, หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์, ห้องแนะแนว,
รายการ ห้องสภานกั เรยี น,หอ้ งพยาบาล, หอ้ งนาฏศิลป์, หอ้ งถา่ ยเอกสาร
อาคารเรียน 1 1
ห้องเรยี นระดับชน้ั ม.1–2, หอ้ งผู้อำนวยการ, หอ้ งธรุ การ, ห้องพัสดุ, ห้อง
อาคารเรียน 2 1 การเงนิ , ห้องวชิ าการ, ห้องประชุม
หอ้ งเรียน EIS, หอ้ งสมุด, หอ้ งพักครภู าษาตา่ งประเทศและEIS, ธนาคาร
อาคารเรียน 3 1 โรงเรียน
1 หอ้ งพักครู หอ้ งเรยี น หอ้ งประชุม
อาคารเรียน 4 1 หอประชมุ , เขา้ แถว, เอนกประสงค์
หอประชุม 1 โรงอาหาร
โรงอาหาร เรยี นรายวิชาการงานอาชีพ เชน่ คหกรรม อตุ สาหกรรม
อาคารตึกคหกรรม
อุตสาหกรรม 1 เรยี นรายวชิ าเกษตรกรรม
อาคารตึกเกษตรกรรม 1 ฝึกซอ้ มดนตรีไทยสากล โปงลาง
หอ้ งซ้อมดนตรี 3 บา้ นพักครู
บา้ นพกั ครู 5 บ้านพกั ครู
บ้านพักครู 1 บ้านพกั ภารโรง
บา้ นพกั ภารโรง 1 บา้ นพกั ภารโรง
บ้านพกั ภารโรง 1 สำนกั งานกจิ การนักเรียน
ป้อมยาม,อาคาร
กิจการนกั เรยี น 1-
หอถังประปา
หนา้ 10
แหล่งเรียนรู้ สถิตกิ าร ท่ี แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น สถติ กิ ารใช้
ใช้ (ชอ่ื แหลง่ เรียนรู้) (วัน/ปี)
ท่ี แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรยี น
(ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้) (วัน/ป)ี ๔๘
2๘0 1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอปลาปาก ๕๖
1 หอ้ งสบื คน้ ข้อมูลอินเทอรเ์ น็ต 2๕๗ 2 วัดป่ามหาชัย ๓๙
2 ห้องสมุดมชี ีวติ ๒๐0 3 สถานตี ำรวจภธู รปลาปาก ๙๖
3 ห้องปฏบิ ตั ิการทางภาษา ๒๓๕ 4 โรงพยาบาลปลาปาก ๕๖
4 ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ ๒๓0 5 วดั พระธาตุมหาชัย ๔๘
5 ห้องปฏบิ ตั ิการเคมี ๒๕๐ 6 สวนรกุ ขชาติวงั ปอพาน ๕๗
6 ห้องปฏิบตั ิการชีววิทยา ๒๓๗ 7 วัดคณิศรธรรมกิ าราม ๕๖
7 หอ้ งปฏิบัตกิ ารฟิสิกส์ ๒๔๙ ๘ วดั โฆสมังคลาราม ๓๐
8 โรงฝึกงานคหกรรม ๒๕๗ ๙ ศาลหลกั เมืองปลาปาก ๕๔
9 ห้องอตุ สาหกรรม ๒๓๙ ๑๐ ตลาดสดเทศบาลตำบลปลาปาก ๔๑
10 แปลงเกษตร ๒๖๕ ๑๑ สำนกั งานเทศบาลตำบลปลาปาก ๔๓
๑๑ หอ้ งธนาคารโรงเรียน ๒๔๗ ๑๒ ทวี่ ่าการอำเภอปลาปาก
๑๒ หอ้ ศิลปะ
๑.๓ ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา
1.๓.1 ขอ้ มูลของบคุ ลกรทางการศึกษาเก่ยี วกับจำนวน วุฒทิ างการศึกษาและ วิทยฐานะ
ตารางแสดงขอ้ มลู ของบุคลกรทางการศึกษาเกย่ี วกับจำนวน วฒุ ิทางการศึกษาและ วิทยฐานะ
เพศ วุฒิทางการศึกษา วิทยฐานะ
ตำแหน่ง ชาย หญงิ ตำ่ กว่า ปรญิ ญา ปรญิ ญา ชำนาญ ชำนาญ เชี่ยว ไมม่ ี
ปริญญา ตรี โท การ การ ชาญ
ครู 17 31 พิเศษ
ครผู ูช้ ่วย 13 ตรี 8
พนกั งาน 22 -
ราชการ 3- - 34 14 15 1 24
อัตราจา้ ง -1 -
เจ้าหนา้ ที่ -- -4- - -4
ธุรการ 23 37 -
ครพู ี่เล้ยี งฯ -4- - -4
รวม -
-3- - -3
-
-1- 8 - -1
--- - --
- 46 14 15 1 35
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 18 เมษายน 2565
หนา้ 11
1.๓.2 ข้อมลู ของบคุ ลกรทางการศกึ ษาเก่ยี วกับสาขาวิชาท่จี บการศกึ ษาและภาระงานสอน
ตาราง แสดงขอ้ มลู ของบคุ ลกรทางการศกึ ษาเกี่ยวกบั สาขาวิชาทจี่ บการศกึ ษาและภาระงานสอน
สาขาวชิ าเอก
ตำแหนง่ ไทย คณิตฯ วิทย์ สังคมฯ สุขฯ ศิลป การงาน ต่างประเท หมายเหตุ
ฯ ะ ฯศ
๓8
ครู ๔ 6 12 6 ๑3 ๑ - - แนะแนว
ครูผู้ช่วย 1 2- - -- --
พนักงาน - -3- 1- --
ราชการ 4๙
อัตราจ้าง - -1- -1
๒๔
รวม ๕ 8 16 ๗
หมายเหตุ : ข้อมลู ณ วันที่ 18 เมษายน 2565
๑.๔ ขอ้ มลู นักเรยี น
ปัจจบุ ันโรงเรียนปลาปากวิทยามจี ำนวนนกั เรียนจำแนกตามระดับช้นั ทเ่ี ปิดสอน ดงั น้ี
ตารางแสดงจำนวนนกั เรยี นจำแนกตามระดบั ชนั้
ระดับช้ันเรยี น ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
ทงั้ สิน้
จำนวนห้อง ๗๗๗๕๔๔ ๓๔
เพศ ชาย ๑๐๑ ๑๐๙ ๙๗ ๕๐ ๔๔ ๓๑ ๔๓๒
หญงิ ๑๒๐ ๑๐๓ ๑๒๑ ๘๓ ๘๔ ๗๕ ๕๘๖
รวม ๑๐๑๘
เฉลย่ี ต่อห้อง ๒๒๑ ๒๑๒ ๒๑๘ ๑๓๓ ๑๒๘ ๑๐๖ 29.94
31.57 30.28 31.14 19 18.28 15.14
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันท่ี 18 เมษายน 2565
หนา้ 12
สว่ นที่ 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม
ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพของผเู้ รียนด้านผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน
มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน
๑. มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร ๘๓ 86.28 ยอดเยย่ี ม
92.51 ยอดเย่ียม
และการคดิ คำนวณ
๒. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมี ๘๓
วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็น และ
แก้ปญั หา
๓.มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ๘๓ 86.33 ยอดเยี่ยม
96.06 ยอดเย่ยี ม
๔. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ ๘๓
76.23 ดีเลิศ
การสือ่ สาร 87.85 ยอดเยย่ี ม
87.54 ยอดเย่ียม
๕. มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๘๓
๖. มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชพี ๘๓
สรปุ ผลการประเมิน
ตารางท่ี ๒ ผลการประเมนิ คุณภาพของผเู้ รียนด้านคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รยี น
มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น
๑.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รียน
๑. การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ีตามท่สี ถานศึกษา ๘๓ 89.39 ยอดเย่ยี ม
กำหนด
๒. ความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ๘๓ 83.65 ยอดเยี่ยม
๓. การยอมรับทจ่ี ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและ ๘๓ 96.86 ยอดเยยี่ ม
หลากหลาย
๔. สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ๘๓ 93.39 ยอดเยี่ยม
สรปุ ผลการประเมนิ 90.82 ยอดเย่ียม
หนา้ 13
1. กระบวนการพัฒนา
สถานศกึ ษามีกระบวนการพัฒนาผ้เู รียนดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย ครูจดั การเรยี นรใู้ ห้เปน็ ไปตามศกั ยภาพ
ของผเู้ รียน และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตวั ช้ีวัดของหลักสตู ร มกี ารออกแบบ การจดั การเรียนรูท้ ่เี หมาะสมกบั ผเู้ รยี น
โดยมกี ารจดั การเรยี นรู้ทง้ั รปู แบบการระดมสมอง แบบลงมือ ปฏิบัติจรงิ แบบร่วมมือกันเรยี นรโู้ ดยเนน้ กระบวนการคดิ
กระบวนการแก้ไขปัญหาเปน็ หลกั และเน้น เร่อื งการอา่ นออกของผ้เู รยี นเปน็ เร่อื งสำคัญทีส่ ดุ โดยมุง่ พัฒนาให้ผู้เรยี น
ทุกคนอา่ นออกและเขยี นได้ ตั้งแต่ระดับชน้ั ม. 1 พัฒนาครูทกุ คนให้มีความสามารถในการนำเทคนิควธิ สี อนใหต้ รงตาม
ศกั ยภาพ ผู้เรยี น ใช้สือ่ เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน มีแหลง่ เรียนรู้และแหล่งสบื คน้ ขอ้ มูล ครูในสายชนั้ และ
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ มีการใช้กระบวนการ PLC เพื่อกำหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลแบบบรู ณา
การ โดยเนน้ กจิ กรรมเพื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ ของผูเ้ รยี น นอกจากน้ี สถานศึกษาไดม้ ีการดำเนนิ การเพื่อพัฒนาทักษะ
ชวี ิตของผู้เรยี น เพื่อให้อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข เนน้ การพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกบั วยั ของ
ผเู้ รยี น ดำเนินการตามวิสัยทัศน์ของ ของโรงเรยี น ให้รู้เท่าทันส่ือและสิง่ ทไี่ ม่พึงประสงค์ โดยการจดั คา่ ยคณุ ธรรมกับ
นักเรียน จดั กิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวยั พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสตู ร เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมีวินัย ซ่ือสัตย์
รับผิดชอบ และมจี ิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสขุ ภาวะจิต นำภูมิปัญญา ห้องถ่นิ มาร่วมกันวาง
แผนการจัดการเรียนการสอนและมกี ารเรยี นรู้ในโลกกว้าง การศกึ ษาเรียนรกู้ ับ ภูมปิ ัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา
จดั กิจกรรมตา่ งๆ
โรงเรียนมโี ครงการบรกิ ารและดูแลสขุ ภาพให้กับบุคลากรและผ้เู รียนทกุ คน โดยมีโรงพยาบาลปลาปากและ
โรงพยาบาลตา่ งๆ มาบรกิ ารตรวจสุขภาพประจำปี และให้ความรเู้ กี่ยวกับสขุ ภาพอนามัยและการป้องกนั ตนเองจาก
โรคและภาวะเส่ยี งดา้ นต่างๆ โรงเรยี นจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นออกกำลงั กาย ตามนโนบายของสำนักงาน
คณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เชน่ การแข่งขันกีฬาสีภายใน กิจกรรมการแข่งขนั กฬี าระดับเครือข่าย และสามารถ
เข้าร่วมถึงในระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา แตป่ ีนี้งดจดั การแขง่ ขันกีฬาตามนโยบายการป้องกนั การแพรเ่ ชื้อไวรสั โคโรนา
(COVID 19) แตโ่ รงเรียนกไ็ ด้จัดกิจกรรมชมุ นุมกีฬา และสง่ เสรมิ การเลน่ กีฬาและการออกกำลังกายทดแทน เพ่ือ
พฒั นาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ใหก้ ับผเู้ รียนทุกระดับชั้นมสี ขุ ภาพแขง็ แรง รแู้ พ้ รูช้ นะ รอู้ ภัย และมี
นำ้ ใจนักกีฬา หลกี เลย่ี งสภาวะทเ่ี สย่ี งต่อการทำใหเ้ กิดโรค อบุ ตั เิ หตุ สงิ่ เสพติด และการดูแลสุขภาพจิต
นอกจากนส้ี ถานศึกษามีโครงการ/กิจกรรม เพื่อสนบั สนุนส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียน มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่
พงึ ประสงค์ เช่น กจิ กรรมระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน กจิ กรรมประชุมผู้ปกครอง กิจกรรมสง่ เสริมประชาธิปไตย
กจิ กรรมวันพ่อ วันแมแ่ หง่ ชาติ กิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา กจิ กรรมร่วมประเพณวี ฒั นธรรมกบั ชมุ ชน ฯลฯ และ ได้
นำภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นเข้ามาบรู ณาการในการจัดการเรียนรู้ บูรณาการ 8 กล่มุ สาระฯ จนสามารถนำประกอบอาชีพได้
และโครงการคุณธรรม เพ่ือพัฒนานักเรียนให้อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข
2. ผลการดำเนนิ งาน
ในด้านผลการประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการ ผ้เู รยี นสามารถอ่าน เขียน คิดวเิ คราะห์ไดด้ ี ตามมาตรฐานในแต่
ละระดับชัน้ สามารถสือ่ สารได้ดี รูจ้ กั การวางแผน สามารถทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ ไดด้ ีตามหลักประชาธปิ ไตย กลา้
แสดงออก และแสดงความคิดเหน็ หรอื วพิ ากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นขอ้ มลู หรอื แสวงหาความรจู้ ากสือ่ เทคโนโลยี
ได้ดว้ ยตนเอง รวมทัง้ สามารถ วเิ คราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิง่ ใดดี สำคัญ จำเป็น รวมทง้ั รเู้ ท่าทันสื่อ และสงั คมที่
เปล่ียนแปลง อยา่ งรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และตระหนกั ถึงโทษและพิษภัยของส่งิ เสพตดิ ต่างๆ เลอื กรบั ประทานอาหารที่
สะอาด และมปี ระโยชน์ รักการออกกำลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเลน่ กฬี าได้อย่างน้อยคนละหนึ่งประเภท ยอมรับ
ในกฎกตกิ าของกลุม่ ของสถานศกึ ษา ของสงั คม มที ัศนคติทด่ี ีต่ออาชีพสจุ รติ รวมถึงมคี วามเข้าใจเรื่องความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คลและระหวา่ งวัย ดา้ นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ลง่ ผลใหผ้ ลการประเมินด้านคุณภาพของ
ผเู้ รียนอยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม ท้งั น้มี ีผลการดำเนินงานเชงิ ประจักษจ์ ากการประเมินในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี
หนา้ 14
2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน
2.1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและคิดคำนวณ
ความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสารและคดิ คำนวณ สรปุ ผลจากคา่ เฉลีย่ ผลการประเมนิ
การอ่าน การคดิ วเิ คราะห์และเขียน ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนด้านความสามารถในการสอื่ สาร โดยมี
รายละเอียด ดงั น้ี
ตารางที่ 3 แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะหแ์ ละเขียน
ผลการประเมินการอา่ น การคิดวเิ คราะห์และเขียน
ระดบั ชั้น ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
รอ้ ยละ 89.59 84.91 82.57 90.23 85.94 92.45 87.61
ตารางที่ ๔ แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนดา้ นความสามารถในการสอื่ สาร
ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนดา้ นความสามารถในการส่อื สาร
ระดับชน้ั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลีย่
รอ้ ยละ 90.50 85.85 84.40 90.98 86.72 92.45 88.48
ตารางท่ี ๔ แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมินความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสารและการคำนวณ
ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคำนวณ
ระดบั ชั้น ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
ร้อยละ 95.48 87.26 84.86 90.23 79.69 80.19 86.28
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
2.1.2 ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็
และแก้ปญั หา
ความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ
แก้ปัญหา สรปุ ผลจากคา่ เฉล่ีย ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของ
ผเู้ รียนดา้ นความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี
ตารางท่ี ๕ แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ การคดิ วิเคราะห์
ผลการประเมนิ การอ่าน การคดิ วิเคราะห์และเขียน
ระดับชน้ั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
รอ้ ยละ 90.50 85.38 80.28 90.98 78.91 79.25 84.21
ตารางที่ ๖ แสดงร้อยละของคะแนนการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นดา้ นความสามารถในการสือ่ สาร
ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นด้านความสามารถในการสอื่ สาร
ระดับชนั้ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลยี่
รอ้ ยละ 90.95 86.79 80.73 91.73 80.47 83.96 85.77
หนา้ 15
ตารางที่ ๗ แสดงร้อยละของคะแนนการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้านความสามารถในการคิด
ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนดา้ นความสามารถในการคิด
ระดบั ชน้ั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลย่ี
ร้อยละ 95.02 87.26 80.73 92.48 81.25 80.19 86.16
ตารางที่ ๘ แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นดา้ นความสามารถในการแกป้ ัญหา
ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นด้านความสามารถในการแกป้ ญั หา
ระดบั ชนั้ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ย
รอ้ ยละ 95.93 86.79 82.57 90.23 84.38 81.13 86.84
ตารางท่ี ๙ แสดงร้อยละของคะแนนการประเมินความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ
อภิปราย แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา
ความสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแก้ปัญหา
ระดบั ช้นั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
รอ้ ยละ 95.93 93.40 87.16 99.25 85.94 93.40 92.51
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
2.1.3 ความสามารถในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
ความสามารถในการสร้างสรรค์นวตั กรรม สรุปผลจากคา่ เฉล่ยี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวชิ า
การส่ือสารและการนำเสนอ โครงงานวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ และสถติ ริ างวัล โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
ตารางที่ ๑๐ แสดงรอ้ ยละผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น รายวชิ าการการสอ่ื สารและการนำเสนอ โครงงานวทิ ยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์
ร้อยละผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
รายวชิ า รอ้ ยละ เฉลย่ี
การสื่อสารและการนำเสนอ 81.20 82.57
โครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ 83.94
ตารางท่ี ๑๑ แสดงค่าเฉลยี่ ร้อยละความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม
ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม
รายการ ร้อยละ ร้อยละ เฉลย่ี
86.33
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รางวัลท่ีนกั เรยี นได้รับ
ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 82.57 90.08
ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
หนา้ 16
2.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสอ่ื สาร
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสอื่ สาร สรปุ ผลจาก ค่าเฉลย่ี การประเมินสมรรถนะ
สำคญั ของผู้เรียนดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี รอ้ ยละนกั เรียนทใี่ ช้ Google classroom และ รอ้ ยละ
นกั เรียนท่ีใช้ คอมพวิ เตอร์/โทรศัพท์/Social media ในการเรียนรู้ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
ตารางท่ี ๑๒ แสดงรอ้ ยละของคะแนนการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียนดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนดา้ นความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ระดับช้นั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉล่ีย
รอ้ ยละ 90.49 89.62 91.74 90.22 93.75 94.43 91.71
ตารางท่ี ๑๓ แสดงร้อยละนกั เรียนทีใ่ ช้ Google classroom 10๑๘
ร้อยละนกั เรียนท่ใี ช้ Google classroom 98.23
จำนวนนักเรียน (คน)
ร้อยละ
ตารางท่ี ๑๔ แสดงร้อยละของนกั เรยี นที่ใชค้ อมพิวเตอร์/โทรศพั ท์/Social media ในการเรียนรู้
ร้อยละของนกั เรียนทใี่ ชค้ อมพวิ เตอร์/โทรศัพท์/Social media ในการเรยี นรู้
จำนวนนกั เรยี น (คน) 10๑๘
ร้อยละ 98.23
ตารางท่ี ๑๕ แสดงร้อยละความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการสื่อสาร
คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละความสามารถในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
ผลการประเมิน
รายการ สมรรถนะสำคัญของ รอ้ ยละของนกั เรียนทใ่ี ช้ เฉลย่ี
96.06
ค่าเฉล่ยี ผ้เู รยี นด้าน รอ้ ยละนักเรยี นทใี่ ช้ คอมพิวเตอร์/โทรศัพท์
ร้อยละ
ความสามารถในการ Google classroom /Social media ในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี เรยี นรู้
91.71 98.23 98.23
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
หนา้ 17
2.1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา สรปุ ผลจาก การประเมินผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
โดยมีรายละเอียดดงั นี้
ตารางที่ ๑๖ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
กลุม่ สาระฯ ไทย คณติ วิทย์ สงั คม สขุ ศิลปะ การงาน ภาษาต่าง เฉลี่ย
ประเทศ
รอ้ ยละเฉลี่ย 70.8 70.28 74.87 78.83 86.06 79.54 89.74 69.59 76.23
ระดับคณุ ภาพเฉล่ยี ดีเลศิ
2.1.6 มีความรทู้ ักษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ
มีความรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชพี สรปุ ผลจาก ค่าเฉลี่ย รอ้ ยละการศกึ ษาต่อ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนกั เรียนทเ่ี รียนหลกั สูตรระยะสน้ั และกลุ่มสาระฯการงานอาชพี และรอ้ ยละของนักเรยี นท่ี
เข้ารว่ มโครงการ ตวิ เพ่ือมุ่งสมู่ หาวทิ ยาลัย โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี
ตารางที่ ๑๗ แสดงรอ้ ยละการศึกษาต่อ
ร้อยละการศกึ ษาต่อ
ระดับชน้ั ม.3 ม.6 เฉลยี่
รอ้ ยละ 90.91 75.47 83.69
ตารางที่ ๑๘ แสดงผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นนักเรยี นทเี่ รียนหลกั สตู รทวิศึกษาและกลุ่มสาระฯการงานอาชีพ
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
หลักสูตร/ หลักสตู รระยะสั้น การงานอาชีพ เฉลย่ี
กลุม่ สาระฯ
ร้อยละ 80.00 79.73 79.87
ตารางท่ี ๑๙ แสดงรอ้ ยละของนักเรียนทเ่ี ข้าร่วมโครงการติวเพื่อมุง่ สู่มหาวิทยาลัย
ร้อยละของนักเรียนท่เี ขา้ ร่วมโครงการตวิ เพ่อื มุ่งสู่มหาวิทยาลัย
จำนวน (คน) รอ้ ยละของนกั เรยี นทีส่ ามารถเขา้ ร่วมโครงการ
106 100
ตารางท่ี ๒๐ แสดงค่าเฉลีย่ ร้อยละมีความรทู้ ักษะพน้ื ฐานและเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชีพ
คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละมคี วามรูท้ กั ษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ
รายการ การศึกษาต่อ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น นกั เรียนท่เี ข้ารว่ มโครงการติว เฉลี่ย
87.85
เพือ่ มุ่งสู่มหาวิทยาลยั
คา่ เฉล่ียร้อยละ 83.69 79.87 100
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม
หนา้ 18
2.2. คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
2.2.1 การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ีตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด สรปุ จากการประเมนิ คุณลกั ษณะอัน
พึงประสงคข์ องผู้เรียน มีรายละเอียดดังนี้
ตารางท่ี ๒๑ แสดงค่าเฉล่ยี ร้อยละคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
จำนวน จำนวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพ
นักเรยี น ยอดเย่ียม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลงั พฒั นา
ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
1,018 910 89.39 80 7.86 28 2.75 - - - -
ระดับคุณภาพเฉลย่ี ยอดเย่ยี ม
2.2.2 ความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย
ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเป็นไทย สรปุ จากการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น
ด้านรักความเปน็ ไทย โดยมรี ายละเอียดดังน้ี
ตารางที่ ๒๒ แสดงค่าเฉล่ยี ร้อยละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียนด้านรกั ความเป็นไทย
จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ
นักเรียน ยอดเย่ียม ดีเลศิ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา
ทั้งหมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
1,018 ๘๖๒ 83.65 122 12.79 34 3.56 - - - -
ระดบั คุณภาพเฉล่ีย ยอดเยีย่ ม
2.2.3 การยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สรุปผลจาก ความพึงพอใจการเข้ารว่ ม
โครงการ/กจิ กรรม ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการสง่ เสริมการยอมรับที่จะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายโดยมี
รายละเอียด ดงั น้ี
ตารางที่ ๒๓ แสดงคา่ เฉลย่ี ร้อยละความพงึ พอใจการเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรม ส่งเสรมิ การยอมรบั ทจ่ี ะอย่รู ่วมกนั บน
ความแตกตา่ งและหลากหลาย
ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละความพึงพอใจการเขา้ รว่ มโครงการ/กิจกรรม
กจิ กรรม กิจกรรม กิจกรรม เฉล่ยี
รายการ ค่ายคุณธรรม คา่ ยปรับพฤติกรรม พอ่ ครแู มค่ รพู าลูกเข้าวดั
คา่ เฉลี่ยร้อยละ 9๑.00 9๒.00 9๗.8๐ 96.86
ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
หนา้ 19
2.2.4 สุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
สุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม สรุปผลจาก ดชั นมี วลกายตามเกณฑ์อายุของนักเรียน การประเมนิ
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี นและ การประเมนิ EQ, SDQ ของนกั เรียน โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
ตารางที่ ๒๔ แสดงค่าดัชนมี วลกายตามเกณฑ์อายุของนักเรียนโรงเรยี นปลาปากวทิ ยา
จำนวน จำนวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ
นกั เรียน ดัชนมี วลกาย (BMI)
ทั้งหมด น้อยกวา่ เกณฑ์ ปกติ มากกว่าเกณฑ์ สมส่วน ไมส่ มส่วน
๑๔๒
1,018 ๘๓ ๘๗๖ ๕๙ ๘๗๖ ๑๓.๙๔
รอ้ ยละ ๘.๑๕ ๘๖.๐๕ ๕.๗๙ ๘๖.๐๕
ระดบั คณุ ภาพเฉลีย่ ยอดเย่ียม
ตารางท่ี ๒๕ แสดงคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปลาปากวิทยา
จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ
นักเรียน ยอดเยี่ยม ดีเลศิ ดี ปานกลาง กำลงั พฒั นา
จำนวน รอ้ ยละ
ท้ังหมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
--
1,018 8๗๔ 84.91 98 10.27 46 4.82 - -
ระดบั คณุ ภาพเฉล่ยี ยอดเยีย่ ม
ตารางที่ ๒๖ แสดงร้อยละความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของนกั เรยี น
ร้อยละความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของนักเรยี น
ตำ่ กว่าปกติ ปกติ สงู กว่าปกติ
๒๓.๑๙
๒๗.๒๗ ๔๙.๕๔
ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม
ตารางท่ี ๒๗ แสดงรอ้ ยละการประเมินพฤติกรรมเดก็ (SDQ) ของนักเรียน
รอ้ ยละการประเมนิ พฤติกรรมเดก็ (SDQ) ของนกั เรยี น
พฤติกรรมท่ีประเมนิ ปกติ เสย่ี ง มปี ญั หา มจี ุดแข็ง ไมม่ จี ุดแขง็
ความประพฤติ ๙๒.๘๘ ๕.๗ ๒.๘๙ ๒๒.๑๕
19.30
สมาธิ ๙๐.๑๒ ๗.๒๓ ๑.๗๕
ความสัมพันธก์ บั เพื่อน ๙๔.๕๖ ๒.๙๖ ๑.๑๒
ความสมั พนั ธ์ทางสังคม ๙๖ ๒.๔๘ ๑.๐๘ ๘๑.๗๘
เฉล่ียรอ้ ยละ 93.39 4.585 1.71 80.70
ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
หนา้ 20
ตารางท่ี ๒๘ แสดงร้อยละการประเมินสขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
ผลการประเมินสุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
ดชั นมี วลกาย คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ความฉลาดทางอารมณ์ ความประพฤติ
(SDQ)
(EQ)
ยอดเย่ียม
ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ดเี ลิศ
ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
3. จดุ เดน่
ผเู้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสรา้ งประโยชนแ์ ละแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง มีความสามารถในการ
สรา้ งสรรค์นวัตกรรม ซง่ึ มีผลงานเปน็ ท่ปี ระจักษ์ ในระดับจงั หวดั ระดบั ประเทศ และระดับนานาชาติ มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อ
การศกึ ษาและการประกอบอาชีพสจุ รติ ผเู้ รียนมสี ุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางรา่ งกายและสดั สว่ นนำ้ หนัก
ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีการปรบั ตัวกับสภาวะท่ีเปล่ยี นแปลงและยอมรบั ในความแตกตา่ งในดา้ นต่าง ๆ รักความเป็นไทย
เคารพกฎกติกา มารยาท และมีคุณลกั ษณะเป็นทยี่ อมรับตามบรรทดั ฐานทางสงั คม
4. จดุ ควรพฒั นา
พฒั นาและส่งเสริมผ้เู รียนด้านผลการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคำนวณ
และผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ให้สงู ขน้ึ รวมถึงคะแนน O - NET ใหส้ ูงขึ้นมากกว่าปที ผี่ า่ นมา
และคะแนนค่าเฉล่ยี ของระดับประเทศทกุ รายวิชา
หนา้ 21
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเย่ียม
ตารางที่ ๒๙ ผลการประเมนิ คณุ ภาพด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน ระดบั
คุณภาพ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ดเี ยย่ี ม
1)มเี ปา้ หมายวสิ ัยทัศน์ และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนด ๘๓ ๙๗.๗๕
ดีเยีย่ ม
ชดั เจน ดีเยี่ยม
2)มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๘๓ ๙๖.๔๖ ดีเยยี่ ม
ดีเยยี่ ม
3)ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ น ๘๓ ๙๕.๔๓
ดีเยี่ยม
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
ดเี ยีย่ ม
4)พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ๘๓ ๙๓.๕๖
5)จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือต่อการ ๘๓ ๙๖.๒๓
จัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
6)จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร ๘๓ ๙๘.๔๓
จัดการและการจัดการเรยี นรู้
สรุปผลการประเมิน ๙๖.๓๑
1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะหส์ ภาพปญั หา ผลการจัดการศึกษาท่ผี า่ นมา โดยการศึกษาข้อมลู สารสนเทศ
จากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรปู การศึกษาและจดั ประชุมระดมความคดิ
เห็นจากบคุ ลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกนั กำหนดกลยทุ ธ์ เป้าหมาย ปรับวสิ ัยทศั น์ กำหนดพนั ธกิจ ในการจดั
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มกี ารปรบั แผนพัฒนาคุณภาพจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการ
ประจำปใี ห้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรปู การศึกษา พรอ้ มท้งั จัดหา
ทรพั ยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ รู้ ับผดิ ชอบ ดำเนนิ การพฒั นาตามแผนงานเพื่อให้ บรรลเุ ปา้ หมายท่ี
กำหนดไว้ มีการดำเนินการนเิ ทศ กำกับตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งาน และ สรุปผลการดำเนินงาน
2. ผลการดำเนนิ งาน
2.1 มเี ป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
โรงเรยี นปลาปากวิทยามีการกำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความ
ตอ้ งการพฒั นาของสถานศึกษา นโยบายการ ปฏริ ปู การศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถิน่ และสอดคลอ้ งกบั แนว
ทางการปฏิรปู ตามแผนการศึกษาชาติ ดังน้ี
เป้าหมาย (School Goals)
1. จัดให้มีหลักสูตรสถานศกึ ษาทม่ี ีความหลากหลายสอดคลอ้ งกบั สภาพท้องถ่นิ และสงั คมปัจจุบัน
2. จัดการเรยี นการสอนทีส่ นองต่อความต้องการของผเู้ รยี น โดยยดึ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
3. จัดการบริหารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภบิ าล
4. ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีความรคู้ ู่คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและมีวถิ ีการดำเนินชีวิต
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รับผิดชอบต่อสงั คมไทยและก้าวทันโลก
5. จดั ใหม้ แี หลง่ เรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยใหช้ มุ ชนมีสว่ นรว่ ม
หนา้ 22
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรยี นปลาปากวิทยา
โรงเรียนปลาปากวทิ ยาม่งุ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน เพมิ่ โอกาสทาง
การศกึ ษา ก้าวทันโลก มีความร้คู คู่ ณุ ธรรม นยิ มไทย ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใหท้ ุกภาคส่วนมสี ว่ น
ร่วมในการจดั การศกึ ษา ม่งุ สู่มาตรฐานสากล
พันธกจิ (Mission)
1. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาให้มีความหลากหลายสอดคลอ้ งกับสภาพทอ้ งถ่ินและสงั คมปจั จบุ นั
2. สง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนท่สี นองต่อความตอ้ งการของผูเ้ รยี น
3. สง่ เสรมิ การบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล
4. ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและวถิ ีการดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
รับผิดชอบต่อสังคมไทยและก้าวทันโลก
5. ส่งเสรมิ พัฒนาผูเ้ รยี นโดยใช้แหลง่ เรยี นรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
โรงเรยี นปลาปากวทิ ยาไดใ้ ชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการจัดทำ
กลยทุ ธ์ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ให้สอดคลอ้ งกับการพัฒนาผ้เู รยี นทุก
กลุม่ เป้าหมาย โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล และแนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นตาม
แนวทางปฏริ ปู การศึกษา มกี ารระดมทรัพยากรเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา จากเครือข่ายอุปถัมภส์ ง่ ผลให้
สถานศึกษามีส่ือ และแหลง่ เรียนรู้ทีม่ ีคุณภาพ เปดิ โอกาสให้ผ้เู ก่ยี วข้องทุกฝา่ ย และเครือขา่ ยการพฒั นาคุณภาพ
สถานศึกษา มีส่วนร่วมในการรว่ มวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา มี
การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ทเี่ หมาะสม เปน็ ระบบและต่อเน่ือง โดยมี
รปู แบบการบรหิ ารและการจัดการเชงิ ระบบสามารถสรปุ เปน็ แผนผังได้ดงั นี้
หนา้ 23
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
คณะคร/ู บุคลากรทางการศึกษา
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รฯ คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครอง
สมาคมศษิ ยเ์ กา่ สภานักเรียน
งานบรหิ ารวิชาการ งานบรหิ ารงบประมาณ งานบริหารบุคลากร งานบรหิ ารงานท่วั ไป
- การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา - การจดั ทำและเสนอขอ - การวางแผนอัตรากำลงั - การดำเนินงานธรุ การ
- การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ งบประมาณ และการกำหนดตำแหนง่ - การเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั
- การวัดผลประเมนิ ผลและเทยี บ - การจดั สรรงบประมาณ - การสรรหาและการบรรจุ พ้ืนฐาน
โอนผลการเรยี น - การตรวจสอบ ตดิ ตาม แต่งตงั้ - งานพัฒนาระบบและเครือข่ายขอ้ มลู สารสนเทศ
- การรบั นกั เรียน ประเมนิ ผล และรายงาน - การเสรมิ สร้าง - การประสานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
- การวิจยั เพือ่ พฒั นาคุณภาพ ประสทิ ธิภาพในการ - การจดั ระบบการบริหารและพฒั นาองคก์ ร
การศกึ ษา ผลการใช้เงินและผลการ ปฏบิ ัติราชการ - งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- การพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและ ดำเนินงาน - วินยั และการรักษาวนิ ยั - การส่งเสริม สนบั สนนุ ดา้ นวชิ าการ
เทคโนโลยที างการศกึ ษา - การออกจากราชการ งบประมาณ
- การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ - การระดมทรัพยากรและ
- การนเิ ทศการศึกษา การลงทนุ เพือ่ การศกึ ษา บุคลากรและบรหิ ารงานท่ัวไป
- การแนะแนวการศึกษา - การดแู ลอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดล้อม
- การพัฒนาระบบการประกนั - การบริหารการเงนิ - การจัดทำสำมะโนนักเรยี น
- การบริหารบญั ชี - การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาใน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - การบรหิ ารพัสดุและ
- การส่งเสริมความรู้ด้านวชิ าการ สนิ ทรพั ย์ ระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
- การระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา
แกช่ ุมชน - งานส่งเสรมิ งานกิจการนกั เรียน
- การประสานความร่วมมอื ในการ - การประชาสัมพนั ธ์งานการศกึ ษา
พฒั นาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาอ่ืน - การเสรมิ สนับสนุนและประสานงาน
- การสง่ เสรมิ และสนับสนุนงาน
วิชาการแก่บคุ คล ครอบครัว การศึกษา ของบคุ คล ชุมชน องค์กร
หนว่ ยงานและ สถาบัน สงั คมอื่นทีจ่ ดั
องค์กร หนว่ ยงาน และสถาบัน การศกึ ษา
อ่ืนทจ่ี ัดการศกึ ษา - งานประสานราชการกบั เขตพน้ื ที่การศกึ ษา
และหนว่ ยงานอื่น
- การจัดระบบการควบคุมในหน่วยงาน
- งานบริการสาธารณะ
- งานท่ไี มไ่ ดร้ ะบไุ วใ้ นงานอนื่
หนา้ 24
แผนผังแสดงโครงสร้างการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
1.การเตรียมงาน 2.การทบทวนกลยทุ ธ์ 3.การวางแผนกลยทุ ธ์
แต่งต้งั คณะทางาน วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการความคาดหวงั แผนกลยทุ ธ์ 4 ปี
รวบรวม/ ของผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย กาหนดวิสัยทศั น์
วเิ คราะหข์ อ้ มูล วเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT) กาหนดพนั ธกิจ
และสารสนเทศที่ ทบทวนผลการดาเนินงานท่ีผา่ นมา
กาหนดเป้าประสงค์
เกี่ยวขอ้ ง ตวั ช้ีวดั
กาหนดกลยทุ ธ์
ติดตามและ KPI
ประเมนิ ผล
ขออนุมตั ิจาก
5.การตดิ ตามผล คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา
นาแผน ขออนุมตั ิจาก กาหนดแผนปฏิบตั ิการ แผนปฏิบัติ
ไป คณะกรรมการ กรอบงบประมาณ การประจาปี
ปฏิบตั ิ สถานศกึ ษา
แผนงบประมาณ ปฏิทินกิจกรรม
ประจาปี โรงเรียน
4.การนากลยุทธ์สู่การปฏิบตั ิ
แผนผังการจดั ทำกลยทุ ธ์ และการนำกลยทุ ธไ์ ปปฏบิ ตั เิ พอื่ ขับเคลือ่ นการจดั การศึกษาไปสผู่ ลลพั ธ์
นอกจากน้โี รงเรียนปลาปากวิทยายังดำเนินการตามระบบงานท่ีสำคญั คือ PLAPAK MODELซง่ึ เปน็ โครงรา่ ง
องค์กร โดยมีกระบวนการดงั นี้
PLAPAK MODEL
Input Process Output Outcome
- ผู้บริหาร P = Purpose - เปน็ เลิศวิชาการ - ผ้เู รียนมคี ณุ ลักษณะอันพงึ
- ครูและบคุ ลากร L = Leader ship - สื่อสารสองภาษา ประสงค์
- ผ้เู รียน A = Achievement - ลำ้ หนา้ ทางความคิด - ผเู้ รยี นเปน็ พลเมืองและพล
- คณะกรรมการสถานศกึ ษา P = Participation - ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์ โลก
- ชุมชน A = Accountability / - ร่วมกันรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
- โรงเรยี น/ทรพั ยากร
Attitude
K =Knowledge and
Skill
Feedback
หนา้ 25
P = Purpose หมายถงึ จดุ มุ่งหมายในสิง่ ที่ต้องการจากบริหารจัดการ และการจัดกิจกรรม เพื่อเตรียมความ
พร้อมขององค์การในปจั จัยท่ีจำเปน็ โดยไดก้ ำหนดเปน็ 4 ประการ คือ วสิ ยั ทัศน์ (Vision) พันธกิจ
(Mission) เป้าประสงค์ (Goals) และวตั ถปุ ระสงค์ (Objectives) เพื่อนำไปสู่ความสำเร็จทีม่ ีประสิทธิภาพและ
ความก้าวหนา้ ของคุณภาพบริการ
L =Leader shipภาวะผูน้ ำ สามารถเปน็ ผนู้ ำที่ดี ยอมรับความคดิ เหน็ ของคนอื่นได้
A =Achievementหมายถงึ การขยายผลและต่อยอดองคค์ วามรนู้ ำไปสู่เปา้ หมายความสำเร็จทวี่ างไว้
P = Participation หมายถึง กระบวนการให้ครูเขา้ มามีสว่ นเก่ยี วข้องในการดำเนนิ งานพัฒนา รว่ มคิดตัดสนิ ใจ
แกไ้ ขปญั หาด้วยตนเองการมีส่วนร่วมประสานความรว่ มมือกบั สถานศึกษา หน่วยงานอ่ืนโดยเฉพาะภาคี 4 ฝ่าย โดย
กำหนดเป็นหลัก 5 ร คือ รว่ มคิด รว่ มทำ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมรับผดิ ชอบและร่วมภาคภูมิใจ ในการปรบั ปรุง
ประสทิ ธิภาพระบบการบรหิ ารจัดการ และการจดั กิจกรรม
A = Accountability / Attitudeความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ และมเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการทำงาน
K =Knowledge and Skillหมายถงึ ความรู้ ความสามารถ และทักษะท่จี ำเปน็ ต่อการเรียนร้แู ละพฒั นาองคก์ ร
ในศตวรรษที่ 21 อยา่ งต่อเน่ืองและย่ังยนื พร้อมท้งั จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้โดยใช้ประสบการณท์ เ่ี กิดข้นึ จริงใน
ปจั จบุ ันเปน็ ฐาน (New Normal) ดังภาพ
ตารางที่ ๓๐ แสดงการมีสว่ นรว่ มของเครอื ขา่ ยในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564
การเขา้ รว่ มประชมุ ของเครือขา่ ย/องคก์ ร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2
จำนวนครงั้ ทีเ่ ขา้ ร่วม ๔ ๕
หนา้ 26
2.3 ดำเนนิ งานวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและกล่มุ เปา้ หมาย
โรงเรยี นปลาปากวิทยามีการมีการกำหนดนโยบาย มกี ารวางแผน และดำเนินงานด้านวิชาการให้
สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา เพื่อพัฒนาผเู้ รยี นทุกกลุ่มเปา้ หมาย
มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมเพอื่ กระต้นุ ผูเ้ รียนใหเ้ กดิ การเรยี นรูต้ ลอดเวลา โดยเนน้ การจัดการเรียน
การสอนและออกแบบการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกับและตรงตามความต้องการโดยตระหนกั ถึงศักยภาพของผูเ้ รียน
เปน็ หลกั และให้เปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสตู รสถานศึกษาปี 256๔ สอดคล้องกบั หลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ซึง่ เน้นใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนร่วมและจัดการ
เรยี นการสอนโดยผเู้ รยี นเป็นสำคญั (Active Learning ) ทั้งรูปแบบโครงงานมุ่งส่กู ารสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม แบบการ
สอนรว่ มกนั (Integration) การสาธติ การทดลอง การอธิบาย การใช้เกมประกอบ การสืบคน้ ความรู้ โปรแกรมการ
เรียนสำเรจ็ รูป แบบศนู ย์การเรยี น แบบสเต็มศึกษา(STEM) แบบลงมือปฏิบัตจิ รงิ แบบรว่ มมอื การเรียนรู้ แบบใช้
กระบวนการคิด ฯลฯ โดยเนน้ การบูรณาการกบั หลักสูตรท่สี ่งเสรมิ การเรียนรู้ทีห่ ลากหลายเพอื่ พฒั นาผู้เรียนใหต้ รง
ตามศักยภาพ ดังตวั อย่างต่อไปนี้
2.3.1 การจัดการเรียนรู้ ดว้ ยระบบ Google Classroom ทเี่ น้นให้ครแู ละผเู้ รียนมที กั ษะดา้ นการใช้
เทคโนโลยีในการเรยี นรู้ การสนับสนนุ การเรยี นรู้ในทุกท่ีทุกเวลา กล่าวคือ ใชร้ ะบบเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ การส่ง
งานผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ โทรศพั ท์สมารท์ โฟน หรือ คอมพิวเตอร์ หรอื IPAD
2.3.2โครงการส่งเสริมผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการภาษาอังกฤษโดยครูไทย
(English for Integrated studies : EIS) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น และตอนปลาย การจัดการเรยี นการสอนแบบ EIS
คือการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาสำคัญเป็นภาษาอังกฤษโดยครูไทยในรา ยวิชาคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์
ภาษาอังกฤษ และคอมพวิ เตอร์
2.3.3 การจดั การเรียนการสอนวิชาภาษาต่างประเทศโดยเจ้าของภาษา ได้แก่ วชิ าภาษาอังกฤษและ
วิชาภาษาจีน โรงเรยี นจดั จา้ งครูต่างชาตมิ าสอนในรายวิชาดงั กลา่ วขา้ งต้น เพ่ือให้ผเู้ รยี นได้รับประการณต์ รงจาก
เจา้ ของภาษา
2.3.4 การจัดการเรยี นการสอนแบบหลักสูตรระยะสั้น เพอ่ื ให้นักเรยี นได้เลือกเรียนวชิ าอาชีพทต่ี นเอง
ถนดั
โดยทกุ หลกั สตู รมีการดำเนินการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งาน และ สรุปผลการดำเนินงาน
ดงั ตารางต่อไปนี้
ตารางที่ ๓๑ การนเิ ทศการสอนของครปู ระจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละคะแนนการประเมนิ ผลการนเิ ทศการจดั การเรียนรู้
ภาษาไทย 9๖.55
คณติ ศาสตร์ 9๗.18
วทิ ยาศาสตรฯ์ 9๖.18
สังคมศึกษาฯ 9๕.55
ภาษาตา่ งประเทศ 9๗.36
สขุ ศึกษาและพละศึกษา 9๗.18
การงานอาชีพ 9๕.36
ศลิ ปะ 9๓.73
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 9๗.18
คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ 96.๒๕
หนา้ 27
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ คลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความเชย่ี วชาญ
ตามมาตรฐานตำแหน่งส่งเสริมให้มกี ารเขา้ รับการพฒั นาด้านต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสมและตรงตามความสนใจและ
ความสามารถอยา่ งสม่ำเสมอ
2.4.1 ค่าเฉล่ยี ผลการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาโรงเรียนปลาปากวิทยา
ตารางท่ี ๓๒ แสดงคา่ เฉลี่ยผลการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นปลาปากวิทยา
จำนวนครู จำนวนรายการ จำนวนชวั่ โมง จำนวนเฉลีย่ ต่อคน
และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา ท่เี ข้ารับการพฒั นา จำนวนรายการ จำนวนชว่ั โมง
ตนเอง ตนเอง
๖๐ ๑๙๗ ๓,๗๐๒ ๓.๒๘ ๖๑.๗๐
2.4.2 ผลการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นปลาปากวิทยาแบง่ ตามชวั่ โมงการเข้ารับ
การพัฒนา
ตารางท่ี ๓๓ แสดงผลการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนปลาปากวทิ ยาแบ่งตามชัว่ โมงการเข้ารับการ
พฒั นา
จำนวนครู เข้ารบั การ เขา้ รับการพัฒนา เขา้ รับการพัฒนา
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พฒั นาตำ่ กวา่ 31-49 ชม. 50 ชม. ขึ้นไป
30 ชม.
๖๐ 1๒ 1๓ ๓๕
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้อย่างมคี ณุ ภาพ
โรงเรยี นปลาปากวิทยามีการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทางวิชาการ และ
สภาพแวดล้อมทางการบรหิ ารจดั การ เพ่ือสรา้ งปฏิสัมพนั ธ์ทด่ี รี ะหวา่ งบคุ คลกบั สง่ิ แวดล้อมในโรงเรียน เสริมสร้าง
ความรสู้ กึ ที่ดี มีส่วนรว่ ม โดยเร่มิ จากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ความเป็นระเบยี บ ความสะดวก ความสะอาด
และส่งเสริมการเรยี นรู้ สภาพแวดล้อมทางวิชาการ ไดแ้ ก่ การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทงั้ ในและนอก
ห้องเรยี น ตลอดจนการจัดบริการเพื่อสง่ เสรมิ สนับสนนุ ทางวิชาการต่าง ๆ ทจี่ ะทำใหน้ ักเรยี นได้รับความรู้
ประสบการณ์ให้มากท่ีสดุ ภายใตบ้ รรยากาศท่ดี ีและเหมาะสม สภาพแวดลอ้ มทางการบรหิ ารการจัดการ ได้แก่ การ
ดำเนินการใด ๆ ภายในโรงเรียนอยา่ งมรี ะบบเพอื่ ให้การปฏิบตั งิ านสำเร็จลงดว้ ยความรว่ มมอื รว่ มใจของบุคคลากร มี
การนำข้อมลู จากการสำรวจสภาพปัจจุบนั มากำหนดเป็นนโยบายในการแก้ปญั หาและพัฒนางานของโรงเรยี นรว่ มกนั
โดยคำนึงถึงผลลัพธท์ ี่เกิดข้นึ กับนักเรียนและผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียเปน็ หลกั ซ่ึงได้มกี ารนเิ ทศ ติดตาม และมกี ารสำรวจ
ความพึงพอใจของนกั เรยี นและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ผู้ปกครอง และชมุ ชน 5 ดา้ นคือ ดา้ นหลักสูตรและกิจกรรมเสรมิ
หลกั สูตร ด้านครูและการจัดการเรียนการสอน ด้านบริการทางวชิ าการ ดา้ นระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ดา้ นอาคาร
สถานท่ี และบริการทั่วไปตลอดจนพจิ ารณาจากจำนวนข้อรอ้ งเรยี นจากนักเรยี นและผู้ปกครอง
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและจัดการเรยี นรู้
โรงเรยี นปลาปากวิทยามีสารสนเทศ อันได้แก่ ขอ้ มลู ด้านการบรหิ าร การเงิน ครุภัณฑ์ พสั ดุ บคุ ลากร
ผลการดำเนินงานด้านตา่ ง ๆ ขอ้ มลู ทะเบยี นสว่ นบุคคลของบคุ ลากรและนกั เรยี น ข้อมลู คะแนน การสอบวดั ผล
ข้อมลู คะแนนการสอบคดั เลือก ขอ้ มลู การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นแบบออนไลน์โดยใช้โปรแกรมจัดการระบบทท่ี นั สมยั
หนา้ 28
และสะท้อนกลบั ข้อมูลแก่ครูผูส้ อนไดอ้ ย่างรวดเร็วฉบั พลนั ดว้ ยการแจง้ เตือนผ่านกลมุ่ ไลน์ มีการเผยแพร่ทางส่ิงพมิ พ์
และเว็บไซต์ ผา่ นทางอินเทอร์เนต็ และส่ือโซเชยี ลตา่ ง ๆ และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารเป็นปัจจบุ นั และเกบ็ ในระบบ
ออนไลน์ มคี วามปลอดภัยและสามารถหาข้อมูลได้ มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศให้มีความถกู ต้อง ครบถว้ น
ทนั สมัย นำไปประยกุ ต์ใช้ได้ มีการดำเนนิ การอย่างเปน็ ระบบ ตรวจสอบได้ โดยผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี มสี ่วนร่วม ในการ
พฒั นาและรว่ มรบั ผดิ ชอบ โดยโรงเรียนแตง่ ตงั้ คณะกรรมการงานสารสนเทศรับผดิ ชอบด้านการเก็บข้อมลู สารสนเทศ
ในหนว่ ยงานต่าง ๆ งานประชาสมั พันธร์ บั ผดิ ชอบด้านการประชาสมั พนั ธข์ า่ วสารของโรงเรยี นโดยเผยแพรใ่ นรูปแบบ
จดหมายขา่ วตามบอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ ห้องสมดุ จัดทำขา่ วสารออนไลนผ์ า่ นทางเว็บไซต์ เช่น
http://www.plapakwit.ac.th, https://www.facebook.com/plapakwittaya/
http://www.secondary22.go.th/ รวมทง้ั ไลน์กลุ่มต่าง ๆ ของเครอื ข่ายและสมาคมโรงเรยี นและผ่านคลืน่
วิทยกุ ระจายเสยี ง การรวบรวมข้อมลู สารสนเทศจะมีการกำหนดเวลาและแตล่ ะหนว่ ยงานจะต้องรบั ผิดชอบ
ตรวจสอบและยืนยนั ข้อมูลว่ามคี วามถูกตอ้ งแม่นยำ คงสภาพ เช่อื ถือได้ และเป็นปจั จบุ ัน จากน้ันสง่ ข้อมูล หากพบว่า
ขอ้ มูลสารสนเทศใดไมค่ รบถ้วน ลา่ ช้า หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบตอ้ งติดตามปรับปรุงแก้ไข ให้การทำงานมีประสทิ ธิภาพ
งานสารสนเทศรวบรวมและตรวจสอบข้อมลู อีกครัง้ ข้อมลู สารสนเทศทีส่ ามารถเปิดเผยได้ งานสารสนเทศจะรวบรวม
ขอ้ มลู ของทกุ หนว่ ยงานและจัดพิมพ์เผยแพร่ในรปู แบบท่ีกล่าวข้างตน้ ซึ่งสามารถสบื ค้นได้อย่างสะดวก สว่ นข้อมูลที่
เปน็ ความลบั ได้แก่ ประวัตนิ ักเรยี น บนั ทึกพฤติกรรมนกั เรียนเปน็ รายบุคคล ระดบั คะแนนราย บคุ คล ขอ้ มลู ประเภท
นีจ้ ัดทำทั้งรปู แบบเอกสารและระบบออนไลนแ์ ละอนญุ าตใหผ้ มู้ สี ิทธิ์เข้าถึงข้อมูลของตนเองเท่านั้น เชน่ นักเรยี น
สามารถดูผลการเรยี นของนักเรยี นได้ในเวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี น (Online) ในระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โดยการใช้รหสั
ประจำตัวนกั เรยี นในการตรวจสอบ สำหรบั การบันทึกข้อมูลของนกั เรียนรายบคุ คลและการจดั ทำผลการเรียนของ
นักเรยี นเปน็ จะใช้ระบบบันทึกออนไลน์ SGS เพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มลู และประมวลผล โดยมีกระบวนการทบทวน
ประเมนิ ตรวจสอบเพอ่ื ให้มคี ุณภาพปลอดภยั และพร้อมใช้งานตลอดเวลา ดงั แผนภาพ
กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบ
รวบรวมขอ้ มลู
วเิ คราะหแ์ ละตรวจสอบข้อมูล ปรบั ปรงุ
จดั เก็บเปน็ สารสนเทศ
เผยแพรส่ ารสนเทศผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนิกส์
แผนภาพท่ี ๑ แสดงกระบวนการทบทวน ประเมิน ตรวจสอบเพื่อให้มีคณุ ภาพปลอดภยั และพร้อมใช้งานตลอดเวลา
หนา้ 29
3. จดุ เดน่
โรงเรียนมีการบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ ใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning
Community) และการประชุมที่หลากหลายวธิ ี เชน่ การประชมุ แบบมสี ่วนรว่ ม การประชุมระดมสมอง การประชมุ
กลุ่มทางไลน์ Meeting ZOOM ในสถานโรคไวรสั โคโรนา 2019 ระบาด เพ่อื ให้ทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วมในการกำหนด
วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย ทช่ี ัดเจน มีการปรบั แผนพัฒนา คณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ท่ี
สอดคลอ้ งกับผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษาท่ีมุ่งเน้นการ
พฒั นาให้ผู้เรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมี
คุณภาพ มกี ารดำเนินการนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผล การดำเนินงาน และจดั ทำรายงานผลการจดั การศึกษา มี
การใชก้ ระบวนวิจยั ในการรวบรวมขอ้ มูล เพ่ือใช้เป็นฐานในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา
4. จดุ ควรพัฒนา
1. ส่งเสรมิ สนับสนุนและเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและผทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ งไดม้ สี ว่ นรว่ มในการเสนอความคิดเหน็ ใน
การจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มากข้ึน
2. สง่ เสริมสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือของผ้มู ีส่วนเกี่ยวช้องในการจัดการศึกษา ของโรงเรยี นให้มีความ
เข้มแข็ง มีสว่ นรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา และการขบั เคล่ือน คุณภาพการจัดการศึกษาให้มากขึ้น
3. ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมระหวา่ งโรงเรยี นกับชมุ ชนให้ต่อเน่อื ง เพ่ือเปน็ การประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น ให้
ชุมชนไดท้ ราบผลการดำเนินงานดา้ นต่างๆของโรงเรยี นให้มากขน้ึ
4. สง่ เสรมิ การจัดหลักสูตรสถานศกึ ษาให้มคี วามหลากหลายยง่ิ ขน้ึ
หนา้ 30
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรียนรทู้ เี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม
ตารางท่ี ๓4 ผลการประเมินคุณภาพดา้ นกระบวนการดา้ นจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นสำคญั
มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี น ๗๓ ๗๗.๖๕ ดีเลศิ
เปน็ สำคัญ ๘๓ ๙๕.๕๖ ยอดเยย่ี ม
1)จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริงและสามารถ ๘๓ ๙๔.๒๒ ยอดเย่ียม
นำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้ ๘๓ ๙๒.๗๙ ยอดเยี่ยม
๗๓ ๗๖.๕๕ ดีเลิศ
2)ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีอื้อตอ่ การ
เรยี นรู้ ๘๗.๓๕ ยอดเย่ียม
3)มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
4)ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมา
พัฒนาผเู้ รยี น
5)มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลบั เพื่อปรบั ปรุง
และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้
สรปุ ผลการประเมนิ
1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนปลาปากวทิ ยาดำเนนิ การส่งเสรมิ ใหค้ รูทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้จดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็
สำคัญ โดยการดำเนินงาน/กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย เร่ิมจากการพฒั นาหลักสูตร มีการประชุมปฏิบตั ิการปรับปรุง
หลกั สตู รสถานศกึ ษาทุกปกี ารศึกษา และหลักสตู รบรู ณาการเชอ่ื มโยง มีการบูรณาการภาระงาน ชน้ิ งาน จัดทำหน่วย
บรู ณาการทฤษฎีของเศรษฐกิจพอเพยี ง นโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้” สหู่ ลกั สูตรสถานศกึ ษา ค่านยิ ม 12
ประการของคนไทย และสเต็มศกึ ษา (STEM) ส่กู ารเรยี นร้ดู ว้ ยโครงงานและการสร้างสรรค์นวัตกรรม ปรับโครงสรา้ ง
รายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ สดั สว่ นคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคท์ สี่ อดคล้องกับหนว่ ยการ
เรยี นรู้ มกี ารวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คล โดยนำข้อมูลและผลจากการวเิ คราะหม์ าออกแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย
และวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ใช้สือ่ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย และภมู ปิ ญั ญา
ท้องถิ่นมาบรู ณาการในการจัดการเรียนรู้ มีการวดั ประเมินผลที่เน้นการพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นอยา่ งต่อเน่ือง
ครผู ูส้ อนบริหารจัดการชั้นเรยี นโดยเน้นการการมปี ฏสิ ัมพนั ธเ์ ชิงบวกใหเ้ ดก็ รักครู ครูรักเด็ก และเดก็ รักเด็ก เดก็ รักท่จี ะ
เรียนรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างมีความสุข ให้ข้อมูลย้อนกลับไปยงั ผู้เรียน รวมท้งั ให้คำแนะนำ คำปรึกษาแก่ผเู้ รยี น
เป็นรายบคุ คลด้วยความเสมอภาค ส่งเสรมิ ใหค้ รูใชผ้ ลจากการประเมนิ ผู้เรยี นมาทำงานวจิ ัย/สร้างนวตั กรรม เพ่ือ
พฒั นาการจดั การเรียนรู้ในวชิ าที่ตนรบั ผดิ ชอบ จดั บุคลากรปฏบิ ัติหน้าทตี่ รงตามความรูป้ ระสบการณ์และความถนัด
และจดั การเรียนการสอนในวชิ าที่ไดร้ บั มอบหมายอย่างเต็มเวลาและความสามารถและวิชาเอก สนับสนุนให้ครูจดั การ
เรียนการสอนท่สี รา้ งโอกาสให้ผ้เู รียนทกุ คนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ จนสรปุ ความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จัดการเรยี น
การสอนทีเ่ น้นทกั ษะการคดิ มกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นรู้อย่างเป็นระบบมีขั้นตอนโดยใช้
เคร่อื งมือและวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทีเ่ หมาะสมกับเปา้ หมายในการจัดการเรยี นรู้ เช่น จดั การเรยี นรดู้ ้วยโครงงาน
/STEM ครูมอบหมายหนา้ ท่ีให้ผ้เู รยี นจัดปา้ ยนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ท้ังภายในห้องเรยี นและนอก
ห้องเรียน ครูใชส้ อ่ื การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ประเมินคณุ ภาพและประสิทธิภาพ
ของส่ือการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำงานวิจัยในชัน้ เรียน 1 เร่ือง ต่อ 1 ภาคเรียนหรือ สร้างนวตั กรรม 1 เร่ือง ต่อ 1 ภาค
หนา้ 31
เรียน มโี ครงการทส่ี ่งเสริมให้ครทู กุ กลุ่มสาระการเรียนรูพ้ ัฒนาศกั ยภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ นำความรู้และ
ประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน มกี ารส่งเสรมิ ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติบคุ ลากรครทู เี่ ป็น
แบบอย่างท่ีดีในการจดั การเรียนการสอน และพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ มสี วสั ดกิ าร สร้างขวญั และกำลงั ใจให้แก่ครูและ
บคุ ลากรแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณร์ วมท้ังใหข้ ้อมูลปอ้ นกลบั เพื่อนำไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนาการ
จัดการเรยี นรู้
2. ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนนิ งาน/โครงการ/กจิ กรรมท่ีหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้ครจู ัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็น
สำคญั โดยเน้นหลกั การดงั นี้
2.1 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริงได้
โรงเรยี นปลาปากวิทยาจดั การเรียนร้ใู ห้กบั ผู้เรียน โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ผ่านกระบวนการคิดและ
ปฏบิ ตั ิจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้
2.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรูท้ ีเ่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
โรงเรยี นปลาปากมกี ารจัดการเรียนร้ทู ่ีหลากหลาย โดยเนน้ การใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่ง
เรียนรู้ ทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรูข้ องนักเรียน มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Classroom เพื่อเป็นการส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี น
ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยที ่ีถูกตอ้ ง ทนั สมยั สะดวกและง่ายต่อการเรียนรู้ การใช้ระบบ SGS ระบบดแู ล
ช่วยเหลือนกั เรียนและเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน เพื่อให้นกั เรียนได้เขา้ ถึงสถิตแิ ละข้อมูลส่วนตวั ต่าง ๆ ของตนเอง การใช้
ห้องปฏิบัติการตา่ ง ๆ ท่ีตรงตามความต้องการของนกั เรยี น ครบครัน ปลอดภยั และเพียงพอต่อการเรียนรู้ รวมถงึ แหลง่
เรียนรู้อื่นๆ ทง้ั ภายในและนอกห้องเรยี น ทัง้ น้ีเพ่ือใหน้ กั เรยี นมปี ระสบการณ์การเรยี นรอู้ ยา่ งเตม็ รูปแบบ สามารถ
เรยี นรู้ได้ตามความต้องการและเต็มศักยภาพ
ตารางท่ี ๓๕ แสดงตารางแสดงร้อยละนักเรยี นท่ใี ช้ Google classroom 954
รอ้ ยละนักเรยี นทีใ่ ช้ Google classroom 81.36
จำนวนนักเรยี น (คน)
รอ้ ยละ
ตารางที่ ๓๖ แสดงสถิติการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายในและแหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น
ท่ี แหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียน สถติ กิ าร ท่ี แหล่งเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้
(วนั /ปี)
(ช่อื แหล่งเรยี นรู้) ใช้ (ชื่อแหลง่ เรียนรู้)
๔๘
(วนั /ปี) ๕๖
๓๙
1 ห้องสบื ค้นข้อมลู อนิ เทอรเ์ น็ต 2๘0 1 หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอปลาปาก ๙๖
๕๖
2 ห้องสมดุ มีชีวิต 2๕๗ 2 วดั ปา่ มหาชยั ๔๘
๕๗
3 หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา ๒๐0 3 สถานตี ำรวจภูธรปลาปาก ๕๖
4 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ ๒๓๕ 4 โรงพยาบาลปลาปาก
5 ห้องปฏิบัติการเคมี ๒๓0 5 วดั พระธาตุมหาชยั
6 ห้องปฏบิ ัติการชีววิทยา ๒๕๐ 6 สวนรกุ ขชาติวงั ปอพาน
7 หอ้ งปฏิบตั ิการฟสิ ิกส์ ๒๓๗ 7 วดั คณิศรธรรมกิ าราม
8 โรงฝึกงานคหกรรม ๒๔๙ ๘ วดั โฆสมงั คลาราม
หนา้ 32
ท่ี แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น สถิติการ ที่ แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้
(ชอ่ื แหลง่ เรียนรู้) ใช้ (ชือ่ แหล่งเรียนรู้) (วัน/ปี)
9 หอ้ งอตุ สาหกรรม (วัน/ป)ี ๙ ศาลหลกั เมืองปลาปาก ๓๐
10 แปลงเกษตร ๑๐ ตลาดสดเทศบาลตำบลปลาปาก ๕๔
๑๑ ห้องธนาคารโรงเรียน ๒๕๗ ๑๑ สำนกั งานเทศบาลตำบลปลาปาก ๔๑
๑๒ หอ้ ศลิ ปะ ๑๒ ที่วา่ การอำเภอปลาปาก ๔๓
๒๓๙
๒๖๕
๒๔๗
2.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก
โรงเรียนปลาปากวิทยาส่งเสริมใหค้ รแู ละบุคลากรจดั การเรียนรแู้ บบการสรา้ งวนิ ัยเชงิ บวก ซ่งึ เปน็ วิธี
จดั การกับพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของนักเรยี นอย่างสรา้ งสรรค์โดยไม่ใชว้ ธิ ีการลงโทษ เปน็ วธิ กี ารทสี่ อดคล้องกับ
ธรรมชาติการรบั ร้แู ละการเรียนรู้ของนักเรียน ทง้ั นีก้ ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นในเชิงบวกมีจดุ มุ่งหมายใหน้ ักเรียนรจู้ ัก
ควบคุมพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ของตวั เองมากกวา่ การโดนบังคบั เพื่อให้นักเรยี นเกิดการปรับพฤติกรรม ไปใน
แนวทางท่ดี ีข้ึนและมผี ลตอ่ เนื่องไปในอนาคต ดงั นน้ั เพ่อื ให้เป็นไปตามเป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ องการจัดการชน้ั
เรยี นเชงิ บวก โรงเรยี นปลาปากวิทยาจึงมีการนเิ ทศ ติดตามและตรวจสอบเก่ียวกับการจดั การเรียนรู้ ดงั ตาราง
ตารางที่ ๓๗ แสดงการนเิ ทศ ตดิ ตามและตรวจสอบการจดั การชั้นเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละคะแนนการประเมนิ ผลการนิเทศการจดั การเรียนรู้
ภาษาไทย 97
คณติ ศาสตร์ 98
วิทยาศาสตรฯ์ 95
สงั คมศึกษาฯ 92
ภาษาต่างประเทศ 94
สุขศึกษาและพละศึกษา 93
การงานอาชพี 92
ศลิ ปะ 90
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน 96
คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 94.11
ตารางที่ ๓๘ แสดงคะแนนการนิเทศ ติดตามและตรวจสอบการจดั การชัน้ เรยี น
ผลคะแนนจากการนิเทศ ติดตามและตรวจสอบ การจดั การชน้ั เรยี น (ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ)
จำนวนครู/บุคลากร คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 80 คะแนนรอ้ ยละ 80 - 90 คะแนนสูงกวา่ ร้อยละ 90
๕๗ - ๑๓ ๔๔
หมายเหตุ ไม่รวม ผอู้ ำนวยการโรงเรียนและรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน
2.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
โรงเรยี นปลาปากวิทยา ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น โดยการ
ประเมินตามบริบทของผเู้ รียนและธรรมชาตขิ องรายวชิ า ทเ่ี ปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้วี ดั อย่างถกู ต้อง ชดั เจน มี
หนา้ 33
ระบบการเก็บข้อมูลทีส่ ะดวกและปลอดภยั รวมถึงสามารถนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น ดว้ ยการทำ
วิจัยในชัน้ เรยี นหรือนวัตกรรมในทุกภาคเรียน
2.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้
โรงเรียนปลาปากวทิ ยาใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบ PLC สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ทงั้ ในประเภทของ
รายวชิ า ช้นั เรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้ และการบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพือ่ แลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละสามารถให้
ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือนำไปพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาผูเ้ รียนอย่างตอ่ เนื่อง
จากหลกั การดังกลา่ วส่งผลให้ครผู ้สู อนมีการปรับหลกั สูตรและจัดทำหลักสตู รบูรณาการ มีการจัดทำแผนการ
จัดการเรียนรู้ทีม่ เี ป้าหมายคือคณุ ภาพผูเ้ รยี นทั้งด้านความรู้ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะทีพ่ ึง
ประสงค์ ครูผสู้ อนมีการวเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบคุ คลเปน็ ระดบั เดก็ อ่อน ปานกลาง และเก่ง ทำใหค้ รูผสู้ อนสามารถ
ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความแตกต่างบุคคล มีการสอนเสรมิ ความรู้ใหผ้ เู้ รยี นกลุ่มปานกลางและ
กลุ่มเกง่ มกี ารสอนซ่อมเสริมผู้เรียนกล่มุ อ่อน มีการใช้ส่อื เทคโนโลยีที่และนำภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นมาบรู ณาการในการ
จัดการเรยี นรู้ในแตล่ ะวิชา มกี ารวดั ประเมนิ ผลจากสภาพความเป็นจรงิ ท่มี งุ่ เน้นพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธกี าร
หลากหลาย มกี ารใช้แบบทดสอบจากสำนกั งานเขตพนื้ ที่ กิจกรรมการอา่ นตามแนว PISA และข้อสอบ Pre O-NET
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ6 เพื่อวดั และประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ครูทุกคนยงั มงี านวจิ ัยในช้นั เรียนและนำ
ผลของงานวิจยั นัน้ ไปพัฒนาการเรยี นการสอน สรา้ งนวตั กรรม 1 ชิ้นตอ่ ภาคเรยี น ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอน
ของครูครอบคลมุ ทักษะกระบวนการเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ผู้เรียนลงมือปฏิบตั ิจรงิ ได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
จากหลายช่องทางอย่างตอ่ เน่ือง ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจดั การเรียนรูท้ กุ ห้องเรียน มีการจัด
บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ให้กับผ้เู รียนทัง้ ในและนอกห้องเรยี น ครูทกุ คนมีการแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้หรือ PLC อย่างสม่ำเสมอ มีการนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมนิ ผล สรุปรายงานประเมนิ ตนเองใหผ้ ูบ้ ริหาร
รบั ทราบและนำผลมาพัฒนาต่อไป
3. จดุ เดน่
ครูมคี วามต้ังใจ มุ่งม่นั ในการพฒั นาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้เรียนรโู้ ดยการคดิ ได้ปฏิบัตจิ รงิ มีการ
ใหว้ ิธกี ารและแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลายโดยการจดั หลักสตู รแบบบรู ณาการ ให้เห็นอย่างเด่นชัดในทุกกล่มุ สาระการ
เรยี นรู้ ให้ผ้เู รยี นแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนอื่ ง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ
สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และมีการนเิ ทศ ติดตามการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนจากฝา่ ยบริหารงาน
วิชาการ ครูทุกคนจัดการเรยี นรู้ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ โดยการปฏบิ ัติจริง มีการจัดการ
เรยี นการสอนโดยใชก้ ารวิจัยเปน็ ฐาน มีข้อมูลผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล ทุกคนมแี ผนการจัดการเรียนรู้ มีการวดั และ
ประเมนิ ผลผเู้ รยี นชัดเจน ตลอดปกี ารศกึ ษา รวมท้ังทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ไดม้ ีการจัดเวทีให้ครู และผู้เรียนอภิปราย
และแลกเปล่ยี นการเรียนรู้ตามรปู แบบ PLC อย่างนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 2 ครั้ง
4. จดุ ที่ควรพฒั นา
ครูทกุ คนควรไดร้ ับการสง่ เสริมเก่ยี วกับการอบรมการพัฒนาศักยภาพด้านการทำงานวจิ ยั และการสร้างสรรค์
นวัตกรรมใหม้ ากข้นึ เพื่อพฒั นาคุณภาพด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หลักสตู ร การเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั หลักสูตรบูรณา
การเช่อื มโยงท่สี ามารถใช้ได้จริง ใหเ้ หน็ เดน่ ชัดในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ นอกจากนีค้ วรพฒั นากระบวนการเรียนรใู้ ห้
นกั เรียนรู้จักประยุกตใ์ ช้ส่อื เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เกดิ ประโยชนต์ อ่ การแสวงหาความรู้
ยกระดับผลสัมฤทธข์ิ องนกั เรียนโดยสรา้ งสิง่ แวดลอ้ มทีด่ ีเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักถงึ ความสำคัญของกระบวนการ
เรยี นรู้ ให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่นักเรยี นและผูป้ กครองอย่างสมำ่ เสมอเพ่ือในการนำไปพัฒนาตนเองต่อไป
หนา้ 34
สรปุ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม
1. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอยู่ในระดับ : ยอดเยีย่ ม
จากผลการดำเนนิ งาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ สง่ ผลให้สถานศึกษาจดั การ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ประสบผลสำเรจ็ ตามทีต่ ัง้ เป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปวา่ อยูใ่ นระดบั ดเี ย่ียม ท้งั น้เี พราะ
มาตรฐานท่ี 1 ผลการจดั การศกึ ษา อยู่ในระดับยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การศึกษา อยู่
ในระดับยอดเยี่ยม และมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั อย่ใู นระดับยอดเยยี่
2. หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารอย่างเป็นระบบ 4 ฝ่าย โดยใช้รปู แบบ “PLA PAK Model” และน้อมนำศาสตร์
พระราชา “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา”นำมาพฒั นาโรงเรยี น ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น ด้านการบริหารจัดการศึกษาและดา้ น
กระบวนการจดั การเรยี นและการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ (Active Learning) ท้งั องค์กรอย่างรอบด้าน ทำงานเป็น
ทีม (Teamwork) รว่ มกันกำหนดวสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย อัตลกั ษณ์ และเอกลกั ษณข์ องโรงเรียนอยา่ งชัดเจน
เพอื่ ใหก้ ระบวนการพฒั นาบคุ ลากรใหท้ ำงานด้วยกนั เพื่อใหเ้ รยี นร้แู นวทางในการบรรลุเป้าหมายตามศักยภาพแตล่ ะ
บคุ คลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผลพร้อมทงั้ สามารถบรรลเุ ป้าหมายขององค์กรดว้ ยกนั โดยมีเปา้ หมาย
ทิศทางเดยี วกันมสี ่วนร่วมในการวางแผนรว่ มกันประชมุ ช้แี จง แบง่ งาน มคี ำสงั่ มอบหมาย มกี ารตดิ ต่อสอื่ สารมกี าร
พึ่งพาอาศัยกนั ให้ความร่วมมือกนั ในการทำงานและมมี นุษยสมั พันธท์ ดี่ ี โดยการเปน็ ท้งั ผู้นำและผูต้ ามท่ีดี ในการ
ดำเนินการตามโครงการ/กจิ กรรม ทสี่ อดคล้องกบั แผนพฒั นาการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี มีการนิเทศ
กำกบั ตดิ ตาม รายงานผล และนำผลมาเป็นฐานในการพฒั นาตามคุณภาพมาตรฐานของโรงเรยี นท่เี น้นคุณภาพผู้เรียน
อยา่ งรอบด้าน โดยมกี ารปรับปรงุ พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทและพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นไปตาม
มาตรฐานคุณภาพผูเ้ รียน มกี ารพัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญในวชิ าชพี โครงการพฒั นาครูรปู แบบครบ
วงจร (PLC) มกี ารยกยอ่ งและสร้างขวญั กำลงั ใจ จดั สภาพแวดล้อมทนี่ ่าอยู่ น่าดู นา่ เรยี น และปลอดภยั เอื้อต่อการ
เรียนรู้และมีการใชร้ ะบบสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองจัดระบวนการ
พฒั นาผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ ีทีห่ ลากหลายจดั รายวชิ าเพิ่มเติมท่สี ง่ เสรมิ อาชพี เพ่ือการมีงานทำ 1 โรงเรียน 1 อาชีพ บูรณา
การโครงงาน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามศักยภาพของผเู้ รียน และเปน็ ไปตาม
มาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตร มีการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนโดยเนน้ ให้ผู้เรียนมสี ่วนรว่ ม
และจัดการเรียนการสอนโดยผู้เรยี นเป็นสำคญั (Active leaning) มีการจดั การเรียนร้ทู ั้งรูปแบบโครงงานสกู่ ารทำ
นวตั กรรมแบบการสอนร่วมกัน (Integration) สเต็มศึกษา (STEM) แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบใช้กระบวนการคิด
พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเทคนิควิธสี อนใหต้ รงตามศักยภาพผู้เรยี น ใช้ส่อื เทคโนโลยใี นการจัดการ
เรยี นการสอน มแี หลง่ เรยี นรู้และแหลง่ สืบคน้ ข้อมูลท่หี ลากหลาย เรง่ พัฒนาเพ่ือใหน้ กั เรียนพดู และใชส้ อ่ื สารไดจ้ าก
เจ้าของภาษามหี ้องปฏิบตั ิการต่าง ๆ และมีการสะท้อนผลงานในแต่ละปีด้วยโครงการเปิดบ้านวชิ าการ
(OPEN HOUSE) ครู นักเรียน ผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชน หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องแลกเปล่ียนเรยี นรู้
เผยแพรผ่ ลงานสสู่ าธารณชน
การสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญโดยการดำเนินงาน/กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย
การพัฒนาหลกั สตู รปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง สู่การเรยี นรู้ดว้ ยโครงงานปรบั โครงสร้างรายวิชา
หนว่ ยการเรยี นรู้ สดั สว่ นคะแนนแตล่ ะหนว่ ยกำหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ที่สอดคล้องกบั หนว่ ยการเรียนรู้ มีการ
วิเคราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คล โดยนำขอ้ มูลและผลจากการวิเคราะห์มาออกแบบการเรียนรทู้ ี่หลากหลายและวางแผนการ
จัดการเรียนรูท้ ีต่ อบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ใช้สื่อเทคโนโลยที ีท่ นั สมัย และภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาบรู ณาการ
ในการจัดการเรียนรู้ มีการวัดประเมินผลท่ีเน้นการพัฒนาการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เน่ือง ให้ข้อมูลย้อนกลบั ไปยัง
หนา้ 35
ผ้เู รยี นรวมทง้ั ให้คำแนะนำ คำปรึกษาแกน่ ักเรียนเปน็ รายบุคคลดว้ ยความเสมอภาคส่งเสริมใหค้ รใู ช้ผลจากการประเมิน
ผเู้ รียน ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมนิ งานและโครงการต่างๆ มาทำงานวิจัยเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ผูเ้ รียน ตนเองและโรงเรียนต่อไป
หนา้ 36
สว่ นที่ 3
การประเมินความโดดเด่น (ถา้ มี)
สถานศึกษาแจ้งความจำนง ผ่านตน้ สังกดั ให้ความเห็นชอบ หรือสถานศึกษาไม่แจ้งความจำนง แต่เปน็ ข้อมลู
จากการค้นพบของผ้ปู ระเมิน
มติ ิคุณภาพทีส่ ถานศึกษาเสนอขอรับการประเมิน หรือจากการค้นพบของผูป้ ระเมินดงั นี้
1.ดา้ นวิชาการควบคู่คุณธรรม
๑) โรงเรียนปลาปากวทิ ยาได้รับรางวัล “คณุ ธรรมชัน้ นำร่นุ ๗”
2) นางสาวสจุ นิ ดา สีแก้ว ไดร้ บั รางวลั ดีมากด้านการจดั การเรยี นรู้เพ่ือส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดี
ตามรอยพระยุคลบาท จากการประกวดโครงการความเป็นเลศิ ในการจัดการศึกษาของขา้ ราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาในพ้ืนทคี่ วามรับผิดชอบของสำนักงานศึหษาธิการภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๓) นางมริ นั ตี เหลา่ เกดิ ได้รับรางวลั ดีเย่ียม ดา้ นการจดั การศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา
ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 จากการประกวดโครงการความเปน็ เลิศในการจดั
การศกึ ษาของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในพื้นทค่ี วามรับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 11
(REO11 MOE AWARDS)
๔) นางสาวอรนุช ชนื่ ตา ไดร้ ับรางวลั ดีเยยี่ ม ด้านการจดั การศึกษาเพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
ในสถานการณ์ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จากการประกวดโครงการความเป็นเลศิ
ในการจดั การศึกษา ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการ
ภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๕) นางสาวอุมาพร เมืองโคตร ได้รับรางวลั ดีเยยี่ ม ดา้ นการจัดการศึกษาเพอ่ื ยกระดับ
คณุ ภาพการศึกษา ในสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 จากการประกวดโครงการ
ความเปน็ เลศิ ในการจัดการศึกษาของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพืน้ ที่ความรับผิดชอบของ
สำนกั งานศึกษาธกิ าร ภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๖) นางสาวประภาพร พรมพินจิ ไดร้ บั รางวัลดมี าก ด้านการจดั การเรียนรเู้ พ่ือความ
ปลอดภยั ของผูเ้ รียนจากการประกวดโครงการความเป็นเลศิ ในการจดั การศกึ ษาของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา
รศึกษาในพนื้ ท่ี ความรับผดิ ชอบของสำนักงานศึกษาธกิ ารภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๗) นางกลุ ชา กอ้ นใจจติ ร ได้รบั รางวลั ดีเย่ยี ม ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือยกระดบั คุณภาพ
การศึกษา ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จากการประกวดโครงการความเป็นเลิศ
ในการจดั การศึกษาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในพน้ื ทีค่ วามรบั ผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการ
ภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๘) นายปราโมทย์ โลหติ ได้รบั รางวลั ดีเยย่ี ม ด้านการจัดการเรียนรู้ด้านอืน่ ๆท่ีเปน็ เลศิ
จากการประกวด โครงการความเป็นเลศิ ในการจัดการศึกษาของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ในพนื้ ที่ความรบั ผิดชอบของสำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
๙) นางวิมลรตั น์ พลโลก ไดร้ ับรางวลั ดีมาก ดา้ นการจดั การเรยี นรดู้ ้านอื่น ๆ ที่เปน็ เลศิ
จากการประกวด โครงการความเปน็ เลศิ ในการจดั การศึกษาของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ในพ้นื ท่ีความรบั ผิดชอบของสำนักงานศึกษาธิการภาค 11 (REO11 MOE AWARDS)
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 37
2.ดา้ นการใช้ภาษาและสอื่ สารของผ้เู รียน
โรงเรยี นปลาปากวิทยาเปดิ สอนในหลกั สตู ร EIS ใช้ภาษาองั กฤษเปน็ ส่ือกลางในการสอนรายวชิ า
ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ และโรงเรียนปลาปากวิทยาเปดิ สอนในหลกั สตู รเน้นภาษาจนี และ
ภาษาอังกฤษ
3.ดา้ นทักษะเฉพาะทางที่สำคญั
โรงเรียนปลาปากวิทยามีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรระยะสั้น การจัดการเรียนการสอนใน
รูปแบบ STEM สง่ ผลให้ไดร้ บั รางวัลต่างๆ ดงั น้ี
๑) นายปราโมทย์ โลหิต ได้รับรางวัลเหรียญทอง จากการประกวดสิ่งประดิษฐ์ระดับเยาวชน
ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
ระหว่างวันที่ 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๒) นางมริ ันตี เหล่าเกิด ได้รับรางวัลเหรยี ญทองจากการประกวดส่งิ ประดิษฐร์ ะดับเยาวชน
ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
ระหวา่ งวันที่ 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๓) นายอนเุ ชษฐ์ แสนเมืองปัน ไดร้ บั รางวัลเหรียญทองจากการประกวดสงิ่ ประดิษฐ์
ระดับเยาวชน ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวันท่ี 2-6 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๔) นางสาวธญั ญาภรณ์ พยอม ได้รับรางวลั เหรียญทองจากการประกวดส่ิงประดษิ ฐ์
ระดับเยาวชน ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
กรุงเทพมหานคร ระหวา่ งวันที่ 2-6 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๕) นายสทิ ธิชยั ยางธสิ าร ได้รบั รางวัลเหรียญเงินจากการประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์ระดับเยาวชน
ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
ระหว่างวนั ท่ี 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๖) นางสาวอรนุช ชน่ื ตา ไดร้ บั รางวลั เหรียญเงนิ จากการประกวดสิง่ ประดษิ ฐร์ ะดับเยาวชน
ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
ระหวา่ งวนั ท่ี 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
๗) นางสาวนาฏยา ไล้สีดา ไดร้ ับรางวลั เหรยี ญเงินจากการประกวดสงิ่ ประดษิ ฐ์
ระดับเยาวชน ในโครงการ Thailand New Gen 2021 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวนั ท่ี 2-6 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
4.ดา้ นบรหิ ารจดั การศกึ ษา
จากการบริหารจดั การศึกษาสถานศกึ ษา ส่งผลใหโ้ รงเรยี นปลาปากวิทยาได้รับรางวัลตา่ งๆ ดังน้ี
1) โรงเรียนปลาปากวทิ ยา ได้รับรางวลั “สถานศกึ ษาปลอดภยั ” ดีเด่น ประจำปี 2564
ปที ่ี 3 ติดต่อกัน
2) โรงเรียนปลาปากวทิ ยาไดร้ างวลั พระพฤหสั บดี ประเภทสถานศกึ ษา
3) โรงเรยี นปลาปากวทิ ยา ได้รับรางวลั “หนึ่งโรงเรยี น หนึง่ นวตั กรรม”ประจำปี 2564
ระดับประเทศ
4) โรงเรียนปลาปากวิทยาไดร้ ับรางวลั โรงเรยี นดีเด่น ด้านการส่งเสริมการจดั การเรยี นรู้
เพศวถิ ีศกึ ษาและทักษะชวี ิต ประจำปี 2564
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 38
5) นายวินยั เป่ียมลาภโชตกิ ลุ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นปลาปากวทิ ยา ไดร้ ับคัดเลอื กให้เป็น
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาดเี ด่น
6) นายพพิ ฒั น์ โพธแ์ิ ก้ว รางวลั รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาดีเด่น
7) นายสมหมาย เพยี สา รางวัลครผู ูส้ อนดเี ด่น กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานพืน้ ฐานอาชพี
8) นางสาวนาฏยา ไลส้ ดี า รางวัลครูผู้สอนดีเด่น
กล่มุ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม
9) นายวชั รนิ ทร์ สุพร รางวลั ครผู สู้ อนดเี ดน่ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
10) นางสาวประภาพร พรมนนิ จิ รางวัลครูผสู้ อนดเี ด่นกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
11) นางสาวเขมณัฏฐ์ โสภณกลุ วนชิ ย์ รางวัลครผู สู้ อนดีเดน่ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
12) นายธยา เหลา่ กกโพธิ์ รางวัลครผู ู้สอนดีเด่นกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
13) นางสาวรัตนา คุม้ นายอ รางวลั ครผู ู้สอนดเี ด่นกลุม่ สาระสขุ ศึกษาและพลศึกษา
5.ด้านอื่นๆ ตามทส่ี ถานศึกษาประกาศเป็นเอกลกั ษณ์
-
ขอ้ คน้ พบจาก SAR
โปรดระบหุ ลกั ฐาน/ผลการดำเนินงานกิจกรรม โครงการทีเ่ กยี่ วข้องและผลลัพธท์ ่ีเกดิ ขึ้นกับสถานศึกษา(ท้ังนี้
กรณีท่ีได้รบั รางวัลให้ระบุข้อค้นพบท่แี สดงถงึ การบรรลผุ ลลัพธ์ทต่ี ้องการของสถานศึกษา หน่วยงานที่มอบรางวัล และ
ระบปุ ีท่ีไดร้ ับรางวลั โดยต้องไมเ่ กิน 2 ปยี อ้ นหลัง)
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 39
สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื
ผลการประเมินตนเองของโรงเรยี นปลาปากวทิ ยา ถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่โรงเรียนจะตอ้ ง
นำไปวเิ คราะห์ สงั เคราะหเ์ พ่ือสรุปนำไปส่กู ารเชอื่ มโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จ กบั แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี นและนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรียน ดงั นนั้ จากผลการดำเนนิ งานของ
สถานศึกษา สามารถสรปุ ผล การประเมนิ ในภาพรวมของจุดเด่น จดุ ควรพัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมทงั้ แนว
ทางการพฒั นา ดงั นี้
จุดเด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา
มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคุณภาพผู้เรียน
ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น
1. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี 1. พฒั นาความสามารถในการอา่ น การเขียน การ
วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ สอื่ สารและการคิดคำนวณของผเู้ รยี นใหส้ งู ขึน้
แก้ปญั หา 2. พฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู้ รยี นให้สูงขึน้
2.ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทุกรายวิชาและเพิ่มคะแนน O-NET ให้สงู ขน้ึ มากกว่าปี
และการส่ือสาร ทผี่ ่านมาและคะแนนคา่ เฉลย่ี ระดบั ประเทศ
3. ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
4. ผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ีดีต่องาน
อาชีพ
คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน
1.ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ีดตี ามทีส่ ถานศึกษา จัดกิจกรรมการเรยี นรู้หรอื กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรท่ี
กำหนด ส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ลักษณะของผู้เรยี นดา้ นระเบียบ
2. ผู้เรยี นมีความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย วนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ ความม่งุ มัน่ ในการทำงาน และจิต
3. ผู้เรียนยอมรบั ท่จี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและ สาธารณะ
หลากหลาย
4. ผเู้ รยี นมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คมในระดับ
ยอดเยีย่ ม
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 40
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. โรงเรียนมเี ป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกิจทกี่ ำหนด 1. สง่ เสริมใหผ้ ู้ปกครองและผู้เรยี นมีส่วนร่วมใน
ชัดเจน กระบวนการจดั การสถานศึกษามากขึ้น
2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 2. ส่งเสรมิ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั ผ้มู สี ว่ น เก่ยี วขอ้ ง
3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผ้เู รียนรอบ ในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นให้มี ความเข้มแขง็ มี
ดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทุกกลุ่มเปา้ หมาย ส่วนรว่ มรับผิดชอบตอ่ ผล การจดั การศกึ ษา และการ
4. พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทาง ขับเคลอื่ นคณุ ภาพ การจัดการศกึ ษา มากขึ้น
วชิ าชีพ 3. สง่ เสริมการเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ข้อมลู ข่าวสาร
5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ตอ่ สารสนเทศของโรงเรียนอยา่ งต่อเนื่องและใน
การจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ ช่องทางท่หี ลากหลาย
6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการ 4. ส่งเสริมการจัดหลักสตู รสถานศึกษาทีส่ นองต่อความ
บรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ ตอ้ งการและศักยภาพของผู้เรียนอย่างหลากหลาย
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนรทู้ เี่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
1. จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และ 1. สง่ เสริมใหค้ รแู ละบุคลากรจัดทำการวจิ ยั ในชน้ั เรียน
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ และนวตั กรรมเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นให้สามารถเรยี นรไู้ ด้
2. ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเอ้ือ เต็มศกั ยภาพมากยิง่ ขึน้
ตอ่ การเรียนรู้ 2. สง่ เสริมการเปิดโอกาสให้นักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการ
3. มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก เพือ่ ใหน้ ักเรยี น ออกแบบการจดั การเรียนรูเ้ พ่อื ให้ตรงกับรปู แบบการ
รสู้ ึกปลอดภัยและตอ้ งการเรยี นรู้ เรยี นรแู้ ละตอบสนองความต้องการของผเู้ รยี นแต่ละ
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบและนำ ห้องแตล่ ะช้นั ได้อย่างแท้จริง
ผลมาพัฒนาผู้เรียน
5. มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั เพอ่ื
ปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้
แนวทางการพฒั นาในอนาคต
1. ส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ เ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญอยา่ งแท้จรงิ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมสี ว่ นใน
การออกแบบการจดั การเรยี นรูท้ ัง้ ในและนอกห้องเรยี น
2. จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่สี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนไดพ้ ัฒนาตนเองจนสามารถสร้างนวตั กรรมได้
3. ส่งเสริมให้ครูและบคุ ลากร การจดั ทำวจิ ัยในช้ันเรยี นและนวตั กรรมเพ่อื พัฒนาผเู้ รียนให้สามารถเรียนรูไ้ ด้
เต็มศักยภาพ
4. สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนทงั้ ภาครัฐและเอกชนมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ
1. พัฒนาครผู ้สู อนเกย่ี วกับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การทำวิจัยและการสร้างสรรค์นวัตกรรมท่ีสอดคล้อง
กับการพฒั นาผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21
2. พฒั นาครูผสู้ อนเกย่ี วกับการวัดผลประเมินผล และการสร้างข้อสอบหรอื เคร่ืองมือในการวดั ผลประเมินผล
ที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ตามแนวทางของการประเมินผล O-NET , PISA
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 41
สว่ นท่ี ๔
ภาคผนวก
1. สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปีการศึกษา ๒๕๖4
ตารางท่ี ๓๙ แสดงสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานปีการศึกษา 2564
มาตรฐาน ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ยอดเยี่ยม
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน
1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคดิ คำนวณ ดเี ลิศ
2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี น ยอดเยี่ยม
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา
3. มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเยี่ยม
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ยอดเยี่ยม
5. มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ดเี ลิศ
6. มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ ยอดเยยี่ ม
1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น
1. การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ยอดเยี่ยม
2. ความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย ยอดเยย่ี ม
3. การยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม
4. สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม
2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทศั น์ และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยย่ี ม
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ ยอดเยย่ี ม
ทุกกลุม่ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยย่ี ม
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ยอดเยย่ี ม
3.1 จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ดีเลิศ
ได้
3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก ยอดเย่ยี ม
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น ยอดเยยี่ ม
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู ป้อนกลับเพอื่ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการ ดีเลิศ
เรยี นรู้
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 42
2. สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษานครพนม ได้กำหนดทศิ ทางองคก์ ารไว้ ดังนี้
วสิ ัยทัศน์ (Vision)
"องค์กรบริหารจดั การท่ีมีสมรรถนะสงู มุง่ สง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั การศกึ ษาให้มีคุณภาพ
สมู่ าตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย"
พนั ธกิจ (Mission)
1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นา ผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน เปน็ ผูเ้ รยี นร้ตู ลอดชีวติ และมี
ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับประเทศ
2.เสรมิ สร้าง ศกั ยภาพผ้เู รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มโี อกาสและเข้าถงึ บริการทาง
การศกึ ษาอยา่ งเทา่ เทยี มและเปน็ ธรรม
3. ส่งเสรมิ สนับสนนุ พฒั นา ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ตรงตามสมรรถนะและ
ปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
4. จดั การศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สร้างความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษาด้วยหลักธรรมาภิบาลจากการมีส่วนรว่ มของทุกภาค
ส่วน โดยใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลทท่ี นั สมัยและมีความเชอ่ื มโยงทุกระดับ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issues)
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพ และเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
ระดบั ประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างโอกาส ลดความเหลื่อมล้ำ และปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม
คุณลกั ษณะพึงประสงค์ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การสง่ เสรมิ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคง และการพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มติ ร
กบั ส่ิงแวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพฒั นาและสรา้ งความเปน็ เลิศในการบริหารจดั การองค์กร ตามหลกั
ธรรมาภิบาลและการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน
เป้าประสงค์ (Goals)
1. ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานและ/หรือมาตรฐานสากล active learning
2. ผเู้ รียนเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ และเป็นเลิศทางวิชาการ ดว้ ยการจัดการเรยี นรู้แบบ
3. ผูเ้ รียนได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งครอบคลมุ เสมอภาค เปน็ คนดแี ละมีความสขุ ในสงั คม
4. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี มจี ิตวิญญาณของความเปน็ ครู
และเป็นมืออาชีพ
5. สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สถานศกึ ษา ส่งเสริม สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คง
เปน็ แหลง่ เรียนรทู้ ท่ี ันสมยั และเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหมดการบริหาร
จัดการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างเข้มแข็ง ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ
การศกึ ษามปี ระสทิ ธภิ าพและเชอ่ื มโยงทุกระดบั
7. บริหารจัดการโดยใช้รปู แบบ “NKP Education 4.0 Model”
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 43
จุดเนน้
1. ด้านคณุ ภาพผู้เรียน คือ มผี ลสมั ฤทธทิ์ างกาเรียนทีส่ งู ขึ้น มีวนิ ยั พอเพียง สจุ รติ และจติ อาสา
2. ด้านสวัสดภิ าพผู้เรยี น คือ ผูเ้ รียนมพี ืน้ ท่ีปลอดภัยในการดำเนนิ ชีวิต
3. ด้านทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 คือ ทักษะการเรียนรแู้ ละโรงเรยี นแห่งนวตั กรรม
ทกั ษะสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี ทักษะชวี ิตและทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำ
4. ดา้ นสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
5. ด้านหลักธรรมาภิบาล คือ องค์กรคุณธรรม เขตและโรงเรียนสจุ ริต
6. ดา้ นการประกนั คุณภาพสถานศกึ ษา โรงเรยี นมธั ยมดสี ีม่ มุ เมอื ง โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
ค่านิยมหลกั องค์กร (Core Values Organization)
F-U-N = คนสำราญ งานสำเร็จ Forward thinking = หัวก้าวหนา้ รักการเรยี นรู้
Unity = อย่อู ยา่ งสามคั คี มคี วามเปน็ หนึง่ ประสานความรว่ มมอื
Noble mind = พงึ มีคุณธรรม นำจติ ใจ
เครื่องมอื ขบั เคลอ่ื นนโยบายและนำแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม โดยนายศักดา ชัยภัย ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษานครพนมพร้อมคณะมีความมงุ่ มน่ั ท่จี ะพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในองค์การ เพื่อยกระดับ
การบริหารจัดการและคุณภาพการศึกษา โดยนำแนวคิดและเครื่องมือ "การบริหารจัดการภาครัฐ" หรือ PMQA
(Public Sector Management Quality Award) มาประยุกต์ใช้ในรูปแบบ “NKP Education 4.0 Model” เพ่ือ
ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื หลักในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของหนว่ ยงานในสงั กดั
วตั ถปุ ระสงค์ การกำหนด “NKP Education 4.0 Model”
(1) เพ่อื ใหส้ ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษานครพนมและสถานศึกษาในสังกดั ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือใน
การถ่ายทอดนโยบาย วสิ ัยทัศน กลยทุ ธ์ด้านการศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม
(2) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือการสื่อสาร สร้างความเข้าใจ ความมั่นใจให้แก่บุคลากรในกระบวนการของการ
บริหารและการจดั การศกึ ษา ขบั เคลอ่ื นกลยุทธใหม้ ีความสอดคลองไปในทิศทางเดยี วกัน
(3) เพือ่ ให้หนว่ ยงานในองค์การได้ส่งมอบคุณค่าทีด่ ีทั้งผลผลิตและบริการด้านการศึกษาให้แก่ผู้เรียน และ
ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ดา้ นการศึกษา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 44
3. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๗
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 45
4. ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา
ตารางท่ี ๔๐ แสดงค่าเฉลีย่ ระดับผลการเรยี น ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชัน้ ม.1 - ม.6
กลุม่ สาะ ไทย คณติ ฯ วทิ ยฯ สังคมฯ สขุ ศกึ ษา ศลิ ปะ การงานฯ ตา่ ง เฉลี่ย
ฯ ฯ ประเทศ
59.61
ชน้ั ม. 1 54.20 60.81 59.43 59.61 72.89 54.31 70.13 42.19 68.44
62.78 73.15
ชน้ั ม. 2 68.00 59.19 67.72 63.29 78.64 95.17 68.95 68.05 74.48
61.43 73.95
ชน้ั ม. 3 55.60 62.33 68.88 79.13 73.35 84.66 89.93 57.24 82.55
71.72
ชัน้ ม. 4 70.20 67.38 76.34 87.70 88.25 76.15 72.90 72.03
60.57
ชน้ั ม. 5 73.75 73.61 72.79 77.44 91.90 89.02 76.47
ช้นั ม. 6 82.40 76.58 73.76 88.31 93.52 98.53 100.00
เฉลย่ี 67.36 66.65 69.82 75.91 83.09 82.97 79.73
4.1. ผลการจัดการเรียนรูต้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
1.1.1 คา่ เฉลีย่ ระดบั ผลการเรียน ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนปลาปากวทิ ยา
กล่มุ สาะฯ ไทย คณติ ฯ วิทยฯ สงั คมฯ สขุ ศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ต่างประเทศ เฉล่ีย
ชั้น ม. 1 2.13 2.75 2.88 3.21 3.25 2.56 3.37 2.83 2.87
2.44 3.53
ชั้น ม. 2 2.65 2.76 2.98 2.85 3.06 3.08 3.12 2.85 2.93
ชนั้ ม. 3 2.45 2.56 3.05 2.92 3.28 3.04 3.31 2.6 3.18
ชน้ั ม. 4 3.06 2.64 3.13 3.24 3.58 3.32 3.85 3.11 3
ชน้ั ม. 5 3.51 2.63 3.16 3.24 3.91 3.64 3.96 2.87 3.35
ชัน้ ม. 6 3.19 3.52 2.78 3.45 3.57 3.45 3.94 2.78 3.22
เฉลยี่ 2.83 2.81 3 3.15 3.44 3.18 3.59
1.1.2 คา่ ร้อยละระดบั ผลการเรยี น ปกี ารศกึ ษา 256๔ โรงเรยี นปลาปากวทิ ยา
กลุม่ สาระการ ไทย คณติ วทิ ย์ สังคมฯ สขุ ฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาต่าง เฉลยี่
เรยี นรู้ ประเทศ
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 53.35 68.84 71.95 80.29 81.15 64.11 84.19 70.87 72.97
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 66.16 68.88 74.48 71.35 76.57 77.11 78.03 61.04 71.55
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 61.27 64.12 76.34 73.02 81.89 76.02 82.71 71.19 73.50
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 76.46 66.04 78.14 81.09 89.52 82.95 96.17 65.02 76.51
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 87.68 65.74 78.91 81.11 97.86 90.93 98.90 77.77 81.83
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 79.85 88.07 69.42 86.14 89.35 86.13 98.42 71.67 81.05
เฉลย่ี 70.80 70.28 74.87 78.83 86.06 79.54 89.74 69.59 76.23
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 46
1.2 การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ปีการศกึ ษา 2564
ระดับชน้ั รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ พอใช้ ซอื่ สตั ย์ พอใช้ มีวนิ ยั ดเี ยย่ี ม
พอใช้ ดี ดเี ยี่ยม ดี ดีเย่ียม ดี
ม.1 42 943 6,272 42 943 6,272 42 943 6,272
ม.2 127 733 7,230 127 733 7,230 127 733 7,230
ม.3 130 556 4,905 130 556 4,905 130 556 4,905
ม.4 10 57 4,513 10 57 4,513 10 57 4,513
ม.5 1 18 4,115 1 18 4,115 1 18 4,115
ม.6 13 112 2,931 13 112 2,931 13 112 2,931
รวม 323 2,419 29,966 323 2,419 29,966 323 2,419 29,966
รอ้ ยละ 0.99 7.40 91.62 0.99 7.40 91.62 0.99 7.40 91.62
รวม 32,708 32,708 32,708
ระดับชนั้ ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
ม.1 พอใช้ ดี ดีเยยี่ ม พอใช้ ดี ดีเยย่ี ม พอใช้ ดี ดเี ยีย่ ม
ม.2
ม.3 42 943 6,272 42 943 6,272 42 943 6,272
ม.4
ม.5 127 733 7,230 127 733 7,230 127 733 7,230
ม.6
รวม 130 556 4,905 130 556 4,905 130 556 4,905
รอ้ ยละ
10 57 4,513 10 57 4,513 10 57 4,513
รวม
1 18 4,115 1 18 4,115 1 18 4,115
13 112 2,931 13 112 2,931 13 112 2,931
323 2,419 29,966 323 2,419 29,966 323 2,419 29,966
0.99 7.40 91.62 0.99 7.40 91.62 0.99 7.40 91.62
32,708 32,708 32,708
ระดับช้ัน รักความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ
ม.1 พอใช้ ดี ดเี ยีย่ ม พอใช้ ดี ดเี ยยี่ ม
ม.2
ม.3 42 943 6,272 42 943 6,272
ม.4
ม.5 127 733 7,230 127 733 7,230
ม.6
รวม 130 556 4,905 130 556 4,905
ร้อยละ
10 57 4,513 10 57 4,513
รวม
1 18 4,115 1 18 4,115
13 112 2,931 13 112 2,931
323 2,419 29,966 323 2,419 29,966
0.99 7.40 91.62 0.99 7.40 91.62
32,708 32,708
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 47
1.3 ร้อยละผลการอา่ น คิดวเิ คราะห์ เขียน ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนปลาปากวทิ ยา เฉลี่ย
ผลการประเมินการอ่าน การคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน 68.94
ระดับชน้ั ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
รอ้ ยละ 67.77 63.50 60.09 71.32 68.61 82.37
1.4 ข้อมูลโภชนาการนักเรียนโรงเรยี นปลาปากวทิ ยา ดชั นีมวลกาย (BMI) เกินเกณฑ์ รอ้ ยละ
จำนวน ปกติ ร้อยละ 10 4.52
ระดบั ช้นั นักเรยี น
186 84.16 16 7.55
ทง้ั หมด ต่ำกวา่ เกณฑ์ ร้อยละ 181 85.38 13 5.96
189 86.69 7 5.26
ม.1 221 25 11.31 112 84.21 9 7.03
111 86.72 4 3.77
ม.2 212 15 7.08 97 91.51 59 5.79
876 86.05
ม.3 218 16 7.34
ม.4 133 14 10.53
ม.5 128 8 6.25
ม. 6 106 5 4.72
รวม 1,018 83 8.15
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม
หนา้ 48
5. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
5.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3
ตารางท่ี ๔๑ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน(O - NET) ปีการศึกษา 2564 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3
ท่ี รายวิชา จำนวนคน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลีย่
1 ภาษาไทย 98 ของโรงเรียน ระดับจังหวัด สังกัด สพฐ. ระดับประเทศ
2 สงั คมศึกษาฯ
3 ภาษาอังกฤษ 98 46.95 46.12 52.13 51.19
4 คณติ ศาสตร์ 98
5 วทิ ยาศาสตร์ 98 26.66 27.67 30.79 31.11
20.08 21.5 24.75 24.47
30.33 29.57 31.67 31.45
5.2 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ตารางที่ ๔๒ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2564 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
ที่ รายวิชา จำนวนคน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลยี่
1 ภาษาไทย 91 ของโรงเรียน ระดับจงั หวัด สังกัด สพฐ. ระดับประเทศ
2 สังคมศึกษาฯ 98
3 ภาษาองั กฤษ 98 45.5 43.64 47.74 46.4
4 คณติ ศาสตร์ 98
5 วทิ ยาศาสตร์ 91 37.4 35.21 37.45 36.87
20.11 21.36 25.83 25.56
15.59 17.29 21.83 21.28
26.07 26.85 29.04 28.65
5.3 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน(O-NET )
ปีการศึกษา 256๓ – 2564 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3
ตารางท่ี ๔๓ แสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน(O-NET )
ปีการศึกษา 2563-2564 ระดบั ชั้น ม.3
ที่ รายวิชา คะแนนเฉลย่ี ปี 256๓ คะแนนเฉลี่ยปี 256๔ ผลตา่ งของคะแนน หมายเหตุ
1 ภาษาไทย 51.89 46.95 -4.94 ลดลง
2 ภาษาองั กฤษ ลดลง
30.57 26.66 -3.91 ลดลง
เพ่ิมขึ้น
3 คณติ ศาสตร์ 22.07 20.08 -1.99
4 วิทยาศาสตร์ 28.24 30.33 2.09
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 49
5.4 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา
2563 - 2564 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6
ตารางท่ี ๔๔ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา 2563-2564 ระดบั ชั้น ม.6
ท่ี รายวิชา คะแนนเฉลี่ยปี คะแนนเฉลยี่ ปี ผลต่างของ
2562 2563 คะแนน หมายเหตุ
1 ภาษาไทย 39.55 45.5 5.95 เพ่ิมข้ึน
2 สงั คมศึกษาฯ 34.13 37.4 3.27 เพม่ิ ขน้ึ
3 ภาษาองั กฤษ 22.48 20.11 -2.37 ลดลง
4 คณิตศาสตร์ 19.54 15.59 -3.95 ลดลง
5 วทิ ยาศาสตร์ 26.96 26.07 -0.89 ลดลง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวิทยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษานครพนม
หนา้ 50
6. ผลงานดีเดน่ ในรอบปที ี่ผ่านมา
รางวัลระดบั ประเทศ
1. โรงเรยี นปลาปากวิทยา ได้รับรางวัล “หนึ่งโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม”ประจำปี 2564 ระดับประเทศ
2. โรงเรยี นปลาปากวทิ ยาได้รับรางวัลโรงเรียนดเี ด่น ดา้ นการสง่ เสริมการจัดการเรียนร้เู พศวถิ ศี ึกษา
และทกั ษะชีวติ ประจำปี 2564
3. นายวินยั เป่ียมลาภโชตกิ ุล ได้รบั รางวลั เหรยี ญทอง“หนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม” ประจำปี 2564
ระดับประเทศ เมื่อวันท่ี 16 เดอื นมกราคม พ.ศ.2565 จากหนว่ ยงานคุรสุ ภา
4. นายปราโมทย์ โลหิต ไดร้ บั รางวัลเหรียญทอง จากการประกวดสิ่งประดิษฐร์ ะดับเยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ย์นทิ รรศการและการประชมุ ไบเทค บางนา กรงุ เทพมหานคร ระหว่างวนั ท่ี 2-6
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
5. นางมริ นั ตี เหลา่ เกิด ได้รับรางวลั เหรียญทองจากการประกวดส่งิ ประดษิ ฐร์ ะดบั เยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ยน์ ิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันท่ี 2-6
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
6. นายอนเุ ชษฐ์ แสนเมอื งปัน ไดร้ ับรางวลั เหรียญทองจากการประกวดสิ่งประดิษฐร์ ะดับเยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศูนยน์ ทิ รรศการและการประชมุ ไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันท่ี 2-6
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
7. นางสาวธญั ญาภรณ์ พยอม ได้รบั รางวลั เหรยี ญทองจากการประกวดสิ่งประดิษฐ์ระดับเยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ยน์ ทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรงุ เทพมหานคร ระหว่างวนั ที่ 2-6
กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565
8. นายสิทธิชยั ยางธิสาร ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญเงินจากการประกวดส่งิ ประดิษฐ์ระดับเยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ยน์ ิทรรศการและการประชมุ ไบเทค บางนา กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวันท่ี 2-6
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
9. นางสาวอรนชุ ช่นื ตา ไดร้ บั รางวัลเหรียญเงินจากการประกวดสง่ิ ประดษิ ฐร์ ะดับเยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ยน์ ิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวนั ท่ี 2-6
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
10. นางสาวนาฏยา ไลส้ ดี า ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ จากการประกวดสิ่งประดษิ ฐ์ระดบั เยาวชน ในโครงการ
Thailand New Gen 2021 ณ ศนู ย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรงุ เทพมหานคร ระหว่างวนั ท่ี 2-6
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
11. นางมริ นั ตี เหลา่ เกดิ ไดร้ ับเกยี รตบิ ัตรเพ่ือแสดงวา่ ได้สร้างสรรคผ์ ลงานนวตั กรรม
การจดั การเรยี นการสอนท่ีเป็นแบบอยา่ งตามโครงการติดตามการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสโคโรนา 2019 จากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ณ วนั ท่ี 24 ธนั วาคม
พ.ศ. 2564
12. นางมริ ันตี เหล่าเกดิ ไดร้ ับรางวัล GLOBAL TEACHER AWARD 2021 ระดับชาติ เม่ือวนั ที่ 24 เดอื น
ตุลาคม พ.ศ. 2564
13. นายปราโมทย์ โลหติ ไดร้ บั รางวัล GLOBAL TEACHER AWARD 2021 ระดบั ชาติ เมือ่ วันที่ 24 เดือน
ตลุ าคม พ.ศ. 2564
14. นายธยา เหลา่ กกโพธิ์ ได้รบั รางวัลเหรียญทอง“หน่ึงโรงเรยี น หนง่ึ นวัตกรรม” ประจำปี 2564
ระดับประเทศ เมื่อวันที่ 16 เดอื นมกราคม พ.ศ.2565 จากหนว่ ยงานคุรสุ ภา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนปลาปากวทิ ยา อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษานครพนม