ค่มู อื หลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ที่อยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่รี าชการ
๑
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
คมู่ อื หลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหม่ทีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ
ก
คำนำ
กฎ ก.พ. วา่ ด้วยการทดลองปฏิบัตหิ น้าทรี่ าชการและการพัฒนาข้าราชการที่อยู่ระหว่าง
ทดลอง ปฏบิ ตั ิหน้าท่รี าชการ พ.ศ. 2553 ขอ้ 8 กำหนดให้มกี ารพฒั นาข้าราชการพลเรอื นสามัญท่ี
อยู่ระหวา่ งทดลอง ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการ เพื่อใหร้ ้รู ะเบยี บแบบแผนของทางราชการและเปน็ ขา้ ราชการ
ทดี่ ีดว้ ยกระบวนการ (1) การปฐมนิเทศ (2) การเรียนรดู้ ้วยตนเอง และ (3) การอบรมสมั มนาร่วมกนั
ตามท่ีสำนกั งาน ก.พ. กำหนด
เพอื่ อนวุ ตั ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ 8 ของกฎ ก.พ. สำนกั งาน ก.พ. จึงกำหนดการดำเนนิ การพัฒนา
และ การประเมนิ ผลการพฒั นาขา้ ราชการพลเรอื นสามัญทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏิบตั หิ นา้ ท่ีราชการตาม
หนังสอื สำนักงาน ก.พ.ที่ นร 1013.5/ว 4 ลงวันที่ 23 มนี าคม 2560 ประกอบกับหนงั สอื
สำนกั งาน ก.ค.ศ.ท่ี ศธ 0206.5/ว 6 ลงวนั ที่ 29 เมษายน 2554 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธกี าร
เก่ยี วกบั การบริหารงานบคุ คลของ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทาง
การศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (2) ได้มมี ติ เห็นชอบให้นำพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2551 มาใช้บังคบั กบั ข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหนง่ บุคลากรทางการ
ศกึ ษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (2)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังว่า คู่มือพัฒนาหลักสูตรการอบรมสัมมนา
ร่วมกันของข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามหลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี มี
ความรู้ เกี่ยวกับปรัชญาของการเป็นข้าราชการที่ดี ประโยชน์ของแผ่นดินและบทบาทหน้าที่ จิตสำนึก
ของการเป็นข้าราชการที่มีคุณธรรม มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ มี
ความรู้และทักษะเพื่อการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ ๒๑ ในอันที่จะทำให้การปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการเกดิ ประสิทธิภาพประสิทธผิ ล และความก้าวหน้าแกร่ าชการ
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
คู่มือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ท่ีอยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ
ข
สารบัญ
หนา้
บทที่ ๑ บทนำ……….................................................................................................................. ๑
ความเปน็ มา................................................................................................................. ๑
หลักการและเหตผุ ล...................................................................................................... ๑
วตั ถุประสงค์................................................................................................................. ๒
โครงสรา้ งหลักสตู ร....................................................................................................... ๒
วธิ ีการพัฒนา................................................................................................................. ๑๐
วทิ ยากร......................................................................................................................... ๑๐
ส่อื และนวตั กรรมการพัฒนา.......................................................................................... ๑๐
การประเมนิ ผลการพัฒนา.............................................................................................. ๑๑
บทบาทของบุคลากรท่ีมีสว่ นเก่ียวขอ้ งกับการดำเนนิ การพัฒนา.................................... ๑๑
กระบวนการพัฒนา....................................................................................................... ๑๓
แนวปฏิบัติสำหรบั ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นา........................................................................... ๑๓
บทที่ ๒ กระบวนการพัฒนา..................................................................................................... ๑๔
คำอธิบาย...................................................................................................................... ๑๔
วตั ถุประสงค์................................................................................................................. ๑๔
ชดุ กิจกรรมท่ี ๑ เร่อื ง ปรัชญาของการเปน็ ข้าราชการทดี่ ปี ระโยชนข์ องแผ่นดินและบทบาท
หนา้ ท่จี ติ สำนกึ ของการเปน็ ข้าราชการที่มคี ุณธรรม......................................... ๑๖
รายวชิ าท่ี ๑.๑ ศาสตรพ์ ระราชา และจิตอาสาของการเปน็ ข้าราชการที่ดี..... ๑๗
รายวชิ าท่ี ๑.๒ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาข้าราชการ............................... ๑๘
รายวิชาที่ ๑.๓ จิตบรกิ ารของการทำงานภาครัฐ............................................ ๑๙
รายวชิ าท่ี ๑.๔ ต้นกล้าขา้ ราชการกับการทำงานเพ่ือแผ่นดิน........................... ๒๐
ชดุ กิจกรรมท่ี ๒ ความรู้ ทักษะ สมรรถนะทีจ่ ำเปน็ ต่อการปฏิบัตริ าชการ..................... ๒๑
รายวิชาท่ี ๒.๑ การใช้เทคโนโลยี อย่างมคี ุณธรรม........................................... ๒๒
รายวชิ าท่ี ๒.๒ จติ สำนึกในการปฏบิ ัตงิ านและการสร้างแรงบนั ดาลใจ............ ๒๓
รายวิชาท่ี ๒.๓ อภปิ รายกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การปฏบิ ัติราชการ................ ๒๕
รายวชิ าท่ี ๒.๔ อภิปรายระเบยี บงานสารบรรณและหลักภาษาเพ่ือการเขียน
หนงั สือราชการ............................................................................................................................ ๒๖
รายวชิ าท่ี ๒.๕ การพัฒนาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจำสายงานของขา้ ราชการ และ
การจัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN)...................................................................................... ๒๘
รายวชิ าท่ี ๒.๖ การบริหารจัดการเงินเพอ่ื สมดลุ ชีวติ .................................................... ๒๙
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
คูม่ ือหลกั สูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ท่ีอยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าท่ีราชการ
ค
สารบญั (ต่อ)
หน้า
ชดุ กจิ กรรมที่ ๓ ความรแู้ ละทักษะการดำรงตนอยา่ งสมดลุ ในศตวรรษท่ี 21................. ๓๐
รายวชิ าท่ี ๓.๑ การเปลยี่ นแปลงและการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ 21 ๓๒
รายวชิ าที่ ๓.๒ อภิปรายบทบาท สทิ ธแิ ละหน้าท่ีการปฏบิ ตั ิตนในฐานะ
พลเมืองทด่ี ี.................................................................................................................................... ๓๓
รายวิชาท่ี ๓.3 อภิปรายการพฒั นาบุคลิกภาพและการสรา้ งสนุ ทรยี ภาพของ
ขา้ ราชการท่ดี ี ในศตวรรษที่ 21................................................................................................... ๓๔
รายวชิ าที่ ๓.๔ การสง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นสิทธิประโยชนก์ ารเปน็ สมาชิก กบข..... ๓๕
กิจกรรมการเรยี นรู้และฝึกฝนระบบทีมและเครือข่ายความสัมพันธ์................................ ๓๖
บทท่ี ๓ การวดั และประเมินผล................................................................................................... ๓๗
แนวทางการวัดและประเมินผล.............................................................................. ........ ๓๗
การประเมนิ ผลการพัฒนา…………………………………………………….............................….... ๓๗
เคร่ืองมือการวัดและประเมิน.......................................................................................... ๓๘
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
คมู่ ือหลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ทอ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าท่ีราชการ
๑
บทที่ ๑
บทนำ
ความเปน็ มา
เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาหลักสตู รการอบรมสัมมนาร่วมกันของข้าราชการที่อย่รู ะหว่างทดลอง
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามหลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี มีความรู้ เกี่ยวกับปรัชญาของการเป็น
ข้าราชการที่ดี ประโยชน์ของแผ่นดินและบทบาทหน้าที่ จิตสำนึกของการเป็นข้าราชการที่มีคุณธรรม
มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ มีความรู้และทักษะเพื่อการดำรงตนอย่าง
สมดุลในศตวรรษที่ ๒๑ ในอันที่จะทำให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล และ
ความกา้ วหน้าแก่ราชการ
หลกั การและเหตุผล
กฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการทดลองปฏบิ ตั หิ น้าท่รี าชการและการพัฒนาขา้ ราชการท่ีอยู่ระหวา่ ง
ทดลองปฏิบัติหนา้ ทร่ี าชการ พ.ศ. 2553 ขอ้ 8 กำหนดให้มกี ารพัฒนาข้าราชการพลเรอื นสามญั ทอี่ ยู่
ระหวา่ งทดลองปฏิบัติหนา้ ที่ราชการ เพ่ือให้รู้ระเบียบแบบแผนของทางราชการและเป็นขา้ ราชการทด่ี ี
ดว้ ยกระบวนการ (1) การปฐมนิเทศ (2) การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง และ (3) การอบรมสัมมนารว่ มกัน
ตามที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด
เพือ่ อนวุ ตั ให้เป็นไปตามข้อ 8 ของกฎ ก.พ. สำนักงาน ก.พ. จึงกำหนดการดำเนนิ การพฒั นา
และการประเมนิ ผลการพฒั นาขา้ ราชการพลเรือนสามัญท่อี ย่รู ะหว่างทดลองปฏิบตั ิหน้าที่ราชการตาม
หนงั สอื สำนักงาน ก.พ.ท่ี นร 1013.5/ว 4 ลงวันท่ี 23 มนี าคม 2560 ประกอบกบั หนงั สอื
สำนกั งาน ก.ค.ศ.ท่ี ศธ 0206.5/ว 6 ลงวันที่ 29 เมษายน 2554 เรอื่ ง หลักเกณฑ์และวิธีการ
เกี่ยวกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่งบุคลากรทาง
การศึกษาอน่ื ตามมาตรา 38 ค (2) ได้มมี ติ เหน็ ชอบใหน้ ำพระราชบญั ญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2551 มาใชบ้ ังคบั กับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ตำแหนง่ บุคลากรทางการ
ศึกษาอน่ื ตามมาตรา 38 ค (2)
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ไดด้ ำเนินการจดั ทำรายละเอยี ดหลกั สตู รใน
การอบรม สมั มนารว่ มกัน ประกอบไปดว้ ยโครงสรา้ งหลักสตู ร 3 ชดุ กิจกรรม
ชดุ กิจกรรมที่ 1 ปรัชญาของการเปน็ ข้าราชการที่ดีประโยชนข์ องแผ่นดนิ และบทบาทหน้าท่ี
จิตสำนึกของการเปน็ ข้าราชการทม่ี ีคุณธรรม
ชดุ กจิ กรรมท่ี 2 ความรู้ทกั ษะสมรรถนะ ท่ีจำเปน็ ตอ่ การปฏิบัติราชการ
ชุดกจิ กรรมที่ 3 ความรู้และทักษะเพื่อการดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษที่ 21
หลกั สูตรและกจิ กรรมการอบรมสมั มนารว่ มกนั จะส่งผลต่อผเู้ ขา้ รบั การอบรมในการ
ปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ เสริมสร้างเจตคติ และมที ัศนคติการเปน็ ขา้ ราชการที่ดีในการปฏิบตั ิงาน
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
คูม่ ือหลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ท่ีอยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการ
๒
วัตถปุ ระสงค์
เพอ่ื ปลูกฝงั ปรชั ญาการเปน็ ขา้ ราชการท่ีดี เสริมสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะทจ่ี ำเป็นสำหรบั
การปฏบิ ัตงิ านราชการ ส่งเสริมคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม การทำงานเปน็ ทีม และพัฒนาเครอื ขา่ ยในการ
ทำงาน รวมท้ังเป็นการสรา้ งสายสมั พนั ธ์ทด่ี ี แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกนั โดยเนน้ การเรยี นรู้
จากประสบการณ์และการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ
โครงสรา้ งหลกั สตู ร
สำหรับโครงสร้างหลกั สตู รการเปน็ ข้าราชการทดี่ ี กำหนดรูปแบบการอบรมสมั มนาร่วมกัน
ออกเป็น 3 กจิ กรรม ดังนี้
กิจกรรมท่ี 1 การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองจากส่ือ Online และอ่นื ๆ
วัตถุประสงค์
๑. เพ่อื ศึกษา คน้ ควา้ ดว้ ยตนเองจากส่ือ Online และแหล่งเรยี นรูอ้ นื่ ๆ
๒. เพื่อนำความรู้มาใชใ้ นการอบรมสัมมนาร่วมกัน ระยะที่ ๒
๓. เพื่อนำความรู้มาประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน
ประกอบด้วย 3 ชดุ กจิ กรรม ดงั นี้
ชุดกจิ กรรมท่ี 1 : ปรัชญาของการเป็นข้าราชการที่ดปี ระโยชนข์ องแผน่ ดนิ และบทบาท
หน้าที่ จติ สำนึกของการเป็นข้าราชการท่มี คี ุณธรรม
วตั ถปุ ระสงค์
1. มคี วามเขา้ ใจในบทบาทหนา้ ที่ และตระหนกั ในความรับผิดชอบของงานราชการโดยใช้
แนวทางประพฤติตนเปน็ ข้าราชการทด่ี ตี ามรอยพระยุคลบาท
๒. มีความเขา้ ใจหลักการปฏบิ ตั ิงานในภาคราชการ และคำนึงถึงประโยชน์ของสว่ นรวม
3. มีความรแู้ ละเข้าใจเก่ียวกับคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
4. นำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มาปรับใชก้ ับการดำเนินชีวิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๕. เสรมิ สรา้ งการมีจิตอาสาของขา้ ราชการทด่ี ี
เนือ้ หา
๑. ศาสตรพ์ ระราชา และจติ อาสาของการเป็นข้าราชการท่ีดี
๒. คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาข้าราชการ
๓. จิตบริการของการทำงานภาครัฐ
๔. ต้นกล้าข้าราชการกบั การทำงานเพ่ือแผน่ ดิน
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
คมู่ ือหลกั สตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ
๓
ชดุ กิจกรรมท่ี 2 : ความรู้ ทักษะ สมรรถนะท่จี ำเปน็ ต่อการปฏิบตั ิราชการ
วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื ให้มีความรู้เกี่ยวกบั วนิ ัยข้าราชการ
๒. เพ่อื ใหม้ ีความร้เู ก่ียวกบั กฎหมายท่ีจำเปน็ ในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
๓. สามารถเขยี นหนังสือราชการไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
๔. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจสมรรถนะทีจ่ ำเป็นตอ่ การปฏิบตั ิราชการ
เนื้อหา
๑. การใช้เทคโนโลยี อย่างมคี ุณธรรม
๒. จติ สำนึกในการปฏบิ ัติงานและการสรา้ งแรงบันดาลใจ
๓. อภปิ รายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั การปฏบิ ตั ิราชการ
๔. อภิปรายระเบยี บงานสารบรรณและหลักภาษาเพื่อการเขียนหนงั สือราชการ
๕. การพัฒนาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการ และการจดั ทำ
แผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN)
๖. การบริหารจดั การเงนิ เพื่อสมดลุ ชีวิต
ชุดกจิ กรรมที่ 3 : ความรแู้ ละทักษะการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษท่ี 21
วัตถปุ ระสงค์
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจสถานการณ์และความเปล่ียนแปลงของโลกในด้านต่าง ๆ
2. มีความรู้ ความเขา้ ใจบทบาท สทิ ธิ หนา้ ท่ี และการปฏบิ ัติตนในฐานะพลเมอื งทด่ี ี
๓. มีความรูใ้ นการเสริมสรา้ งบคุ ลกิ ภาพให้เหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ
เน้ือหา
1. การเปลีย่ นแปลงและการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษที่ 21
2. อภปิ รายบทบาท สิทธแิ ละหน้าทก่ี ารปฏิบัตติ นในฐานะพลเมืองท่ีดี
3. อภิปรายการพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างสนุ ทรียภาพของข้าราชการท่ีดี ในศตวรรษ
ที่ 21
๔. การสง่ เสรมิ ความรู้ด้านสทิ ธปิ ระโยชนก์ ารเป็นสมาชกิ กบข.
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
คมู่ ือหลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ อ่ี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ น้าที่ราชการ
๔
กิจกรรมที่ 2 การอบรมพฒั นาการปฏิบัตงิ าน
สำหรบั โครงสร้างหลกั สตู รการเป็นขา้ ราชการท่ดี ี ในระยะน้ีเป็นการอบรมพฒั นาการ
ปฏบิ ตั งิ าน ประกอบด้วย ๓ ชุดกจิ กรรม ใช้เวลาในการอบรม ๔๐ ช่ัวโมง ซึ่งมรี ายละเอียดดงั นี้
ชุดกิจกรรมท่ี ๑ : ปรชั ญาของการเปน็ ขา้ ราชการทีด่ ีประโยชน์ของแผน่ ดินและบทบาท
หนา้ ที่ จิตสำนึกของการเปน็ ข้าราชการทมี่ ีคุณธรรม (ระยะเวลา ๑๐ ชวั่ โมง)
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ ให้มีความเข้าใจในบทบาทหนา้ ที่ และตระหนักในความรับผดิ ชอบของงานราชการ
โดยใช้ แนวทางประพฤตติ นเปน็ ข้าราชการท่ดี ีตามรอยพระยคุ ลบาท
๒. เพ่อื ให้สามารถอธิบาย ระบคุ วามหมายของคำว่า ข้าราชการท่ดี ี และใหเ้ หตผุ ลได้
หลังจากเสรจ็ สิน้ การฝึกอบรม
๓. เพือ่ ให้สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาปรบั ใชก้ บั การดำเนนิ ชีวิต และ
การปฏบิ ัตงิ านได้อย่างเหมาะสม
๔. เพอ่ื ให้ได้ศึกษาเรียนรหู้ ลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เพ่ือพฒั นาสภาพความเปน็ อยู่และเศรษฐกิจของชมุ ชน รวมถงึ ประชาชนได้
มีแหลง่ เรยี นรู้อย่าง ต่อเน่ือง
๕. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรู้ และความเข้าใจในด้านการขบั เคล่ือนการพัฒนาโครงการอัน
เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ และการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรบั ใช้กบั การดำเนินชวี ติ
และการ ปฏบิ ัติงานได้อย่างเหมาะสม
๖. เพอ่ื สรา้ งจติ สำนึกในการใหบ้ รกิ ารแก่ผใู้ ช้บริการ
๗. เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการปฏบิ ัตงิ านในภาคราชการและคำนึงถึงประโยชน์สว่ นรวม
๘. เพอื่ ใหเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์ถงึ แนวทางการปฏบิ ัตงิ านเพื่อสังคม และผลกระทบถึง
ประเทศชาติ และประชาชน
รายวิชา
๑. ศาสตร์พระราชา และจิตอาสาของการเป็นข้าราชการที่ดี (๒ ชวั่ โมง)
๒. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาข้าราชการ (๓ ชั่วโมง)
๓. จติ บริการของการทำงานภาครัฐ (๓ ช่วั โมง)
๔. ต้นกล้าขา้ ราชการกบั การทำงานเพ่ือแผน่ ดนิ (๒ ชัว่ โมง)
ชดุ กิจกรรมท่ี ๒ : ความรู้ ทักษะ สมรรถนะท่จี ำเปน็ ตอ่ การปฏบิ ัตริ าชการ (ระยะเวลา ๑๕
ช่ัวโมง)
วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั สมรรถนะหลักในราชการพลเรือน
และสมรรถนะท่ี จำเป็นสำหรับขา้ ราชการในยุคประเทศไทย ๔.๐
๒. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจและสามารถจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) และจัดทำ
แผนงานโครงการพฒั นาตนเองได้
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
คูม่ ือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ ี่อยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการ
๕
๓. เพ่ือให้มีความรู้เก่ยี วกบั วนิ ัยท่ีจำเป็นสำหรับข้าราชการ รับรตู้ ระหนกั และเกิดจติ สำนึก
ในการมวี ินัย
๔. เพอ่ื ให้มคี วามร้คู วามเขา้ ใจกฎหมายเกยี่ วกับวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
๕. เพือ่ ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจชนิดของหนังสือราชการต่างๆ มากข้ึน
๖. เพอ่ื เรียนรู้เทคนิคในการเขียนหนงั สือราชการได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ หลักสตู รการอบรม
สัมมนารว่ มกันของข้าราชการทีอ่ ยู่ระหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ น้าทรี่ าชการ ๕
รายวิชา
๑. การใชเ้ ทคโนโลยี อย่างมีคุณธรรม (๓ ช่วั โมง)
๒. จิตสำนกึ ในการปฏบิ ัติงานและการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ (๒ ชว่ั โมง)
๓. อภปิ รายกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกบั การปฏิบัตริ าชการ (๒ ชว่ั โมง)
๔. อภิปรายระเบียบงานสารบรรณและหลกั ภาษาเพื่อการเขียนหนังสือราชการ (๓ ชั่วโมง)
๕. การพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของขา้ ราชการ และการจดั ทำ
แผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) (๓ ช่ัวโมง)
๖. การบริหารจดั การเงนิ เพ่ือสมดลุ ชีวติ (๒ ชัว่ โมง)
ชดุ กจิ กรรมที่ ๓ : ความรแู้ ละทกั ษะการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ ๒๑ (ระยะเวลา
๑๐ ชั่วโมง)
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ให้รแู้ ละเขา้ ใจสถานการณ์และความเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๒. เพอ่ื ใหส้ ามารถดำรงตนอย่างสมดลุ และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง
๓. เพ่ือใหต้ ระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบของสิง่ แวดล้อมท่มี ีตอ่ ตนเองและสังคม
๔. เพอ่ื ให้เข้าใจบทบาท สทิ ธิ หน้าที่ และการปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสมกับบริบทของตน
๕. เพอื่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั ในความสำคัญในการพฒั นาบุคลิกภาพและ
สุนทรียภาพ
๖. เพือ่ ใหส้ ามารถปฏิบัติตนเปน็ ผ้มู บี คุ ลกิ ภาพเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่
๗. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจวิธกี ารเสริมสรา้ งสุขภาพกายและจิตใจให้แข็งแรง
รายวิชา
1. การเปลี่ยนแปลงและการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษท่ี 21 (๓ ชวั่ โมง)
2. อภิปรายบทบาท สทิ ธิและหน้าทก่ี ารปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองท่ีดี (๒ ชัว่ โมง)
3. อภิปรายการพฒั นาบคุ ลิกภาพและการสรา้ งสุนทรียภาพของข้าราชการทด่ี ี ในศตวรรษ
ท่ี 21 (๓ ชั่วโมง)
๔. การส่งเสรมิ ความรู้ด้านสทิ ธปิ ระโยชนก์ ารเปน็ สมาชิก กบข. (๒ ชั่วโมง)
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
คมู่ อื หลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ท่อี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการ
๖
กจิ กรรม : กิจกรรมการเรียนรแู้ ละฝึกฝนระบบทีมและเครือขา่ ยความสมั พนั ธ์ (ระยะเวลา ๕ ช่วั โมง)
วัตถุประสงค์
เพ่ือเรียนรู้และฝึกฝนการทำงานระบบทมี และเครือขา่ ยความสมั พนั ธ์
รายวิชา
๑. การเรยี นรแู้ ละฝกึ ฝนการทำงานเป็นทีม (๒ ช่ัวโมง)
๒. การพัฒนากระบวนการกลุ่มสมั พันธ์และการสร้างเครอื ข่าย (๓ ช่วั โมง)
การวดั และประเมนิ ผลการอบรมกิจกรรมท่ี ๒
แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการอบรม มี ๒ มิติ ดังนี้
มติ ทิ ่ี ๑ การประเมินปฏิกริ ิยาของผเู้ ข้ารับการพฒั นา (Reaction) จะประเมินความพงึ พอใจ
ของผเู้ ข้ารับการพัฒนา และวัดเจตคติของผเู้ ขา้ รับการพัฒนาทีม่ ีต่องานราชการ ดงั นี้
๑.๑ ประเมินความพึงพอใจต่อวทิ ยากรบรรยายทุกรายวชิ า
๑.๒ ประเมนิ ความพึงพอใจต่อการดาเนนิ การพฒั นาในภาพรวม
๑.๓ วดั เจตคติของผู้เขา้ รบั การพฒั นาทม่ี ตี ่องานราชการ
มติ ิท่ี ๒ การประเมนิ การเรียนรแู้ ละศกั ยภาพของผู้เข้ารบั การพฒั นา (Learning)
จะประเมิน ในรายการ ดังนี้
๒.๑ ประเมนิ ความรคู้ วามเข้าใจก่อนและหลังการพัฒนา โดยใชแ้ บบทดสอบ
๒.๒ ประเมินการเรยี นรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ตามหลกั สูตร โดยการสรุปใบความรู้จากการ
อบรมพฒั นาในทุกรายวชิ า
๒.๓ ประเมนิ พฤติกรรมการมีสว่ นร่วม เปน็ การสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ ขา้ รับการพฒั นา
โดยวทิ ยากรพ่ีเลี้ยงประเมนิ สมรรถนะต่าง ๆ โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม
๒.๔ ประเมนิ เวลาเรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาการพัฒนา
กิจกรรมที่ 3 การตดิ ตามและประเมนิ ผล
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือกำกบั ตดิ ตามการพัฒนาตนเองของผู้เข้ารับการพฒั นาตามหลักสตู รที่กำหนด
2. เพอื่ กำกบั ตดิ ตามการนำความรู้ทไ่ี ดร้ บั จากกระบวนการพัฒนาไปใช้ในบทบาทหน้าท่ี
และเสรมิ สร้างศักยภาพการทำงานของตนเอง
3. เพื่อติดตามการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนางานใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ
ขอบข่าย
๑. การจัดทำโครงการเพื่อพฒั นางานในหนา้ ท่ี
๒. การสร้างเครอื ข่ายการพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านราชการโดยใช้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใน
ยุคดจิ ิทัล
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
ค่มู อื หลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ที่อยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่รี าชการ
๗
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
คูม่ ือหลกั สตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ท่อี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีราชการ
๘
กรอบหลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ ี่อยรู่ ะหว่างทดลองปฏิบัติหนา้ ท่รี าชการ
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
ระยะท่ี ๓ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง
ชดุ กิจกรรมที่ ๑ เรื่อง ปรชั ญาของการเปน็ ขา้ ราชการทดี่ ีประโยชนข์ องแผ่นดินและบทบาทหนา้ ที่
จติ สำนึกของการเป็นข้าราชการท่ีมคี ุณธรรม (๑๐ ชั่วโมง)
๑.๑ ศาสตรพ์ ระราชา และจิตอาสาของการเปน็ ข้าราชการทีด่ ี (๒ ช่วั โมง)
๑.๒ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาข้าราชการ (๓ ช่วั โมง)
๑.๓ จิตบริการของการทำงานภาครฐั (๓ ชว่ั โมง)
๑.๔ ต้นกลา้ ข้าราชการกบั การทำงานเพ่ือแผ่นดนิ (๒ ช่ัวโมง)
ชุดกิจกรรมท่ี ๒ ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะท่จี ำเปน็ ต่อการปฏิบตั ริ าชการ (๑๕ ชว่ั โมง)
๑.๑ การใชเ้ ทคโนโลยี อยา่ งมีคุณธรรม (๓ ช่วั โมง)
๑.๒ จิตสำนกึ ในการปฏิบัตงิ านและการสร้างแรงบนั ดาลใจ (๒ ชวั่ โมง)
๑.๓ อภปิ รายกฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับการปฏิบตั ิราชการ (๒ ช่ัวโมง)
๑.๔ อภิปรายระเบยี บงานสารบรรณและหลักภาษาเพื่อการเขยี นหนงั สอื ราชการ (๓ ช่วั โมง)
๑.๕ การพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการ และการจดั ทำ
แผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN) (๓ ชว่ั โมง)
๑.๖ การบริหารจดั การเงนิ เพื่อสมดลุ ชีวติ (๒ ช่วั โมง)
ชุดกิจกรรมท่ี ๓ ความรู้และทักษะการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษท่ี 21 (๑๐ ชั่วโมง)
1.๑ การเปลย่ี นแปลงและการดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษท่ี 21 (๓ ชั่วโมง)
๑.2 อภิปรายบทบาท สิทธิและหนา้ ท่ีการปฏิบัตติ นในฐานะพลเมืองท่ีดี (๒ ชว่ั โมง)
๑.3 อภิปรายการพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้างสุนทรยี ภาพของขา้ ราชการทดี่ ี ในศตวรรษ
ที่ 21 (๓ ช่ัวโมง)
๑.๔ การส่งเสริมความร้ดู ้านสทิ ธปิ ระโยชน์การเปน็ สมาชิก กบข. (๒ ช่ัวโมง)
กิจกรรมการเรียนรู้และฝึกฝนระบบทีมและเครือขา่ ยความสมั พนั ธ์ (๕ ชั่วโมง)
๑.๑ การเรียนรู้และฝกึ ฝนการทำงานเป็นทีม (๒ ชว่ั โมง)
๑.๒ การพฒั นากระบวนการกลุม่ สัมพนั ธ์และการสร้างเครือข่าย (๓ ช่วั โมง)
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
คมู่ อื หลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ อี่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัติหนา้ ท่รี าชการ
๙
โครงสร้างหลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยูร่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าท่ีราชการ
สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ชดุ กิจกรรมที่ รายละเอียดหลกั สูตร เวลา
(ช.ม.)
๑ ปรัชญาของการเป็นขา้ ราชการท่ีดปี ระโยชนข์ องแผน่ ดนิ และ
๒ บทบาทหนา้ ที่ จติ สำนึกของการเป็นขา้ ราชการท่ีมคี ณุ ธรรม ๑๐
๓ ๑.๑ ศาสตร์พระราชา และจิตอาสาของการเป็นข้าราชการทีด่ ี
กจิ กรรม ๑.๒ คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาขา้ ราชการ ๒
๑.๓ จติ บริการของการทำงานภาครฐั ๓
๑.๔ ต้นกลา้ ข้าราชการกบั การทำงานเพื่อแผน่ ดิน ๓
ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะที่จำเป็นตอ่ การปฏบิ ัตริ าชการ ๒
๒.๑ การใชเ้ ทคโนโลยี อย่างมีคณุ ธรรม ๑๕
๒.๒ จิตสำนึกในการปฏิบัติงานและการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ๓
๒.๓ อภปิ รายกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกับการปฏบิ ตั ิราชการ ๒
๒.๔ อภปิ รายระเบียบงานสารบรรณและหลักภาษาเพ่ือการเขียน ๒
หนังสอื ราชการ
๒.๕ การพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของ ๓
ข้าราชการ และการจดั ทำแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN)
๒.๖ การบริหารจัดการเงนิ เพื่อสมดุลชีวติ ๓
ความรแู้ ละทกั ษะการดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษท่ี 21
๓.๑ การเปลี่ยนแปลงและการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษ ๒
ท่ี 21 ๑๐
๓.๒ อภิปรายบทบาท สทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีการปฏบิ ตั ติ นในฐานะ
พลเมอื งท่ีดี ๓
๓.๓ อภิปรายการพัฒนาบุคลิกภาพและการสรา้ งสุนทรียภาพของ
ข้าราชการที่ดี ในศตวรรษที่ 21 ๒
๓.๔ การสง่ เสรมิ ความรู้ดา้ นสิทธิประโยชนก์ ารเป็นสมาชิก กบข. ๓
กจิ กรรมการเรียนรู้และฝึกฝนระบบทมี และเครือข่ายความสมั พันธ์ ๒
๑. การเรยี นรู้และฝกึ ฝนการทำงานเปน็ ทีม ๕
๒. การพัฒนากระบวนการกลุ่มสมั พันธ์และการสร้างเครอื ข่าย ๒
๓
รวม ๔๐
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
คมู่ อื หลกั สูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี าชการ
๑๐
วิธกี ารพฒั นา
๑. การศึกษาดว้ ยตนเองจากเอกสารและแหล่งเรยี นรู้
๒. การศึกษาจากวิทยากรและผู้ทรงคณุ วุฒิ
๓. กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม
๔. การนำเสนอและแลกเปลยี่ นเรียนรู้
๕. ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรูท้ าง App.Teleconference เช่น Zoom / Line Group/ Line
Meeting หรอื อน่ื ๆ
๖. การฝึกปฏบิ ัตผิ า่ นการแบ่งกลุ่มย่อยเพอ่ื แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และนำเสนองานในกลมุ่ ใหญ่
วิทยากร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน คดั เลอื กวิทยากรและวิทยากรพเี่ ลี้ยงทมี่ ีความ
รอบรู้ มคี วามสามารถ มปี ระสบการณแ์ ละประสบความสำเรจ็ เป็นท่ียอมรับในเชงิ วชิ าการและการ
บรหิ ารงานในเรื่องทร่ี ับผดิ ชอบ มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศที่ดีในการพฒั นา และให้ถือวา่
ผู้เข้ารบั การพฒั นามคี วามสำคญั ทส่ี ดุ
ส่ือและนวัตกรรมการพฒั นา
๑. คมู่ ือและเอกสารประกอบการพัฒนา
๒. แบบฝึกปฏบิ ัติ ใบงาน ใบความรู้
๓. สือ่ เทคโนโลยี
๔. เว็บไซตท์ ่เี กย่ี วข้อง
๕. ชดุ การเรียนรู้
๖. สถานท่ีและแหล่งเรียนรู้
สำนกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
คู่มอื หลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ท่ีอยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการ
๑๑
การประเมนิ ผลการพฒั นา
การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพ่ือปรับปรุง พัฒนา โดยกำหนดใหม้ ีการประเมิน ก่อน
พัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเมื่อสิ้นสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริง ด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย โดยยดึ วตั ถุประสงค์ที่กำหนด ดังนี้
๑. ผ้เู ขา้ รับการพัฒนาศึกษาเอกสารก่อนการพัฒนา
๒. ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาต้องเขา้ รบั การประเมินความรู้ก่อนและหลงั การพฒั นาดว้ ยการทดสอบ
ความรทู้ ่ีเกย่ี วข้อง
๓. การประเมนิ ผล (๑๗๐ คะแนน)
๓.๑ ประเมินก่อนการพัฒนา
๓.๒ ประเมนิ ระหวา่ งการพัฒนา (๑๔๐ คะแนน)
๓.๓ ประเมนิ หลังการพฒั นา (๓๐ คะแนน)
๔. เกณฑ์การผ่านการพัฒนา ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องมีคะแนนการประเมินตามเกณฑ์ ที่กำหนด
ดังนี้
๔.๑ มีระยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพัฒนา
ท้ังหมด
๔.๒ ไดค้ ะแนนการประเมินผล ระหวา่ งการพฒั นาไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๖๐
๔.๓ ผา่ นการประเมินความรู้หลังการพฒั นาดว้ ยการทดสอบความรู้เมื่อสิน้ สุดการพัฒนา
ไม่ต่ำกวา่ รอ้ ยละ ๖๐
บทบาทของบคุ ลากรท่มี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การดำเนนิ การพฒั นา
๑. บทบาทผู้บริหารโครงการ
๑.๑ ประสานกบั สว่ นราชการและบคุ ลากรทเี่ กย่ี วข้องเพ่อื เตรียมดำเนนิ การพฒั นา เช่น
รายชอ่ื ผู้เขา้ รบั การพัฒนา กำหนดระยะเวลา งบประมาณ อาคารสถานที่ ฯลฯ
๑.๒ ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกบั หลกั สูตร คมู่ ือ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการดำเนินการ
พฒั นา
๑.๓ ดำเนินการพัฒนาตามกระบวนการและข้นั ตอนอยา่ งเป็นระบบให้บรรลุจดุ ประสงค์
ของหลกั สตู รท่ีกำหนด
๑.๔ อำนวยความสะดวกแก่วิทยากร ผ้เู ขา้ รับการพัฒนาและผเู้ กี่ยวข้องตลอดโครงการ
๑.๕ ใหค้ ำปรึกษาแนะนำและแก้ปัญหาที่เกดิ ข้ึนในการดำเนนิ การพัฒนา
๑.๖ กำกับและควบคุมเวลาการเขา้ รบั การพฒั นาของผู้เข้ารบั การพฒั นา
๑.๗ รายงานผลการดำเนินการพฒั นาให้ผอู้ ำนวยการหนว่ ยดำเนนิ การพฒั นาเพอื่ ดำเนนิ การต่อไป
๒. บทบาทคณะกรรมการวชิ าการ
๒.๑ ศึกษาและทำความเข้าใจเก่ยี วกับหลักสูตร ค่มู ือ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารดำเนินการพัฒนา
๒.๒ พิจารณาคดั เลือกวิทยากรตามคุณสมบัตทิ กี่ ำหนดไว้ในคมู่ ือ
๒.๓ ใหค้ ำปรึกษาแนะนำเชิงวชิ าการใหแ้ กว่ ทิ ยากรและผู้ท่ีเกีย่ วขอ้ ง
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ค่มู อื หลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ ี่อยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าท่รี าชการ
๑๒
๓. บทบาทคณะกรรมการวัดและประเมนิ ผล
๓.๑ ศึกษารายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
และแบบประเมนิ ต่าง ๆ ทก่ี ำหนดไว้ในคู่มือ
๓.๒ จัดเตรียมเอกสารแบบประเมินต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในคู่มือให้แก่ผู้บริหารโครงการ
วทิ ยากรหรือวิทยากรพีเ่ ล้ยี ง และผูท้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง
๓.๓ ชี้แจงและทำความเข้าใจรายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ท่ี
กำหนดไว้ในหลักสูตรและแบบประเมินต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในคู่มือแก่ผู้บริหารโครงการ วิทยากร หรือ
วทิ ยากรพเ่ี ลยี้ ง และผู้เกี่ยวขอ้ ง
๓.๔ รวบรวมแบบประเมินต่าง ๆ จากผู้บริหารโครงการ วิทยากรหรือวิทยากรพี่เลี้ยง
และผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งเพือ่ ประมวลผล
๓.๕ วิเคราะหแ์ ละสรุปผลการประเมนิ วทิ ยากรรายบุคคล
๓.๖ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลการประเมินโครงการ
๓.๗ สรุปผลการประเมินผู้เข้ารับการพัฒนาตามแบบกรอกคะแนนและแบบ
สรุปผลการพฒั นาตามแบบประเมนิ ที่กำหนดไวใ้ นคู่มือ
๔. บทบาทวทิ ยากร
๔.๑ ศึกษาหลักสตู รและทำความเขา้ ใจสาระของหนว่ ยการเรยี นรู้ทร่ี ับผิดชอบให้ชดั เจน
๔.๒ ดำเนินการจัดกิจกรรมตามขอบข่ายสาระและแนวทางการจัดกิจกรรมของหน่วย
การเรยี นรู้ตามทห่ี ลักสูตรกำหนด
๔.๓ วางแผนการจดั กิจกรรมร่วมกนั ในหน่วยการเรยี นรูใ้ นกรณที ีม่ วี ทิ ยากรเป็นทีม
๔.๔ ให้คำปรึกษา แนะนำเชิงวิชาการ แก่ผู้เข้ารับการพัฒนาในสาระของหน่วย
การเรียนรู้ท่ีรับผิดชอบ
๔.๕ สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มและใหข้ วัญกำลังใจในการปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนรู้แก่ผู้เข้ารับ
การพฒั นา
๕. บทบาทวทิ ยากรพเี่ ล้ยี ง
วิทยากรพี่เลีย้ ง หมายถงึ ผู้ทท่ี ำหนา้ ที่ช่วยวิทยากรในการจัดกิจกรรมการพัฒนา อำนวย
ความสะดวกให้แกผ่ ู้เข้ารับการพัฒนา โดยมีบทบาท ดังนี้
๕.๑ ศึกษาหลักสูตรและทำความเขา้ ใจสาระของหนว่ ยการเรียนร้ทู รี่ บั ผิดชอบให้ชัดเจน
๕.๒ รว่ มวางแผนการจดั กิจกรรมการพฒั นาและอำนวยความสะดวกให้แก่วิทยากร
๕.๓ เสริมประสบการณ์การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้เข้ารับการ
พัฒนา
๕.๔ สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมและให้ขวัญกำลังใจในการปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้แกผ่ ู้เขา้ รับ
การพฒั นา
๕.๕ ประเมนิ ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาตามแบบประเมินที่กำหนด
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
คมู่ ือหลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหม่ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ น้าทรี่ าชการ
๑๓
กระบวนการพฒั นา
๑. กอ่ นการพัฒนา
ผู้เข้ารับการพัฒนา ศึกษา ค้นคว้า ด้วยตนเองจาก เอกสาร ตำรา บทความ งานวิจัย
ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหลง่ เรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย ประกอบไปดว้ ย
ชุดกิจกรรมที่ ๑ ปรัชญาของการเป็นข้าราชการที่ดี ประโยชน์ของแผ่นดินและ
บทบาทหนา้ ท่ี จิตสำนกึ ของการเป็นข้าราชการทมี่ คี ณุ ธรรม
ชดุ กจิ กรรมท่ี ๒ ความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ท่ีจำเปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั ิราชการ
ชดุ กิจกรรมท่ี ๓ ความร้แู ละทกั ษะเพอื่ การดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ ๒๑
๒. ระหวา่ งการพัฒนา
ผู้เข้ารับการพัฒนา รับฟัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนากับวิทยากร
และระหว่างผู้เข้ารับการพฒั นาดว้ ยกัน ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการดำเนนิ กิจกรรม ฝึกปฏิบัติกิจกรรม
ตามใบงาน และกจิ กรรมนำเสนอผลการดำเนนิ ในหลากหลายรูปแบบ และสรปุ ความรใู้ นทุกรายวชิ า
๓. หลังการพัฒนา
ผผู้ า่ นการพฒั นาเปน็ ผ้มู ีความรูเ้ หมาะสมกบั บทบาทหน้าท่ี สามารถนำผลการเรียนรู้ไป
ปฏิบัติจริงโดยมีกระบวนการติดตามและประเมินผลสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
แนวปฏบิ ัตสิ ำหรบั ผู้เข้ารับการพัฒนา
๑. ศกึ ษาเอกสารหลกั สตู รและแนวทางการพัฒนาอยา่ งชดั เจน
๒. เตรียมเอกสารประกอบการศึกษาในแตล่ ะรายวิชาหรอื ในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้
๓. ตรงตอ่ เวลา ใหค้ วามสนใจและต้ังใจเข้ารว่ มกิจกรรมตามหลกั สูตรทกุ กิจกรรม
๔. ดำเนินการตามกจิ กรรมทีว่ ทิ ยากรและวทิ ยากรพ่ีเล้ียงได้แนะนำและสงั เกต
๕. ทบทวนบทเรียนทกุ วนั ในแตล่ ะรายวิชา สรุปเปน็ องคค์ วามรู้
๖. ปฏบิ ัตติ นตามระเบยี บของหนว่ ยดำเนนิ การพฒั นา
๗. ในกรณีที่จำเป็นต้องลากจิ ลาปว่ ย ให้ยื่นใบลาตอ่ ประธานหนว่ ยพัฒนา โดยผ่านประธาน
คณะกรรมการบรหิ ารโครงการหรือวทิ ยากรพเี่ ล้ียง
๘. แต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย ใช้วาจาที่สภุ าพ ปฏิบัติตนเหมาะสม ให้เกยี รติซ่ึงกนั และกนั
๙. ละเวน้ อบายมุขทกุ ชนดิ ตลอดระยะเวลาการเขา้ รับการพฒั นา
๑๐. ปฏิบัติกิจกรรมอืน่ ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ค่มู ือหลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ อ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีราชการ
บทท่ี ๒ ๑๔
กระบวนการพฒั นา ระยะเวลา ๔๐ ชม.
ระยะที่ ๓ การฝึกอบรมสัมมนาร่วมกนั
คำอธิบาย
ผูเ้ ขา้ รับการพฒั นาข้าราชการบรรจุใหม่ อยู่ระหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ ตามหลักสูตร
การเปน็ ข้าราชการที่ดี โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ผา่ นการฝึกอบรมสมั มนารว่ มกัน
วตั ถุประสงค์
เพื่อปลูกฝังปรชั ญาของการเป็นข้าราชการทีด่ ีประโยชน์ของแผน่ ดนิ และบทบาทหนา้ ท่ี
จติ สำนึกของการเปน็ ขา้ ราชการทีด่ ี เสริมสร้างสมรรถนะและทกั ษะที่จำเปน็ สำหรับการปฏบิ ัตงิ าน
ราชการ ส่งเสรมิ คุณธรรมและจรยิ ธรรม พัฒนาความรู้ ทักษะ สมรรถนะท่ีจำเปน็ ต่อการปฏิบตั ิ
ราชการ และทักษะการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษที่ 21
ความคิดรวบยอด
ขา้ ราชการบรรจใุ หม่ ที่ระหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการ เปน็ ข้าราชการที่ดีของแผ่นดิน
มีจติ สำนกึ ของการเปน็ ข้าราชการท่ีดมี ีคณุ ธรรม บคุ ลิกภาพที่ดี มคี ณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ มคี วาม
มงุ่ มนั่ ปฏิบตั ิงานโดยคำนงึ ถึงผลประโยชน์ส่วนรวม มสี มรรถนะทีจ่ ำเปน็ ต่อการปฏิบัติราชการรอบ
ด้าน มีความร้แู ละทกั ษะการดำรงตนอยา่ งสมดลุ ในศตวรรษท่ี 21 ปฏิบัตหิ น้าท่ไี ด้อย่างมีคณุ ภาพและ
ประสทิ ธิภาพ
ชุดกจิ กรรมท่ี ๑ เร่ือง ปรชั ญาของการเป็นขา้ ราชการท่ีดปี ระโยชนข์ องแผน่ ดินและบทบาทหน้าที่
จติ สำนกึ ของการเปน็ ขา้ ราชการที่มีคณุ ธรรม (๑๐ ชม.)
๑.๑ ศาสตรพ์ ระราชา และจติ อาสาของการเปน็ ข้าราชการทดี่ ี เวลา ๒ ชม.
๑.๒ คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาขา้ ราชการ เวลา ๓ ชม.
๑.๓ จิตบริการของการทำงานภาครัฐ เวลา ๓ ชม.
๑.๔ ตน้ กล้าข้าราชการกบั การทำงานเพ่ือแผ่นดนิ เวลา ๒ ชม.
ชดุ กจิ กรรมที่ ๒ ความรู้ ทักษะ สมรรถนะทจ่ี ำเปน็ ต่อการปฏบิ ตั ิราชการ (๑๕ ชม.)
๒.๑ การใชเ้ ทคโนโลยี อย่างมีคุณธรรม เวลา ๓ ชม.
๒.๒ จิตสำนึกในการปฏิบตั ิงานและการสร้างแรงบันดาลใจ เวลา ๒ ชม.
๒.๓ อภิปรายกฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกับการปฏบิ ัติราชการ เวลา ๒ ชม.
๒.๔ อภปิ รายระเบียบงานสารบรรณและหลกั ภาษาเพื่อการเขียน
หนงั สอื ราชการ เวลา ๓ ชม.
สำนักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
คมู่ ือหลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัติหนา้ ท่ีราชการ
๑๕
๒.๕ การพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของขา้ ราชการ และการจดั ทำ
แผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เวลา ๓ ชม.
๒.๖ การบรหิ ารจัดการเงนิ เพ่ือสมดลุ ชีวติ เวลา ๒ ชม.
ชุดกจิ กรรมที่ ๓ ความรู้และทกั ษะการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษท่ี 21 (๑๐ ชม.)
๓.๑ การเปลีย่ นแปลงและการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษท่ี 21 เวลา ๓ ชม.
๓.๒ อภปิ รายบทบาท สิทธิและหนา้ ที่การปฏิบตั ติ นในฐานะพลเมืองทดี่ ี เวลา ๒ ชม.
๓.๓ อภปิ รายการพฒั นาบุคลิกภาพและการสรา้ งสนุ ทรียภาพของ
ข้าราชการที่ดี ในศตวรรษที่ 21 เวลา ๓ ชม.
๓.๔ การส่งเสรมิ ความรูด้ ้านสทิ ธิประโยชนก์ ารเปน็ สมาชกิ กบข. เวลา ๒ ชม.
กิจกรรมการเรียนรู้และฝกึ ฝนระบบทีมและเครือขา่ ยความสมั พนั ธ์ (๕ ชม.)
๔.๑ การเรียนร้แู ละฝกึ ฝนการทำงานเปน็ ทีม เวลา ๒ ชม.
๔.๒ การพัฒนากระบวนการกลมุ่ สัมพันธ์และการสรา้ งเครือข่าย เวลา ๓ ชม.
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
คู่มอื หลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหม่ทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าที่ราชการ
๑๖
ชุดกิจกรรมท่ี ๑ เรื่อง ปรชั ญาของการเป็นข้าราชการท่ีดีประโยชน์ของแผ่นดินและบทบาทหน้าที่
จิตสำนึกของการเปน็ ข้าราชการท่ีมคี ณุ ธรรม จำนวน ๑๐ ชม.
คำอธิบาย
ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาข้าราชการบรรจใุ หม่ อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัตหิ นา้ ท่ีราชการ ตามหลักสูตร
การเปน็ ข้าราชการทด่ี ี โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ผา่ นการฝกึ อบรมสมั มนาร่วมกนั ในหลักปรชั ญาของ
การเป็นข้าราชการทดี่ ีประโยชนข์ องแผน่ ดินและบทบาทหน้าที่ จติ สำนึกของการเปน็ ข้าราชการที่มี
คณุ ธรรม
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การพฒั นามคี วามร้แู ละความเข้าใจในศาสตร์พระราชา และจติ อาสาของการ
เป็นข้าราชการทดี่ ี
๒. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการพฒั นามีคุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาขา้ ราชการ
๓. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาปฏบิ ตั งิ านโดยคำนงึ ถึงผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๔. เพือ่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นามีจติ บรกิ ารของการทำงานภาครฐั และการเสริมพลังการทำงาน
ความคดิ รวบยอด
ขา้ ราชการบรรจุใหม่ ที่ระหวา่ งทดลองปฏิบตั ิหนา้ ทีร่ าชการ เป็นขา้ ราชการทดี่ ีของแผ่นดนิ
มีจติ สำนึกของการเปน็ ขา้ ราชการท่ีดมี จี ิตอาสาของการเป็นข้าราชการที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและ
จรรยาขา้ ราชการ การปฏิบัตงิ านโดยคำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ส่วนรวม มจี ติ บรกิ ารของการทำงานภาครฐั
และการเสริมพลังการทำงาน ปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ชุดกิจกรรมท่ี ๑ เรื่อง ปรชั ญาของการเป็นขา้ ราชการทด่ี ีประโยชนข์ องแผน่ ดินและบทบาทหนา้ ที่
จิตสำนึกของการเป็นขา้ ราชการทีม่ ีคณุ ธรรม (๑๐ ชม.)
๑.๑ ศาสตร์พระราชา และจิตอาสาของการเปน็ ขา้ ราชการท่ดี ี เวลา ๒ ชม.
๑.๒ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาข้าราชการ เวลา ๓ ชม.
๑.๓ จติ บริการของการทำงานภาครัฐ เวลา ๓ ชม.
๑.๔ ตน้ กล้าข้าราชการกบั การทำงานเพื่อแผ่นดิน เวลา ๒ ชม.
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
ค่มู อื หลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หมท่ อ่ี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าทรี่ าชการ
รายวิชาที่ ๑.๑ ศาสตรพ์ ระราชา และจิตอาสาของการเปน็ ขา้ ราชการทดี่ ี ๑๗
เวลา ๒ ชม.
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนาสามารถนอ้ มนำศาสตร์พระราชา และหลักการทรงงาน ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ัติงานในหน้าท่ีราชการ
๒. เพอ่ื เสริมสร้างเจตคติและจิตสำนกึ ที่ดตี ่อพระมหากรุณาธิคณุ ของสถาบันพระมหากษัตริย์
ด้านการศึกษา รวมทั้งการเป็นผู้มีจิตอาสา แกผ่ ู้ไดร้ ับการพัฒนา
เน้ือหา
1. ศาสตรพ์ ระราชา และหลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
๒. จติ อาสา กับการเป็นข้าราชการที่ดี
การวดั และประเมินผล
๑. การตรวจชิ้นงาน และใบสรปุ องค์ความรู้
๒. การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
วทิ ยากร
วิทยากรท่มี ีบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม มคี วามรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธกี าร
ถ่ายทอดที่ดี เข้าใจง่าย และประสบความสำเร็จเปน็ ท่ยี อมรับในทางวชิ าการ สามารถสร้างบรรยากาศ
ท่ดี ีในการพฒั นาข้าราชการบรรจใุ หม่และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับรายวชิ าอื่นๆ
ท่ีเก่ยี วข้องได้
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
คมู่ อื หลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ อ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการ
รายวิชา ๑.๒ คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาข้าราชการ ๑๘
เวลา ๓ ชม.
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ข้ารับการพฒั นามีความรู้ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั มาตรฐานทางจริยธรรม
๒. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนามคี วามตระหนักต่อการปฏิบัติหนา้ ทโี่ ดยยึดมาตรฐานทางจริยธรรม
๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนาปฏิบัติหนา้ ที่ตามทตี่ นรับผดิ ชอบ เป็นไปตามมาตรฐานทาง
จรยิ ธรรมอยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล
เนื้อหา
1. มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและประมวลจรยิ ธรรม
- ความหมาย
- หนว่ ยงานทมี่ ีหน้าทจ่ี ัดทำประมวลจรยิ ธรรม
2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม (กมจ)
- องคค์ ณะกรรมการ
- อำนาจ/หนา้ ท่ีของคณะกรรมการ
- การทบทวนมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
3. การรกั ษาจริยธรรมของเจ้าหนา้ ที่ของรฐั
- วิธกี ารรักษาจริยธรรม
การวัดและประเมนิ ผล
๑. การตรวจชน้ิ งาน และใบสรุปองค์ความรู้
๒. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
วิทยากร
วิทยากรทมี่ ีบุคลกิ ภาพท่เี หมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วธิ ีการ
ถา่ ยทอดทด่ี ี เขา้ ใจง่าย และประสบความสำเร็จเปน็ ทีย่ อมรับในทางวชิ าการ สามารถสร้างบรรยากาศ
ท่ดี ใี นการพัฒนาข้าราชการบรรจุใหมแ่ ละสามารถบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ่วมกับรายวชิ าอ่นื ๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ งได้
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
คู่มือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ อ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ราชการ
รายวิชาที่ ๑.๓ จิตบริการของการทำงานภาครัฐ ๑๙
เวลา ๓ ชม.
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ใหผ้ ้รู บั การพัฒนาตระหนักถึงความสำคญั และจำเปน็ ท่ีตอ้ งมีคณุ ธรรมดา้ นจิตบริการ
ในการทำงานภาครัฐ
๒. เพื่อให้ผรู้ ับการพัฒนามีความรเู้ ก่ยี วกับคณุ ธรรมด้านจติ บริการ และสามารถพฒั นาตน
เป็นผู้มีคุณธรรมดา้ นจิตบริการเป็นฐานในการทำงานภาครัฐได้
๓. เพ่ือใหผ้ ู้รับการพฒั นาไดร้ ับการเสริมพลงั การทำงานเชิงบวกในการยกระดับคุณภาพ
การใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ
เนื้อหา
๑. การสรา้ งความตระหนักถงึ ความสำคญั และจำเปน็ ทีต่ ้องมีคุณธรรมดา้ นจติ บรกิ ารใน
การทำงานภาครฐั
๑.๑ การศึกษารปู แบบการให้บรกิ ารของรฐั ในรูปแบบตา่ งๆ
๑.๒ การศึกษาวิเคราะหอ์ งค์ประกอบสำคญั ในการปฏิบัตงิ านบรกิ ารแต่ละรูปแบบ
อะไรคือปจั จยั ความสำเร็จและความลม้ เหลวของการใหบ้ ริการ
๑.๓ การสังเคราะห์รูปแบบการให้บริการทเี่ หมาะสมกบั บริบทขององคก์ รภาครัฐ
๒. การพฒั นาคณุ ธรรมด้านจิตบริการของการทำงานภาครัฐ
๒.๑ ความหมายของคุณธรรมดา้ นจิตบรกิ าร การพัฒนาคุณธรรมด้านจติ บริการและ
จุดมงุ่ หมายของการพฒั นาคุณธรรมดา้ นจติ บริการ
๒.๒ การกำหนดมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั คุณธรรมดา้ นจิตบริการและแนวปฏบิ ัติในการ
ทำงานภาครัฐ
๒.๓ วธิ ีการพฒั นาคุณธรรมด้านจิตบรกิ ารด้วยตนเอง
๓. การเสรมิ พลงั การทำงานเชิงบวก
๓.๑ ความรู้เรอื่ งการเสริมพลังการทำงานเชิงบวก
๓.๒ แนวทางในการการเสริมพลงั การทำงานเชงิ บวก
การวัดและประเมินผล
๑. การตรวจชิน้ งาน และใบสรุปองค์ความรู้
๒. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
วิทยากร
คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วิธีการถ่ายทอด ที่ดีเข้าใจง่าย และประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับด้านจิตบริการของการทำงาน
ภาครฐั หรอื สามารถสร้างบรรยากาศท่ดี ีในการพฒั นา โดยเน้นการฝึกปฏบิ ตั ิใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนาเกิด
ความตระหนักในจิตบริการของการทำงานภาครัฐ ได้รับการเสริมพลังการทำงานเชิงบวก และ
สามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับรายวิชาอน่ื ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งได้
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
คูม่ อื หลกั สูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ่ีอยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ ๒๐
เวลา ๒ ชม.
รายวิชาที่ ๑.๔ ต้นกล้าข้าราชการกับการทำงานเพ่ือแผ่นดนิ
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือใหผ้ รู้ ับการพัฒนาตระหนักถงึ การเป็นข้าราชการกบั การทำงานเพ่ือแผน่ ดิน
๒. เพ่ือใหผ้ รู้ บั การพฒั นามีความร้เู กี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการ
๓. เพอ่ื ให้ผรู้ บั การพัฒนาไดร้ ับการเสริมสร้างแนวคดิ ในการปฏบิ ตั งิ านเพื่อแผน่ ดิน
เนือ้ หา
๑. ข้าราชการทีด่ ี
๒. การทำงานเพื่อแผ่นดิน
การวดั และประเมินผล
๑. การตรวจชนิ้ งาน และใบสรปุ องค์ความรู้
๒. การสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
วิทยากร
คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วิธีการถ่ายทอด ที่ดีเข้าใจง่าย และประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับด้านจิตบริการของการทำงาน
ภาครัฐ หรอื สามารถสรา้ งบรรยากาศทดี่ ีในการพัฒนา โดยเน้นการฝึกปฏบิ ัติใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนาเกิด
ความตระหนักในการเปน็ ต้นกล้าข้าราชการกับการทำงานเพอ่ื แผ่นดนิ และสามารถบูรณาการกิจกรรม
การเรยี นรรู้ ว่ มกบั รายวิชาอืน่ ๆ ทเี่ กีย่ วข้องได้
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ค่มู ือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ี่อยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการ
๒๑
ชดุ กจิ กรรมท่ี ๒ ความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่จำเป็นตอ่ การปฏิบัติราชการ จำนวน ๑๕ ชม.
คำอธบิ าย
ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาข้าราชการบรรจุใหม่ อยู่ระหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ น้าท่รี าชการ ตามหลักสูตร
การเปน็ ขา้ ราชการทีด่ ี โดยการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ผ่านการฝึกอบรมสมั มนารว่ มกัน ในหลักปรชั ญาของ
การเป็นข้าราชการท่ีดปี ระโยชน์ของแผ่นดินและบทบาทหนา้ ที่ จติ สำนึกของการเป็นข้าราชการที่มี
คณุ ธรรม
วตั ถุประสงค์
๑. เพือ่ ให้ผ้เู ข้ารบั การพฒั นามคี วามรู้และความเขา้ ใจในการใช้เทคโนโลยี อย่างมีคุณธรรม
๒. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนามีจติ สำนึกในการปฏบิ ตั ิงานและสมรรถนะของข้าราชการ
๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพฒั นามคี วามรู้และความเข้าใจเกย่ี วกับกฎหมายท่เี กย่ี วข้องกับการปฏบิ ัติ
ราชการ
๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพฒั นามีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การเขยี นหนงั สอื ราชการ
๕. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาสามารถจัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) และการรายงานผล
การปฏิบัติราชการประจำปีได้
ความคิดรวบยอด
ข้าราชการบรรจุใหม่ ท่ีระหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ น้าทีร่ าชการ สามารถใช้เทคโนโลยี ได้อย่างมี
คุณธรรม มจี ิตสำนกึ ในการปฏิบัติงานและสมรรถนะของข้าราชการ ภายใต้กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกบั การ
ปฏิบตั ิราชการ มีทกั ษะการเขียนหนงั สือราชการ การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) และการ
รายงานผลการปฏบิ ตั ริ าชการประจำปีและสามารถใช้การสอ่ื สารและการฟังได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ชุดกจิ กรรมที่ ๒ ความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะทจ่ี ำเป็นตอ่ การปฏบิ ัตริ าชการ จำนวน ๑๕ ชม.
๒.๑ การใชเ้ ทคโนโลยี อย่างมีคณุ ธรรม เวลา ๓ ชม.
๒.๒ จติ สำนึกในการปฏิบตั งิ านและการสรา้ งแรงบันดาลใจ เวลา ๒ ชม.
๒.๓ อภปิ รายกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การปฏบิ ัตริ าชการ เวลา ๒ ชม.
๒.๔ อภปิ รายระเบยี บงานสารบรรณและหลักภาษาเพ่ือการเขียน
หนงั สือราชการ เวลา ๓ ชม.
๒.๕ การพฒั นาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของขา้ ราชการ และการจดั ทำ
แผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN) เวลา ๓ ชม.
๒.๖ การบริหารจดั การเงินเพื่อสมดลุ ชีวติ เวลา ๒ ชม.
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
คู่มอื หลกั สูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการ
๒๒
รายวิชาท่ี ๒.๑ การใช้เทคโนโลยี อยา่ งมีคณุ ธรรม เวลา ๓ ชม.
วัตถปุ ระสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ มคี วามตระหนกั และใหค้ วามสำคัญในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
เนอ้ื หา
๑. ประเด็นทางคณุ ธรรมจริยธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๒. คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคด์ า้ นจรรยาบรรณทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
๓. แนวทางปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาสงั คมทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การวดั และประเมิน
๑. สงั เกตพฤติกรรมและบุคลิกภาพผเู้ ขา้ รบั การพฒั นา
๒. ตรวจผลงานจากการฝึกปฏบิ ัติ
๓. ใบกิจกรรม และสรปุ องค์ความรู้
วิทยากร
คัดเลือกวิทยากรท่ีมบี คุ ลกิ ภาพที่เหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วิธีการถา่ ยทอด ทีด่ ีเขา้ ใจงา่ ย และประสบความสำเร็จเป็นท่ยี อมรบั ด้านการใช้เทคโนโลยีในการ
ปฏิบัติงาน เป็นแบบอย่างของขา้ ราชการที่ดี และสามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนา โดยเน้น
การฝกึ ปฏิบัตใิ ห้ผู้เข้ารบั การพัฒนาเกดิ ความตระหนกั ในการใช้เทคโนโลยี อยา่ งมคี ุณธรรมและ
สามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรียนรรู้ ว่ มกับรายวชิ าอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วข้องได้
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
คมู่ ือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ท่อี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ทร่ี าชการ ๒๓
เวลา ๒ ชม.
รายวิชาท่ี ๒.๒ จติ สำนกึ ในการปฏิบัติงานและการสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อสรา้ งความเข้าใจในสมรรถนะหลัก ๕ ดา้ นและสมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ
๒. เพอ่ื ปลูกฝังการทำงานเพอื่ ประชาชน และมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ในงาน ยดึ มั่นความถูกต้อง และการ
ทำงานเปน็ ทีม
๓. เพ่ือสร้างเสรมิ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลกั ใหส้ อดคล้องกบั สมรรถนะขององคก์ ร
๔. เพื่อสร้างเสรมิ แนวทางการสร้างคุณลกั ษณะเชิงพฤติกรรมท่ีแสดงออกและทำใหป้ ฏิบัตงิ านได้
อย่างโดดเด่นในองค์กร
๕. เพ่อื สร้างแรงบันดาลใจในการปฏบิ ตั ิงาน
เนือ้ หา
๑. สมรรถนะหลกั
สมรรถนะหลกั หมายถึง คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมทีก่ ำหนดเป็นคณุ ลกั ษณะร่วมของ
ข้าราชการ พลเรือนทัง้ ระบบเพอื่ เปน็ การหล่อหลอมคา่ นิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงคร์ ่วมกันโดย
สมรรถนะหลกั ในภาคขา้ ราชการพลเรือน ประกอบดว้ ย
๑) การมุ่งผลสัมฤทธิ์
๒) บรกิ ารท่ดี ี
๓) การสง่ั สมความเชย่ี วชาญในงานอาชีพ
๔) การยึดมน่ั ในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม
๕) การทำงานเปน็ ทีม
๒. สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานท่ปี ฏบิ ัติ หมายถงึ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมท่กี ำหนดเปน็
คุณลกั ษณะเฉพาะตามหน้าที่ทีป่ ฏิบัติ ซงึ่ อาจมีความแตกต่างกนั ตามสายงาน หน่วยงาน และส่วน
ราชการ ทง้ั นเ้ี พื่อให้สามารถ ปฏิบตั งิ านในหนา้ ทีท่ ีร่ ับผิดชอบได้อยา่ งเหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ
สูงสดุ โดยสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติซึ่งกำหนดไวเ้ ปน็ มาตรฐานในภาคราชการพลเรอื น
ประกอบด้วย
๑) การคิดวเิ คราะห์
๒) การมองภาพองค์รวม
๓) การสบื เสาะหาข้อมลู
๔) การดำเนินเชิงรุก
๕) การตรวจสอบความถกู ต้องตามกระบวนการ
๖) ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม
สำนักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คูม่ อื หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหมท่ อี่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการ
๒๔
๗) ความเข้าใจผู้อื่น
๘) ความยืดหยุน่ ผ่อนปรน
๙) ศิลปะการสอ่ื สารจงู ใจ
๑๐) ความผกู พันที่มีต่อสว่ นราชการ
๑๑) ความเขา้ ใจองค์กรและระบบราชกา
๑๒) การใชร้ ะบบดิจิทัล และเทคโนโลยี ในการทำงาน
๓. หลกั ในการจัดระดบั สมรรถนะ
๓.๑ ระดบั สมรรถนะ
๓.๒ ความแตกต่างกันของสมรรถนะ
การวัดผลและประเมินผล
๑. การตรวจชน้ิ งาน และใบสรปุ องค์ความรู้
๒. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
วิทยากร
คัดเลือกวิทยากรที่มบี คุ ลิกภาพทเ่ี หมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วธิ กี ารถ่ายทอด ที่ดีเข้าใจงา่ ย และประสบความสำเรจ็ เปน็ ท่ยี อมรบั เป็นแบบอยา่ งของข้าราชการท่ดี ี
มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประเด็นจิตสำนึกในการปฏบิ ตั งิ านและการสร้างแรงบันดาลใจ
และสามารถสร้างบรรยากาศท่ดี ใี นการพัฒนา และสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกบั
รายวชิ าอ่นื ๆ ทีเ่ กยี่ วข้องได้
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
คู่มอื หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ อี่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทร่ี าชการ ๒๕
เวลา ๒ ชม.
รายวชิ าที่ ๒.๓ อภิปรายกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับการปฏิบตั ริ าชการ
วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ
ราชการ และสามารถนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เน้อื หา
๑. กฎหมายเกยี่ วกับวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง
๒. โครงสรา้ งกระทรวง/หน่วยงานในกระทรวง
๓. วนิ ัยข้าราชการ
๔. ระเบยี บว่าดว้ ยการแต่งกาย
๕. ความรเู้ กยี่ วกับเงินเดือน/เงอ่ื นไขการเลือนเงนิ เดือน
๖. กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ
๗. สวสั ดิการและสทิ ธปิ ระโยชน์/การลา/เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์
๘. กฎหมายอ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วข้อง
การวัดและประเมิน
๑. สังเกตพฤติกรรมและบุคลิกภาพผเู้ ขา้ รับการพัฒนา
๒. ตรวจชน้ิ งานและใบสรปุ องค์ความรู้
วิทยากร
คดั เลือกวทิ ยากรท่ีมีบคุ ลิกภาพทเ่ี หมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วิธกี ารถ่ายทอด ทด่ี เี ขา้ ใจง่าย และประสบความสำเรจ็ เปน็ ท่ยี อมรับ มีความรู้ ความสามารถด้าน
กฎหมาย เป็นแบบอยา่ งของข้าราชการที่ดี และสามารถสร้างบรรยากาศทด่ี ีในการพฒั นา โดยเน้นการ
ฝึกปฏิบัติให้ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาเกดิ ความตระหนักในการปฏิบตั ิตามระเบยี บ กฎหมาย อภิปราย
กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องกบั การปฏบิ ตั ริ าชการ และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรูร้ ว่ มกบั รายวิชา
อ่นื ๆ ที่เก่ยี วข้องได้
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
คู่มอื หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ่อี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ
๒๖
รายวชิ าท่ี ๒.๔ อภปิ รายระเบียบงานสารบรรณและหลกั ภาษาเพื่อการเขยี นหนงั สือราชการ
เวลา ๓ ชม.
คำอธบิ าย
หนงั สือราชการ คือ เอกสารท่เี ป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือทม่ี ีไปมาระหว่างสว่ น
ราชการ หนงั สือทสี่ ่วนราชการมีไปถงึ หนว่ ยงานอ่ืนใด ซึ่งมใิ ชส่ ว่ นราชการ หรือท่ีมไี ปถึงบุคคลภายนอก
หนังสอื ที่หน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรอื บคุ คลภายนอกมีมาถึงสว่ นราชการ เอกสารท่ที าง
ราชการจัดทำข้นึ เพ่ือเป็นหลกั ฐานในราชการ เอกสารทีท่ างราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมายระเบียบ
หรือขอ้ บังคบั และข้อมลู ขา่ วสารหรือหนงั สอื ที่ได้รับจากระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทั้งนี้ศิลปะการ
เขียนหนงั สอื ราชการประกอบดว้ ย เขียนใหถ้ กู ต้อง เขยี นให้ชัดเจน เขียนใหร้ ัดกมุ เขียนใหก้ ะทดั รัด
และเขียนให้บรรลุวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั ระเบยี บงานสารบรรณและหลักภาษา
เพ่อื การเขียนหนงั สือราชการ
๒. เพื่อใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามศี ิลปะในการเขยี นหนงั สือราชการ
๓. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รับการพัฒนาสามารถนำศิลปะในการเขยี นหนงั สือราชการ ไปประยุกตใ์ ช้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
เนือ้ หา
๑. ชนิดของหนังสือราชการ
๒. รปู แบบหนังสอื ราชการ
๓. หลกั การเขยี นหนังสือราชการ
๔. การเกษียนหนังสอื ราชการ
๕. ชัน้ ความเรว็
๖. ช้นั ความลับ
การวดั และประเมินผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้
2. ตรวจชิ้นงานและใบสรุปองคค์ วามรู้
สำนักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
คมู่ อื หลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ท่อี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทร่ี าชการ
๒๗
วิทยากร
คดั เลือกวิทยากรท่ีมีบคุ ลิกภาพท่เี หมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วธิ กี ารถา่ ยทอด ทดี่ เี ข้าใจงา่ ย และประสบความสำเรจ็ เปน็ ท่ยี อมรบั มีความรู้ ความสามารถด้านการ
เขยี นหนงั สอื ราชการ และสามารถสรา้ งบรรยากาศท่ดี ีในการพฒั นา โดยเนน้ การฝึกปฏิบตั ิใหผ้ ู้เขา้ รับ
การพัฒนาเกดิ ความตระหนักในระเบยี บงานสารบรรณและหลกั ภาษาเพื่อการเขียนหนังสือราชการ
และสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรียนรรู้ ่วมกบั รายวิชาอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
ค่มู ือหลกั สตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ทีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ราชการ
๒๘
รายวิชาที่ ๒.๕ การพัฒนาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการ และการ
จดั ทำแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เวลา ๓ ชม.
คำอธิบาย
การจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) หมายถงึ การพัฒนาบุคลากรโดยยึดหลกั การ
ประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) จะทำให้ผู้ปฏิบตั ิงานสามารถรูจ้ ดุ เดน่ จุดด้อย
ของความสามารถในการปฏิบัตงิ านของตน และ สามารถพัฒนาตนเองใหส้ อดคล้องกับความต้องการ
จำเป็นของหน่วยงาน และการรายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการประจำปี เปน็ การรายงานผลการปฏบิ ัติ
ราชการตามตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จของสว่ นราชการท่ีกำหนดในแต่ละ ซ่งึ การประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการ หมายถึง การประเมินความสำเรจ็ ของงานอันเปน็ ผล มาจากการปฏบิ ัติงานตลอดรอบการ
ประเมนิ ดว้ ยวธิ กี ารที่องค์กรกำหนด โดยเปรยี บเทยี บผลงานกบั เป้าหมายที่ กำหนดไวใ้ นแผนการ
ปฏบิ ตั ริ าชการ ตามเกณฑม์ าตรฐานผลงานที่ผูบ้ ังคบั บัญชาและผปู้ ฏิบัตงิ านกำหนดร่วมกันไว้ ตง้ั แต่ตน้
รอบการประเมิน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามคี วามรู้ ความเข้าใจ การพฒั นาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะ
ประจำสายงานของขา้ ราชการ และการจัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN)
๒. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รบั การพัฒนาสามารถเขยี นรายงานผลการปฏิบตั ริ าชการประจำปีได้
๓. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนาสามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
เนื้อหา
๑. สมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของขา้ ราชการ
๒. การจัดทำแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan)
๓. การรายงานผลการปฏิบัตริ าชการประจำปี
การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้
2. ตรวจชิ้นงานและใบสรุปองคค์ วามรู้
วทิ ยากร
คัดเลอื กวิทยากรท่ีมีบคุ ลิกภาพที่เหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วธิ ีการถา่ ยทอด ทีด่ เี ขา้ ใจง่าย และประสบความสำเรจ็ เปน็ ท่ียอมรับ มีความรู้ ความสามารถดา้ นการ
พฒั นาสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการ และการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง
(ID PLAN) และสามารถสร้างบรรยากาศที่ดใี นการพฒั นา โดยเน้นการฝกึ ปฏบิ ัติให้ผ้เู ข้ารับการพฒั นา
และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกบั รายวิชาอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งได้
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ค่มู อื หลกั สตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าที่ราชการ ๒๙
เวลา ๒ ชม.
รายวิชาท่ี ๒.๖ การบริหารจัดการเงินเพอ่ื สมดุลชีวติ
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนามีทักษะการบรหิ ารจดั การเงนิ เพ่ือสมดลุ ชีวิต
2. เพอ่ื ให้ผรู้ บั การพฒั นามีความม่ันใจในการบรหิ ารจัดการเงินเพือ่ สมดุลชีวติ
3. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามที ักษะการบริหารจัดการเงินเพื่อสมดลุ ชวี ิต
เนอื้ หา
๑. การพัฒนาทักษะการบรหิ ารจัดการเงนิ
๒. สมดลุ ชวี ติ
๓. การพัฒนาทักษะการบริหารจัดการเงินเพ่ือสมดลุ ชวี ิต
การวัดและประเมนิ
๑ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
๒. ตรวจชนิ้ งานและใบสรุปองค์ความรู้
วิทยากร
คัดเลือกวทิ ยากรที่มบี คุ ลกิ ภาพทเี่ หมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค
วิธีการถ่ายทอด ท่ีดีเข้าใจง่าย และประสบความสำเรจ็ เปน็ ท่ียอมรบั มีความเชี่ยวชาญในการถ่ายทอด
ดา้ นการบริหารจดั การเงินเพื่อสมดุลชวี ติ และสามารถสรา้ งบรรยากาศท่ีดใี นการพัฒนา โดยเนน้ การฝกึ
ปฏบิ ตั ิให้ผูเ้ ข้ารบั การพฒั นาเกิดความเขา้ ใจ นำไปปฏบิ ตั ไิ ด้และสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรยี นรู้
รว่ มกบั รายวชิ าอนื่ ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
ค่มู ือหลกั สูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ท่อี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ทีร่ าชการ
๓๐
ชุดกิจกรรมที่ ๓ ความรู้และทักษะการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษท่ี 21 จำนวน ๑๐ ชม.
คำอธิบาย
ผ้เู ข้ารับการพัฒนาข้าราชการบรรจใุ หม่ อยู่ระหวา่ งทดลองปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการ มคี วามรแู้ ละ
ทักษะการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ 21 การดำเนินชีวิตและการทำงานทีป่ ระสบความสำเรจ็
และมีความสขุ โดยมุ่งที่จะส่งเสริมการเรยี นรู้ เพื่อรู้ (Learning to Know) เน้นองค์ความรู้ การเรียนรู้
เพอื่ ปฏิบตั จิ รงิ (Learning to Do) เนน้ การพัฒนาทักษะ พัฒนาสมรรถนะ และศกั ยภาพตนเอง การ
เรยี นร้เู พ่ือชวี ติ (Learning to Be) เป็นการพฒั นาทกั ษะชวี ิตอยา่ งเป็นองค์รวม และการปรบั ตวั อยู่ใน
สังคมได้อย่างมคี วามสุข การเรียนรทู้ ี่จะอยรู่ ว่ มกัน (Learning to Live Together) เน้นการเรียนร้ใู น
การอยู่รว่ มกันอย่างสนั ติ พงึ่ พากันและกนั การเรียนรูท้ ่จี ะเปล่ียนแปลง (Learning to Change)
พฒั นาศักยภาพทางความคิด การตดั สินใจ และการเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรยี นรเู้ พือ่ ความยง่ั ยืน
(Learning for Sustainable) สามารถประยุกต์ใชค้ วามรู้ทักษะและประสบการณ์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อ
ตนเองและผู้อืน่ ไดอ้ ย่างสอดคล้องและเหมาะสมการปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองทีด่ ี การพัฒนา
บคุ ลกิ ภาพและการสร้างสนุ ทรยี ภาพของขา้ ราชการท่ีดีในศตวรรษที่ 21 โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผ่านการฝกึ อบรมสมั มนาร่วมกัน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนาความรู้และความเขา้ ใจในการเปล่ียนแปลงและการดำรงตนอย่าง
สมดุลในศตวรรษที่ 21
๒. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้ารับการพฒั นาสามารถปฏบิ ัตติ นในฐานะพลเมอื งทดี่ ี
๓. เพอื่ ให้ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาสามารถพัฒนาบคุ ลิกภาพและการสรา้ งสุนทรียภาพของข้าราชการ
ทด่ี ใี นศตวรรษที่ 21
ความคิดรวบยอด
ขา้ ราชการบรรจุใหม่ ท่ีระหว่างทดลองปฏบิ ัติหน้าทร่ี าชการ ทกั ษะการดำรงตนอย่างสมดุลใน
ศตวรรษที่ 21 การดำเนนิ ชีวิตและการทำงานท่ีประสบความสำเร็จและมีความสขุ ปฏบิ ัติตนในฐานะ
พลเมืองทีด่ ี มบี ุคลิกภาพและการสร้างสุนทรียภาพของขา้ ราชการที่ดีในศตวรรษที่ 21 อันจะส่งผลต่อ
การปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
คู่มือหลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ น้าที่ราชการ
๓๑
ชุดกิจกรรมที่ ๓ ความร้แู ละทักษะการดำรงตนอย่างสมดุลในศตวรรษที่ 21 (๑๐ ชม.)
๓.๑ การเปล่ยี นแปลงและการดำรงตนอยา่ งสมดุลในศตวรรษท่ี 21 เวลา ๓ ชม.
๓.๒ อภิปรายบทบาท สทิ ธิและหน้าท่กี ารปฏบิ ตั ิตนในฐานะพลเมืองทด่ี ี เวลา ๒ ชม.
๓.๓ อภปิ รายการพฒั นาบุคลิกภาพและการสร้างสุนทรียภาพของ
ข้าราชการทด่ี ี ในศตวรรษท่ี 21 เวลา ๓ ชม.
๓.๔ การส่งเสริมความรู้ดา้ นสิทธปิ ระโยชน์การเปน็ สมาชิก กบข. เวลา ๒ ชม.
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
คู่มอื หลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ทอ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั หิ น้าท่รี าชการ
๓๒
รายวชิ าที่ ๓.๑ การเปล่ียนแปลงและการดำรงตนอยา่ งสมดลุ ในศตวรรษที่ 21 จำนวน ๓ ชม.
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การพฒั นามีความรเู้ กีย่ วกับสถานการณ์และความเปล่ียนแปลงของโลก
ในด้านต่างๆ
๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลง
ของโลก ในดา้ นต่างๆ
๓. เพ่ือให้ผู้เขา้ รับการพฒั นามีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงของ
โลกในดา้ นต่างๆ
เนือ้ หา
1. สถานการณ์และความเปล่ียนแปลงโลกและผลกระทบต่อตนเองและสงั คมปฏิบัติงาน
2. การใช้ชวี ิตในบรบิ ทของความหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา วัฒนธรรม เพศ
และอ่ืนๆ
๓. ระบบเศรษฐกจิ ไทย ระบบเศรษฐกิจโลก ความเช่ือมโยงระหว่างเศรษฐกิจกับ
ชีวิตประจำวนั
4. การบรหิ ารจัดการเงนิ เพอ่ื ความสมดลุ ชวี ิต
การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้
๒. ตรวจช้นิ งานและใบสรปุ องค์ความรู้
วทิ ยากร
คดั เลือกวิทยากรท่ีมบี คุ ลกิ ภาพทเี่ หมาะสมมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ ทคนิค
การถ่ายทอดท่ีเขา้ ใจงา่ ยและประสบความสำเร็จ เปน็ ทีย่ อมรับมคี วามเชย่ี วชาญในเนื้อหาเปลย่ี นแปลง
และการดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษท่ี 21 และการสรา้ งบรรยากาศท่ดี ีในการพัฒนาการจดั
กจิ กรรมการพัฒนา เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและมเี จตคตทิ ่ดี ีในการดำรงตน
อย่างเหมาะในศตวรรษที่ ๒๑
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
คู่มือหลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ท่ีอยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหน้าท่ีราชการ
๓๓
รายวิชาท่ี ๓.๒ อภิปรายบทบาทสิทธแิ ละหน้าที่การปฏิบัติตนในฐานะพลเมอื งท่ีดี จำนวน ๒ ชม.
วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื สร้างความเข้าใจในบทบาท สิทธแิ ละหน้าท่ีการปฏิบัตติ นในฐานะพลเมอื งที่ดีของ
สงั คม
๒. เพ่ือปลูกฝังการเปน็ พลเมืองท่ีดีต่อสังคม
๓. เพื่อสรา้ งเสริมแนวทางสรา้ งคุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมท่ีแสดงออกและทำให้ปฏิบตั ิงานได้
อยา่ งโดดเด่นในองค์กร
เนอื้ หา
๑. บทบาท สิทธแิ ละหนา้ ที่การปฏบิ ัติตนในฐานะพลเมอื งท่ดี ขี องสงั คม
2. ลกั ษณะของพลเมืองดใี นสังคม
3. คุณธรรม จรยิ ธรรม ของการเป็นพลเมืองดี
4. การปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดใี นสังคมไทยและสังคมโลก
การวัดและประเมินผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้
๒. ตรวจชนิ้ งานและใบสรปุ องคค์ วามรู้
วทิ ยากร
คัดเลอื กวทิ ยากรที่มีบุคลกิ ภาพทเี่ หมาะสมมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ ทคนิค
การถา่ ยทอดท่ีเข้าใจง่ายและประสบความสำเรจ็ เป็นทยี่ อมรบั มคี วามเชีย่ วชาญในเน้ือหาเปลี่ยนแปลง
และการดำรงตนอย่างสมดลุ ในศตวรรษที่ 21 และการสร้างบรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาการจดั
กิจกรรมการพัฒนา เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ บทบาท สิทธแิ ละหน้าท่กี ารปฏิบตั ิ
ตนในฐานะพลเมอื งท่ีดีของสงั คม
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ค่มู ือหลกั สูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ท่ีอยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั หิ น้าท่ีราชการ
๓๔
รายวิชาท่ี ๓.3 อภิปรายการพัฒนาบคุ ลิกภาพและการสรา้ งสนุ ทรยี ภาพของข้าราชการท่ดี ี
ในศตวรรษท่ี 21 เวลา 3 ชม.
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการพัฒนามีความรคู้ วามเขา้ ใจ มีทกั ษะ การพฒั นาบุคลิกภาพและ
สนุ ทรยี ภาพ
๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและหาวิธีการแนวทางการปรับปรุงฝึกฝน
ตนเองได้
๓. เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาปฏบิ ัตติ นให้เป็นผทู้ ี่มบี คุ ลิกภาพเหมาะสมกับการเป็นขา้ ราชการที่ดี
เนอื้ หา
การพฒั นาบุคลิกภาพ ทเี่ หมาะสมกับขา้ ราชการ
1.1 การวเิ คราะหต์ ัวเอง (Self-analysis) การปรบั ปรงุ และฝึกฝนตนเอง (Self-
improvement and Training) การแสดงออก (Behavior) การประเมินผล (Evaluation)
1.2 การพัฒนาบุคลิกภาพดา้ นต่าง ๆ
1) การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย การแต่งกายในโอกาสต่าง ๆ การวางตัวอย่าง
สงา่ งาม การพูด การยนื การเดิน การวางท่าทีทา่ ทาง การสื่อสาร เป็นตน้
2) การพฒั นาบคุ ลิกภาพทางสังคม การพูด มารยาทในการรับประทานอาหาร
การทักทาย ความไม่เหน็ แก่ตัว ความซ่อื สตั ย์ ความบริสทุ ธ์ิใจ การรูจ้ ักใจเขาใจเรา ความเปน็ คน
ตรงต่อเวลา
3) การพฒั นาบคุ ลิกภาพทางอารมณ์ การควบคมุ อารมณ์ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
การกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ การแสดงออกความรัก ความไม่พอใจ
ในระดบั พอดี
4) การพฒั นาบุคลิกภาพทางสติปญั ญา การพฒั นาตนเองใหม้ ีภมู ิรู้ ความร้สู ึกนกึ
คิดเจตคติ และความสนใจ
การวัดและประเมนิ ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมและบคุ ลิกภาพการเรียนรู้
๒. ตรวจผลงานจากการฝึกปฏบิ ัติ
วทิ ยากร
คดั เลือกวทิ ยากรที่มีบุคลิกภาพที่ดี มีความเช่ยี วชาญในการพฒั นาบุคลกิ ภาพ มปี ระสบการณ์
เทคนิค วธิ กี าร ถา่ ยทอดทด่ี ี เขา้ ใจงา่ ย สามารถสรา้ งบรรยากาศที่ดีในการพฒั นาและจดั กจิ กรรม
พัฒนาโดยเน้นการเสรมิ สร้างบุคลิกภาพแกผ่ ้เู ข้ารับการพฒั นา
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ค่มู ือหลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หมท่ อี่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ
รายวิชาท่ี ๓.๔ การส่งเสรมิ ความรู้ดา้ นสทิ ธิประโยชน์การเปน็ สมาชกิ กบข. ๓๕
เวลา ๒ ชม.
วตั ถุประสงค์
๑. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามีความรคู้ วามเขา้ ใจกองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (กบข.)
๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน
บำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
๓. เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนาสามารถวเิ คราะห์และรจู้ ักวางแผนการดำเนนิ ชวี ิต
เนอ้ื หา
๑. สทิ ธปิ ระโยชน์ข้าราชการ
๒. กองทุนบำเหน็จบำนาญขา้ ราชการ (กบข.)
การวดั และประเมินผล
๑. สังเกตพฤติกรรมและบุคลิกภาพการเรียนรู้
๒. ตรวจผลงานจากการฝึกปฏบิ ตั ิ
วทิ ยากร
คัดเลอื กวทิ ยากรท่ีมบี คุ ลิกภาพทีเ่ หมาะสมมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ ทคนคิ
การถ่ายทอดท่ีเขา้ ใจง่ายและประสบความสำเรจ็ เป็นทย่ี อมรับมคี วามเชย่ี วชาญในเน้ือหาสิทธิ
ประโยชนก์ ารเปน็ สมาชกิ กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (กบข.) และการสร้างบรรยากาศท่ีดใี น
การพฒั นาการจดั กิจกรรมการพฒั นา เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารบั การพัฒนามคี วามรู้ ความเข้าใจ บทบาท สิทธิ
และหน้าที่การปฏบิ ตั ิตนในฐานะพลเมืองทด่ี ขี องสงั คม
สำนกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มอื หลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ่อี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทรี่ าชการ ๓๖
จำนวน ๕ ชม.
กจิ กรรม การเรยี นรู้และฝกึ ฝนทำงานระบบทีมเครือข่ายความสัมพันธ์
คำอธิบาย
ผเู้ ข้ารับการพฒั นาข้าราชการบรรจุใหม่ อยู่ระหว่างทดลองปฏบิ ัติหน้าทร่ี าชการ ฝึกอบรม
สัมมนารว่ มกัน ดว้ ยกระบวนการกลมุ่ ผา่ นกจิ กรรม การพัฒนาสุขภาวะทางร่างกาย และการพัฒนา
กระบวนการกลมุ่ สมั พันธ์ เพ่ือสร้างเครือข่ายในการทำงานและฝึกการทำงานเปน็ ทมี
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารบั การพัฒนาได้ฝึกการพฒั นากระบวนการกลมุ่ /ทีม
๒. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การพฒั นามสี ัมพนั ธภาพที่ดีตอ่ กัน
ความคิดรวบยอด
ขา้ ราชการบรรจุใหม่ ที่ระหว่างทดลองปฏิบัตหิ นา้ ท่ีราชการ มสี ุขภาวะทางรา่ งกายที่ดี
สามารถนำความรู้ไปปฏิบตั ไิ ด้จริงและฝกึ กระบวนการกลมุ่ สัมพนั ธ์ เพื่อสรา้ งเครอื ข่ายในการทำงาน
และฝึกการทำงานเปน็ ทีมสง่ ผลใหเ้ กดิ สัมพนั ธภาพทดี่ ีต่อกัน
กิจกรรม จำนวน ๕ ชม.
๑. การเรียนรแู้ ละฝึกฝนการทำงานเป็นทมี เวลา ๒ ชม.
๒. การพฒั นากระบวนการกลุ่มสัมพนั ธ์และการสรา้ งเครอื ข่าย เวลา ๓ ชม.
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
คู่มือหลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ทอี่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหนา้ ทร่ี าชการ
๓๗
บทที่ ๓
การวัดและประเมินผล
แนวทางการวัดและประเมินผล
ผู้เข้ารับการพัฒนานำองค์ความรู้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้จากสภาพจริง
มาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และจัดทำกิจกรรม ดังน้ี
ลำดับท่ี กิจกรรม หมายเหตุ
แบบ ปผ.๓.๑
๑ แบบบันทกึ คะแนน จำนวน ๑๔ รายวิชา
แบบ ปผ.๓.๒
๒ แบบบนั ทกึ การประเมินเวลาในการเข้าร่วมกจิ กรรม
แบบ ปผ.๓.๓
๓ แบบบันทกึ คะแนนทดสอบออนไลน์ (Pre-test/Post-test) แบบ ปผ.๓.๔
๔ แบบสำรวจความคดิ เห็นการดำเนนิ การ
กิจกรรม/งาน/ชน้ิ งาน/คะแนน
การอบรมพัฒนาประกอบด้วย ชดุ กิจกรรม ๓ ชุด จำนวน ๑๔ รายวชิ า ประเมนิ รายวชิ าละ
๑๐ คะแนน รวม ๑๔๐ คะแนน ตามรายละเอียดแต่ละรายวิชา
การประเมินผลการพัฒนา
การประเมินผลการพฒั นาเป็นกระบวนการเพื่อปรับปรุง พัฒนา โดยกำหนดใหม้ ีการประเมิน กอ่ น
พัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเมื่อสิ้นสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริง ด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย โดยยดึ วัตถุประสงคท์ ่ีกำหนด ดงั นี้
๑. ผู้เข้ารับการพัฒนาศกึ ษาเอกสารกอ่ นการพัฒนา
๒. ผู้เขา้ รบั การพฒั นาต้องเขา้ รบั การประเมนิ ความรู้กอ่ นและหลงั การพฒั นาด้วยการทดสอบ
ความรู้ทีเ่ กยี่ วข้อง
๓. การประเมินผล (๑๗๐ คะแนน)
๓.๑ ประเมินก่อนการพฒั นา
๓.๒ ประเมนิ ระหว่างการพฒั นา (๑๔๐ คะแนน)
๓.๓ ประเมินหลังการพัฒนา (๓๐ คะแนน)
๔. เกณฑ์การผ่านการพัฒนา ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องมีคะแนนการประเมินตามเกณฑ์ ที่กำหนด
ดังนี้
๔.๑ มีระยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพัฒนา
ท้งั หมด
๔.๒ ไดค้ ะแนนการประเมินผล ระหวา่ งการพัฒนาไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
๔.๓ ผ่านการประเมินความรู้หลังการพฒั นาดว้ ยการทดสอบความรู้เม่ือส้ินสดุ การพัฒนา
ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
คมู่ อื หลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ ่อี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทรี่ าชการ
๓๘
เครื่องมอื การวดั และประเมินผล
สำนกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ค่มู อื หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัตหิ น้าท่รี าชการ
๓๙
แบบบันทึกคะแนน แบบ ปผ.๓.๑
หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ ท่ีอยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ(ระยะท่ี ๓)
******************************************************
ลำดับ ชอ่ื -สกุล ชดุ กิจกรรมที่ ๑ ชดุ กจิ กรรมที่ ๒ ชดุ กิจกรรมท่ี ๓ รวม
๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๒.๖ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔
(๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๐) (๑๔๐)
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
หมายเหตุ ประเดน็ ประเมนิ ประกอยดว้ ย ๕ ประเดน็ ยอ่ ย ประเดน็ ละ ๒ คะแนน รวมเป็น ๑๐ คะแนน ดงั น้ี
๑. ความถกู ตอ้ ง ๒. ความสมบูรณ์ ๓. ความตรงเวลา
๔. ความรว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ๕. ความสอดคล้องกับเน้อื หา
(ลงชื่อ).....................................วทิ ยากรประจำกลุ่ม (ลงชือ่ ).................................วิทยากรประจำกลมุ่
(.................................................) (.................................................)
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
คูม่ ือหลกั สูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ทอี่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ทีร่ าชการ
แบบ ปผ.๓.๒ ๔๐
แบบบันทกึ การประเมินเวลาในการเข้ารว่ มกิจกรรม
หลักสตู รการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ ท่ีอย่รู ะหวา่ งทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทร่ี าชการ (ระยะที่ ๓)
******************************************************
เวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม
เลขที่ ชอ่ื -สกลุ วันที่ ๑ รวม (วนั )
วัน ่ีท ๒
วัน ่ีท ๓
วันที่ ๔
วัน ี่ท ๕
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
หมายเหตุ
- ให้ใส่เครอื่ งหมาย แทน การเขา้ รว่ มกจิ กรรมในแต่ละวนั
- ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย แทน การขาดการเขา้ รว่ มกจิ กรรมในแต่ละวัน
(ลงช่ือ).....................................วิทยากรประจำกลมุ่ (ลงชื่อ).................................วิทยากรประจำกลมุ่
(.................................................) (.................................................)
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
คมู่ อื หลักสตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หมท่ ีอ่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัติหนา้ ท่ีราชการ
๔๑
แบบบนั ทึกคะแนนทดสอบออนไลน์ (Pre-test/Post-test) แบบ ปผ.๓.๓
หลกั สตู รการอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ ที่อย่รู ะหวา่ งทดลองปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการ (ระยะท่ี ๓)
******************************************************
ผลการทดสอบ ผา่ น
(รอ้ ยละ ๖๐)
เลขท่ี ชือ่ -สกลุ กอ่ นเรยี น หลงั เรียน
(Pre-test) (Post-test)
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
(ลงช่อื ).....................................วิทยากรประจำกลมุ่ (ลงชื่อ).................................วิทยากรประจำกลุ่ม
(.................................................) (.................................................)
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
คูม่ ือหลกั สูตรการอบรมข้าราชการบรรจใุ หม่ทอี่ ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ
๔๒
แบบสำรวจความคิดเห็นการดำเนนิ การ แบบ ปผ.๓.๔
หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจุใหม่ ท่ีอยู่ระหว่างทดลองปฏิบตั ิหนา้ ทรี่ าชการ(ระยะที่ ๓)
******************************************************
คำช้ีแจง โปรดกาเครื่องหมาย ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั ความคดิ เห็นของท่านในประเดน็
ดงั ต่อไปนี้
ระดบั ความคดิ เหน็
รายการ มาก ปาน นอ้ ย
ท่ีสดุ กลาง ท่สี ุด
มาก นอ้ ย
๑. การตดิ ต่อสอ่ื สารระหวา่ งหนว่ ยจดั อบรมกับผู้เขา้ รับการอบรม
๒. ความเขา้ ใจจากการศึกษาเนอ้ื หาหลักสูตรก่อนการอบรม
๓. ความเหมาะสมของสือ่ /เอกสารประกอบการอบรม
๔. ความเหมาะสมของรูปแบบกจิ กรรม
๕. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการอบรม
๖. ความเหมาะสมของวทิ ยากรการอบรม
๗. การมีส่วนร่วมของผเู้ ขา้ รบั การอบรม
๘. บรรยากาศการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ในการอบรม
๙. ระบบการสอ่ื สารออนไลน์ในการอบรม
๑๐. ประโยชนต์ ่อการพัฒนาวิชาชีพทีไ่ ดร้ ับจากการอบรม
ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. ....................................
.............................................................................................. ...................................................................
............................................................................................................................. ....................................
หมายเหตุ ระดบั คะแนน เหน็ ด้วยในระดบั มากที่สดุ (๕) เห็นด้วยในระดบั มาก (๔)
เห็นดว้ ยในระดบั ปานกลาง (๓) เห็นดว้ ยในระดบั นอ้ ย (๒)
เหน็ ดว้ ยในระดับนอ้ ยทสี่ ดุ (๑)
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
คมู่ อื หลักสูตรการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหน้าทรี่ าชการ
๔๓
รายช่ือคณะกรรมการดำเนินการจัดทำ
1. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
1.1 นายอัมพร พินะสา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
1.2 วา่ ท่ีร้อยตรี ธนุ วงษจ์ ินดา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
1.3 นางเกศทพิ ย์ ศุภวนชิ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
1.4 นายพฒั นะ พัฒนทวีดล ผูช้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
1.5 นายนิพนธ์ ก้องเวหา ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
1.6 นายเทอดชาติ ชยั พงษ์
2. คณะทำงานวเิ คราะห์ และพฒั นา/ปรับปรุงหลักสูตร ครั้งท่ี 1
2.1 นายนิพนธ์ ก้องเวหา ผชู้ ่วยเลขาธิการ ประธานคณะทำงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
2.2 นายประชอบ หลีนกุ ลู ข้าราชการบำนาญ รองประธานคณะทำงาน
2.3 นายเทวรัฐ โตไทยะ ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.4 นายเทพรงั สรรค์ จนั ทรงั ษี ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.5 นายปรีชา ศิรมิ าศ ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.6 นายพิศณุ ศรีพล ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.7 นายไชยา กัญญาพนั ธุ์ ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.8 นายอภชิ าต พุทธเจรญิ ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.9 นายศุภชาติ ดีแกง ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.10 นายวิษณุ ผสมทรัพย์ ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.11 นางศิริวรรณ อาจศรี ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.12 นายสรยทุ ธ สืบแสงอนิ ทร์ ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.13 นายสุริยา ชิณณะพงศ์ ขา้ ราชการบำนาญ คณะทำงาน
2.14 นายสชุ าติ กลดั สุข ผูอ้ ำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2
2.15 นายสมบูรณ์ ธรรมลังกา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา คณะทำงาน
ประถมศึกษาเชยี งรายเขต 1
2.16 นายไพฑูรย์ จารุสาร ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย คณะทำงาน
นนทบรุ ี ปฏบิ ตั หิ น้าทผ่ี อู้ ำนวยการสำนักบรหิ ารงาน
การมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
คมู่ ือหลักสูตรการอบรมข้าราชการบรรจุใหมท่ ีอ่ ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัติหนา้ ท่ีราชการ
๔๔
3. คณะทำงานวิเคราะห์ และพฒั นา/ปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 2
3.1. นายอนนั ต์ พันนกึ ผอู้ ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ
3.2. ผู้อำนวยการกลุ่มทกุ กลุ่มในสำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร คณะทำงาน
3.3 นายสุชาติ กลัดสุข ข้าราชการบำนาญ คณะทำงาน
3.4 นางสาวลออ วลิ ัย ผู้อำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยนาท
3.5. นายพเิ ชฐร์ วนั ทอง ผูอ้ ำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
3.6 นางวรกัญญาพไิ ล แกระหัน รองผู้อำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร
3.7 นางสาวศริ ิวรรณ ขวญั มุข รองผู้อำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสุโขทยั
3.8. นางสุเนตร ขวัญดำ รองผู้อำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสุรนิ ทร์
3.9 นางดุจดาว โตบางปา่ รองผอู้ ำนวยการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2
3.10 นายวาทกานต์ ศรีธรราษฎ์ รองผู้อำนวยการ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเพชรบูรณ์
3.11 นางธัญญลกั ษณ์ รองผอู้ ำนวยการ คณะทำงาน
เกยี รตกิ ุลไทย สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 4
3.12 นางสาวสณิ ณี าฎ อารีย์ รองผูอ้ ำนวยการ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษากระบี่
3.13 นางวารณุ ี พ่านปาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบางหลาม คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพังงา
3.14 วา่ ที่ ร.ต. หญงิ ชนัตพรวงศท์ ิม ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นสนั ยงู คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1
3.15 นางสาวเสาวลักษณ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั ทัพหมนั คณะทำงาน
บุญจนั ทร์ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอทุ ัยธานี เขต 2
3.16 นางสาวเกษแก้ว เจริญเกตุ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนวดั โบสถ์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสิงห์บรุ ี
3.17 ส.อ.พิษณุ เก่งกสวิ ทิ ย์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนติ กิ าร
สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิติการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
คู่มือหลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ทอ่ี ยรู่ ะหว่างทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ทรี่ าชการ
๔๕
3.18 นายสงั คม จันทรว์ ิเศษ ผ้อู ำนวยการ คณะทำงานและเลขานุการ
กล่มุ วจิ ยั และพัฒนาการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
3.19 นางสาวอฉั ราพรรณ อิ่นทา สำนักพัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลและนิตกิ าร
3.20 นางสาวอารยา นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั กิ าร คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ
ดาราศรศี กั ด์ิ นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั กิ าร คณะทำงานและผชู้ ่วยเลขานุการ
3.21 นางสาวเดือนเพญ็ สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ
นกั ทรัพยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ
ทองพิลา สำนกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนิติการ
3.22 นางสาวอรสิ รา นกั วิชาการศึกษาปฏิบตั กิ าร คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
สำนักทดสอบทางการศกึ ษา
เริงสำราญ
4. คณะทำงานฝา่ ยเลขานุการ ผู้อำนวยการ
4.1 นายอนันต์ พันนกึ ประธานคณะทำงาน
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ
4.2 นายสงั คม จันทร์วิเศษ ผู้อำนวยการ คณะทำงานและเลขานุการ
กลุ่มวจิ ัยและพัฒนาการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนติ ิการ
4.3 ส.อ.พษิ ณุ เกง่ กสิวทิ ย์ นกั ทรัพยากรบคุ คล คณะทำงานและผูช้ ่วยเลขานกุ าร
ชำนาญการพิเศษ
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนติ ิการ
4.4 นายศราวธุ ไชยทองพนั ธ์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล คณะทำงานและผ้ชู ่วยเลขานุการ
ชำนาญการ
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1
4.5 นางสาวอฉั ราพรรณ อิ่นทา นักทรพั ยากรบคุ คล คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ
ปฏบิ ตั กิ าร
สำนักพฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนิตกิ าร
4.6 นางสาวอารยา ดาราศรศี กั ด์ิ นกั ทรพั ยากร คณะทำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
บคุ คลปฏบิ ตั ิการ
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ
4.7 นางสาวเดอื นเพ็ญ ทองพลิ า นกั ทรพั ยากร คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
บุคคลปฏบิ ัติการ
สำนกั พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ
4.8 นางสาวนนั ทนุช สวุ รรนาวธุ นกั วชิ าการศกึ ษา คณะทำงานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
ชำนาญการ
สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ
สำนกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ ิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
ค่มู อื หลกั สตู รการอบรมขา้ ราชการบรรจใุ หม่ท่อี ยรู่ ะหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ท่รี าชการ
๔๖
สำนกั พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลและนิติการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน