ส่ือวิทยโุ ทรทศั น์
สารบญั หน้ า
3–5
ประวัตวิ ทิ ยโุ ทรทัศน์ 6–7
ความหมายของวทิ ยโุ ทรทศั น์ 8–9
ข้อดแี ละข้อเสีย
อ้างองิ 10
ประวัติส่ื อวิทยุโทรทัศน์
นั กวิทยาศาสตร์ได้คิดค้นพบรากฐานระบบโทรทศั น์ ในปี ค.ศ.1817
โดยจาคอบ เบอรเ์ ซเลียส (Jacob Berzelius) ตอ่ มาเขาได้ประดิษฐ์
โฟโตอ้ ิเล็กทริกเซล ซ่ึงสามารถเปล่ียนแปลงพลังงานแสงให้เป็น
พลังงานไฟฟ้าได้แล้วจึงทาให้เกิดการคิดค้นการเกิดโทรทศั น์ ข้ึนได้
ปอล นิ โกว์ (Paul Nipkow) ชาวเยอรมันได้หาวิธีท่ีทาให้ภาพเป็นเส้น แล้ว
สามารถปรากฏจอได้ในปี1884 และได้ทดลองเผยแพร่ภาพด้วยเทคโนโลยี
จกั รกล แล้วก็แปลงกระแสไฟฟ้าให้กลายเป็นภาพท่ีข้ึนจอ ถึงจะสามารถ
ทาได้แตก่ ็ยังต้องพัฒนาอีกต่อไป
ตอ่ มา ฟรานซิส เจนกิลส์ (Francis Jenkins)ได้พยายามพัฒนาการ
ทดลองของนิ โกวใ์ ห้ดีข้ึน ในท่ีสดุ เขาก็สามารถนาฟิล์มภาพยนตร์รวมกับ
วทิ ยุ ได้เรยี กว่าวิทยภุ าพ(Radio vision)ในปีค.ศ.1925
และในปี ค. ศ. 1955 ( พ. ศ. 2498) ประเทศไทย ก็เร่ิมมกี ารใช้หรอื การ
แพร่ภาพทางโทรทศั น์ เช่นกัน
ความหมายของวิทยุ
โทรทัศน์
วิทยโุ ทรทศั น์ และ โทรทศั น์ หรอื ท่ีคนนิยมใช้เรยี กว่าTV ทีวี
คือการส่งหรอื รบั ภาพน่ิง
มคี วามสาคัญ 3ประการไดแ้ ก่
1.เสรมิ สรา้ งสติปัญญาให้ผู้คน
1.1 ไม่บิดเบอื นจากความจรงิ และให้ความรูร้ อบดา้ น
1.2 เสริมสร้างการศึ กษาเพ่ือให้นาความรู้ท่ไี ด้ไปประกอบอาชีพได้
1.3 ให้ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นได้
2.พัฒนาประเทศ
2.1 พัฒนาการศึ กษาของประชาชนด้วยวิธีการถ่ายทอดความรูห้ รอื
ข่าวสารท่ีงา่ ยๆตรงๆ
2.2 เป็นสื่อกลางให้ความคิดหรือสร้างเช่ือศรทั ธา
3. เครื่องมอื การส่ือสารของโลก
3.1 รายงานเหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ข้ึนในโลก
3.2 แลกเปลย่ี นความรู้ความบันเทงิ
ข้ อดีและ
ข้อเสี ย
ข้ อ ดี ข้อเสี ย
• ดึงดูดความสนใจได้มาก • มรี าคาท่ีสงู กวา่ สื่ออน่ื ๆ
เพราะมที งั้ ภาพและ • ไมส่ ามารถชมยอ้ นหลงั
เสี ยง
ได้
• เก็บข่าวสารได้ • เป็นสื่อทางเดียว
• ถ่ายทอดไดร้ วดเรว็
• มกี ารนาเสนอรายการ
ไดด้ กี วา่ สื่ออ่ืนๆ
อ้างอิง
academy.rbru (2016) retrieve from
http://www.academy.rbru.ac.th/uploadfiles/
books/130-2017-07-04-13-36-31.pdf
BLOGGANG (2008) retrieve from
https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?
id=mhajoy&month=02-
2008&date=13&group=2&gblog=22
YUMPU(2006) retrieve from
https://www.yumpu.com/de/document/view/
24550437/-2-