The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruPeerasin Aekkathin, 2020-12-01 09:52:41

เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยที่ 4

เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยที่ 4

เทคโนโลยี

(วทิ ยาการคาํ นวณ)

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั
และถูกต้องตามสิทธิในการนาํ มาใช้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
แผนผงั หัวข้อหน่วยการเรียนรู้

ประเภทของขอ้ มลู ทมี่ ีการแชร์ กฎหมายเก่ียวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญา
หรือแบ่งปันในสังคมออนไลน์ คอมพิวเตอร์

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั
และถูกต้องตามสิทธใิ นการนาํ มาใช้

การทาํ ธุรกิจออนไลน์ การทาํ ธุรกรรม การใชเ้ ทคโนโลยสี ่ือสาร
ออนไลน์ และความปลอดภยั และสารสนเทศกบั การเผยแพร่

ในการใชง้ านสาํ หรับผเู้ รียกใชบ้ ริการ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ตวั ชี้วัด

ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม ปฏิบตั ิตาม
กฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ิขสิทธ์ิของผอู้ ื่นโดยชอบธรรม (ว 4.2 ม.3/4)

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ประเภทของข้อมูลท่ีมกี ารแชร์หรือแบ่งปันในสังคมออนไลน์

ข้อมูลข่าวสาร
(Information)

ขอ้ มูลขา่ วสารทแี่ บ่งปัน ขอ้ มลู ขา่ วสารทีแ่ บง่ ปัน ขอ้ มลู สารสนเทศท่ี
แลกเปลี่ยนหรือแชร์ แลกเปลี่ยนกนั ระหวา่ ง แลกเปลี่ยนกนั ระหวา่ ง
เป็นการส่วนบคุ คล องคก์ รหรือหน่วยงาน ระบบเฟิ ร์มแวร์และซอฟตแ์ วร์

เช่น ขอ้ ความ ภาพ วดิ ีโอ เช่น ข่าวสาร เช่น การตรวจสอบว่ามีหมายเลข
ลิงก์ ไฟลป์ ระเภทตา่ ง ๆ หรือเหตุการณต์ า่ ง ๆ IP ใดท่ีว่างใหข้ อใชไ้ ด้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

ความเป็ นส่วนตวั ของข้อมลู ทแี่ ชร์
หรือแลกเปลย่ี นกนั ในสังคมออนไลน์

ขอ้ มลู บคุ คลต่อบคุ คล ขอ้ มลู บุคคลต่อกลุ่มบคุ คล ขอ้ มลู บคุ คลต่อสาธารณะ
(Person to Person) (Person to Private Group) (Person to Public)

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

กฎหมายเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์

กฎหมายเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์
1. พระราชบัญญตั วิ ่าด้วยการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560

มาตรา 4 ผใู้ ดส่งขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บคุ คลอื่นอนั มีลกั ษณะ
เป็นการก่อใหเ้ กิดความเดือดร้อนราํ คาญแก่ผรู้ บั ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์หรือจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิ ดโอกาสใหผ้ รู้ ับสามารถบอกเลิกหรือแจง้ ความประสงค์
เพอ่ื ปฏิเสธการตอบรบั ไดโ้ ดยง่าย ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท

มาตรา 5 การกระทาํ ต่อขอ้ มูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เก่ียวกบั การรกั ษา
ความมน่ั คงปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความมนั่ คงในทาง
เศรษฐกิจของประเทศหรือโครงสร้างพ้นื ฐานอนั เป็นประโยชน์สาธารณะ
ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกต้งั แต่ 1-7 ปี และปรับต้งั แต่ 20,000-140,000 บาท

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

มาตรา 6 ถา้ การกระทาํ ความผดิ เป็นเหตุใหเ้ กิดอนั ตรายแก่บุคคลอื่นหรือทรัพยส์ ิน
ของผอู้ ่ืน ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไมเ่ กิน 200,000 บาท
ถา้ การกระทาํ ความผดิ โดยมไิ ดม้ เี จตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บคุ คลอื่น
ถึงแก่ความตาย ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกต้งั แต่ 5-20 ปี และปรับต้งั แต่
100,000-400,000 บาท

มาตรา 7 ผใู้ ดจาํ หน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาํ สัง่ ที่จดั ทาํ ข้ึนโดยเฉพาะเพอื่ นาํ ไปใชเ้ ป็น
เคร่ืองมอื ในการกระทาํ ความผดิ ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กิน 2 ปี หรือปรับ
ไม่เกิน 40,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

มาตรา 8 ผใู้ ดกระทาํ ความผดิ ท่ีระบุไวด้ งั ต่อไปน้ี ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กิน 5 ปี
หรือปรับไมเ่ กิน 100,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ
(1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นาํ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์

ซ่ึงขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ทบี่ ดิ เบือนหรือปลอมไมว่ ่าท้งั หมดหรือ
บางส่วน หรือขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์อนั เป็นเทจ็ โดยประการท่ีน่าจะเกิด
ความเสียหายแก่ประชาชน อนั มใิ ช่การกระทาํ ความผดิ ฐาน
หมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา

(2) นาํ เขา้ สู่ระบบคอมพวิ เตอร์ซ่ึงขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์อนั เป็นเทจ็
โดยประการทน่ี ่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมน่ั คงปลอดภยั
ของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความมน่ั คงในทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ หรือโครงสร้างพ้นื ฐานอนั เป็นประโยชนส์ าธารณะ
ของประเทศ หรือก่อให้เกิดความต่ืนตระหนกแก่ประชาชน

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

(3) นาํ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ใด ๆ อนั เป็นความผดิ
เก่ียวกบั ความมน่ั คงแห่งราชอาณาจกั รหรือความผดิ เก่ียวกบั
การก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา

(4) นาํ เขา้ สู่ระบบคอมพวิ เตอร์ซ่ึงขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ใด ๆ ทม่ี ีลกั ษณะ
อนั ลามกและขอ้ มลู คอมพิวเตอร์น้นั ประชาชนทวั่ ไปอาจเขา้ ถึงได้

(5) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงขอ้ มูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยแู่ ลว้ วา่ เป็น
ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

มาตรา 9 ผใู้ หบ้ ริการผใู้ ดใหค้ วามร่วมมือ ยนิ ยอม หรือรูเ้ ห็นเป็นใจใหม้ กี ารกระทาํ ความผดิ
ตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ทอี่ ยใู่ นความควบคุมของตน ตอ้ งระวางโทษ
เช่นเดียวกบั ผกู้ ระทาํ ความผดิ ตามมาตรา 14

มาตรา 10 ผใู้ ดนาํ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทวั่ ไปอาจเขา้ ถึงไดซ้ ่ึงขอ้ มูล
คอมพิวเตอร์ท่ปี รากฏเป็นภาพของผอู้ ่ืน และภาพน้นั เป็นภาพท่ีเกิดจากการ
สรา้ งข้นึ ตดั ต่อ เติม หรือ ดดั แปลงดว้ ยวธิ ีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์หรือวธิ ีการ
อ่ืนใด โดยประการทน่ี ่าจะทาํ ใหผ้ อู้ ื่นน้นั เสียช่ือเสียง ถูกดูหมิน่ ถูกเกลียดชงั
หรือไดร้ บั ความอบั อาย ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไมเ่ กิน
200,000 บาท
ถา้ การกระทาํ ตามวรรคหน่ึงเป็นการกระทาํ ต่อภาพของผตู้ าย และการกระทาํ น้นั
น่าจะทาํ ใหบ้ ดิ า มารดา คู่สมรส หรือบตุ รของผตู้ ายเสียช่ือเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูก
เกลียดชงั หรือไดร้ บั ความอบั อาย ผกู้ ระทาํ ตอ้ งระวางโทษดงั ท่บี ญั ญตั ิไว้
ในวรรคหน่ึง

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

มาตรา 14 ในกรณีท่มี ีการทาํ ให้แพร่หลายซ่ึงขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ดงั ต่อไปน้ี
พนกั งาน เจา้ หนา้ ทโี่ ดยไดร้ ับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยน่ื คาํ ร้อง
พร้อมแสดงพยานหลกั ฐานต่อศาลที่มเี ขตอาํ นาจขอใหม้ ีคาํ สัง่ ระงบั การทาํ
ใหแ้ พร่หลายหรือลบขอ้ มลู คอมพิวเตอร์น้นั ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้

(1) ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ทีเ่ ป็นความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
(2) ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ทอ่ี าจกระทบกระเทอื นต่อความมน่ั คง

แห่งราชอาณาจกั รตามทก่ี าํ หนดไว้
(3) ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ทเ่ี ป็นความผดิ อาญาตามกฎหมายเกี่ยวกบั

ทรัพยส์ ินทางปัญญาหรือกฎหมายอ่ืนซ่ึงขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์น้นั
มีลกั ษณะขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของ
ประชาชนและเจา้ หนา้ ท่ตี ามกฎหมายน้นั หรือพนกั งานสอบสวน
ตามประมวลกฎหมาย

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

มาตรา 23 พนกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รือพนกั งานสอบสวนในกรณีตามมาตรา 18 วรรคสอง
ผใู้ ดกระทาํ โดยประมาทเป็นเหตุใหผ้ อู้ ื่นล่วงรู้ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู จราจร
ทางคอมพิวเตอร์ หรือขอ้ มูลของผใู้ ชบ้ ริการที่ไดม้ าตามมาตรา 18 ตอ้ งระวาง
โทษจาํ คุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั

มาตรา 24 ผใู้ ดล่วงรูข้ อ้ มลู คอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอร์ หรือขอ้ มลู ของผใู้ ช้
บริการท่พี นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีหรือพนกั งานสอบสวน และเปิ ดเผยขอ้ มูลน้นั
ตอ่ ผหู้ น่ึงผใู้ ด ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท
หรือท้งั จาํ ท้งั ปรับ

มาตรา 26 ผใู้ หบ้ ริการตอ้ งเก็บรกั ษาขอ้ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ไวไ้ ม่นอ้ ยกว่า 90 วนั

นบั แต่วนั ท่ขี อ้ มูลน้นั เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาํ เป็น พนกั งาน
เจา้ หนา้ ที่จะสัง่ ใหผ้ ใู้ หบ้ ริการผใู้ ด เก็บรกั ษาขอ้ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ไวเ้ กิน
90 วนั แตไ่ ม่เกิน 2 ปี เป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวกไ็ ด้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
2. พระราชบัญญตั กิ ารรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ พ.ศ. 2562

สาระสาํ คญั สรุปได้ ดงั น้ี
กาํ หนดให้โครงสร้างพ้นื ฐานสาํ คญั ทางสารสนเทศและหน่วยงาน
ภาครัฐมมี าตรฐานและแนวทางปฏิบตั ิในการรักษาความมน่ั คง
ปลอดภยั ไซเบอร์

มีการเฝ้าระวงั ภยั คุกคามและมแี ผนรับมอื เพ่ือกคู้ ืนระบบให้กลบั มา
ทาํ งานไดต้ ามปกติ

มีการร่วมมอื และประสานงานกนั กบั สาํ นกั งานรักษาความมน่ั คง
ปลอดภยั ไซเบอร์ เมื่อมภี ยั ร้ายแรงทาํ ใหก้ ารให้บริการทส่ี าํ คญั
ไม่สามารถทาํ งานได้ จนทาํ ใหป้ ระชาชนเดือดร้อน

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ลกั ษณะของภยั คุกคามทางไซเบอร์

แบ่งออกเป็น 3 ระดบั

ภยั คุกคามทางไซเบอร์ ภยั คกุ คามทางไซเบอร์ ภยั คุกคามทางไซเบอร์
ในระดับไม่ร้ายแรง ในระดับร้ายแรง ในระดับวกิ ฤต
ภยั คุกคามทางไซเบอร์ใน
ระดบั ที่ทาํ ใหร้ ะบบ โจมตีระบบคอมพวิ เตอร์ หรือ ภยั คุกคามทางไซเบอร์ในระดบั
คอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ มีผลทาํ ให้ วกิ ฤต ทีม่ ลี กั ษณะลม้ เหลวท้งั
โครงสร้างพ้นื ฐานสาํ คญั ของ ระบบคอมพวิ เตอร์หรือ ระบบจนรัฐไมส่ ามารถควบคุม
ประเทศหรือการใหบ้ ริการ โครงสร้างสําคญั ทางสารสนเทศ การทาํ งานจากส่วนกลางของ
ของรัฐดอ้ ยประสิทธิภาพลง ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การใหบ้ ริการของ ระบบคอมพวิ เตอร์ของรฐั ได้
โครงสร้างพ้นื ฐานสาํ คญั ของ หรือทาํ ใหป้ ระเทศหรือส่วนใด
ประเทศเสียหายจนไม่สามารถ ส่วนหน่ึงของประเทศตกอยใู่ น
ทาํ งานหรือใหบ้ ริการได้ ภาวะคบั ขนั

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
แนวทางการป้องกนั การเข้าถึงข้อมูลของตวั เราโดยมชิ อบจากผู้อ่ืน

การใชค้ อมพิวเตอร์สาธารณะ ลอ็ กเอาตอ์ อกจากระบบทุกคร้ังหลงั การ
ทาํ ให้เกิดความเสี่ยง ใชง้ านอีเมลหรือทุกบริการทางเวบ็ ไซต์
ควรต้งั รหสั ผ่านใหซ้ บั ซอ้ น คาดเดายาก หรือ
การต้งั รหสั ผา่ น ชื่อผใู้ ช้ ควรมคี วาม ใชร้ ะบบสแกนลายนิ้วมือหรือใบหนา้
ซบั ซอ้ นท่ีสามารถคาดเดาไดย้ าก ระมดั ระวงั การเผยแพร่ขอ้ มูลส่วนตวั ต่อ
ควรเลือกทจี่ ะเผยแพร่ขอ้ มลู ส่วนตวั กบั บุคคลหรือกลุ่มคนที่ไมม่ ีความน่าเชื่อถือ
กลุ่มหรือห้องท่เี ช่ือถือไดว้ ่าจะไมน่ าํ ใชโ้ ซเชียลมีเดียอยา่ งมีสติและมีวิจารณญาณ
ขอ้ มลู ของเราไปแสวงหาประโยชน์ต่อ
หา้ มเปิดเผยหรือบอกรหัสผา่ น ไม่ควรบอกรหสั ผา่ นตอ่ บคุ คลอ่ืน
ให้บคุ คลอ่ืนทราบโดยเด็ดขาด

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ทรัพย์สินทางปัญญา

ตามพระราชบญั ญตั ิกฎหมายคุม้ ครองทรัพยส์ ินทางปัญญา การคุม้ ครองทรัพยส์ ิน
ทางปัญญาแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท

ลิขสิ ทธ์ ิ สิทธิแต่เพยี งผเู้ ดียวท่จี ะกระทาํ การใด ๆ เกี่ยวกบั งานท่ผี สู้ ร้าง
(Copyrights) หรือพฒั นาไดค้ ดิ คน้ หรือสร้างสรรคข์ ้นึ โดยใชส้ ตปิ ัญญา ความรู้
ความสามารถ และทกั ษะของตนเอง โดยไมล่ อกเลียนผลงานของผอู้ ื่น

สิทธิบตั ร สิทธิพเิ ศษทกี่ ฎหมายบญั ญตั ไิ วใ้ หเ้ จา้ ของสิทธิบตั รน้นั มสี ิทธิ
(Patents) แต่เพียงผเู้ ดียวในการแสวงหาประโยชนจ์ ากการประดิษฐ์

หรือการออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีไดร้ บั การจดสิทธิบตั ร

เครื่องหมายการคา้ เป็นสิทธิในการใชเ้ ครื่องหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั สินคา้
(Trademark) เพื่อแสดงวา่ สินคา้ ทใี่ ชเ้ ครื่องหมายของเจา้ ของเคร่ืองหมายการคา้ น้นั

แตกต่างกบั สินคา้ ทใี่ ชเ้ คร่ืองหมายการคา้ ของบุคคลอ่ืน

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เราควรเคารพในสิทธิอนั ชอบธรรมของผทู้ ี่เป็นเจา้ ของผลงาน
ไม่วา่ จะเป็ นซอฟตแ์ วร์ หรือส่ิงประดิษฐต์ า่ ง ๆ ทม่ี ีการคุม้ ครองภายใตก้ ฎหมาย
เพราะเจา้ ของผสู้ รา้ งหรือผผู้ ลิตสินคา้ น้นั ๆ ไดล้ งทุนลงแรง ท้งั ทรัพยากร
ดา้ นเงินและบคุ คล เพอ่ื ทจ่ี ะสรา้ งสินคา้ ท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ หเ้ หมาะกบั ความ
ตอ้ งการของผใู้ ช้ ดงั น้นั การละเมิดสิทธิต่าง ๆ ยอ่ มมีโทษทางกฎหมาย

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

การใช้เทคโนโลยีส่ือสารและสารสนเทศกบั การเผยแพร่

สิทธิของส่ือในการนาํ ข้อมลู มาใช้เผยแพร่ต่อ หรือทาํ ซํ้า
(Fair Use and Creative Commons)

การนาํ ส่ือต่าง ๆ ขอ้ มูล สื่ อเหล่าน้ีถือว่าเป็ น
จากโลกออนไลน์มาใช้ รูปภาพ ทรัพยส์ ินทางปัญญา
วิดีโอ
เพลง/คลิปเสียง

ตอ้ งดาํ เนินการตาม ไดร้ ับอนุญาต ปฏิบตั ิตามเง่ือนไขสญั ญาอนุญาต
ข้นั ตอนของกฎหมาย จากเจา้ ของผลงาน ครีเอทฟี คอมมอนส์ (Creative Commons)

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

โครงการ Creative Commons

เป็นการจดั ชุดเง่ือนไขต่าง ๆ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั และสร้างความคุม้ ครองใหม้ ีผลบงั คบั ใช้
ทางกฎหมาย มีโลโก เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั
มลี กั ษณะ 4 แบบ ดงั นี้

Attribution
(ตวั ยอ่ BY)
คนนาํ ไปใชต้ อ้ งอา้ งอิงแหล่งทม่ี าอยา่ งชดั เจน
Non-Commercial
(ตวั ยอ่ NC)
ห้ามนาํ ไปใชเ้ พอื่ หาประโยชน์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

No Derivatives
(ตวั ยอ่ ND)
ห้ามดดั แปลงแกไ้ ข
Share Alike
(ตวั ยอ่ SA)
หากจะนาํ ผลงานไปใชต้ ่อ งานน้นั ตอ้ งเป็น Creative Commons ดว้ ย

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

Fair Use (แฟร์ยูส)

คือ ความชอบธรรมทางกฎหมายในการนาํ ผลงานลิขสิทธ์ิมาใชใ้ นระดบั ท่ีจาํ กดั โดยไมข่ ดั กบั
ผลประโยชน์ทเี่ จา้ ของผลงานพึงไดร้ บั จากงานของเขา การใชข้ อ้ มลู เพ่อื การศึกษาถือว่าเป็น Fair Use
ไดท้ ้งั สิ้น
ปัจจยั 4 อย่างทเี่ ป็ นตวั กาํ หนด Fair Use

จุดม่งุ หมายและ ลกั ษณะของ ความยาวของ ผลกระทบทอ่ี าจมี
ลกั ษณะของการใช้ ผลงานลขิ สิทธ์ิ งานทนี่ าํ ไปใช้ ต่อตลาด รายได้ของผ้ผู ลติ
ผลงานทมี่ ลี ขิ สิทธ์ิ อาจเป็นหนงั สือ ผลงาน และมลู ค่าของผลงาน
หนงั สือใน ท้งั เล่ม หรือ 2-3 ตอ้ งไมส่ ่งผลกระทบตอ่
เพอ่ื การเรียน หอ้ งสมดุ ทีส่ มาชิก ยอ่ หนา้ ทคี่ ดั ลอก รายไดข้ องเจา้ ของผลงาน
เพอื่ วจิ ารณ์
เพ่ือการทาํ วจิ ยั ยมื ไปอ่านได้ ไปสอน ทีพ่ งึ ไดร้ บั

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
ตวั อย่างที่ 1 การกาํ กบั ของลขิ สิทธ์ลิ กั ษณะของ Creative Commons

บริการใน www.thingiverse.com
จะมตี วั อยา่ งของโมเดลสาํ หรับ
การพิมพ์ 3 มติ ิ โดยจะมีการ
กาํ กบั สิทธิในการนาํ ไปใชด้ ว้ ย

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
ตวั อย่างท่ี 2 การสืบค้นวดิ โี อทมี่ ี Creative Commons
ในตวั อยา่ งน้ีจะสืบคน้ หาหุ่นยนตโ์ ดยใชค้ าํ คน้ วา่ Robot Arm

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
บริเวณที่คน้ หาจะมีเมนูตวั กรอง (FILTER) ใหก้ ดเลือก Creative Commons

วดิ ีโอทีส่ ืบคน้ ก็จะอยใู่ นหมวดของ CC

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
เมอ่ื กรองขอ้ มูลแลว้ รายการวดิ ีโอท่มี คี ุณสมบตั ิใหน้ าํ ไปใชง้ านต่อในลกั ษณะของ

Creative Commons จะปรากฏข้ึน

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
ถา้ เราผลิตหรือสร้างวิดีโอและอปั โหลดข้ึนมาไวบ้ น YouTube เราสามารถกาํ หนด
Creative Commons ไดใ้ นหนา้ จอของการอปั โหลด หรือเมนูแกไ้ ขวดิ ีโอน้นั ๆ ใน Tab เมนู
Advanced settings

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

การทําธุรกจิ ออนไลน์ การทาํ ธุรกรรมออนไลน์
และความปลอดภยั ในการใช้งานสําหรับผ้เู รียกใช้บริการ

ธุรกจิ ออนไลน์ หรือ e-commerce

คือ การทาํ ธุรกิจการคา้ ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในรูปแบบอตั โนมตั ิ

เม่อื ลกู คา้ ตดั สินใจ ชาํ ระเงิน ธุรกรรมทางการเงิน เวบ็ ไซตจ์ ะตดั
ซ้ือสินคา้ เสร็จสิ้นสมบรู ณ์ สินคา้ ออกจากคลงั

บตั รเครดติ Rabbit โอนเงนิ ช่องทาง ผขู้ ายจะจดั ส่งสินคา้
บตั รเดบิต LINE Pay เขา้ บญั ชี อนื่ ๆ ไปยงั ลูกคา้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ธุรกิจออนไลนใ์ นปัจจุบนั มีช่องทางในการขายหลายเทคนิค โดยมลี กั ษณะโดยสังเขป ดงั น้ี

ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องตนเอง ส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภณั ฑท์ ีไ่ ดร้ ับความรู้จกั และ
มีความน่าเชื่อถือท้งั ตวั บริษทั และตวั สินคา้ เอง

ผา่ นเวบ็ ไซตต์ วั กลางคา้ ขาย เทพชอ็ ป (lnwshop.com), talad.com, olx.com,
(Marketplace) kaidee.com, ตลาดรถ (taladrod.com)

ผา่ นเวบ็ ไซตร์ ้านคา้ www.lazada.co.th, www.shopee.co.th
ชอ็ ปปิ งออนไลน์

ผา่ นส่ือโซเชียลมเี ดีย เฟซบุก๊ อินสตาแกรม ไลน์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
การทาํ ธุรกรรมการเงินกบั ร้านค้าต่าง ๆ ทถี่ ูกต้องและปลอดภยั
ตรวจสอบการจดทะเบยี นพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์
กบั กระทรวงพาณิชย์

ตรวจสอบประวตั ิการคา้ ขาย
คาํ วิจารณแ์ ละความคิดเห็นในกระทูต้ ่าง ๆ

ตรวจสอบเลขบญั ชีธนาคาร
ว่าเคยมีประวตั ิการฉอ้ โกงหรือไม่

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
ใชบ้ ริการเรียกเกบ็ เงินปลายทาง
เมือ่ ซ้ือสินคา้
ตรวจสอบประวตั ิของร้านคา้
คาํ วิจารณ์ และการรีวิวสินคา้
ลิงก์ URL จากเวบ็ ไซตค์ วรมตี วั อกั ษร
https:// (มีตวั s) อยทู่ า้ ยของ http

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
การป้องกนั ความเส่ียงในการถูกโจรกรรมข้อมลู เบื้องต้น
สําหรับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์และสมาร์ตโฟนของเรา

คอมพวิ เตอร์ ติดต้งั แอปพลิเคชนั แอนต้ีไวรัส (Anti Virus)
ติดต้งั แอปพลิเคชนั ป้องกนั สปายแวร์ (Anti Spyware)

สมาร์ตโฟน

เพ่ือป้องกนั ไวรัสคอมพิวเตอร์หรือสปายแวร์ ท่ีอาจทาํ ใหข้ อ้ มลู ของเราเสียหาย
หรือการถูกโจรกรรมขอ้ มูลไปใชเ้ พอื่ แสวงหาประโยชน์จากขอ้ มูลส่วนตวั ของเรา

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

1. ตรวจสอบอเี มลต้องสงสัย เหยอ่ื จะถูกเชิญชวนใหช้ าํ ระเงินจาํ นวนไม่มาก
ค่าธรรมเนียมหลอก เพือ่ แลกกบั ผลตอบแทนจาํ นวนมาก

สลากรางวลั หลอก หลอกว่าคุณไดร้ ับรางวลั โดยท่ีคุณตอ้ งชาํ ระ
ค่าธรรมเนียม เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงเงินรางวลั

การจา้ งงานหลอก เสนอโอกาสในการจา้ งงาน ซ่ึงผูส้ มคั รจะตอ้ ง
จ่ายคา่ ธรรมเนียม หรือคา่ ดาํ เนินการตา่ ง ๆ

ฟิ ชชิง (Phishing) ส่งอีเมลไปเพื่อหลอกวา่ ส่งมาจากบริษทั ที่มตี วั ตนท่ี
แทจ้ ริง เช่น ธนาคาร เพือ่ หลอกใหล้ ูกคา้ เปิ ดเผย
ขอ้ มูลส่วนบุคคล และนาํ ขอ้ มูลไปใชใ้ นทางเสียหาย
ตอ่ เจา้ ของขอ้ มูล เช่น การโจรกรรมทางการเงนิ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

2. ม้าโทรจัน (Trojan horse)

โทรจนั เป็นไวรัสคอมพิวเตอร์ประเภทหน่ึงซ่ึงไดร้ ับช่ือ “มา้ โทรจนั ” มาจากตาํ นานกรีก

เม่ือคลิกเขา้ ชมเวบ็ ไซต์ โปรแกรมถูกดาวนโ์ หลดและติดต้งั ลงบน
ทไ่ี ม่ปลอดภยั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยทเี่ จา้ ของเครื่องไมล่ ่วงรู้

ทาํ การบนั ทึกขอ้ มลู ส่งขอ้ มลู กลบั ไปยงั
ตามท่ถี ูกออกแบบมา อาชญากรผา่ นอินเทอร์เน็ต

ขอ้ มูลความเป็นส่วนตวั
รหัสผา่ นและขอ้ มูลส่วนบุคคล

ขอ้ มูลธนาคาร
ทาํ ลายไฟลง์ านต่าง ๆ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

แบบทดสอบ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

นักเรียนใช้ดนิ สอระบายลงใน  หน้าคาํ ตอบท่ถี ูกต้องให้เต็มวง
1. ข้อใดเป็ นข้อมูลข่าวสารท่แี บ่งปันแลกเปลยี่ นระหว่างองค์กร

หรือหน่วยงานเท่าน้ัน

 รายงานการประชุม
 ภาพถ่ายส่วนบุคคล
 ลิงกร์ ับสมคั รทนุ การศกึ ษา
 วดี ิทศั น์แนะนาํ แหล่งทอ่ งเทย่ี ว

เฉลย  เพราะรายงานการประชุมเป็นขอ้ มูลข่าวสาร
เฉพาะภายในองคก์ รใดองคก์ รหน่ึง

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

2. ข้อมูลใดต่อไปนี้ไม่ควรเปิ ดเผย แต่ถ้าต้องการส่งต่อให้ส่งต่อกบั บุคคล
ท่ีไว้ใจได้เท่าน้ัน

 ประวตั ิการตรวจสุขภาพ
 ลกั ษณะความชอบส่วนบุคคล
 แผน่ พบั แนะนาํ ประวตั ิส่วนตวั
 แผนท่ีแหล่งทอ่ งเท่ียวในจงั หวดั

เฉลย  เพราะประวตั ิการตรวจสุขภาพเป็นขอ้ มลู ส่วนตวั ทส่ี าํ คญั
และไม่ควรเปิ ดเผยต่อทส่ี าธารณะ

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

3. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการเข้าถงึ ระบบข้อมูลผู้อื่นโดยมชิ อบ

 การเปิดอีเมลผอู้ ื่นทเ่ี ขา้ สู่ระบบคา้ งไว้
 การนาํ ไฟลง์ านในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนไปคดั ลอก
 การส่งอีเมลโฆษณาไปให้ผอู้ ่ืนท่อี ยใู่ นระบบเครือข่าย
 การนาํ โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีของเพ่อื นมาเล่นเกมโดยเพื่อนไมอ่ นุญาต

เฉลย  เพราะไม่ใช่การเขา้ ถึงระบบ แต่เป็นการส่งขอ้ มูล
เพอ่ื ก่อกวนหรือ เรียกว่า สแปมเมล

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

4. เม่ือนักเรียนใช้งานเคร่ืองคอมพวิ เตอร์สาธารณะ
สิ่งสําคญั ท่ีสุดทตี่ ้องตระหนักคืออะไร

 การไมใ่ ชง้ านโดยการรบกวนผอู้ ื่นทีใ่ ชง้ านในร้าน
 การดาวนโ์ หลดขอ้ มลู ทีอ่ าจมีความอนั ตราย
 การปิดเครื่องและใชเ้ คร่ืองอยา่ งถูกตอ้ ง
 การออกจากระบบทุกคร้ังท่ีเลิกใชง้ าน

เฉลย  เพราะในการใชง้ านเคร่ืองสาธารณะ
นกั เรียนจะตอ้ งออกจากระบบทุกคร้ังท่ีเลิกใชง้ าน
เพราะอาจจะมผี อู้ ื่นทีไ่ ม่ประสงคด์ ีมาขโมยขอ้ มลู ของนกั เรียนได้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

5. นักเรียนแต่งเพลงขึน้ มาเพลงหนึ่งแล้วนาํ ไปอปั โหลดลงในเว็บไซต์
YouTube และพบว่ามผี ู้สนในฟังและชอบเป็ นจํานวนมาก
จึงต้องการแสดงความเป็ นเจ้าของผลงานนี้
นักเรียนจะเลือกการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญานี้ ด้วยวธิ ีการใด

 การจดลิขสิทธ์ิ  การจดสิทธิบตั ร

 ควรดาํ เนินการทกุ ขอ้  การจดเคร่ืองหมายการคา้

เฉลย  เพราะเพลงจดั เป็นทรัพยส์ ินทางปัญญา
ท่นี กั เรียนสามารถนาํ ไปจดเป็นลิขสิทธ์ิของตนเองได้

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

6. บริษัท 2 แห่งได้พฒั นาและประดษิ ฐ์ระบบการสแกนม่านตาแบบพิเศษขนึ้ มา
และกําลงั ถกเถยี งกันว่าใครเป็ นผู้คดิ ค้นและพฒั นาสําเร็จก่อน ในกรณนี ี้
บริษัทท้งั 2 แห่ง ควรนําหลักฐานใดมาอ้างองิ

 ลิขสิทธ์ิ  สิทธิบตั ร

 เครื่องหมายการคา้  ครีเอทีฟคอมมอนส์

เฉลย  เพราะสิทธิบตั ร คือ สิทธิพิเศษที่กฎหมายบญั ญตั ิไว้
ใหเ้ จา้ ของสิทธิบตั รน้นั มีสิทธิแต่เพียงผเู้ ดียวในการแสวงหา
ผลประโยชนจ์ ากการประดิษฐ์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

7. นักเรียนเขียนบทความหรือนิยายบนโลกออนไลน์
นักเรียนสามารถแสดงทรัพย์สินทางปญั ญา โดยใช้เครื่องมือใด

 ลิขสิทธ์ิ
 สิทธิบตั ร
 เครื่องหมายการคา้
 ครีเอทีฟคอมมอนส์

เฉลย  เพราะเป็นสญั ญาอนุญาตทก่ี ฎหมายให้การรับรอง
และคุม้ ครองผลงานทเ่ี จา้ ของเผยแพร่ออกสู่โลกออนไลน์

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

8. สัญลกั ษณ์นีห้ มายถึงข้อใด

 ระบตุ วั ตน หา้ มจาํ หน่าย และอา้ งถึงที่มาของขอ้ มูล
 ใชเ้ พ่ือการคา้ ได้ หา้ มจาํ หน่าย และห้ามเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล
 ระบุตวั ตน ห้ามจาํ หน่าย และห้ามแจกจ่ายหรือเผยแพร่ต่อ
 อา้ งถึงเจา้ ของผลงาน ห้ามจาํ หน่าย และหา้ มเปล่ียนแปลงขอ้ มูล

เฉลย  เพราะสญั ลกั ษณ์ CC คือ การแสดงวา่ ผลงานน้ีคุม้ ครอง
โดย Creative Commons BY คือ การระบทุ ่ีมาหรืออา้ งถึงเจา้ ของผลงาน
NC คือ ห้ามจาํ หน่ายหรือทาํ เป็นการคา้ ND คือ ห้ามเปล่ียนแปลงจากตน้ ฉบบั เดิม

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

9. ข้อใดไม่ใช่ช่องทางการขายหรือธรุ กิจออนไลน์ในปัจจบุ นั

 ส่ือโซเชียลมเี ดีย
 เวบ็ ไซตต์ วั กลาง
 เวบ็ ไซตข์ องตนเอง
 อีเมลและระบบอตั โนมตั ิ

เฉลย  เพราะอีเมลไมใ่ ช่ช่องทางการขาย
หรือธุรกิจออนไลนท์ ่ีเหมาะสม

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

10. ก่อนโอนเงนิ เพ่ือซื้อสินค้าออนไลน์ นักเรียนควรตรวจสอบความปลอดภยั
และป้องกันความเส่ียงก่อนทาํ ธุรกรรม ข้อใดไม่ใช่วิธีการป้องกนั ความเส่ียง
ที่ถูกต้อง

 ตรวจสอบการจดทะเบียนพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ของร้านน้นั
 ตรวจสอบประวตั ิการฉอ้ โกง
 สอบถามหรือคน้ หาทอ่ี ยรู่ ้าน
 ใชร้ ะบบเกบ็ เงินปลายทาง

เฉลย  เพราะการสอบถามหรือคน้ หาที่อยรู่ ้าน
ไมใ่ ช่การป้องกนั ความเส่ียงทีถ่ ูกตอ้ ง เพราะผขู้ าย
อาจสร้างหรือกาํ หนดทีอ่ ยปู่ ลอมข้ึนมาได้


Click to View FlipBook Version