The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคโนโลยี (การออกแบบฯ) ม.3 หน่วยที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruPeerasin Aekkathin, 2020-10-21 22:19:47

เทคโนโลยี (การออกแบบฯ) ม.3 หน่วยที่ 4

เทคโนโลยี (การออกแบบฯ) ม.3 หน่วยที่ 4

เทคโนโลยี

(การออกแบบและเทคโนโลย)ี

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

การประเมนิ ผลวธิ ีการแก้ปัญหา

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

แผนผงั หัวข้อหน่วยการเรียนรู้
การประเมินผลวธิ ีการแก้ปัญหา

รูปแบบของการทดสอบ
เคร่ืองมือและซอฟตแ์ วร์ท่ีช่วยในการบนั ทึก การทดสอบ การวดั ผล และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
กระบวนการประเมินผลเชิงเปรียบเทียบ และการประเมินผลเชิงตดั สินหรือวดั ผล
การตรวจสอบขอ้ บกพร่องของกระบวนการท้งั หมด และการใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรับปรุง

นาเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรือชิ้นงาน

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

ตัวชี้วดั

• ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ และใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือขอ้ บกพร่องท่ีเกิดข้ึน
ภายใตก้ รอบเงื่อนไข พร้อมท้งั หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข และนาเสนอผลการ
แกป้ ัญหา (ว 4.1 ม.3/4)

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

รูปแบบของการทดสอบ

รูปแบบของการทดสอบ

การทดสอบแบบไมท่ าลายชิ้นงาน การทดสอบแบบทาลายชิ้นงาน
(Non Destructive Testing–NDT) (Destructive Testing–DT)

ใชเ้ พื่อการศึกษา เรียนรู้คุณสมบตั ิ ใชใ้ นการทดสอบคุณสมบตั ิ คุณลกั ษณะ และ
สงั เกตการณ์ วดั ค่า สร้างภาพจาลอง ขีดจากดั ของชิ้นงานหรือวตั ถุของสสารน้นั

เช่น เช่น
• การใชส้ นามแม่เหลก็ ไฟฟ้า • การใชก้ ารปะทะกนั (Crash Test)
• การสร้างภาพเสมือน • การทดสอบความแขง็ (Hardness Test)
• การตรวจสอบดว้ ยสารแทรกซึม • การทดสอบการดึง (Tensile Testing)

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

เคร่ืองมือและซอฟต์แวร์ทีช่ ่วยในการบนั ทกึ
การทดสอบ การวดั ผล และการวเิ คราะห์ข้อมูล

เคร่ืองมือทชี่ ่วยในการบันทึก การทดสอบ การวดั ผล และการวเิ คราะห์ข้อมูล
ใชว้ ดั ความเป็นกรดและความ

เป็นเบส โดยใชห้ วั วดั จุ่มลงในของเหลว
ท่ีตอ้ งการทดสอบ

เคร่ืองวดั ความเป็นกรด
และความเป็ นเบสแบบดิจิทลั

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3
ใชใ้ นการวดั หรือทดสอบดิน

บางชนิด สามารถวดั ค่าความเป็นกรดและ
ความเป็นเบสในดิน วดั ความช้ืน
และแสงสวา่ งที่กระทบหนา้ ดินได้

เครื่องวดั ดิน

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เคร่ืองวดั ปริมาณออกซิเจนในน้า
ใชห้ วั จุ่มลงพ้ืนน้า ในบริเวณท่ีตอ้ งการวดั

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

ใชว้ ดั ค่าความดนั โลหิต ดว้ ยการ
วดั ภายนอกร่างกาย

เครื่องวดั ความดนั โลหิต
แบบดิจิทลั

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ใชว้ ดั คา่ ทางไฟฟ้า เช่น
ความตา้ นทาน (Ohm) แรงดนั ไฟฟ้า (Volt)
กระแสไฟฟ้า (Amp) ซ่ึงสามารถใชว้ ดั ค่า
ไดท้ ้งั ไฟฟ้ากระแสสลบั (AC) และไฟฟ้า
กระแสตรง (DC)

เคร่ืองวดั คา่ ไฟฟ้า
หรือมลั ติมิเตอร์แบบดิจิทลั

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

ใชต้ รวจจบั โลหะตามแนวของ
สายไฟฟ้าบนผนงั หอ้ ง อาคาร หรือ
บา้ นเรือน

เคร่ืองตรวจจบั โลหะ

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
ใชใ้ นการกดอดั กบั วสั ดุ เช่น ลูกปูน

เคร่ืองทดสอบความแขง็

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

เคร่ืองวดั ความช้ืนของวสั ดุ
แบบทาลายพ้นื ผวิ

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
เหมาะกบั การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์

เคร่ืองชง่ั น้าหนกั ความละเอียดสูง
แบบทศนิยม 4 ตาแหน่ง

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

เครื่องวดั อุณหภูมิ ความช้ืน และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
พร้อมบนั ทึกขอ้ มูลแบบตอ่ เน่ือง

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
ซอฟต์แวร์ทชี่ ่วยในการบันทกึ การทดสอบ การวดั ผล และการวเิ คราะห์ข้อมูล

ซอฟต์แวร์ทช่ี ่วยในการบันทกึ Microsoft Office Excel Apache Hadoop, HBase
การทดสอบ การวดั ผล Microsoft Access
และการวเิ คราะห์ข้อมูล Google Sheet Protgres, MySQL
OpenOffice – Spreadsheet,
LibreOffice IPython (ใชภ้ าษาไพธอน)
โปรแกรมฐานขอ้ มูล MathLAB
SciLab
ประเภทโปรแกรมมิง

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

แนวทางใช้โปรแกรมช่วยในการบันทึกค่าทดสอบทไี่ ด้มา

แนวทางใช้โปรแกรม จดั หวั ขอ้ เป็นคอลมั น์
ช่วยในการบันทกึ ขอ้ มูลที่ไดถ้ า้ เป็นจานวนคร้ังท่ีทดสอบ
ค่าทดสอบทไ่ี ด้มา ควรจดั ใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะบรรทดั
เขียน “หน่วย” กากบั ในหวั ขอ้ ที่มีการเกบ็ ค่า

มีช่องหมายเหตุ (Note)
หากแยกส่วนของขอ้ มูลชดั เจนกส็ ามารถแยกตาราง
ออกเป็ นอีกตารางหน่ึงได้
ถา้ ขอ้ มูลต่างตารางกนั ควรใชห้ น่วยหรือฐานการวดั เดียวกนั

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
แอปพลเิ คชันบนสมาร์ตโฟนทชี่ ่วยในการวดั ค่า อ่านค่าหรือแปลผล และบันทกึ ข้อมูล

อุปกรณ์ภายนอก

อุปกรณ์อ่านค่าการทางาน อุปกรณ์ระบุตาแหน่งพิกดั นาฬิกาสุขภาพ อุปกรณ์ Beacon

ของเครื่องยนต์ จากดาวเทียม (GPS)

ใชว้ ิเคราะห์การทางานของ รับสญั ญาณดาวเทียม เพื่อระบุ มีเซนเซอร์วดั อตั รา ใชก้ ารส่งสญั ญาณ
เครื่องยนตผ์ า่ นพอร์ต ตาแหน่งของตนเอง และส่ง การเตน้ ของหวั ใจ บลูทูทไปยงั สมาร์ต
สามารถเช่ือมต่อเขา้ กบั สัญญาณบลทู ูทเชื่อมต่อกบั แปลผลใหเ้ ห็น
คอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟนหรืออปุ กรณ์ที่มี แผนภมู ิดา้ นสุขภาพ โฟนท่ีติดต้งั
เพือ่ ปรับแต่งค่าต่าง ๆ ได้ และการทากิจกรรม แอปพลิเคชนั และ
สัญญาณบลูทูท ประเภทต่าง ๆ สามารถประมวลผลตา
แหน่งของอปุ กรณ์ได้

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

แอปพลเิ คชัน

แอปพลิเคชนั ท่ีใช้ ใชเ้ พ่ือการระบุตาแหน่งที่อยใู่ นขณะน้นั
GPS ซ่ึงแสดงผลในลกั ษณะแผนท่ี เช่น Google Map

แอปพลิเคชนั ที่ใชเ้ ซนเซอร์ ใชว้ ดั ค่าความสูง ความกวา้ ง และระยะทาง
และเขม็ ทิศดิจิทลั เช่น Smart Measure, Measure

แอปพลิเคชนั ใชต้ วั ตรวจวดั แสงท่ีแสดงผลบนจอสมาร์ตโฟน
LUX Meter แลว้ แปลผลออกมาเป็นค่าความสวา่ ง

แอปพลิเคชนั ใชไ้ มโครโฟนบนสมาร์ตโฟนวดั ค่าระดบั ความดงั
Sound Level Meter ของเสียงหรือเป็นการวเิ คราะห์ความถ่ีของเสียง

แอปพลิเคชนั แสดงใหเ้ ห็นลกั ษณะของระดบั น้า ช่วยในการ
ที่ใชว้ ดั ระดบั ของน้า ตรวจหาระดบั และขนาดของพ้นื ท่ีโลก

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

การวเิ คราะห์ข้อมูล

ขอ้ มูลท่ีเกบ็ รวบรวมได้

การเปรียบเทียบค่า

แปลผลขอ้ มูล การหาค่าเฉลี่ย
วเิ คราะห์ข้อมูล
การหาค่า
ความเบี่ยงเบน

การคานวณ

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

การหาค่าเฉลยี่ ของข้อมูล คือ การนาผลรวมของขอ้ มูลท้งั หมดหารดว้ ยจานวนขอ้ มูลท้งั หมด
การใส่สูตรในตารางสาหรับช่องคาตอบจะเป็นการรวมผลดว้ ยฟังกช์ นั SUM ตามดว้ ยชุดขอ้ มูลต้งั แต่ช่อง
เซลล์ B3 ถึง B13 หรือ (B3:B13) แลว้ หารดว้ ยจานวนขอ้ มูล ซ่ึงไดเ้ ขียนระบุในช่องเซลลท์ ่ี A13
ดงั น้นั สูตรของโปรแกรมตารางงาน คือ =SUM(B3:B13)/A13

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

สมมุติวา่ ค่าขอ้ มูลที่ไดม้ ีค่ามาตรฐานกลางอยทู่ ่ี 15.5 แลว้ ตอ้ งการหาค่าความคลาดเคล่ือน
จากขอ้ มูลที่เกบ็ มาวา่ ห่างจากค่ากลางมากนอ้ ยเท่าไร เราสามารถวางสูตรการคานวณ คือ ค่าของขอ้ มูล
ท่ีเกบ็ ไดล้ บกบั ค่ามาตรฐาน

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

หากตอ้ งการใหข้ อ้ มูลทุกตวั หกั ลบจากค่าที่อยใู่ นช่องเซลลเ์ ดียวเสมอ คือ ค่ามาตรฐานท่ีอยใู่ น
เซลลช์ ่องที่ C2 เราจาเป็นตอ้ งใส่เครื่องหมาย $ ไวข้ า้ งตาแหน่งของช่องน้นั เช่น $C คือ การตรึงช่องคอลมั น์
น้นั และ $2 คือ การตรึงในบรรทดั หรือแถวน้นั จะไดส้ ูตรเป็น =B3 - $C$2 จึงเป็นสูตร สาหรับช่อง C3 และ
สามารถคดั ลอกสูตรน้ีไปยงั ช่องถดั ลงมา แต่ C2 จะยงั คงอยใู่ นทุกช่อง กล่าวคือ เป็นการตรึงตวั แปรนน่ั เอง

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

ในกรณีท่ีตอ้ งการเปรียบเทียบค่าและใหต้ ดั สินใจเป็นกรณีไป เช่น ถา้ ความคลาดเคล่ือนมีมาก
มีนอ้ ย หรือไม่มีความคลาดเคลื่อนเลย เราจาเป็นตอ้ งนาฟังกช์ นั ทางตรรกะมาใช้ คือ ฟังกช์ นั IF

หลกั การฟังก์ชัน IF

=IF (ประโยคที่จะเปรียบเทียบ, กรณีที่ใช่ (จริง), กรณีที่ไม่ใช่ (เทจ็ )

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
กระบวนการประเมนิ ผลเชิงเปรียบเทยี บ และการประเมินผลเชิงตดั สินหรือวดั ผล

การประเมนิ ผลรูปแบบของ P-D-C-A (Plan-Do-Check-Act)

1. Plan คือ ข้นั ตอนวางแผน ประเมินเกี่ยวกบั วธิ ีวางแผน
2. Do คือ ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน วา่ ถูกตอ้ งตามหลกั การหรือไม่
3. Check คือ ข้นั ตอนการตรวจสอบ
4. Act คือ ข้นั ตอนการปรับปรุง ประเมินเก่ียวกบั วธิ ีการปฏิบตั ิงาน
วา่ เป็นไปตามแผนหรือไม่

ประเมินเกี่ยวกบั วธิ ีการตรวจสอบ
วา่ ถูกตอ้ งตามหลกั การหรือไม่

ประเมินเกี่ยวกบั วธิ ีการท่ีจะวนรอบ เพื่อใชใ้ นการ
ปรับปรุงการวางแผนรอบใหม่วา่ เป็นอยา่ งไร

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3
การประเมนิ ผล

การประเมินผลเชิงเปรียบเทียบ การประเมินผลเชิงตดั สินหรือวดั ผล
(Assessment) (Evaluation)

เป็นการใชข้ อ้ มูลที่ผา่ นมามาเปรียบเทียบ เป็นการประเมินที่นาขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวดั ผล
ผลวา่ ไดอ้ ะไรจากขอ้ มูล และสามารถทา หลายองคป์ ระกอบมาใชใ้ นการตดั สิน
อะไรเพ่มิ ข้ึนหรือใหด้ ีข้ึนไดอ้ ยา่ งไร โดยมีการต้งั เกณฑใ์ นการตดั สินท่ีชดั เจน

• ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน • การประเมินผลการศึกษา
• การประเมินตนเอง • การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3
การตรวจสอบข้อบกพร่องของกระบวนการท้งั หมด และการให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

หัวข้อทค่ี วรพจิ ารณาในการหาจุดบกพร่อง
1. ข้นั ตอนหรือระเบียบวธิ ีการที่ชดั เจนสาหรับการปฏิบตั ิงาน

2. ความพร้อมของผปู้ ฏิบตั ิงาน ความชานาญ และทกั ษะในงาน

3. ประสบการณ์ของผปู้ ฏิบตั ิงานท้งั ดา้ นการทางานและการแกป้ ัญหา

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3
หัวข้อทค่ี วรพจิ ารณาในการหาจุดบกพร่อง (ต่อ)

4. เครื่องมือที่ไดม้ าตรฐานมีการบารุงรักษาที่ดี มีการสอบเทียบค่า
มาตรฐานอยเู่ สมอ

5. สถานท่ีที่ใชใ้ นการทดสอบมีความเหมาะสมกบั โจทยห์ รือไม่

6. อุปกรณ์ประกอบที่ตอ้ งใชก้ บั เคร่ืองมือ มีความเหมาะสมตรงกบั
คุณสมบตั ิของเครื่องมือและมีการบารุงรักษาที่ดี

7. มีการเลือกวธิ ีการประเมินผลท่ีเหมาะสมกบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
จะช่วยสะทอ้ นผลลพั ธ์ที่ถูกตอ้ งและแม่นยาได้

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุงแก้ไขวธิ ีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
(Testing Evaluation and Design Improvement)

ทดสอบการใชง้ าน กาหนดประเดน็ ในการทดสอบใหส้ อดคลอ้ งกบั
ชิ้นงาน/วธิ ีการ ขอบเขตและวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไว้

แกไ้ ขปัญหาได้ พบปัญหา/ขอ้ บกพร่อง แกไ้ ขปัญหาไม่ได้ รวบรวมขอ้ มูลใหม่
ทาการทดสอบอีกคร้ัง ออกแบบวธิ ีการ
ประเมินสาเหตุ แกป้ ัญหาใหม่
ท่ีทาใหเ้ กิดปัญหา เปลี่ยนวสั ดุในการ
ทาชิ้นงานใหม่
แกไ้ ขปรับปรุง
แกไ้ ขปัญหาได้ แกไ้ ขปัญหาไม่ได้

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

นาเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

นาเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา
ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

การเขียน การทาแผน่ พบั การทา การจดั การนาเสนอ
รายงาน นาเสนอผลงาน โปสเตอร์ นิทรรศการ ผา่ นสื่อ
ออนไลน์

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

แบบทดสอบ

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

นักเรียนใช้ดนิ สอระบายลงใน  หน้าคาตอบทถ่ี ูกต้องให้เต็มวง

1. เทคนิคการทดสอบแบบใด สามารถนามาใช้ในการทดสอบ
แบบไม่ทาลายได้
1 การทดสอบทางเคมี
2 การทดสอบความแขง็
3 การทดสอบแรงกระแทก
4 การใชส้ นามแม่เหลก็ ไฟฟ้า

เฉลย  เพราะสนามแม่เหลก็ เกิดจากการเคล่ือนท่ีของประจุไฟฟ้า
จึงไม่ส่งผลตอ่ ชิ้นงานท่ีทดสอบ

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

2. ข้อใดเป็ นการทดสอบแบบไม่ทาลายชิ้นงาน
1 การทดสอบความแขง็ ของอิฐ
2 การทดสอบความตา้ นแรงดึงของเชือก
3 การทดสอบการทนความร้อนของพลาสติก
4 การทดสอบการนาไฟฟ้าของโลหะแต่ละชนิด

เฉลย  เพราะเป็นการใหไ้ ฟฟ้าไหลผา่ นโลหะแตล่ ะชนิดเท่าน้นั
จึงไม่ทาใหโ้ ลหะเสียหายหรือถูกทาลาย

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

3. ข้อใดกล่าวถึงเซนเซอร์และเครื่องมือวดั ไม่ถูกต้อง
1 เครื่องมือวดั มีเซนเซอร์เป็นส่วนประกอบ
2 การใชเ้ ครื่องมือวดั ตอ้ งเชื่อมต่อกบั คอมพวิ เตอร์
3 เซนเซอร์จะเปลี่ยนปริมาณที่ตอ้ งการวดั เป็นปริมาณทางไฟฟ้า
4 การนาเซนเซอร์มาใชง้ านตอ้ งออกแบบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เพ่ิมเติม

เฉลย  เพราะเคร่ืองมือวดั ไม่จาเป็นตอ้ งเชื่อมตอ่ กบั คอมพวิ เตอร์
เนื่องจากบางเคร่ืองมือสามารถประมวลผลแลว้ แสดงผลออก
มาทางจอภาพของเคร่ืองมือน้นั ไดเ้ ลย

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

4. การออกแบบโคมไฟฟ้าควรประเมินผลด้านใดมากทส่ี ุด
1 ขนาดของโคมไฟฟ้า
2 รูปแบบวิธีการใชง้ าน
3 ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าที่ตอ้ งการ
4 ความสวา่ งที่เหมาะสมกบั การใชง้ าน

เฉลย  เพราะควรประเมินความสวา่ งที่เหมาะสม
กบั การใชง้ านมากท่ีสุดจึงตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

5. การบนั ทกึ ข้อมูลลงในตารางโดยใช้ซอฟต์แวร์
ประเภทตารางคานวณมีข้อดอี ย่างไร

1 เพ่ิมขอ้ มูลไดง้ ่าย
2 บนั ทึกขอ้ มูลไดจ้ านวนมาก
3 ทาใหเ้ ห็นขอ้ มูลเป็นระเบียบ
4 นาขอ้ มูลมาประมวลผลต่อไปไดง้ ่าย

เฉลย  เพราะซอฟตแ์ วร์ประเภทตารางการคานวณ
สามารถนาขอ้ มูลมาประมวลผลตอ่ ไดง้ ่ายและรวดเร็ว

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

6. การตรวจสอบนา้ เสีย ควรประเมินจากค่าใดเหมาะสมท่ีสุด
1 สีของน้า
2 คา่ อุณหภูมิของน้า
3 ค่าออกซิเจนในน้า
4 ค่าความหนาแน่นของน้า

เฉลย  เพราะค่าออกซิเจนในน้าจะบอกคุณภาพของน้าได้
ถา้ น้าที่มีความสกปรกมากจะมีค่าออกซิเจนละลายต่า

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

7. การกระทาในข้อใดไม่ใช่การวางแผนการดาเนินงานเพื่อแก้ปัญหา
1 การสนทนาและอภิปรายปัญหาร่วมกนั
2 การเตรียมความพร้อมของตนเองหรือทีม
3 การประเมินแนวทางการแกป้ ัญหาที่รอบคอบ
4 การสร้างอุปกรณ์ตน้ แบบหรือโมเดลสาหรับแกป้ ัญหา

เฉลย  เพราะการสร้างอุปกรณ์ตน้ แบบหรือโมเดล
สาหรับแกป้ ัญหาอยใู่ นข้นั ตอนการดาเนินการแกป้ ัญหา

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

8. การออกแบบการบันทกึ ข้อมูลเพ่ือประเมนิ ผลเชิงตดั สินหรือ
วดั ผลเป็ นการให้ความสาคญั กบั ผลการประเมินด้านใด
1 ผลลพั ธข์ องการใชง้ านเป็นไปตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่
2 แกป้ ัญหาไดห้ รือไม่ได้
3 ทางานซ้า ๆ ไดห้ รือไม่
4 ระดบั ความพงึ พอใจ

เฉลย  เพราะการออกแบบการบนั ทึกขอ้ มูล
เพอื่ ประเมินผลเชิงตดั สินหรือวดั ผลเป็นการใหค้ วามสาคญั
กบั ผลระดบั ความพึงพอใจ

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3

9. การทดสอบหรือวดั ปริมาณต่าง ๆ ควรทาด้วยวธิ ีการใด
1 ใชเ้ คร่ืองมือท่ีมีความละเอียดต่างกนั
2 ใชเ้ ครื่องมือเดิมวดั ซ้า ๆ แลว้ หาคา่ เฉล่ีย
3 วดั ในบริเวณที่สภาพแวดลอ้ มแตกต่างกนั
4 ใชเ้ คร่ืองมือหลายชนิดแลว้ นาค่าท่ีไดม้ าเปรียบเทียบ

เฉลย  เพราะการทดสอบหรือวดั ปริมาณต่างๆ
ควรใชเ้ คร่ืองมือเดิมวดั ซ้า ๆ แลว้ หาค่าเฉล่ีย

เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3

10. ถ้าต้องการสร้างผนังป้องกนั เสียงให้กบั ห้องเรียนของโรงเรียน
การวดั และประเมนิ ผล ควรวดั ปริมาณใด

1 ความถ่ีของเสียงในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน
2 ความเร็วของเสียงในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน
3 ระดบั ความเขม้ ของเสียงในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน
4 ความยดื หยนุ่ ของผนงั ดา้ นในหอ้ งเรียนและดา้ นนอกหอ้ งเรียน

เฉลย  เพราะเมื่อตอ้ งการทดสอบความดงั ของเสียง
ตอ้ งวดั ความเขม้ ของเสียงท้งั ใน หอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน
ระดบั ความเขม้ ของเสียงมีหน่วยเป็นเดซิเบล(dB)


Click to View FlipBook Version