The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ ใบงาน ประถม ๒-๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapatphonkla, 2022-05-04 23:53:30

ใบความรู้ ใบงาน ประถม ๒-๖๔

ใบความรู้ ใบงาน ประถม ๒-๖๔

ใบความรู้ / ใบงาน

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ระดบั ประถมศกึ ษา
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอหว้ ยเมก็
สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์

สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ใบความรทู้ ่ี ๑
ปฐมนเิ ทศ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔

โครงสร้างหลักสตู ร

วิธกี ารจดั การเรยี นรู้

วธิ ีเรียน กศน. มวี ธิ ีเดียวแตส่ ามารถจัดได้หลายรูปแบบโดยสถานศกึ ษาและผเู้ รียนร่วมกันกำหนดรปู แบบการ
เรียนในแต่ละรายวิชาโดยเลือกรูปแบบใดรูปแบบหน่งึ หรอื หลายรปู แบบก็ได้ขนึ้ อยู่กับความยากง่ายของเนอื้ หา และ
สอดคลอ้ งกบั วิถีชวี ติ และการทำงานของผ้เู รยี น

ทา อ่ืน ๆ ตาม เรยี นรู้
โครงงาน ตอ้ งการ ดว้ ยตนเอง

ตาม วธิ เี รียน พบกลมุ่
อธั ยาศยั กศน.

ชนั้ เรยี น ทางไกล

กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต

กำหนดใหผ้ เู้ รยี นทำกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 200 ช่วั โมง เพื่อพัฒนาตนเอง
ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ซงึ่ เกิดจากผู้เรยี นเป็นผูเ้ สนอโครงงาน

ขอบข่ายการเทยี บโอนผลการเรียน

จากหลักสูตรท่เี ป็นระดบั
จากการศึกษาตอ่ เน่ือง
ความรู้และประสบการณ์จากกลุม่ เป้าหมายเฉพาะ
จากหลักสตู รตา่ งประเทศ
จากการประเมินความร้แู ละประสบการณ์

หลกั เกณฑก์ ารเทยี บโอนผลการเรยี น

เทียบโอนผลการเรียนในทุกภาคเรียน
เทยี บโอนผลการเรยี นเปน็ รายวิชา
จำนวนหน่วยกติ ทเ่ี ทียบโอนได้

- ระดับประถม ไม่เกนิ 36 หน่วยกิต

- ระดับมะยมศึกษาตอนต้น ไม่เกิน 42 หนว่ ยกติ
- ระดบั มะยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กนิ 57 หน่วยกติ

เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร

ผา่ นการประเมินและได้รับการตัดสนิ ผลการเรียนทั้ง 5 สาระการเรียนรูแ้ ละไดห้ นว่ ยกิต ตามทีก่ ำหนด
ผ่านกระบวนการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ไม่น้อยกว่า 200 ช่วั โมง
ผา่ นกระบวนการประเมินคณุ ธรรม
เขา้ รับการประเมนิ คุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑

“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๒

ทศั นศลิ ปพื้นบาน
เราอาจแบงความหมายของทัศนศลิ ปพนื้ บานออกเปน2คำ คือคําวาทศั นศิลปและคาํ ว่าพื้นบาน
ทัศนศิลป หมายถงึ ศลิ ปะทร่ี บั รูได้ดวยการมองไดแกรูปภาพทิวทัศนทว่ั ไปรูปภาพคนเหมือน
ภาพลอเลยี น ภาพสง่ิ ของตา่ งๆงานประติมากรรมงานสถาปตยกรรม งานสิ่งพมิ พ์ ฯลฯทไ่ี ดจากการมอง
งานทศั นศิลปแยกประเภทไดดงั น้ี

1.จิตรกรรมหมายถึงการสร้างสรรคผลงานทัศนศิลปบนพน้ื ระนาบดวยวธิ ีการลากการ ระบายสีลงบนพนื้ ผิววัสดุที่มี
ความราบเรียบเชนกระดาษผาใบแผนไม้เปนตน เพ่ือให้เกิดเรื่องราวและความงามตามความรูสึกนึกคิดและ
จนิ ตนาการของผูวาดจาํ แนกออกได้2ลกั ษณะ ดังนี้

1.1ภาพวาดเปนศัพททางทศั นศิลปทใี่ ชเรียกภาพวาดเขียนภาพวาดเสนแบบเปน2มติ ิคอื
มีความกวางและความยาวโดยใชวัสดุตางๆเชน ดนิ สอดาํ สไี มสเี ทียนเปนตน

1.2ภาพเขียนเปนการสรางงาน2มิติบนพนื้ ระนาบดวยสหี ลายสีเชนการเขียนภาพดวยสีน้ำ สดี ินสอสีน้ำมัน
เปน็ ตน
2.ประติมากรรม หมายถึงการสร างงานทัศนศิลป ที่เกิดจากการป นการแกะสลักการหล อ การเชื่อม
โดยมลี ักษณะ3มิติ คือมีความกวางความยาว และความหนาเชนรูปคนรปู สัตว์ รปู สง่ิ ของ ป ร ะ ต ิ ม า ก ร ร ม
จําแนกได้เปน3ลกั ษณะ ดงั นี้

2.1แบบนูนต่ำเปนการป้ันหรือสลักโดยใหเกิดภาพที่นูนขึน้ จากพน้ื เพียงเล็กนอยเทานั้นเช่น รูปบน

เหรียญตางๆ(เหรียญบาท เหรยี ญพระ)เปนตน

2.2แบบนนู สงู เปนการปนหรือสลักใหรูปที่ตองการนนู ขน้ึ จากพ้ืนหลังมากกวาคร่ึงเป็นรูปที่สามารถ

แสดงความตื้นลึกตามความเป็นจริงเช่นประตมิ ากรรมทฐ่ี านอนุสาวรยี ์เป็นตน

2.3แบบลอยตัว เป็นการปนหรือแกะสลักท่ีสามารถมองเห็นและสัมผัสชื่นชมความงามของผลงาน

ไดทุกด้านหรือรอบดาน เชนพระพุทธรปู เปนตน้
3. สถาปตยกรรมหมายถึงศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางท่ีนํามาทําเพื่อสนองความตองการในดานวัตถุและ
จติ ใจมลี ักษณะเปนส่งิ กอสรางทส่ี รางอยางงดงามจาํ แนกออกได้ 2ลักษณะ ดังนี้

3.1 แบบเปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยสามารถเขาไปใชสอยได้ เชน อาคาร เรียน ที่พักอาศัย เป็นต้น
3.2แบบปด หมายถงึ สถาปตยกรรมท่มี นุษยไมสามารถเขาไปใชสอยได้ เชน สถูป เจดีย์ อนสุ าวรยี ์ ตางๆ
4.ภาพพิมพ หมายถึงผลงานศิลปะที่ถูกสรางขึ้นมาดวยวิธีการพิมพ์ดวยการกดแม่พิมพใหติดเป็นภาพบน
กระดาษจากแมพิมพไม้ หรอื แมพมิ พ์โลหะ เปนตน

คําวาพืน้ บานบางคร้งั เรยี กวาพน้ื ซ่ึงหมายถึงกลมุ ชนใดกลุ่มชนหน่ึงอนั มเี อกลักษณของตนเชน

การดํารงชพี ภาษาพูดศาสนา ท่ีเปนประเพณีรวมกัน

ดังนัน้ ทศั นศิลปพื้นบานหมายถงึ ผลงานทางศลิ ปะที่มคี วามงามความเรยี บงายจากฝมือ ชาวบานทว่ั ๆไป
สรางสรรค์ผลงานอันมีคุณคาทางดานความงามและประโยชนใชสอยตามสภาพของทองถิน่

ศาสตราจารยศิลปะ พรี ะศร ไดกลาววาทัศนศลิ ปพ้ืนบานหมายถงึ ศิลปะชาวบานคอื การ รองราํ ทําเพลง

กจิ กรรมการวาดเขียนและอน่ื ๆซ่ึงกําเนดิ มาจากชวี ติ จติ ใจของประชาชนศิลปะชาวบานสวนใหญจะเกิดควบคูกบั
การดําเนนิ ชีวิตของชาวบานภายใตอิทธิพลของความเปนอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณคี วามเชื่อและความจําเปนข
องสภาพทองถิ่นเพ่อื ใชสอยในชีวิตประจําวนั โดยท่วั ไปแลวศิลปะพ้นื บานจะเรยี กรวมกับศิลปหัตถกรรมเปนศลิ ป
หตั ถกรรมทเี่ กดิ จากฝมอื ของคนในทองถิ่นการประดษิ ฐสรางสรรคเปนไปตามเทคนิคและรูปแบบที่ถายทอดกนั ใน
ครอบครวั โดยตรงจากพอแม่ ปูย่ า ตายาย โดยมจี ดุ ประสงคหลกั คือทาํ ข้ึนเพอื่ ใชสอยในชีวิตประจาํ วันเชนเดียวกบั
คติพื้นบานแลวปรับปรงุ ให้เขากบั สภาพของทองถิ่นจนกลายเปนเอกลกั ษณเฉพาะของตนเอง
สวนประกอบของทัศนศิลปพ้ืนบาน
ทศั นศลิ ปพน้ื บานจะประกอบดวยสิ่งตอไปนี้

1.เปนผลงานของชางนิรนาม ทําขึ้นเพื่อใชสอยในชีวิตประจาํ วันของประชาชนความงาม ทปี่ รากฏ
มไิ ดเกดิ จากความประสงคส่วนตัวของชางเพื่อแสดงออกทางศลิ ปะแตมาจากความพยายามหรือความชํานาญของ
ชางทีฝ่ กฝน และผลิตตอมาหลายชั่วอายุคน

2.เปนผลงานท่มี ีรปู แบบที่เรียบงายมคี วามงามอันเกิดจากวัสดุจากธรรมชาติ และผานการใชสอยจากอดีต
จนถึงปจจุบนั

3. ผลติ ขึน้ เปนจํานวนมาก ซ้ือขายกนั ในราคาปกติ ความงดงามเกิดจากการฝกฝน และ การทาํ ซ้ำๆกัน
4.มคี วามเปนธรรมชาตปิ รากฏอยมู ากกวาความสละสลวย

5.แสดงลกั ษณะพิเศษเฉพาะถิ่น หรือเอกลักษณของถ่นิ กําเนดิ

6.เปนผลงานทที่ าํ ขนึ้ ดวยฝมือเปนสวนมาก

องคประกอบทางทศนศิลปประกอบดวยองคประกอบสําคัญคือ
1. จุดหมายถงึ สวนประกอบที่เล็กทสี่ ุดเปนสวนเรม่ิ ตนไปสูสวนอื่นๆ

2. เสน หมายถึง จุดหลายๆ จุดท่เี คลื่อนที่ตอเนื่องไปในท่ีว่างเปลา จากทิศทางการเคลือ่ นที่ ตางๆ กัน

3. สหี มายถงึ ลักษณะของแสงสวางที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นสตี างกันสเี ปนสิ่งท่มี ีอิทธิพลตอความรูสกึ

เมอ่ื มองเห็นและทําใหเกิดอารมณ สะเทือนใจตางๆสีชางเขียนประกอบไปดวยแมสี3สีคือเหลืองแดง นำ้ เงินซง่ึ

เมอ่ื นําแมสีมาผสมกันจะไดสีตางๆ
4.พน้ื ผิวหมายถึงคุณลักษณะตางๆ ของผวิ ดานหนาของวัตถุทุกชนิดท่ีมีลักษณะตางๆกนั เชน เรียบขรขุ ระ

เปนมนั วาวหรอื ดาน เปนต้น
5.รูปรางหมายถงึ การบรรจบกนั ของเสนทเ่ี ปนขอบเขตของวัตถุที่มองเหน็ เปน2มิตคิ ือมี

ความกวาง และความยาว2 ดานเทานัน้
6.รูปทรงหมายถงึ รปู ลกั ษณะทีม่ องเหน็ เปน3มติ คิ ือ มีความกวางความยาวและความหนาลึก

รูปแบบและวิวัฒนาการของทัศนศิลปพื้นบาน ศิลปะพื้นบาน มีพื้นฐานที่เกิดจากการผลิตที่ทําขึ้นดวยมือเพ่ือ
ประโยชน์ใชสอย จึงนับได้วา กําเนิดพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ ไดคิดคนวิธการสรางเครื่องมือ เครื่องใช้ เพื่อ
ช่วยใหเกิดความสะดวกสบายตอการดําเนนิ ชีวิตมาโดยตลอด เชน เครื่องมือหิน เครื่องปนดินเผาสมัยโบราณทีข่ ุดพบ
จึงนับได้ว่าการกำเนิดศิลปหตั ถกรรมอยู่ท่ัวไปและพัฒนาตัง้ แต่โบราณแล้ว ในสมัยก่อนนั้นสังคมของชาวไทยเรา เป็น
สังคมแบบชาวนา หรือเรียกกันวาสังคมเกษตร อันเป็น สังคมที่พึ่งตนเอง มีพร้อมทุกด้าน
ในเรื่องป จจัยสี่อยู ในกลุ มชนนั้นๆ การสร้างการผลิตเครื่องใช้ และอุปกรณ ต างๆ เพื่ออํานวยความสุข
ความสะดวกสบายในการดาํ รงชีวติ ของตนเอง

รูปแบบและความงามของทัศนศลิ ปพื้นบาน

ทัศนศิลปพ้ืนบานกบั ความงามตามธรรมชาติมีความงดงามทค่ี ลายคลึงกันโดยอาจอธิบายในรายละเอียด
ของแตละส่ิงไดดังน้ี

ทศั นศลิ ปพืน้ บานเปนรูปแบบศลิ ปะชนิดเดยี วทีม่ ีการเปล่ียนแปลงรูปแบบนอยและคงรูปแบบเดิมได้นาน
ทส่ี ุดจากเอกลักษณอันมคี ุณคานี้เองทาํ ใหทศั นศลิ ปพ้นื บานมีคณุ คาเพ่ิมขึน้ ไปเรื่อยๆไมวาเปนคณุ คา่ ดานเร่ืองราว
การพบเหน็ หรอการแสดงออก เพราะทศั นศิลปพ้ืนบานเปนตัวบงบอกความเปนมาของมนุษยชาติ
ทสี่ รางทัศนศลิ ปพื้นบานน้ันๆ ขนึ้ มา

งานทัศนศลิ ปพ้ืนบานสวนใหญมกั จะออกแบบมาในรูปของการเลียนแบบหรอทาํ ใหก้ ลมกลืนกับธรรมชาติ

ท้งั นเ้ี พื่อประโยชนข์ องการใชสอยและความสวยงามและ/หรอื เพ่ืออุดมคติ ซึ่งทาํ ใหทัศนศิลปพน้ื บานมีจดุ เด่นท่นี ่า
ประทบั ใจ ตวั อยางเชน การออกแบบอปุ กรณจ์ บั ปลาที่จะมี การออกแบบใหกลมกลนื กับลักษณะกระแสน้ำสะดวก
ในการเคลื่อนยาย

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๒

ช่ือ – สกุล......................................................รหสั นกั ศกึ ษา...............................กศน.ตำบล........................

ใหผูเรยี นอธบิ ายความหมาย ตอไปนี้
๑. ทัศนศิลป หมายถงึ ...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
๒. จิตรกรรม หมายถึง ................................................................................................................. ...........................
................................................................................................................... ..............................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................................ .....................................
๓. ประติมากรรม กบั สถาปตยกรรมมคี วามแตกต่างกนั อย่างไร
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. .....................................................
............................................................................. .................................................................................................... .
............................................................................................................................. .....................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑

“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๓

ทัศนศิลปพน้ื บานกับการแตงกาย

ความหมายของเครือ่ งแตงกาย
คาํ วา เคร่ืองแตงกายหมายถึงส่ิงที่มนุษย์นำมาใช้เป็นเคร่ืองห่อหุมรางกายการแต่งกายของมนุษย์แตละเผ

าพนธุสามารถค้นคว้าได้จากหลักฐานทางวรรณคดีและประวัติศาสตร์ เพื่อให้เปน็ เครื่องชวยช้ีนำใหรูและเข้าใจถึง
แนวทางการแต่งกาย ซึ่งสะทอนให้เห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิต ของมนุษยในยุคสมยั น้นั ๆ
ประวตั ขิ องเครอ่ื งแตงกาย

ในยุคก่อนประวัติศาสตรม์ นุษยใช้เครื่องห่อหุม
ร่างกายจากส่ีงท่ีได้มาจากธรรมชาติ เช่นใบไมใบหญา
หนังสัตว์ ขนนกดินสีต่างๆฯลฯมนุษย์บางเผ่าพันธุรูจักการใช้สีที่ทำมาจากตนพืชโดยนํามาเขียนหรอื สักตาม
ร่างกายเพื่อใช้เป็นเคร่ืองตกแต่งแทนการใช้เคร่ืองห่อหุมรางกายต่อมา มนษุ ยมีการเรียนรู้ ถงึ วิธที จี่ ะดดั แปลงการ
ใชเคร่ืองห่อหุมรา่ งกายจากธรรมชาติใหมีความเหมาะสมและสะดวกตอ่ การแตง่ กาย เชนมีการผูกมัดสานถักทอ
อดฯลฯและมีการวิวัฒนาการเรื่อยมาจนถึงการรูจกั ใชวธิ ตี ดั และเย็บจนในทสี่ ดุ ไดกลายมาเปนเทคโนโลยีจนกระทัง่
ถงึ ปจจุบันนี้
ความแตกตางในการแตงกาย

มนษยเปนสตั วโ์ ลกทีอ่ ่อนแอที่สุดจึงจาํ เปนต้องมสี ิ่งปกคลมรางกายเพอ่ื สามารถทจ่ี ะดำรงชวี ติ อยูได้ จาก
ความจำเป็นน้ีจึงเปนแรงกระตุนท่ีสำคัญในอันที่จะแต่งกาย เพ่ือสนองความ ตองการของมนุษยเองโดยมีสังคม
และสิ่งอ่ืนๆประกอบกันและเคร่ืองแต่งกายมีรูปแบบท่ีแตกตางกนั ไปตามสาเหตนุ ้ันๆคอื

1.สภาพภูมิอากาศ
2.ศตั รทู างธรรมชาติ
3.สภาพของการงานและอาชีพ
4.ขนบธรรมเนยี มประเพณีวฒั นธรรมและศาสนา
5.ความต้องการดึงดูดความสนใจจากเพศตรงข้าม
6.เศรษฐกิจและสภาพแวดลอม
ในสมัยโบราณการใชเครื่องประดับตกแตงรางกายของคนไทยระดบั สามญั ชนจะไมมีมากนักถงึ จะมีก็ไมใช
ของท่ีมีราคาสูง เพราะในสมัยโบราณมีกฎหมายขอหามมใิ หขาราชการชัน้ ผูนอ้ ยและราษฎรใชเครื่องประดับท่ีมรี าคา
แพงจนกระท้ังในสมยั รตั นโกสินทรต์ อนปลาย กฎโบราณ ดังกลาวไดถูกยกเวนไปจึงทําใหเครื่องประดับชนิดตางๆ
แพรหลายสูคนทุกชัน้ ทําให้เกิดการ แขงขนั สรางสรรคออกแบบเครื่องประดับใหมๆ มากมาย เคร่ืองประดบั เหลาน้ี
หลายชนิดจดั อยูในงานทัศนศิลปพ์ ้ืนบ้านชนดิ หนึง่ ซ่ึงอาจแบง่ ออกเปน็ ชนิดตา่ งๆ ตามวัสดุท่ใี ชไ้ ด้ 3 ประเภทใหญ่ๆ
คือ

1. เครื่องประดับทีท่ ําจากอโลหะ ไดแกเครื่องประดับท่ีใชวัสดุหลักทําจากท่ีไมใช่โลหะเชนวัสดุดินเผาไม้ผา

หินสีตางๆใยพืช หนังสัตว์ อัญมณีแกว พลาสติกฯลฯเครื่องประดับเหลาน้ีอาจทําจากวัสดุชนิดเดียวหรือนํามาผสม

ก ั น ก ็ ไ ด ้ น อ ก จ า ก น้ั น ย ั ง ส า ม า ร ถ น ํ า ม า ผ ส ม ก ั บ ว ั ส ด ุ ป ร ะ เ ภ ท โ ล ห ะ ไ ด อ ี ก ด ว ย

2. เครอ่ื งประดับท่ีทําจากโลหะ ไดแกเครื่องประดับที่ทําจากสินแรโลหะเช่น ทองคําเงนิ ทองแดงทองเหลือง

ฯลฯ ซึ่งบางคร้ังได้นําแรโลหะมากกวา1ชนิดมาผสมกันเชนนากซ่ึงเปนการผสมกันระหวางทองคํากับทองแดง

สัมฤทธิ์ หรือสําริดเปนโลหะผสมระหวางทองแดงและดีบุก สัมฤทธ์ิบางชนิดอาจมีสวนผสมของสังกะสีหรือตะก่ัว

ปนอยดู วย

3. เคร่อื งประดับท่ีใชทาํ ให้เกิดรองรอยบนรางกาย ไดแกการนําวัตถจากภายนอกรางกาย เขาไปติดบนราง

กายเชนรอยสกั หรือการฝงลูกปดหรอื เมล็ดพืชใตผิวหนังของชาวแอฟริกาบางเผาเปนตน นอกจากนั้นยังมีการเขียนสี

ตามบรเิ วณลาํ ตวั ใบหนาเพื่อประเพณีหรอื ความสวยงามอกี ดวย

การตกแตงทอี่ ยอู าศัย
ขั้นตอนในการออกแบบ

1.ศกึ ษาการจัดวางพื้นที่
2.กําหนดความตองการ
3.การวางผงั
4.การจดั ทาํ รายละเอียดตาง
5. การจดวางเคร่ืองเรือน
6. ความสามารถในการเปล่ียนแปลงการใชสอย
7.ความสมดุล
8.การจัดระบบทางเดินภายในแตละหอง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑

“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๓

ชือ่ – สกลุ ......................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

ให้ผเู้ รียนตอบคำถามต่อไปน้ี

๑. เครื่องแตงกายหมายถึง
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... .................
.................................................................................................................. .........................................................
........................................................................................................................................... ................................
........................................................................................................................................... ...............................
๒. เครื่องประดบั ทท่ี ําจากอโลหะ ไดแก่
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... .................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
๓. เคร่อื งประดับทีท่ าํ จากโลหะ ไดแก่
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... .................
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๔

ความเปนมาของเพลงพ้ืนบานไทย
การสืบหากำเนิดของเพลงพ้ืนบ้านของไทยยังไม่สามารถตกลงได้แน่นอนเพราะเพลง พื้นบานเป็น

วัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาปากต่อปากไมมีการบันทึกเปนลายลักษณ์แตค่ าดว่าเพลงพ้ืนบ้านคงเกิดมาคูกับ
สังคมไทยมาช้านานแล้ว เชน่ เพลงกล่อมเด็กก็คงเกิดขึ้นมาพร้อมๆ กับการเล้ียงดูลูกของหญิงไทย การศึกษาประวตั ิ
ความเปนมาและการพัฒนาการของเพลงพ้ืนบ้านไทย

คุณคาของเพลงพ้นื บาน

เพลงพ้ืนบานเป็นสมบัติของสังคมท่ีไดสะสมต่อเน่ืองกันมานานจึงเป็นส่วนหนึ่งในวิถชี ีวติ ของคนไทย
และมีคุณคาตอสังคมอยางยง่ิ เพลงพื้นบานมคี ุณคาตอสังคม5ประการดงั นี้

1.1ใหความบันเทิง
1.2ใหการศึกษา
1.3จรรโลงวฒั นธรรมของชาติ
1.4เปนทางระบายความคับของใจ
1.5เป็นสื่อมวลชนชาวบ้าน

ประเภทของเพลงพืน้ บาน
การแบงตามรูปแบบของกลอน คือ จัดเพลงทมี่ ีฉันทลักษณเหมอื นกันอยูในพวกเดยี วกนั เราจะจัดใหเปนสาม

พวก คือ พวกกลอนสัมผสั ทาย คอื เพลงท่ีลงสระขางทายสัมผัสกนั ไปเร่ือยๆ ไดแก เพลงฉอย เพลงลําตัด เพลงระบาํ
ชาวไรเพลงระบําบานนา เพลงหนาใย เพลงอีแซว เพลงสงคอลําพวน เพลงเทพทอง ลงกลอนสมั ผสั ทาย
เหมอื นกนั แตเวลาลงเพลงเม่ือใด ตองมีการสัมผสั ระหวางสามวรรคทายเก่ียวโยงกนั เชน เพลงเรอื เพลงเตนกํา
ราํ เคยี วเพลงขอทาน เพลงแอวเคลาซอ

พวกที่ไมคอยเหมือนใคร แตอาจคลายกนั บางเชน เพลงสาํ หรบั เดก็ เพลงระบาํ เพลงพิษฐาน เพลงสงฟาง
เพลงชักกระดาน เพลงเตนกาํ รําเคยี ว เพลงพาดควาย เพลงปรบไก เพลงเหยยการแบงเปนเพลงโตตอบและเพลง
ธรรมดา เพลงรองโตตอบ ไดแก เพลงฉอย เพลงอีแซวฯลฯ สวนเพลงอกี พวก คือ เพลงท่ีเหลอื ซง่ึ เปนเพลงทรี่ องคน
เดยี ว หรอื รองพรอมกนั หรือไมจาํ เปนตองโตตอบกนั เชน เพลงสําหรับเด็ก เพลงขอทาน เพลงชกั กระดาน
เพลงสงฟาง (มักจะเปนเพลงสน้ั ๆ) เปนตน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๔

ชือ่ – สกลุ ......................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้

๑. จงอธิบายลักษณะของดนตรพี ื้นบาน
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................

๒. คุณคาของเพลงพืน้ บานมีก่ปี ระการ อะไรบา้ ง
.............................................................................................................................................................. ...................
............................................................................................................... ..................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
........................................................................................................................................ .........................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

๓. ผเู รยี นมแี นวความคดิ ในการอนุรักษเพลงพ้นื บานในทองถ่นิ ของผูเรียนอยางไรบาง
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๕

นาฏศิลปพืน้ บานและภูมปิ ญญาทองถิ่น

นาฏศิลปพื้นบ้านเปนการแสดงท่ีเกิดขึ้นตามทองถิ่นตางๆมักเล่นเพื่อความสนุกสนานบันเทิง
ผอนคลายความเหนด็ เหน่ือยหรอื เปนการแสดงที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพของประชาชน ตามภาคนั้นๆนาฏศิลป
พ้ืนบ้านเป็นการแสดงที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคตางๆของประเทศไทยตามลักษณะพื้นที่
วัฒนธรรมทองถิ่น ประเพณีท่ีมีอยูคูกับสังคมชนบทซ่ึงสอดแทรกความสนกุ สนาน ความบันเทงิ ควบคไู ปกับการใช
ชีวิตประจาํ วนั
นาฏศิลปพื้นบานภาคเหนอื

การฟอนคือการแสดงนาฏศิลปภาคเหนือทีแ่ สดงการรายรําเอกลักษณที่ดนตรีประกอบมี แตทำนองจะไม
มีคํารองการฟอนรำของภาคเหนือม2ี แบบคอื แบบอย่างด้ังเดิมกับแบบอย่างท่ีปรับปรุงขึ้นใหม่ การฟอนรําแบบ
ดงั้ เดิมไดแก่ ฟองเมอื งฟอนมานและฟอนเงยี้ ว
นาฏศลิ ปพื้นบานภาคกลาง

เปนศิลปะการร่ายรำและการละเล่นของชนชาวพื้นบานภาคกลางซึงสวนใหญมีอาชพี เก่ยี วกบั

เกษตรกรรม ศลิ ปะการแสดงจงึ มคี วามสอดคล้องกับวถิ ชี วี ิต และเพ่ือความบนั เทิง สนุกสนานเป็นการพักผอนหย่อน
ใจจากการทำงานหรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเก่ียวขาวเต้นดํารําเคียวรำเถิดเทิงรํา
เหย่อยเปนตนมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมของทองถนิ่ และใชเครอ่ื งดนตรพี ้ืนบานเชนกลองยาว กลองโทน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๕

ช่อื – สกุล......................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตำบล........................
จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. การฟอนรำของภาคเหนือมีก่ีแบบอะไรบา้ งจงอธิบายมาพอสังเขป
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
......................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... ......................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
..................................................................................................................................................................................... ....

๒. จงอธิบาย นาฏศลิ ปพน้ื บานภาคกลาง พรอ้ มยกตวั อยา่ งมาพอสงั เขป
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.................................................................................................................................................. .......................................
............................................................................................ .............................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.............................................................................................................................................................................. ...........
........................................................................................................................ .................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑

“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๖

นาฏศิลปพนื้ บานภาคอีสาน
เป็นการแสดงศิลปะการรำและการเล่นพื้นบ้านภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยแบงเปน

2กลมุ วัฒนธรรมใหญ ๆคือ
1. กลุมอีสานเหนือมวี ัฒนธรรมไทยลาวเรยี กการละเล่นวา“หมอลำ,เซิ้งและฟ้อน” เชน่ ลําเตย

ลาํ ลอง,ลากลอนเกี้ยว เซ้ิงบ้ังไฟเซ้ิงตังหวายฟ้อนภูไทเป็นตนดนตรพี ื้นบานท่ีใช้ประกอบไดแก่ พิณแคนโปงลางกลอง
ยาวซอโหวดฉงิ่ ฉาบฆองและกรบั

2.กลุมอสี านใต้ได้รับอิทธพลไทยเขมร มีการละเล่นท่ีเรยี กว่าเรอื มหรือเร็อมเชนเรือมอันเรหรอื ราํ สากหรือ
กระโดสาก ส่วนละเล่นเพลงโต้ตอบกนั เช่นกันตรึมเจรียงอาไยเป็นตนวงดนตรดี นตรที ใ่ี ช้ประกอบได้แก่วงมโหรพ้ืนบ
าน ประกอบด้วย ซอด้วงกลองกันตรมปออปสไลฉ่งิ และกรับ

นาฏศลิ ปพน้ื บานภาคใต้
เป็นศิลปะการแสดงและการละเล่นของชาวพื้นบานภาคใตอ้ าจแบงตามกลุมวัฒนธรรมได้

2กลุม คือวัฒนธรรมไทยพุทธไดแก่การแสดงโนราหนังตะลุงเพลงบอกและวัฒนธรรมไทยมุสลิม

ไดแก่ ชาํ เปงลเิ กซลู ซิละ รองเง็ง
การแสดงนาฏศิลปพื้นบ้านภาคใตแบ่งออกเป็นหลายแบบคอื แบบด้ังเดิมและแบบท่ีได้รับอทิ ธิพลจากตาง

ประเทศ
1. แบบดง้ั เดิมได้รบั แบบแผนมาจากสมัยอยธุ ยา หรือครั้งที่กรุงศรีอยธุ ยาเสยี แกข้าศึก บรรดาศลิ ปนนักแสดง

ท้ังหลายก็หนีภัยสงครามลงมาอยูภาคใต้ ได้นำรูปแบบของการแสดงละครท่ีเรียกวาชาตรีเผยแพรสูภาคใตและการ
แสดงดัง้ เดิมของท้องถิ่นเช่นการสวดมาลยั เพลงนาเพลงเรอื เปนตน

2. แบบท่ีไดรับอิทธิพลจากต่างประเทศภาคใต้เป็นพื้นท่ีติดต่อกับประเทศมาเลเซียดังนั้นประชาชนที่
อาศัยอยูแถบชายแดนก็จะรับเอาวัฒนธรรมการแสดงของมาเลเซียมาเป็นการแสดงทองถ่นิ
เชนลเิ กฮลู ูสลาเปะอาแวลตู งคาระ กรอื โตะ ซมั เปงเปนตน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๖

ช่อื – สกลุ ......................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. จงอธบิ าย นาฏศลิ ปพน้ื บานภาคอีสานพรอ้ มยกตวั อย่างมาพอสงั เขป
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................ .................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

๒. จงอธิบาย นาฏศิลปพ้ืนบานภาคใตพ้ ร้อมยกตัวอยา่ งมาพอสงั เขป
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................ .................................................................
............................................................................................................................. ....................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑

“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๗

ปจจัยหลกั ของการประกอบอาชีพ
สิ่งสำคัญของการเริ่มต้นประกอบอาชีพอิสระจะต้องพิจารณาว่าจะประกอบอาชีพอิสระ

อะไร โอกาสและความสำเร็จมีมากน้อยเพียงไรและจะต้องเตรียมตัวอย่างไรจงจะทำให้ประสบผลสําเร็จดังน้ัน
จึงตองคํานึงถงึ ปจจัยหลักของการประกอบอาชีพไดแก่

1.ทุน คือส่ิงท่ีจำเปนปัจจัยพ้ืนฐานของการประกอบอาชีพโดยจะต้องวางแผนและแนวทางการดําเนิน
ธรุ กิจไวลวงหนา เพือ่ ทจี่ ะทราบวาตองใชเงนิ ทนุ ประมาณเทาไรบางอาชีพใชเงินทุนนอยปัญหายอมมีน้อย แต่ถ้าเป็น
อา ช ี พ ที่ ต อง ใ ช ้ เ ง ิ น ทุ น ม า ก จ ะ ต อง พ ิ จ า ร ณ า ว ่ า มี ท ุ น เ พี ย ง พ อห รือไ ม่ซ่ึง อาจเป นป ญห า ใหญ่
ถาไมพอจะหาแหลงเงินทุนจากที่ใด อาจจะได้จากเงินเก็บออมหรือจากการกูยืมจากธนาคาร หรือสถาบันการเงิน
อื่นๆอย่างไรก็ตาม ในระยะแรกไมควรลงทุน จนหมดเงิน เกบ็ ออมหรอื ลงทนุ มากเกนิ ไป

2.ความรหู ากไมมีความรูเพียงพอ ตอ้ งศึกษาขวนขวายหาความรูเพิ่มเติมอาจจะฝึกอบรมจากสถาบันที่ให
คว ามรู ด้า นอาชีพ หรือทำงา นเป็น ลู กจ้ าง คนอื่นๆ หรื อทดล องปฏ ิ บั ติด้ว ยตนเอ งเพื่อให มี
ความรคู วามชาํ นาญและมปี ระสบการณในการประกอบอาชีพน้นั ๆ

3.การจัดการเปนเรือ่ งของเทคนิคและวิธีการจึงตองรูจักการวางแผนการทํางานในเรือ่ งของตัวบุคคลท่ี
จะรวมคดิ รวมทําและรวมทุนตลอดจนเครอื่ งมือเครือ่ งใชและกระบวนการทาํ งาน

4.การตลาดเป็นปัจจัยท่ีสำคัญมากที่สุดปัจจัยหนึ่ง เพราะหากสินค้าและบริการท่ีผลิตข้ึน ไมเปน
ท่ีนิยมและไม่สามารถสร้างความพอใจให้แก่ผูบริโภค ได้ก็ถือว่ากระบวนการท้ังระบบไม่ประสบผลสําเร็จ ดังนั้น
การวางแผนการตลาดซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันสูง จึงควรได รับความสนใจ ในการพัฒนารวมทั้ง
ตองรูและเขาใจในเทคนิคการผลิต การบรรจุและการหีบหอตลอดจนการประชาสัมพันธ์ เพ่อื ใหสนิ คาและบรกิ าร
ของเราเปนทนี่ ิยมของลูกคากลมุ เปาหมายตอไป

ขอแนะนําในการเลือกอาชพี ก่อนตดั สินใจเลอื กประกอบอาชีพใดๆ กต็ ามควรพิจารณาอยางรอบคอบซึง่ มีข
อแนะนาํ

1. ควรคิดเลือกอาชีพที่ชอบหรือคิดว่าถนัด ถนัดด้านไหนมีความสามารถอะไรบ้าง ที่สำคัญคือต้องการ

หรอื อยากจะประกอบอาชีพอะไรจึงจะเหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว กล่าวคือพิจารณาลักษณะงานอาชพี

และพิจารณาตัวเองพรอมท้งั บคุ คลในครอบครวั ประกอบกันไปดวย
2.พั ฒ น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ต ั ว เ อ งคื อค ว ร ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง อ า ชี พ ที่ จ ะ เ ลื อ ก ไ ปประกอบ

ถาความรูความเขาใจยังมีนอยมีไมเพียงพอก็ตองทําการศึกษาฝึกอบรมฝึกปฏิบัติเพิ่มเติมจากบุคคลหรือหน่วยงาน
ต่างๆ ใหม่พื้นฐานความรูความเข้าใจในการเริ่มประกอบอาชีพท่ีถูกต้อง เพื่อจะได้เรียนรูจากประสบการณจ์ รงิ ของผู
มปี ระสบการณ์มาก่อน จะได้เพิม่ โอกาสความสำเรจ็ สมหวังในการไปประกอบอาชีพนั้น ๆ

3.พิจารณาองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องเชน ทําเลที่ตั้งของอาชีพที่จะทำไม่วาจะเป็นการ

ผลิตการจําหน่ายหรือการให้บริการก็ตาม สภาพแวดลอมผูร่วมงานพื้นฐานในการเริ่มทำธุรกิจเงินทุน โดยเฉพาะ
เงนิ ทุนตองพจิ ารณาวามเี พยี งพอหรอื ไมถาไมพอจะหาแหลงเงินทนุ จากที่

อาชพี การผลติ ขลยุ่
ขลุยจําแนกเปนประเภทตางๆ ไดดังน้ี

ขลุยหลิบหรือขลุยหลืกหรือขลุยกรวดเป็นขลุยขนาดเล็กเสียงสูงกวาขลุยเพียงออเปนคูสี่ใชในวงมโหรี
เคร่ืองคูเครื่องใหญ่และวงเคร่ืองสายเคร่ืองคูโดยเป็นเคร่ืองนําในวงเช่นเดียวกับ ระนาดหรือซอดวงนอกจากนี้
ยังใชในวงเคร่ืองสายปชวาเพราะขลุยหลบมีเสียงตรงกับเสียงชวาโดยบรรเลงเปนพวกหลงั เชนเดยี วกบั ซออู

ขลุยเพียงออเปนขลุยที่มีระดับเสียงอยูในช่วงปานกลางคนท่ัวไปนิยมเป่าเล่น ใช้ในวงมโหรีหรือเครือง
สายทั่วๆไปโดยเปนเครื่องตามหรืออาจใช้ในวงเคร่ืองสายปชวาก็ได้แต่เป่ายาก กวาขลุยหลิบเน่ืองจากเสียงไมตรง
กับเสียงชวาเชนเดียวกับนําขลุยหลิบมาเปาในทางเพียงออต้องทดเสียงขึ้นไปใหเปนคู4นอกจากนี้ยังใชในวงปพาทย
ไมนวมแทนปอีกดวยโดยบรรเลงเปนพวกหนา

ขลุยอู เปนขลุยขนาดใหญเสียงต่ำกวาขลุยเพียงออสามเสียง ใชในวงปพาทยดึกดําบรรพ์ ซ่ึงตองการเครื่อง
ดนตรีที่มีเสียงตต่ำเป็นพ้ืนนอกจากนี้ในอดีตยังใชในวงมโหรีเคร่ืองใหญ่ปจจุบันไมไดใชเนื่องจากหาคนเปาที่มี
ความชํานาญไดยาก

อาชีพการผลติ แคน

แคนเป็นเครื่องดนตรีที่มีความเกาแกมากท่ีสุด เปนเครื่องดนตรีที่มีความนิยมเปากันมากโดยเฉพาะชาว

จังหวัดขอนแกน ถือเอาแคนเปนเอกลักษณชาวขอนแก่น รวมทั้งเปนเครื่องดนตรประจําภาคอีสานตลอดไป และใน

ปจั จบุ ันน้ชี าวบานไดมีการประดิษฐแคนเปนอาชีพอยางมากมายเชนอ.นาหวา จ.นครพนมจะทําแคนเปนอาชีพท้ังหมู

บานรวมทั้งจังหวัดอื่นๆอีกมากมายและแคนยังเปนเครอ่ื งดนตรีที่นํามาเปาประกอบการแสดงตาง ๆเช่นแคนวงวง

โปงลางวงดนตรีพ้ืนเมืองรวมทั้งมีการเปาประกอบพิธีกรรมของชาวอีสานเชนรําผีฟารําภูไทเปนตนรวมทั้งเปา

ประกอบหมอลาํ กลอนลาํ เพลินลาํ พืน้ รวมทงั้ หมอลําซงิ่ ยงั ขาดแคนไมได้

อาชีพการผลิตกลองแขก
กลองแขกเปนเครื่องดนตรีประเภทเคร่ืองตที ่ีมรี ูปรางยาวเป็นรปู ทรงกระบอกขึ้นหนังสองข้างด้วยหนังลูกวัว

หรือหนังแพะหน้าใหญ่ กว้างประมาณ20cm เรียกวาหนารุย หรอื "หนามด"สวนหนาเล็กกวางประมาณ15cm
เรยี กวาหนาตาน หรือ "หนาตาด"ตัวกลองหรอื หุนกลองสามารถ ทําขึ้นไดจากไมหลายชนิดแตโดยมากจะนิยมใช้ไม
เน้ือแข็งมาทําเปนหุนกลองเชนไมชิงชันไมมะริดไมพยุงกระพ้ีเขาควายขนุนสะเดามะค่ามะพร้าวตาลก้ามปู เป็นตน้
ขอบกลองทำมาจากหวายผาซีกโยงเรียงเปนขอบกลองแลวมวนดวยหนงั จะไดขอบกลองพร้อมกับหนากลองและถูก
ขึง ใหตึงด้วยหนังเส้นเล็กเรียกว่าหนังเรียดเพื่อใช้ในการเร่งเสียงให้หนากลองแต่ละหน้าได้เสียงท่ีเหมาะสมตาม
ความพอใจกลองแขกสาํ รบั หนึง่ มี2ลูก ลูกเสยี งสูงเรยี กตัวผู้ ลูกเสียงตำ่ เรยี กตัวเมียตีดวย
ฝามอื ท้ังสองขางใหสอดสลับกันท้ังสองลูก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑
“ชวี ติ กบั ศลิ ปะ”

รายวชิ า ศลิ ปศึกษา (ทช๑๑๐๐๓)

ใบงานท่ี ๗

ช่อื – สกุล......................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................
จงตอบคำถามต่อไปน้ี

๑. ปจจัยหลกั ของการประกอบอาชพี มีอะไรบา้ ง จงอธิบายพรอ้ มยกตัวอย่างมาพอสงั เขป
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................

๒. ขลยุ จาํ แนกเปนประเภท อะไรบา้ ง พร้อมอธบิ ายมาพอสังเขป
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
๓. จงอธบิ ายลักษณะของกลองแขก ตามความเขา้ ใจมาพอสังเขป
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒

“ชวี ติ กบั การพฒั นา ชมุ ชน สงั คม”

รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม (สค๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๘

การจดั เกบ็ และวเิ คราะห์ขอ้ มลู อยา่ งงา่ ย

ความหมายของขอ้ มลู
ข้อมูล เป็นค่าสังเกตที่ได้มาจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราที่สอดคล้องกับความสนใจ หรือตรงกับเป้าหมายที่

ศึกษาในเรื่องนั้นๆ เช่น ต้องการซื้อเสื้อสำหรับใส่ทำงาน ข้อมูลอาจจะเป็นราคา ยี่ห้อ ชนิดของผ้า
สีเสื้อ เป็นต้น ดังนั้นข้อมูลจึงไม่ได้จำกัดต้องเป็นสิง่ ใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นตัวเรา คนอื่น ครอบครัว เมือง ประเทศ
เซลล์ โมเลกุล แม้กระทั่งเป็นความคิดเห็น ค่าสังเกตที่ได้เป็นผลมาจากการวัดแบบต่างๆ เพื่อนำมาใช้ตอบปัญหา
ตา่ งๆ เชน่ เท่าไร มากกว่าเทา่ ไร ยาวเท่าไร บอ่ ยเท่าไร เรว็ เทา่ ไร หรือประเภทใด คดิ อย่างไร เหน็ ด้วยหรือไม่ เป็นต้น
การนำเสนอคา่ สังเกตเหล่านี้มักจะอยู่ในรูปของจำนวนมากกว่าจะอยู่ในรูปข้อความ ท้งั นเ้ี พราะจำนวนจะเข้าใจได้ง่าย
กว่า กลา่ วโดยสรปุ แลว้ เราอาจนยิ ามคำวา่ ขอ้ มูลสัน้ ๆ ได้ดังน้ี

ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงซึ่งอยู่ในรูปของจำนวน ข่าวสาร ข้อความ หรือความคิดเห็น อย่างใดอย่างหนึ่ง
หรอื หลายอย่างเพือ่ ใช้เป็นฐานของการศกึ ษาหรือหาข้อสรุปในเรื่องราวทสี่ นใจ
ประเภทของขอ้ มลู

จากความเห็นข้างต้นจะเห็นว่าข้อมูลที่รวบรวมมานั้น แสดงค่าเป็นจำนวนที่มีลักษณะท่ี แตกต่างกัน การ
นำเอาทฤษฎีทางสถิติมาวิเคราะห์ได้อย่างสมเหตุสมผลจำเป็นต้องให้สอดคล้องกับคุณลักษณะดังกล่าว ดังนั้นเราจึง
จำเป็นตอ้ งจำแนกขอ้ มูลท่ีมีคณุ ลักษณะอยา่ งเดยี วกนั ไว้เปน็ ประเภทเดียวกัน ในทน่ี ีจ้ ะจดั แบ่งอย่างกว้างๆ เปน็
๒ ประเภท คอื

๑. ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถเปรียบเทียบเชิงปริมาณ เช่น มากกว่า น้อยกว่าได้ ซึ่ง
ได้แก่ ข้อมูลที่แสดงฐานะ สถานภาพ คุณสมบัติ ตัวอย่างของข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ชื่อของพนักงาน
ในบริษัท เพศ วัน เดือน ปี ชนิดของสินค้า เป็นต้น ถึงแม้ว่าข้อมูลประเภทนี้จะกำหนดด้วยตัวเลขก็ไม่สามารถที่จะ
เปรียบเทียบกับเชิงปริมาณได้เช่น หมายเลขโทรศัพท์ บ้านเลขที่ หรือการกำหนดตัวเลขแทนข้อมูลบางอย่าง เช่น ๑
แทนเพศชาย และ ๒ แทนเพศหญิง แต่ไม่อาจกล่าวได้ว่า ๒ มีค่ามากกว่า ๑ ตัวเลขทั้งสองเป็นแต่เพียงแสดงว่า
แตกต่างกัน เท่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูลเบื้องต้นจะกระทำได้ด้วยการเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของข้อมูล
ห ร ื อ ก า ร เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ป ร ิ ม า ณ ข อ ง ค ่ า ส ั ม พ ั ท ธ ์ ท ั ้ ง น ี ้ เ น ื ่ อ ง จ า ก ข ้ อ ม ู ล ป ร ะ เ ภ ท นี้
ไม่สามารถบวก ลบ คูณ หรอื หารกันได้

๒. ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึง ข้อมูลที่แสดงปริมาณ หรือขนาดที่สามารถเปรียบเทียบกันไ ด้
ในลักษณะมากกว่าหรือน้อยกว่าเป็นจำนวนเท่าไร ข้อมูลประเภทนี้มักเป็นข้อมูลที่แสดงค่าเป็นตัวเลข เช่น จำนวน
นกั ศกึ ษาในวทิ ยาลัยต่างๆ อายุการใช้งานของเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า อุณหภมู ิของรา่ งกายของคนป่วยหลังจากการผ่าตัด
เป็นต้น

กลมุ่ มลี กั ษณะคลา้ ยกนั มาก คือเป็นระดับความรู้สึกของผ้ตู อบทม่ี ีต่อบริการของโรงแรม แตจ่ ะเหน็ วา่ มี ข้อ
แตกต่างกนั ที่ คำตอบ ในกลุ่มแรกจะแสดงถึงความแตกตา่ งของความรู้สึก ส่วนคำตอบในกล่มุ ทสี่ องจะแสดงนำ้ หนัก
ขอความรูส้ กึ ซ่ึงเปรียบเทยี บกันในลักษณะมาก - น้อยได้ ดงั น้ันข้อมูลจากคำถามกลุม่ แรกจงึ จัดเป็นข้อมูลเชิง
คณุ ภาพ และข้อมลู จากคำถามในกลมุ่ ทีส่ องเป็นข้อมูลเชงิ ปริมาณ นอกจากนถี้ ้าพจิ ารณาจากความแตกต่างของคา่
ของตัวเลขท่ไี ด้จากการวัดคา่ ของข้อมลู ยงั สามารถจำแนกได้เป็น ๒ อย่าง คอื

ข้อมลู แบบไม่ตอ่ เนอ่ื ง เปน็ ข้อมูลทแ่ี สดงคา่ ดว้ ยจำนวนจำกัด เชน่ จำนวนสนิ ค้า มีตำหนิ จำนวนเงนิ ค่าใช้จ่าย
ประจำเดือนของนักศึกษา ข้อสังเกตง่ายๆ สำหรับข้อมูลประเภทนี้คือ สามารถบอกค่าที่ถัดจาก
คา่ ของข้อมลู นนั้ ได้ทั้งทางมากกว่าหรือน้อยกวา่

ข้อมูลแบบต่อเนื่อง เป็นข้อมูลที่แสดงค่าด้วยจำนวนต่อเนื่องมักเป็นข้อมูลที่ได้จากการวัดด้วยมาตรวัดต่างๆ
เชน่ ความยาว น้ำหนกั ปริมาตร อุณหภมู ิ เวลา เปน็ ต้น ซ่งึ การกำหนดค่าของข้อมลู ท่ีถูกต้อง จะตอ้ งกำหนดเป็นช่วง
เนื่องจากไม่สามารถกำหนดค่าของข้อมูลเป็นค่าหนึ่ง ค่าใดได้ แต่ในทางปฏิบัติมักจะกำหนดเป็นค่าเดียวโดยอนุโลม
เพื่อความสะดวกในการนำไปใช้
แหล่งขอ้ มลู

แหล่งข้อมลู หมายถึงแหล่งทไี่ ดจ้ ดั เก็บข้อมลู ไว้ดว้ ยเหตุผลเพ่ือเผยแพร่ หรือการวเิ คราะห์วจิ ยั หรือเพื่อเก็บไว้
เป็นหลักฐานของการตัดสินใจในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ซึ่งแบ่งกว้างๆ
ได้ ๒ อย่าง คือ

๑. แหล่งปฐมภูมิ (primary source)เป็นแหล่งข้อมูลทีจ่ ัดเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ตามระเบียบวิธีของ
การจัดเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ เช่น การสร้างแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ หรืออื่นๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลตรงกับ
จุดประสงคข์ องผู้ท่ีศึกษา ขอ้ มลู ท่ีได้นเ้ี รยี กวา่ ข้อมลู ปฐมภูมิ (primary data) เช่น การตรวจเลือดหญิงบริการในเขต
ก ร ุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เ พ ื ่ อ ห า จ ำ น ว น ห ญ ิ ง บ ร ิ ก า ร ท ี ่ ต ิ ด เ ช ื ้ อ HIV ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ห า ส า ร ห นั ก
ทต่ี กคา้ งในนำ้ ดื่มเพื่อประเมินคุณภาพนำ้ ดื่ม เป็นต้น ขอ้ ดขี องขอ้ มลู ปฐมภูมิ คอื ได้ข้อมลู ทส่ี ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์
ได้โดยตรงตามจุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนั้น ส่วนข้อเสียคือ ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการจัดเก็บ
ค่อนขา้ งมาก

๒. แหล่งทุติยภูมิ (secondary source)เป็นแหล่งข้อมูลที่ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลครั้งแรกเองข้อมูล
ทรี่ วบรวมจะได้มาจากข้อมลู ที่ผ่านการรวบรวมและจัดระบบไว้กอ่ นแลว้ จงึ ไมไ่ ดจ้ ัดเกบ็ ตามจุดประสงค์ของการศึกษา
โดยตรง เช่น สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั ประวัตดิ า้ นการป้องกันโรคตดิ ตอ่ ของนักเรยี น โดยวิธี
รวบรวมจากทะเบียนประวัติของนักเรียนที่โรงเรียนบันทึกไว้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดถือว่าเป็นแหล่งทุติยภูมิ
ส่วนข้อมูลที่รวบรวมมาเรียกว่า ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งถ้าข้อมูลที่จัดเก็บสอดคล้องกับจุดประสงค์ของการศึกษาจะทำให้
ประหยัดเวลาและคา่ ใชจ้ ่ายจำนวนมาก
การเก็บรวบรวมข้อมูล

เนื่องจากที่มาของข้อมูลมีอยู่ ๒ ลักษณะคือ เป็นข้อมูลที่มาจากแหล่งกำเนิดโดยตรง และเป็นข้อมูล
ที่ไดม้ ีการจัดเก็บไว้คร้งั หน่ึงแล้ว รวมทั้งวัตถุประสงคข์ องการนำข้อมลู มาใช้ในแต่ละคร้งั ก็ยังแตกตา่ งกัน ดังน้ันวิธีการ
จดั เกบ็ ข้อมูลจึงจำเปน็ ต้องสอดคล้องกับขอ้ จำกดั ดังกลา่ ว ซ่งึ จำแนกได้ดงั น้ี

๑. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากการบนั ทกึ เหตกุ ารณ์และทะเบยี น
ข้อมูลท่จี ดั เกบ็ โดยวธิ ีนมี้ ักจะเป็นข้อมูลทุติยภูมิ โดยทวั่ ไป หนว่ ยงาน สถาบันหรอื องค์กรต่าง ๆ ทั้งหน่วยงาน

รัฐและเอกชน จะมีบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญและจำเป็นต้องอ้างอิงเป็นประจำ เช่น รายการสินค้า ประวัติผู้ปว่ ย การ
ลงทะเบียนการเกิด การตาย ทะเบียนสมรส ข้อมูลนักศึกษา เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกบันทึกไว้ในทะเบียน แฟ้ม
ประวัติ หรือแฟ้มบันทึกรายการต่างๆ ของหน่วยงานนั้น ปัจจุบันมีการบันทึกข้อมูลดังกล่าวนี้ในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ สามารถเรียกดูได้จากเวปไซท์ของหน่วยงานนั้น ทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้สะดวก รวดเร็ว การบันทึก
ข้อมูลท่ีกล่าวมาน้เี รยี กว่า การลงทะเบียน ขอ้ มูลจากการบันทึกและการลงทะเบียนสามารถคัดลอกมาใช้ประโยชน์ได้
ตามความตอ้ งการโดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งเกบ็ ซำ้ อกี
๒. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ สี ำรวจ

การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีนี้เป็นการเก็บข้อมูลปฐมภูมิทั้งนี้เนื่องจากข้อ มูลที่ต้องการมักจะเป็นข้อมูลมี
จุดมุง่ หมายในการใช้เฉพาะกรณีจึงมักจะเปน็ ข้อมลู ท่ียังไมเ่ คยมีการ รวบรวมไวก้ ่อน การเกบ็ รวบรวมข้อมูลอาจทำ
ไดโ้ ดยการใชก้ ารสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือการสงั เกต ซึ่งจำแนกได้ ๒ ลักษณะคือ

๒.๑ วิธีสำมะโน (sensus)หรอื การแจงนบั ครบถว้ น เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากสมาชกิ ทกุ หนว่ ย
ในกลุ่มประชากร เป็นวิธีที่จะได้ข้อมูลท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน แต่มีข้อเสียที่ต้องเสียคา่ ใชจ้ ่าย เวลา และแรงงานมาก เช่น
สำมะโนครัว คอื การแจงนับทกุ หนว่ ยของประชากร และของครวั เรอื นในพน้ื ทีท่ สี่ ำรวจ เป็นต้น

๒.๒ วิธีสำรวจตัวอย่าง (sample survey)หมายถึงการรวบรวมข้อมูลจากบางส่วนของประชากร
เรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง เพื่อใช้เป็นตัวแทนในการศึกษาลักษณะของประชากร จะเห็นว่ากลุ่มตัวอย่างไม่ใช่ทุกหน่วยใน
ประชากรดงั นน้ั ข้อมูลท่ีรวบรวมได้จึงถือว่าไมส่ มบูรณ์ การวเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ืออธิบายคุณลักษณะของประชากรย่อมมี
ความคลาดเคลื่อน จึงจำเป็นต้องใช้ความรู้ทางสถิติมาควบคุมให้มีความคลาดเคลื่อนให้น้อยที่สุด ซึ่งจะไม่กล่าวไว้ใน
เ อ ก ส า ร น ี ้ เ ท ค น ิ ค ข อ ง ก า ร ส ำ ร ว จ ต ั ว อ ย ่ า ง อ า จ ท ำ ไ ด ้ ห ล า ย ว ิ ธี
ซง่ึ ขึน้ อยู่กบั จดุ ประสงคข์ องผู้รวบรวม
๓. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ที ดลอง

การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีนี้เพื่อศึกษาว่าปัจจัยอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกันจะทำให้เกิดผลอย่างไร
เมอ่ื ไม่มีปัจจยั อยา่ งอน่ื ท่ีไม่สนใจมามีอิทธิพลรว่ มดว้ ย การเก็บรวบรวมข้อมลู จึงจำเป็นต้องใช้วิธที ดลองและต้องมีแบบ
แผนการทดลองที่รัดกุม เพื่อไม่ให้มีปัจจัยที่ไม่พึงประสงค์มาแทรกซ้อน เช่น การศึกษาผลจากการใช้ปุ๋ยชนิดหนึ่งใน
ระดับตา่ งๆ กัน จะต้องควบคุมให้ทดลองกบั ตน้ ไม้ชนิดเดียวกัน สภาพแวดลอ้ มชนิดเดียวกัน ในเวลาเดียวกันจะทำให้
สามารถเปรียบเทียบไดว้ า่ ความแตกต่างของการเจริญเตบิ โตของต้นไม้นน้ั มนั เน่ืองมาจากปยุ๋ ที่ใชใ้ นการทดลอง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒
“ชวี ติ กบั การพฒั นา ชุมชน สงั คม”
รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม (สค๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๘

ชือ่ – สกลุ ..........................................................รหสั นักศกึ ษา...............................กศน.ตำบล............................

คำแนะนำนกั ศกึ ษาสามารถเรียนรจู้ ากหนังสอื เรยี น ใบความรู้ สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ ผรู้ ู้ ภมู ิปัญญา
ท้องถิ่น หรือส่ืออื่นๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกับเน้ือหา/สาระการเรยี นรู้

๑. ขอ้ มลู มกี ่ีประเภท อะไรบ้าง.............................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๒. คุณสมบัตขิ องขอ้ มูลที่ดีมีอะไรบ้าง..................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๓. วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู มีกี่วธิ อี ะไรบ้าง........................................................................................ ..........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒
“ชวี ติ กบั การพฒั นา ชมุ ชน สงั คม”
รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม (สค๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๙

การวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนสงั คมและการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ความหมายการบรู ณาการแผนชมุ ชน

แผนชุมชน หมายถึง กิจกรรมพัฒนาที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันเพื่อจัดทำแผนขึ้นมาใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือท้องถิ่นของตนเอง ให้เป็นไปตามที่ต้องการและสามารถแก้ปัญหา
ที่ชุมชนเผชิญอยู่ร่วมกันได้ โดยคนในชุมชนได้มาร่วมกันคิดร่วมกำหนดแนวทาง และกิจกรรมการพัฒนาของชุมชน
โดยยึดหลักการพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก ด้วยการคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา
วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นหลัก ซึ่งบางกิจกรรมที่ชุมชนไม่สามารถทำเองได้ ก็สามารถขอรับ
การสนบั สนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ โดยชมุ ชนเสนอแผนชุมชนเขา้ เป็นแผนขององคก์ ารบริหารส่วนตำบล (อบต.)
หรือแผนงาน/โครงการของราชการได้ แผนชุมชนมีชื่อเรียกแตกต่างกันตามความเข้าใจของแต่ละท้องถิ่น อาทิ แผน
แมบ่ ทชุมชน แผนชมุ ชนพงึ่ ตนเอง แผนชวี ิต เป็นต้น

วตั ถปุ ระสงคข์ องการบรู ณาการแผนชมุ ชน
๑) เพื่อเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการพัฒนาและแก้ไข

ปัญหาในท้องถิ่นของตนเองในทุกๆ ด้าน ตามความต้องการของชุมชนโดยใช้กระบวนการจัดทำแผนชุมชนเป็น
เคร่ืองมอื นำไปสู่ชมุ ชนเข้มแขง็ พ่งึ ตนเองและเอาชนะความยากจน

๒) เพอ่ื บูรณาการการทำงานในแนวดง่ิ และแนวราบระดบั พืน้ ท่ีของภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และ
เครือข่ายองค์กรชุมชน ในการสนับสนุนการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนและเอาชนะความ
ยากจน โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง ชุมชนเป็นศูนย์กลางและคนในชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบการพัฒนาและแก้ไขปัญห าของ
ตนเอง

๓) เพื่อประสานเช่อื มโยงความตอ้ งการของชมุ ชน ภายใตแ้ ผนชุมชนกบั แผนพฒั นาท้องถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ
และแผนพัฒนาจังหวัด

ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั
๑) เกิดกระบวนการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความเข้มแข็งของชุมชนและเอาชนะความยากจน ครอบคลุม

ทุกตำบลทง้ั ๗๗ จงั หวดั
๒) เกดิ เวทชี ุมชนท่มี ีความต่อเนอื่ ง เพื่อรว่ มกนั พฒั นาและแกไ้ ขปัญหาความยากจนในชมุ ชนของตนเอง
๓) คนในชุมชนได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ประสบการณ์ และพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการการ

พัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชนที่ผ่านกระบวนการบูรณาการแผนชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ก าร

พึ่งตนเองของชุมชน และเอาชนะความยากจนโดยอาศัยฐานทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม
ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ และทรพั ยากรในทอ้ งถิ่นชมุ ชน

๔) มีการขยายและเชื่อมโยงเครือข่ายภาคีการพัฒนาในทุกระดับ ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่จะช่วยเสริมสร้างความ
เขม้ แขง็ ของชุมชนและเอาชนะความยากจน

๕) มีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเน้นกระบวนการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนใน
สังคม และเน้นบทบาทของชุมชนในการจัดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาตามความต้องการ
ของตนเอง

๖) หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคีการพัฒนา ใช้แผนชุมชนเป็นฐานข้อมูลในการจัดทำ
แผนงาน/โครงการ และงบประมาณสนับสนนุ เพ่อื ทีจ่ ะสามารถแกไ้ ขปญั หาความยากจนไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม

๗) มีฐานข้อมลู แผนชมุ ชน ที่หนว่ ยงานภาครฐั ภาคกี ารพัฒนาต่างๆ และประชาชนสามารถเข้าถงึ ข้อมลู ได้
กระบวนการจดั ทำแผนชมุ ชน

๑. การเตรียมวิทยากรกระบวนการวัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมวิทยากรกระบวนการ และจัดทำแผนการดำเนินงาน
เพื่อใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย เกิดประสิทธภิ าพและประสบผลสำเร็จแนวทางดำเนนิ งาน

-เตรียมทีมวิทยากรกระบวนการ โดยค้นหาบุคคลที่อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย จากหลากหลายหน่วยงาน/องค์ กร/
เครอื ข่าย โดยจะต้องเป็นผ้มู คี วามรู้ ความสามารถและเข้าใจในกระบวนการจัดทำแผนชุมชน เป็นผู้มีประสบการณ์ในการเป็น
วทิ ยากรแผนชมุ ชน รู้เทคนคิ การจดั เวทีกระบวนการจดั ทำแผนชุมชน

- ออกแบบการเปิดเวทีในแต่ละขั้นตอน ด้วยการกำหนดวัตถุประสงค์ เนื้อหา ขั้นตอนกระบวนการและเทคนิคที่ใช้
รวมทั้งวทิ ยากรหลัก และวิทยากรผู้ช่วย

- ซกั ซ้อมแนวคิด กระบวนการ เทคนคิ วิธีการ ซ่ึงเปน็ เคร่อื งมอื สำคญั สำหรับวทิ ยากรกระบวนการแผนชุมชน
- เตรียมประเด็นการพูดคุยในเวที เช่น แนวคิดของแผนชุมชน เนื้อหาของการจัดทำแผนชุมชน เตรียมข้อมูลทั่วไป
ของชุมชนล่วงหน้า เช่น ข้อมูลสภาพของพื้นที่ของชุมชน อาณาเขตของชุมชน ประชากรและครัวเรือน การประกอบอาชีพ
รวมทั้งประเดน็ ปัญหาท่ีสำคัญๆ ของชมุ ชนนัน้ ๆ
- เตรียมพื้นที่ เช่น เตรียมคน เตรียมสถานที่ที่มีความพร้อมสำหรับการจัดเวทีเตรียมอุปกรณ์และ
สอื่ ทใี่ ช้ในการจดั ทำเวที
ผลทไี่ ดร้ บั ได้ทมี วทิ ยากรกระบวนการแผนชุมชน ทป่ี ระกอบดว้ ยบุคลากรจากหลากหลายหนว่ ยงานซงึ่ มที กั ษะและ
ประสบการณจ์ ดั ทำแผนชุมชนทอี่ ยใู่ กล้ชิดกับพน้ื ทีเ่ ปา้ หมาย(ตำบล/อำเภอ)
การเตรยี มชมุ ชนในการจดั ทำแผนชมุ ชน
- จัดเวทีชี้แจงให้ประชาชน กลุ่มแกนนำชุมชน องค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้าใจ
แนวความคิด กระบวนทัศน์ และแนวทางการจัดทำแผนชุมชนแบบองค์รวมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มุ่ง
สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ทเี่ น้นกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันของทุกฝา่ ยและมีการกระทำรว่ มกนั
- ค้นหา กำหนดตัวบุคคล กลุ่มอาสาสมัครที่จะเป็นผู้นำหรือแกนในการผลักดันดำเนินการต่างๆ ตามกระบวนการ
จัดทำแผนชมุ ชนแบบมีสว่ นร่วมของภาคกี ารพฒั นาต่างๆ โดยเน้นความสมคั รใจและใหช้ มุ ชนเป็นผู้เสนอแนะ
- การจัดเวทีทำได้ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การเปิดเวทีอย่างเป็นทางการ การพูดคุย
ภายหลังการประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา การพดู คยุ ในร้านกาแฟ และการพูดคุยในกิจกรรมร่วมตา่ งๆ ของชุมชน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒
“ชวี ติ กบั การพฒั นา ชุมชน สงั คม”
รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม (สค๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๙

ชื่อ – สกลุ ..........................................................รหสั นักศกึ ษา...............................กศน.ตำบล............................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. แผนชุมชน หมายถึง
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
๒. หลกั การสร้างการมีส่วนรว่ มของประชาชนมีอะไรบา้ ง
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
๓. นักศึกษาสามารถนำความร้ทู ่ไี ดไ้ ปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้อย่างไร
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๑๐

ศักยภาพธรุ กจิ

ความหมาย ความสำคญั ความจำเปน็ ในการพฒั นาอาชพี
ศกั ยภาพของธรุ กจิ หมายถึง ธุรกิจท่บี คุ คลที่มคี วามสามารถพฒั นาสนิ ค้าน้ัน ๆ ใหส้ ามารถอย่ใู นตลาดได้
การพัฒนา หมายถึง การเปลย่ี นแปลงอยา่ งมกี ระบวนการโดยมีจดุ มุ่งหมาย
การพัฒนาอาชพี หมายถงึ การประกอบอาชีพที่มีการพัฒนาสินค้าหรอื ผลติ ภณั ฑ์ใหต้ รงกับความตอ้ งการของ

ลูกค้าอยู่ตลอดเวลา โดยมสี ่วนครองตลาดได้ตามความต้องการของผ้ผู ลิต แสดงถึงความม่ันคงในอาชีพ ซึง่ ตอ้ งข้นึ อยู่
กับศักยภาพของผ้ผู ลติ

ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพเป็นความจำเป็นและสำคัญมากในการพัฒนาอาชพี หรือพฒั นาธุรกจิ โดยการ
นำเอาความสามารถออกมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ เพื่อการประสบผลสำเร็จอยา่ งงดงาม
การวเิ คราะห์ หมายถึง การแยกแยะสง่ิ ทจี่ ะพิจารณาออกเปน็ ส่วนยอ่ ย ที่มีความสมั พันธ์กนั รวมถึงสบื ค้นหา
ความสัมพนั ธน์ ั้น

ตวั อยา่ ง การวเิ คราะหศ์ ักยภาพทางธุรกจิ ของนางสาวมาลี ชอ่ ประดษิ ฐ์ อาชพี ประกอบการค้า รับจา้ งทำ
บายศรี ขันหมาก ใบตอง จดั ดอกไมส้ ดและร้อยมาลัย โดยเปดิ แผงร้านคา้ มุมตลาดสดประจำอำเภอ
1. มาลี มีใจรกั ในงานประดษิ ฐ์ มีจิตใจพรอ้ มบรกิ าร บริการตรงเวลา
2. มาลี มีฝีมอื ในการจัด เย็บ ดอกไม้ ใบตอง ได้ประณตี สวยงาม ออกแบบไดด้ ี
3. ทำเล ยา่ นการคา้ ของร้านมาลีเหมาะสม
4. มาลี มมี นษุ ย์สัมพนั ธด์ ี ยิม้ แย้มแจ่มใส
5. มาลี มคี วามซ่ือสัตยต์ ่อการคา้ ไม่เอาเปรียบลูกคา้ เลอื กวัสดุเหมาะสมกับราคา
6. มาลี มเี งนิ ทุนสำรองหมนุ เวียนพอเพยี งในการประกอบกิจการในระดับพออยู่พอกิน

ความจำเป็นและคณุ คา่ การวิเคราะหศ์ กั ยภาพธรุ กิจ
ความจำเป็นของการวิเคราะห์ศักยภาพธรุ กิจ มีดงั น้ี

1. เพอ่ื จะได้เห็นทิศทางเชิงกลยทุ ธข์ องธรุ กจิ
2. เพื่อส่ือทิศทางของธุรกิจให้บุคคล หรือองค์กรจดั สรรเงนิ ทุน เพ่อื การกยู้ ืมหรอื รว่ มลงทุน และสรา้ งความ
ม่นั ใจในการคา้
3. เพ่ือศึกษาความเปน็ ไปได้ของโครงการพัฒนาธุรกิจตนเอง

คณุ คา่ ของการวิเคราะห์ศักยภาพธุรกจิ
1. ผูป้ ระกอบการรจู้ ักตวั เอง ปจั จบุ ันและอนาคตอาชพี ของตนเอง
2. อาชพี ของตนเองมีทิศทางเช่นไร โดยอาศยั การกำหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ และเป้าหมายดา้ นอาชีพของตน
3. การวางกลยทุ ธ์แตล่ ะระดับสำหรบั ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ และเครือข่ายผูร้ ว่ มงาน แบง่ แยก

หน้าท่ีชดั เจน

4. การวิเคราะหศ์ กั ยภาพทำใหร้ จู้ ักปัจจยั ภายนอก ปัจจัยภายในทเ่ี กี่ยวข้องกบั การประกอบอาชีพตนเอง เช่น
- สนิ คา้ หรอื บรกิ ารของตนเองคอื อะไร ตอบสนองลกู ค้าระดับไหน

- สว่ นแบ่งการตลาด สินค้าของคณุ เทียบได้กีเ่ ปอร์เซน็ ต์

- คณุ ค่าของสนิ ค้าอาชีพของคุณใหป้ ระโยชน์ด้านใดมากแค่ไหน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยู่มกี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานท่ี ๑๐

ชอื่ – สกลุ ......................................................รหสั นกั ศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

๑. อาชีพ หมายถึง(จงอธิบายพอสงั เขป)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. การพฒั นาอาชพี หมายถึง(จงอธิบายพอสังเขป)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. ประโยชนแ์ ละความจำเป็นของการพฒั นาอาชีพมอี ะไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ย่มู กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

หนใบว่ คยวกาามรรเรทู้ ยี ่ี น๑ร๑ทู้ ี่ ๑

กระบวนการวางแผนการตลาด แบบ ๕ขนั้ ตอน

การจัดทำแผนการตลาดที่ดีน้ันผู้จัดทำต้องมีการเตรยี มการ และวางแผนการจัดทำอย่างเป็นขัน้ ตอน เพื่อให้
สามารถจัดทำแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ออกมาได้สอดคล้องกับสภาวะและองค์ประกอบแวดล้อมต่างๆ ทั้งภายนอก
และภายในธุรกิจ ที่เกี่ยวข้องและเข้ามามีบทบาทกับการดำเนินธุรกิจของตนเอง การวางแผนการตลาดอย่างมี
กระบวนการทีด่ ี ถูกตอ้ ง สง่ ผลต่อการคาดการผลกำไรจากการดำเนินธุรกิจไดเ้ ปน็ อย่างดี มคี วามคลาดเคลือ่ นนอ้ ย

ในการจดั ทำแผนการตลาดน้นั เมือ่ กำหนดวัตถุประสงค์การตลาดเชิงกลยุทธ์ของธรุ กิจได้แล้ว นักการตลาดก็จำเป็นท่ี
จะต้องจัดทำแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ์ที่สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ซึ่งมีกระบวนการต่างๆ
ทคี่ วรดำเนนิ จะตอ้ งการ ๕ขั้นตอนตามลำดบั ดังตอ่ ไปนี้

๑. ขัน้ ตอนเตรยี มการจดั ทำแผน (Pre-Planning) เป็นขั้นตอนทค่ี วรจะตอ้ งปฏิบัติก่อนการลงมอื ทำแผนการตลาด
วางแผนการจดั ทำแผนการตลาด (Plan the work) วางแผนบคุ ลากร และทรัพยากรตา่ งๆ ทจ่ี ำเปน็ ต้องใชใ้ น

การจัดทำแผนการตลาด โดยนำเอาผู้ที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับแผนการตลาดที่จะจัดทำขึ้นเข้ามามสี ่วนร่วม วางแผนใน
ดา้ นงบประมาณทีจ่ ะใช้จา่ ย และกรอบเวลาในการทำงานของแตล่ ะคนท่ีเกย่ี วข้อง

ลงมือทำแผนการตลาด (Launch the work) แบ่งปนั หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบในการจดั ทำแผนการตลาดใหแ้ ต่
ละคนทเ่ี กยี่ วข้อง อธบิ ายวธิ กี าร ข้ันตอนตา่ งๆ ในการปฏิบตั ิใหร้ บั ทราบและนำไปปฏิบตั ิ
๒. ขั้นตอนการดำเนินการตรวจสอบ (Undertake Marketing Audit) เป็นขึ้นตอนของการศึกษาหาข้อมูลท่ี
จำเป็นต่อการวางแผนการตลาด

การตรวจสอบตลาดจากภายนอก (External Market Audit) เป็นการตรวจสอบสภาพแวดล้อมของตลาด
ภายนอก เพื่อให้เข้าใจในสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตลาดว่าจะเอื้อประโยชน์ หรือเป็น
อปุ สรรคอยา่ งไรบ้าง

การตรวจสอบภายในธรุ กจิ (Internal Business Audit) เปน็ การตรวจสอบขุมกำลังและทรัพยากรต่างๆ ของ
ธรุ กิจเองทจ่ี ะนำมาใช้ในการดำเนนิ แผนการตลาดเชิงกลยทุ ธ์ท่จี ะจดั ทำข้นึ ประเมนิ สมรรถนะด้านตา่ งๆ ของธุรกิจเพื่อ
เฟ้นหาสมรรถนะหลัก (Core Competency) ของธรุ กิจท่ีจะหยบิ ยกมาใชใ้ นแผนการตลาดของตนเองเพ่อื ให้เกดิ ความ
ได้เปรียบในการแขง่ ขัน

๓. ขั้นตอนการกำหนดยทุ ธศาสตรท์ างการตลาด (Formulate Marketing Strategy)
แบ่งส่วนตลาด (Segment the Market) ของตลาดทธี่ ุรกิจตนเองดำเนินการอยอู่ อกเป็นส่วนย่อยๆ โดยเลอื กใชว้ ธิ กี าร
แบ่งส่วนตลาดที่เหมาะสมกับสินค้า/บริการของตนเอง แล้วเลือกกลุ่มเป้าหมายของตลาดย่อยที่เหมาะสมที่สุด
(Target the best segments) ทค่ี ิดวา่ มีความคุม้ ค่า ได้ผลตอบแทนสูง
กำหนดวธิ กี ารที่จะนำไปสคู่ วามสำเรจ็ (Define the key challenges) ของแผนการตลาดทว่ี างไว้ กำหนดวธิ กี ารท่จี ะ
ใช้ในการพิสูจน์และประเมินค่า (Define the best value proposition) ของความสำเร็จของแผนการตลาดที่จัดทำ
ข้ึนเพอื่ ใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ช้ีวดั ผลการปฏิบตั ิ (KPI)
๔. ขั้นตอนการทำแผนการตลาดให้สมบูรณ์ (Complete the Marketing Plan) เป็นขั้นตอนของการนำเอากลยุทธ์
ตา่ งๆ มาบรรยายรายละเอียด (Narrative) และจดั ทำแผนการปฏิบัติ (Action Plan) พร้อมรายละเอียดประกอบด้าน
ตา่ งๆ ตลอดจนงบประมาณค่าใช้จา่ ยทีจ่ ะต้องใช้ไว้อยา่ งละเอยี ด โดยผู้ที่เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบในแผนการปฏิบตั ิน้นั
๕. ขั้นตอนการนำไปใช้งานและพิจารณาทบทวน (Implement & Review) เมื่อจัดทำแผนการตลาดต่างๆ เรียบร้อย
แล้ว นำเสนอต่อผ้บู รหิ ารผมู้ ีอำนาจในการพจิ ารณาเห็นชอบหลักการและอนมุ ัติใช้แผนการตลาดเรียบรอ้ ยแลว้ นักการ
ตลาดก็จะต้องนำเอาแผนการตลาดต่างๆ ที่จัดทำไว้มาบูรณาการใช้งานเข้าด้วยกันในช่วงเวลาที่เหมาะสมสอดคล้อง
กับสถานการณต์ า่ งๆ ที่เกิดขึ้น และจะต้องหมัน่ ทำการพิจารณา ประเมินผลการใช้แผนการตลาด และปรับเปลี่ยนกล
ยุทธ์ในรายละเอียดปลีกย่อย แต่อยู่ภายใต้กรอบของแผนที่ได้รับการอนุมัติซึ่งจะไม่กระทบกระเทือนต่องบประมาณ
และทรัพยากรต่างๆ ที่ได้วางแผนไว้ แต่ถ้าหากจะต้องมีการปรับปรุงแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่จะกระทบกระเทือน
ต่องบประมาณ และทรัพยากรต่างๆ อาจจะต้องมีการพิจารณาปรับแผนการตลาดเพื่อขออนุมัติหลักการและ
งบประมาณที่จะใช้ต่อไปใหม่อีกครั้งหนึ่ง แต่ไม่ค่อยนิยมทำกันมากนักเพราะจะกระทบต่อการปฏิบัติต่างๆ ของทุก
ฝ่าย แต่นิยมใช้ลักษณะการปรับแผนบนพื้นฐานของงบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ให้อยู่ในกรอบที่ได้รับการอนุมัติ
มาแลว้ มากกวา่

จากขอ้ มลู ขา้ งต้นจะเหน็ ไดว้ า่ การวางแผนการตลาดจำเป็นต้องมจี ดุ เร่ิมต้นและวธิ ีการดำเนนิ การไปสจู่ ดุ สิ้นสุด
อย่างเป็นขน้ั เป็นตอนทเี่ รียกว่ากระบวนการ หากนักการตลาดไมใ่ ช้หลักการวางแผนการตลาดตามกระบวนการเหล่าน้ี
มีการจดั ทำและดำเนินแผนการตลาดท่ีลัดข้นั ตอน หรือสลบั ขั้นตอนไปมา จะส่งผลต่อประสทิ ธภิ าพของแผนการตลาด
ตลอดจนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมา และสุดท้ายก็จะส่งผลต่อกำไรจากผลประกอบการที่จะคลาดเคลื่อนไป
จากที่ได้วางแผนและคาดการณไ์ ว้ล่วงหน้า ทำให้ธุรกิจไม่สามารถทำกำไรได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกำหนด
ไว้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๑๑

ชอื่ – สกุล......................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................
จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้

๑. การตลาด หมายถึง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. การกำหนดทศิ ทางการตลาด มีความหมายวา่ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. กระบวนการวางแผนการตลาดมีก่ีขนั้ ตอน อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓

“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”

รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๑๒

การกำหนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบริการ

การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ที่มีความสุขต้องดำเนนิ ไปให้สอดคล้องกบั ธรรมชาตมิ นุษย์ต้องมีงานทำมีอาชีพมี

หนา้ ทท่ี ่ีตอ้ งปฏิบตั ิไม่ว่าจะเป็นงานอาชพี ในลักษณะการผลติ หรอื การให้บริการเพื่อให้เกิดการหมุนเวยี นทางเศรษฐกิจ

ทั้งในระดับตนเองครอบครัวชุมชนและประเทศชาติ

ลักษณะการประกอบอาชพี สามารถแบง่ ได้ 2 ลกั ษณะใหญ่ๆดังนี้

1. ลักษณะงานอาชีพในการผลติ
2. ลักษณะงานอาชีพการใหบ้ รกิ าร
การวเิ คราะห์ทนุ ปจั จยั การผลติ หรือการบริการ
ทนุ หมายถงึ ปจั จยั การผลติ รวมถงึ เงนิ ลงทนุ ดว้ ยทนุ ถือวา่ เป็นปัจจยั สำคัญในการประกอบกิจการธรุ กิจให้
ดำเนนิ งานไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและมีความเจรญิ เตบิ โตทางธรุ กิจ
ต้นทนุ การผลิตหมายถงึ ทุนในการดำเนินธรุ กจิ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคือ
ทนุ คงท่ีคือทุนที่ผปู้ ระกอบการธรุ กิจจัดหามาเช่นดอกเบ้ียเงินกู้ที่ดินอาคารเคร่อื งจักรเป็นต้นทุนคงทส่ี ามารถแบง่ ได้ 2
ลักษณะคือ
1) ทุนคงที่ทีเ่ ป็นเงินสดเป็นจำนวนเงนิ ที่ตอ้ งจ่ายเปน็ ค่าดอกเบีย้ เงนิ กูเ้ พ่ือนำมาใช้
ในการดำเนินงานธรุ กิจ
2) ทุนคงที่ท่ีไม่เป็นเงินสดได้แกพ่ ้นื ท่ีอาคารสถานทโ่ี รงเรือนรวมถึงค่าเส่ือมราคา
ของเครื่องจักร
การกำหนดเป้าหมายการผลิตหรือการบรกิ าร
เปา้ หมายการผลติ หรือการบริการเป็นเสมือนธงทีผ่ ู้ประกอบการธรุ กิจมุ่งทีจ่ ะไปใหถ้ งึ เกดิ ผลลพั ธ์ตามที่
ตอ้ งการด้วยวธิ กี ารต่างๆเป้าหมายจงึ เป็นตัวบ่งชี้ปรมิ าณที่จะตอ้ งผลติ หรอื บรกิ ารใหไ้ ดต้ ามระยะเวลาท่ีกำหนดด้วย
ความพงึ พอใจของลกู คา้
ปัจจัยที่ส่งผลให้การดำเนินงานธุรกจิ ไม่วา่ จะเปน็ ธรุ กจิ ประเภทใดให้ประสบความสำเรจ็ ได้นั้นตอ้ งประกอบดว้ ยปจั จยั
ตอ่ ไปน้ี
1. การกำหนดกลุม่ ลูกค้าเปา้ หมายใหช้ ัดเจน
2. เสริมสร้างส่วนประสมทางการตลาด
3. คำนึงถึงสภาวะแวดล้อมที่ควบคมุ ไม่ได้
4. สามารถตอบคำถามต่อไปนไ้ี ด้ทกุ ข้อ
การกำหนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรือการบริการ
การกำหนดกจิ กรรมการผลิตหรือการบริการก็คือข้นั ตอนการประกอบธรุ กิจเปน็ ส่ิงที่สำคัญยิ่งต่อการประกอบ
อาชพี เพราะเปน็ การกำหนดเป้าหมายในสงิ่ ทตี่ ้องการใหเ้ กิดรายละเอยี ดท่ตี ้องปฏิบัตผิ า่ นกระบวนการตัดสนิ ใจอยา่ งมี
ระบบและข้อมลู เพื่อให้เกดิ ผลการปฏบิ ตั บิ รรลผุ ลตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไวโ้ ดยมขี น้ั ตอนการกำหนดแผนกจิ กรรมการ
ผลติ หรอื การบริการดังน้ี

1. ตรวจสอบตวั เองเพื่อให้รู้ถึงสถานภาพในปัจจบุ ันของงานอาชีพเป็นการตรวจสอบข้อมลู ธุรกจิ ของ
ผู้ประกอบการธุรกิจเกยี่ วกับแรงงานเงนิ ทุนเครื่องมือ/อุปกรณ์วตั ถุดิบและสถานทวี่ า่ มีสภาพความพร้อมหรือมีปัญหา
อย่างไรรวมถึงผลผลติ หรือบริการของผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ว่ามอี ะไรบกพร่องหรือไม่

2. สำรวจสภาพแวดลอ้ มเปน็ การตรวจสอบข้อมลู ภายนอกเกย่ี วกับสภาพธรุ กิจประเภทเดียวกนั ในชมุ ชน
ความตอ้ งการของลูกคา้ การดำเนินงานตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 เป็นการศึกษาข้อมูลเพื่อระบุถงึ ปัญหาท่เี กิดขึ้นและ
ควรแกไ้ ข

3. กำหนดวัตถุประสงค์เป็นการกำหนดเป้าหมายของการดำเนนิ งานวา่ ตอ้ งการใหเ้ กิดอะไร
4. พยากรณส์ ภาพการณ์ในอนาคตเปน็ การคดิ ผลบรรลลุ ่วงหน้าวา่ หากดำเนนิ การตามแผนกจิ กรรมการผลิต
หรือการบรกิ ารแล้วธุรกิจทีด่ ำเนินงานจะเกิดอะไรขน้ึ
5. กำหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิเปน็ การกำหนดรายละเอยี ดขั้นตอนการปฏบิ ตั ิวา่ จะทำอย่างไรเมื่อไรเพ่ือให้
เกิดผลตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไว้
6. ประเมนิ แนวทางการปฏบิ ัติทว่ี างไว้เปน็ การตรวจสอบความสมบูรณ์ของแผนกจิ กรรมการผลติ หรือการ
บรกิ ารว่ามคี วามสอดคล้องกันหรอื ไม่อยา่ งไรสามารถทีจ่ ะปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนวิธีการท่ีกำหนดไวไ้ ดห้ รอื ไม่อยา่ งไรหาก
พบว่าแผนกิจกรรมการผลติ หรอื การบริการทีจ่ ัดทำขึน้ ยังไม่มีความสอดคลอ้ งหรือมีขั้นตอนวิธกี ารใดทีไ่ ม่มัน่ ใจให้
จัดการปรับปรงุ ใหม่ใหม้ ีความสอดคล้องและเหมาะสมเชน่ แผนกจิ กรรมการผลติ ผกั บุ้ง
7. ทบทวนและปรับแผนเม่ือสถานการณเ์ ปล่ียนแปลงไปและผลลพั ธ์ไมเ่ ปน็ ไปตามทกี่ ำหนดเป็นการพฒั นา
แผนกิจกรรมการผลติ หรือการบรกิ ารในระหว่างการปฏบิ ัติตามแผนเมื่อมสี ถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปหรอื มีข้อมลู ใหม่
ทส่ี ำคญั
การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร

การเนินธุรกิจท้ังการผลิตและการบรกิ ารถึงแมว้ า่ ธรุ กิจที่ดำเนินการอยจู่ ะสามารถดำเนนิ ธรุ กิจไปไดด้ ว้ ยดแี ล้ว

กต็ ามแต่เพื่อใหธ้ รุ กิจมีความก้าวหนา้ และม่ันคงผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ ตอ้ งคำนงึ ถงึ การพัฒนาระบบการผลติ หรือการ

บริการอยา่ งต่อเนื่อง

คณุ ภาพของการผลติ หรอื การบริการเปน็ สิ่งสำคญั ทีผ่ ู้ประกอบการธุรกิจต้องรักษาระดับคุณภาพและพัฒนา

ระดบั คุณภาพการผลิตหรอื การบริการใหเ้ หนอื กว่าคู่แข่งขนั โดยเสนอคณุ ภาพการผลิตหรือการให้บริการตามลกู คา้

คาดหวงั หรือเกินกวา่ สง่ิ ทลี่ กู ค้าคาดหวังไวเ้ สมอดังนน้ั ส่ิงทีจ่ ะทำให้การผลติ สนิ คา้ เป็นไปตามคณุ ภาพและเป้าหมายที่

กำหนดเม่ือมีการกำหนดกจิ กรรมการผลติ แล้วผปู้ ระกอบการตอ้ งพฒั นากระบวนการผลิตอยา่ งต่อเนอ่ื งทั้งกอ่ นการ

ผลิตระหวา่ งการผลติ และหลังการผลิตเช่นการให้น้ำต้นพืชอาจจะพฒั นาการใหน้ ้ำเปน็ แบบหยดบรเิ วณโคนต้นพชื เพ่ือ

การประหยัดนำ้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๑๒

ชื่อ – สกุล......................................................รหสั นกั ศกึ ษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. ปจั จัยการผลติ มอี งคป์ ระกอบทสี่ ำคัญ อะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ปจั จัยการผลติ หมายถึงอะไร (จงอธบิ ายพอสังเขป)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. อปุ สรรคที่ควรคำนงึ ถงึ ในการวางแผนการผลติ มีอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓

“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยูม่ กี นิ ”

รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๑๓

การกำหนดเปา้ หมายการผลิตหรือการบรกิ าร
เป้าหมายการผลิตหรอื การบริการเป็นเสมือนธงท่ผี ู้ประกอบการธุรกิจมุ่งที่จะไปใหถ้ ึงเกดิ ผลลัพธต์ ามท่ี

ตอ้ งการดว้ ยวิธีการตา่ งๆเป้าหมายจงึ เปน็ ตัวบง่ ชีป้ ริมาณทจ่ี ะตอ้ งผลติ หรอื บริการให้ไดต้ ามระยะเวลาท่กี ำหนดดว้ ย
ความพงึ พอใจของลกู คา้
ปัจจัยทีส่ ่งผลใหก้ ารดำเนินงานธรุ กจิ ไม่วา่ จะเปน็ ธุรกจิ ประเภทใดให้ประสบความสำเร็จได้นั้นตอ้ งประกอบดว้ ยปจั จัย
ต่อไปนี้

1. การกำหนดกลุ่มลูกคา้ เปา้ หมายใหช้ ดั เจน
2. เสรมิ สรา้ งส่วนประสมทางการตลาด
3. คำนงึ ถึงสภาวะแวดล้อมที่ควบคุมไม่ได้
4. สามารถตอบคำถามต่อไปน้ีไดท้ ุกขอ้
ในส่วนของลกู ค้าประกอบด้วย
1. ใครคอื กลุม่ ลูกคา้ เป้าหมายสำหรับผลผลติ ทผี่ ลิตขน้ึ หรอื การบริการ
2. ลกู ค้าเป้าหมายดงั กล่าวอยู่ณที่ใด
3. ในปจั จบุ นั ลูกคา้ เหลา่ น้ีซอื้ ผลผลติ หรอื การบรกิ ารไดจ้ ากทีใ่ ด
4. ลกู ค้าซ้ือผลผลิตหรอื การบรกิ ารบอ่ ยแค่ไหน
5. อะไรคือสิง่ จูงใจท่ที ำใหล้ ูกค้าเหล่านนั้ ตัดสินใจใชบ้ รกิ าร
6. ลูกคา้ ใชอ้ ะไรหรือทำไมลกู ค้าถงึ ใชส้ นิ คา้ หรือบริการของเรา
7. ลูกค้าเหล่านนั้ ชอบและไม่ชอบผลผลติ หรอื บรกิ ารอะไรท่เี รามีอยู่บ้าง
ในส่วนของผลผลิตหรอื การบรกิ ารประกอบด้วย
1. ลูกค้าต้องการผลผลติ หรอื บริการอะไร
2. ลูกคา้ อยากจะให้มีผลผลติ หรือบรกิ ารในเวลาใด
3. เฉพาะการบรกิ ารควรตง้ั ชื่อว่าอะไรเพ่อื เปน็ ส่ิงดึงดูดใจไดม้ ากทส่ี ุด

องค์ประกอบดา้ นผู้ประกอบการธุรกิจท่ตี อ้ งพจิ ารณาประเด็นสำคัญๆดงั นี้
๑. แรงงานต้องใชแ้ รงงานมากนอ้ ยเท่าไรปัจจบุ นั มีแรงงานเพยี งพอต่อการดำเนนิ งานเพ่ือไปสู่เปา้ หมายไดห้ รือไม่ถา้ ไม่
เพยี งพอจะทำอยา่ งไร
2. เงนิ ทนุ ตอ้ งใชเ้ งินทุนมากน้อยเพยี งไรปัจจุบนั มีเงินทนุ เพียงพอตอ่ การดำเนนิ งานเพื่อไปสเู่ ป้าหมายได้หรือไมถ่ ้าไม่
เพยี งพอจะทำอย่างไร
3. เคร่ืองมืออุปกรณ์ต้องใชเ้ คร่อื งมือ/อุปกรณอ์ ะไรจำนวนเท่าไรเพียงพอหรือไม่ถ้าไมเ่ พยี งพอจะทำอย่างไร
๔. วัตถุดบิ เป็นสง่ิ สำคัญมากขาดไมไ่ ด้เพราะไมว่ า่ จะเป็นการดำเนินธุรกจิ ในด้านการผลิตหรอื การบริการกต็ ้องใช้
วัตถดุ บิ เป็นวตั ถุในการดำเนินงานท้งั สนิ้ ผู้ผลติ จะต้องพิจารณาว่าจะจัดหาจดั ซ้ือวตั ถุดิบจากทใ่ี ดราคาเทา่ ไรจะหาได้
จากแหล่งไหนและโดยวธิ ีใด
๕. สถานทหี่ ากเปน็ ธรุ กิจดา้ นการผลติ ตอ้ งกำหนดสถานท่ที ่ีใกล้แหล่งวตั ถุดิบถ้าเปน็ ธุรกิจด้านการบรกิ ารต้องจดั

สถานที่ใหม้ ีความเหมาะสมสะอาดและเดนิ ทางสะดวกเปน็ หลัก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ย่มู กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานท่ี ๑๓

ช่อื – สกลุ ......................................................รหัสนักศกึ ษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑. องคป์ ระกอบดา้ นผปู้ ระกอบการธุรกิจทต่ี ้องพจิ ารณาท่ีสำคญั ๆ มอี ะไรบ้าง
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

๒. เปา้ หมายการผลติ หรือการบรกิ ารคือ
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

๓. เหตุผลในการกำหนดเปา้ หมายการผลติ หรือการบรกิ ารเพราะ

......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓

“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”

รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ี่ ๑๔

ความจำเปน็ และคณุ คา่ ของธรุ กิจเชงิ รุก

ความหมายของธรุ กจิ เชงิ รกุ

ธุรกิจเชิงรุกหมายถึงการบริหารจดั การธรุ กจิ แบบมีแบบแผนเปน็ ระบบการพัฒนางานที่ดีอำนวยประโยชน์

ใหก้ ับผปู้ ระกอบการสามารถวางแผนตดิ ตามและควบคุมให้การดำเนินงานในทกุ ด้านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

ความจำเปน็ และคณุ คา่ ของธรุ กิจเชงิ รกุ

ธรุ กิจเชิงรุกเปน็ ความพยายามที่จะหาวิธีการให้ได้เปรยี บทางการแขง่ ขนั ทางธุรกิจเป็นการพัฒนาสนิ คา้ ไดต้ รง

ตามความต้องการของผบู้ รโิ ภคสนิ ค้าได้รบั การพฒั นาอยูต่ ลอดเวลาผ้บู รโิ ภคมีโอกาสเลือกซื้อได้หลากหลาย

ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของธรุ กจิ อยา่ งรนุ แรงและรวดเรว็ ไดแ้ ก่

1. การแขง่ ขนั ที่ไร้พรมแดน
2. การเปล่ยี นแปลงทางนวัตกรรมเทคโนโลยี
การแทรกความนยิ มเขา้ สคู่ วามต้องการของผ้บู รโิ ภค
การแทรกความนิยมเขา้ ส่คู วามต้องการของผู้บริโภคซง่ึ ผูป้ ระกอบการต้องมีข้อมลู ความต้องการของผ้บู รโิ ภค
เพ่อื จะได้นำข้อมลู นัน้ มาพัฒนาสนิ คา้ ให้ตรงกบั ความต้องการของผ้บู รโิ ภคเชน่ ทราบวา่ ในปัจจุบนั ผู้บริโภคตอ้ งการ
รับประทานผกั ปลอดจากสารเคมดี งั น้นั ในการพัฒนาอาชีพปลกู ผักควรไม่ใชส้ ารเคมี
หลกั การเขยี นแผนธุรกิจทมี่ ุ่งเน้นการบรหิ ารความเส่ียงเชิงรุก
ประกอบด้วยขั้นตอนทส่ี ำคัญ 9 ขน้ั ตอนด้วยกนั คือ
ขัน้ ตอนท่ี 1 การวิเคราะหภ์ าพรวมของกิจการ
ขนั้ ตอนท่ี 2 การสร้างทางเลือกและการกำหนดแนวทางในการทำแผนธุรกจิ
ขนั้ ตอนท่ี 3 การจดั ทำแผนการตลาด
ข้นั ตอนท่ี 4 การจดั ทำแผนบรหิ ารจดั การหรือแผนคน
ขน้ั ตอนที่ 5 การจดั ทำแผนการผลติ หรือแผนการดำเนนิ การตน้ ทุนในการผลติ
ขั้นตอนท่ี 6 การจัดทำแผนการเงิน สถานะทางการเงนิ
ขน้ั ตอนท่ี 7 จดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการเชิงกลยุทธ์
ขน้ั ตอนท่ี 8 การจดั ทำแผนฉุกเฉนิ และการวิเคราะห์ความออ่ นไหวของโครงการ
ขน้ั ตอนที่ 9 การจดั ทำบทสรุปสำหรับผ้บู รหิ าร
การสร้างรูปลกั ษณค์ ุณภาพสนิ คา้ ใหม่
การสรา้ งรปู ลกั ษณ์คุณภาพสินค้าใหมเ่ ป็นการพัฒนาสนิ ค้าให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคเช่นให้มคี วาม
สวยงามใชง้ านสะดวกมีความทนทานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของธรุ กจิ มหี ลายรูปแบบซ่งึ การพฒั นาผลิตภณั ฑ์อาจมี
สาเหตุมาจากความมั่นคงของธุรกจิ หรือการเติบโตของธุรกิจจึงตอ้ งมีการพัฒนาผลติ ภัณฑใ์ ห้มคี ุณภาพแตกตา่ งกันไป
แตล่ ะธุรกจิ จะพัฒนาได้ตอ่ เมื่อผ้ปู ระกอบการรับรู้ความต้องการในการตดั สนิ ใจซ้ือสินคา้ และบรกิ ารจงึ กำหนดทิศทาง
วธิ ีการพัฒนาผลติ ภัณฑไ์ ดเ้ หมาะสมสอดคล้องกับความตอ้ งการของผปู้ ระกอบการ

แนวทางพจิ ารณาของผลติ ภัณฑ์ไมห่ มายถงึ เฉพาะรูปแบบหรอื วตั ถสุ งิ่ ของทีเ่ ป็นรปู ร่างเทา่ นน้ั แตย่ ังรวมไปถงึ คุณคา่
ของผลิตภัณฑ์และการบริการดว้ ยดงั นั้นผลติ ภัณฑจ์ งึ หมายถึงสนิ ค้าท่สี ามารถตอบสนองความพอใจท่ีจบั ต้องไดแ้ ละ
จับต้องไม่ได้
สว่ นประกอบที่สำคญั ในการพัฒนาผลติ ภัณฑม์ ี 2 ประการคือ

1. ผลิตภัณฑน์ น้ั ต้องมคี ุณค่าและตอบสนองความต้องการผู้บรโิ ภคไดม้ ากท่สี ดุ
2. สว่ นประกอบของผลิตภณั ฑต์ อ้ งมีอย่างครบถ้วน
หน้าที่ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในการคิดคน้ ผลติ ภัณฑใ์ หมอ่ อกสู่ตลาดผูผ้ ลติ ควรดำเนนิ การดังนี้
1. รวบรวมขอ้ มูลสำหรับปรับปรงุ และวิธกี ารดำเนินการพัฒนาผลติ ภัณฑ์
2. กำหนดแผนการพฒั นาผลิตภัณฑ์
3. ดำเนนิ การและติดตามผลพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ ห้มีประสิทธิภาพ
4. วางแผนกลยุทธก์ ารขายผลติ ภณั ฑ์

การพัฒนาอาชพี ให้มีความมั่นคง
การพัฒนาอาชพี เขา้ สู่ความม่ันคงของผูป้ ระสบความสำเรจ็ มมี ากมายจะมีลักษณะการกระทำท่สี อดคล้องกนั

เป็นสว่ นใหญว่ า่ ความมน่ั คงของอาชพี ขน้ึ อยู่กับองค์ประกอบอยา่ งน้อย 3 ประการคือ (1) การลดความเสย่ี งในผลผลติ
(2) ความมงุ่ ม่ันพฒั นาอาชพี และ (3) การยดึ หลกั คณุ ธรรม
การลดความเสย่ี ง

การประกอบอาชพี มกั จะประสบกับความเส่ียงเชน่

- เส่ยี งต่อการขาดทนุ ต้องจดั การโดยการหาตลาดไว้ลว่ งหนา้ เชน่ มกี ารประกนั ราคาผลผลติ

- เสย่ี งตอ่ การไม่มเี งินทนุ ในการดำเนินการแก้ปญั หาความเสย่ี งด้วยการจัดหาแหลง่ เงนิ ทุนหรอื พยายามทจี่ ะลดต้นทนุ

การผลติ

การพฒั นาอาชพี

เปน็ กระบวนการท่ีเน้นความสำคญั การพฒั นาระบบการจดั การทั้งการผลติ และการตลาดให้ตรงกบั ความ

ตอ้ งการของลูกค้าดงั น้ี

การสง่ มอบ

คุณภาพผลผลิต

ลดต้นทุนการผลติ

การพัฒนาอาชพี ความปลอดภัย

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานท่ี ๑๔

ชอ่ื – สกลุ ......................................................รหัสนักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑.เงนิ เพ่ือการลงทุนได้มาจากไหนอะไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒.การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงต้องอาศัยปจั จัยใดบ้างอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓.การลงทุนมีกล่ี กั ษณะอะไรบา้ ง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓

“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ ”

รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ กี นิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบความรทู้ ่ี ๑๕

การวเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปได้ของแผน

การปฏิบัติงานขององคก์ รก่อนที่จะทำงานในเร่อื งใดไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาที่สน้ั หรือยาวตอ้ งกำหนดล่วงหนา้ วา่

อนาคตท้งั ใกล้และไกลตามสภาพความจำเป็นตา่ งๆเราจะทำอะไรบา้ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลเพ่อื ใหง้ านท่ีทำบรรลุ

วัตถุประสงคเ์ กิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ องค์กรและประชาชนทกุ ด้านขององคก์ รจึงถูกกำหนดและออกแบบไวล้ ่วงหน้าโดย

“แผน”ขององคก์ รแผนจงึ ต้องผา่ นการวเิ คราะห์การประเมนิ อนาคตและกำหนดวัตถุประสงค์ท่ีพงึ ปรารถนาเพอ่ื เตรยี มรับ

สถานการณ์ที่ไมแ่ น่นอนและเพื่อให้บุคคลใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านวา่ จะทำอะไรเพอื่ ใครเพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งทำ

และจะทำเมือ่ ใด

1. ความหมายของการวเิ คราะห์แผน
แผนหมายถึงงานทุกด้านขององค์กรท่ถี ูกกำหนดขน้ึ อยา่ งมีเหตผุ ลเป็นระเบียบวิธีหรอื ขนั้ ตอนทเ่ี ป็นระบบท่ี

บคุ ลากรใช้เป็นคู่มอื หรือแนวทางการดำเนนิ งานขององค์กร
การวิเคราะห์หมายถงึ การแยกแยะรายละเอียดความเป็นไปได้แลว้ สังเคราะห์ใหเ้ ห็นความสัมพันธแ์ ละเกดิ

กิจกรรมที่มเี ป้าหมายทศิ ทางไปสู่ความสำเร็จ
2. ประเภทของแผน

1. แผนระยะยาวเปน็ แผนที่มีขอบข่ายกวา้ งมีความยืดหย่นุ สูงมีระยะเวลาตง้ั แต่ 10 - 20 ปี
2. แผนระยะปานกลางเปน็ แผนทมี่ คี วามแนน่ อนและเฉพาะเจาะจงมากกวา่ แผนระยะยาว มีระยะเวลา
4-6ปี
3. แผนระยะสัน้ เปน็ แผนท่ีสามารถดำเนินการใหส้ ำเร็จไดใ้ นเวลาอนั ส้นั อย่ทู ่ีองค์กรกำหนด
การวเิ คราะห์ความเป็นไปได้ของแผนในเร่ืองนเ้ี ป็นการนำแผนต่างๆท่ีได้จัดทำไวใ้ นบทก่อนหนา้ นีไ้ ด้แก่
แผนการพฒั นาการตลาดแผนพฒั นาการผลิตหรอื การบริการการพฒั นาธุรกจิ เชงิ รุกนำมาวิเคราะหอ์ ีกคร้ังหน่ึงเพ่ือ
ตรวจสอบความเปน็ ไปได้ก่อนท่จี ะเขียนเปน็ โครงการเช่นแผนพฒั นาการผลิตในการปลกู ผักเกษตรอนิ ทรีย์มตี รวจสอบ
ความเปน็ ไปได้จากการทำปยุ๋ หมักมาเปน็ การปลูกปยุ๋ พืชสดแลว้ ไถกลบเนื่องจากมคี วามเป็นไปได้มากกวา่ เพราะไมต่ ้อง
จัดหาวสั ดุทำป๋ยุ หมกั ท่ีไม่มีในทอ้ งถนิ่ ท้งั ยังต้องเสียคา่ ขนส่งทำใหต้ น้ ทนุ สงู ขึน้
การเขียนโครงการพฒั นาอาชพี ให้มีอยู่มกี นิ
1. หลักการเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพ
การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพมขี ้ันตอนการดำเนินงาน 2 ขั้นตอนดังน้ี
ขั้นตอนที่ 1กอ่ นเขียนโครงการ
ก่อนการเขียนโครงการจะต้องทำความเข้าใจหาข้อมูลและแผนตา่ งๆเพ่ือนำมาใช้ในการจัดทำรายละเอียด
ของโครงการซง่ึ เป็นขน้ั ตอนท่ีสมั พันธ์กนั มีลักษณะดงั น้ี
1. มคี วามทันสมัยสอดคล้องกบั ความต้องการ
2. มคี วามถกู ต้อง
3. ข้อมลู มีความเปน็ ไปได้
4. มคี วามกระชบั
5. มีความสมบูรณใ์ นเนื้อหา

ขัน้ ตอนที่ 2 การเขยี นโครงการ
องคป์ ระกอบของโครงการประกอบด้วย 12 หวั ขอ้ ดงั นี้

1. โครงการอะไร (ช่ือโครงการ)
2. ทำไมตอ้ งทำโครงการ (หลักการและเหตุผล)
3. ทำเพ่อื อะไร (วัตถปุ ระสงค์ )
4. ทำเพอื่ ใคร,อะไร,ในปริมาณเท่าไร (เปา้ หมาย)
5. ทำอย่างไร (วิธีดำเนินงาน)
6. ใครทำ (ผู้รับผดิ ชอบโครงการ)
7. ใชง้ บประมาณเท่าไร (งบประมาณแหล่งทม่ี า)
8. ทำท่ไี หน (พนื้ ที่ดำเนินการ)
9. ทำเมอ่ื ไรนานเทา่ ใด (ระยะเวลาดำเนนิ การ)
10. เมอ่ื เสร็จสิ้นโครงการแล้วจะไดอ้ ะไร (ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั )
11. ชมุ ชนจะไดร้ บั อะไร (ดัชนชี ีว้ ัดความสำเรจ็ ของโครงการ)
12. ทำได้บรรลุวัตถุประสงค์และเปา้ หมายหรือไม่ (การประเมินโครงการ)
การตรวจสอบความเปน็ ไปได้ของโครงการ
ทำไมจึงตอ้ งตรวจสอบความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ
การวางแผนและการบรหิ ารงานโครงการใดกต็ ามเพ่ือให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์จึงจำเปน็ ต้องมกี ารกำหนด
จดุ ม่งุ หมายวตั ถปุ ระสงค์ทช่ี ัดเจนเพือ่ ชว่ ยในการกำหนดคุณลักษณะผลปลายทางและผลระหวา่ งทางทต่ี อ้ งการ
หลงั จากไดด้ ำเนนิ การไปแลว้ จดุ มงุ่ หมายจะช่วยกำหนดทิศทางของการดำเนนิ งานช่วยกำหนดวธิ กี ารท่จี ะทำให้รับ
ผลประโยชนต์ ามเปา้ หมายตามทก่ี ำหนดไว้สว่ นการตรวจสอบความเป็นไปไดข้ องโครงการเขา้ มามีบทบาทสำคญั ใน
การช่วยตดั สนิ คณุ คา่ ของกระบวนการหรอื วธิ กี ารดำเนินงานและการบรรลุผลสำเร็จของการดำเนนิ งานเช่นทำให้ทราบ
ว่าการดำเนินงานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพเพียงไรวธิ ีการท่ีใช้มีความเหมาะสมมากน้อยเพยี งใดผลของการ
ดำเนินงานทำให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์หรอื ไม่มากน้อยเพยี งใดการประเมนิ จะชว่ ยตรวจสอบสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์
ตอ่ การตัดสินคณุ คา่ ของโครงการวา่ จะขยายผลต่อหรือยกเลิกรวมทั้งมปี ระโยชนต์ ่อการพัฒนาโครงการตรวจสอบ
ความเป็นไปได้ของโครงการเปน็ กระบวนที่กระทำภายหลังท่ีโครงการดำเนินงานเสร็จแล้วโดยมเี ป้าหมายเพื่อพัฒนา
ปรับปรงุ แก้ไขการดำเนินงานโครงการให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลมากย่ิงขึน้ อาจติดตามหลงั จากโครงการเสร็จ
ส้นิ ไปแลว้ 3 เดือน 6 เดอื น 1 ปี
การปรบั ปรุงโครงการพฒั นาอาชีพ
ประโยชน์ของการปรบั ปรุงโครงการ
การปรบั ปรงุ โครงการเปน็ กิจกรรมท่สี ำคัญท่สี ดุ ในวงจรการวางแผนและการบริหารโครงการพอสรุปได้ดังน้ี
1. ชว่ ยให้ตัดสินใจการใชท้ รัพยากรท่ีจำเปน็ และความเปน็ ไปได้ของกจิ กรรมตา่ งๆในโครงการ
2. ช่วยใหก้ ารกำหนดวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการมีความชัดเจน
3. ชว่ ยให้ไดข้ ้อมลู ความกา้ วหนา้ ปญั หาอุปสรรคของโครงการ
4. ช่วยให้รขู้ ้อมูลความสำเร็จหรอื ล้มเหลวของโครงการเพ่อื นำไปใชใ้ นการตัดสินใจ
5. ชว่ ยบง่ บอกประสิทธภิ าพของการดำเนนิ โครงการวา่ มีคุณคา่ กบั การลงทุนหรือไม่

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
“พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยู่มกี นิ ”
รายวชิ า พฒั นาอาชพี ใหม้ อี ยมู่ ีกนิ (อช๑๑๐๐๓)

ใบงานที่ ๑๕

ชื่อ – สกลุ ...................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

๑.แผนปฏิบตั ิการมคี วามสำคัญอย่างไรจงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒.ขน้ั ตอนการวเิ คราะหโ์ ครงการมี ๔ ข้นั ตอนอะไรบา้ ง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓.การตรวจสอบการเป็นไปได้ของโครงการมีความสำคญั อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔
“การเพาะเหด็ ฟาง”
รายวชิ า การเพาะเหด็ ฟาง (อช๐๒๐๐๖)

ใบความรทู้ ี่ ๑๖

ช่องทางและการตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชีพ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔
“การเพาะเหด็ ฟาง”
รายวชิ า การเพาะเห็ดฟาง (อช๐๒๐๐๖)

ใบงานท่ี ๑๖

ชื่อ – สกุล......................................................รหัสนกั ศกึ ษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามดังตอ่ ไปน้ี
1. ใหบ้ อกประโยชน์ของสมนุ ไพรที่ไดศ้ ึกษามาพอเขา้ ใจ
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
......................................................................................................................................................... ................................
2. ประโยชนส์ ว่ นใดของขงิ ท่ีนำมาใชเ้ ป็นสมนุ ไพรมากท่สี ดุ พรอ้ มท้งั อธิบาย
........................................................................................................................................................... ..............................
..................................................................................................... ....................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
....................................................................................................................................................................................... ..
3. ใหบ้ อกประโยชน์ของขม้ินชนั วา่ มีสรรพคุณอยา่ งไรและแกโ้ รคอะไรได้บา้ งจงอธิบาย
.................................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ .............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
....................................................................................................................................... ..................................................
.........................................................................................................................................................................................
4. จงบอกประโยชนข์ องสมนุ ไพรที่มผี ลต่อการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันของนกั ศึกษา
.................................................................................. .......................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.................................................................................................................................................................... .....................
.............................................................................................................. ...........................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔
“การเพาะเหด็ ฟาง”
รายวชิ า การเพาะเห็ดฟาง (อช๐๒๐๐๖)

ใบงานที่ ๑๗

ชอื่ – สกุล......................................................รหัสนกั ศกึ ษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามดังต่อไปน้ี
1. ใหบ้ อกวธิ ีการเตรยี มวตั ถดุ ิบสมนุ ไพร
.............................................................................................. ...........................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
................................................................................................................................................................................ .........
.......................................................................................................................... ...............................................................
2. จงอธบิ ายการต้มยาสมนุ ไพรวา่ มีข้อดีอย่างไร
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................................... ..........................
......................................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
3. วธิ ีการนำสมุนไพรมาใช้ในท้องถ่ินของตนเองมีก่วี ธิ ีอะไรบ้างจงอธิบาย
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
4. คำวา่ หยบิ มือมีความหมายว่าอย่างไร
............................................................................................................................. ............................................................
.................................................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
......................................................................................................................................... ................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔
“การเพาะเหด็ ฟาง”
รายวชิ า การเพาะเหด็ ฟาง (อช๐๒๐๐๖)

ใบงานที่ ๑๘

ช่อื – สกุล......................................................รหสั นักศึกษา...............................กศน.ตำบล........................

จงตอบคำถามของประโยคดังต่อไปนี้
ใหน้ กั ศึกษาบอกขน้ั ตอนวิธกี ารปลูกพืชสมนุ ไพรในครัวเรือนมา 1 อยา่ งอย่างละเอยี ด
............................................................................................................................. .............................................
...................................................................................................................................... ....................................
.............................................................................................. ............................................................................
............................................................................................................................. .............................................
..................................................................................................................................... .....................................
............................................................................................. .............................................................................
............................................................................................................................. .............................................
.................................................................................................................................... ......................................
............................................................................................ ..............................................................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
.................................................................................... ......................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
.................................................................................. ........................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔
“การเพาะเหด็ ฟาง”
รายวชิ า การเพาะเหด็ ฟาง (อช๐๒๐๐๖)

ใบความรทู้ ่ี ๑๙

รูปแบบบญั ชอี ย่างง่าย สำหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดียวการจัดทำบญั ชแี บบง่าย เป็นการประยุกตห์ รือนำ
รูปแบบการบันทึกบญั ชีตามมาตรฐานการบัญชีมา ปรบั ใช้ให้เหมาะกบั กจิ การเจา้ ของคนเดียวเชน่ ร้านคา้ ปลีก
ร้านคา้ ส่ง รา้ นคา้ ออนไลน์ รา้ นกาแฟ คลินิก รา้ นเสรมิ สวย ร้านเบเกอรี่ หรืออนื่ ๆรปู แบบบญั ชอี ย่างงา่ ยสำหรบั
กจิ การเจ้าของคนเดียว กอ่ นอ่ืนผู้ประกอบการต้องทำรายการหรือแยกรายละเอียดเพื่อบันทึกบัญชีใหเ้ หมาะกับกจิ การ
ของตนเองโดยทวั่ ไป รูปแบบของกิจการแบ่งออกเปน็ 3 ประเภทได้แก่ กิจการดา้ นการให้บรกิ าร กจิ การเก่ยี วกับการ
ซ้ือขาย และกจิ การเกี่ยวกับการผลติ ซงึ่ กรอบหรือโครงสร้างเกย่ี วกับรายละเอียดในการจัดทำบญั ชีของกิจการแตล่ ะ
ประเภทกจ็ ะมีความแตกตา่ งกันด้วยสำหรับกจิ การเจ้าของคนเดียว ท้ัง 3 ประเภท หากมีการบนั ทึกบัญชอี ย่าง
สม่ำเสมอและเป็นปัจจุบัน มีเพยี งบญั ชรี ายรบั รายจ่ายบัญชเี ดยี ว กส็ ามารถใช้เป็นเคร่ืองมอื บรหิ ารทำใหก้ ิจการมี
สถานะที่มัน่ คงและมผี ลกำไรได้ตามท่คี าดหวงั
วิธจี ดั ทำบญั ชีอย่างงา่ ย เพ่อื สรา้ งรายได้ให้ธุรกิจอยา่ งมอื อาชีพ

ในบทความน้ผี ูเ้ ขียนขอยกตัวอย่างการบนั ทึกบัญชีรายรบั รายจ่าย 2 รปู แบบ เพื่อให้ผู้ประกอบการเหน็ ภาพและสามารถนำไปปรับใช้
กับกิจการของตนเองได้ง่ายยิ่งขึ้น
ตวั อย่างการบันทึกบญั ชีท้ัง 2 แบบเปน็ พืน้ ฐานของการจดั ทำบญั ชีทวั่ ไป ท่ีเหมาะสำหรบั กิจการเจ้าของคนเดียวหรอื ธรุ กิจ SME เลก็ ๆ
ตัวอยา่ งที่ 1 การบันทึกบันชรี าย รับรายจา่ ย (กิจการดา้ นการให้บรกิ าร)

บญั ชรี ายรับ – รายจา่ ย
ร้านภทั ราภรณ์ ซัก อบ รีด
ประจำเดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2559


Click to View FlipBook Version