The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร ในช่วงฤดูฝน ปี 2565 จังหวัดพิจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iqmoac, 2022-06-14 02:43:45

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร ในช่วงฤดูฝน ปี 2565 จังหวัดพิจิตร

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร ในช่วงฤดูฝน ปี 2565 จังหวัดพิจิตร

Keywords: แผนฤดูฝน ปี 2565 จังหวัดพิจิตร

สารบญั หนา้

บทที่ 1 บทนา 1
 วัตถุประสงค์ 1
 กรอบแนวคิดแผน 2
2-3
 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4
 แนวคดิ การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management : DRM) 4
 ระบบสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานในภาวะฉุกเฉนิ แห่งชาติ 4
 กลไกการบริหารจัดการภัยพิบัตดิ ้านการเกษตร 5

 โครงการสร้างการบรหิ ารจดั การภยั พิบตั ิดา้ นการเกษตร 6-8
 ความเชอ่ื มโยงกลไกการบริหารจัดการภยั พบิ ตั ดิ า้ นการเกษตร
9
กับการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศ 9 - 10
บทบาท หน้าที่ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทท่ี 2 การเตรยี มรับสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ดิ ้านอุทกภัย 11
 ขอ้ มูลท่ัวไปจังหวัดพจิ ติ ร 12
12
 สภาพพืน้ ท่/ี ลกั ษณะภมู ิประเทศ 12
 ลกั ษณะภูมิอากาศ 13
 แหล่งนา้ ธรรมชาติ 14
 ข้อมลู ด้านการเกษตร 14
14
1) ครวั เรอื นเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร 15
2) การใช้ทด่ี นิ เพอื่ การเกษตร 15 - 18
3) ข้อมูลสนิ ค้าเกษตรท่สี า้ คัญของจังหวดั พจิ ิตร 19
19
(1) ขอ้ มูลดา้ นพืช 19
(2) ข้อมูลดา้ นปศุสตั ว์ 19
(3) ข้อมลู ด้านประมง 20
(4) ข้อมลู ยางพารา 21 - 22

 แหลง่ น้าเพื่อการเกษตร
1) เขตพ้ืนทชี่ ลประทาน นอกเขตชลประทาน
2) แหล่งน้าอื่นๆ
- บ่อนา้ บาดาล
- แหล่งน้าในไร่นานอกเขตชลประทาน
- แหล่งนา้ ในพ้นื ทีส่ หกรณ์/กล่มุ เกษตรกร

 ปัญหาอุทกภยั หนา้

23

 ลักษณะของอุทกภัย 23

 น้าท่วมก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบอันตรายและเสียหาย 23

 การลดความเสยี หายจากอทุ กภยั . 24

แนวโนม้ และการประเมินสถานการณ์ 24

 การคาดหมายลกั ษณะอากาศในช่วงฤดูฝน ปี 2565 24 - 25

 ปรากฏการณ์เอลนีโญ - ลานญี า พ.ศ.2565 25

 สภาพนา้ ปี 2565 25 - 27

 คาดการณพ์ ้นื ท่ีเสี่ยงอุทกภยั 28 - 30

บทท่ี 3 แผนป้องกันและแกไ้ ขปัญหาภยั พิบตั ิด้านการเกษตร ในชว่ งฤดฝู น ปี 2565 31 - 36

บทท่ี 4 การติดตามและรายงาน

 ก่อนเกดิ ภยั 37

 ขณะเกดิ ภยั 37

 หลังเกิดภยั 37

การติดต่อ ประสาน ชอ่ งทางการสอื่ สาร 38

บทที่ 5 บทสรปุ

 สรปุ ภาพรวมแผนปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาภยั พบิ ัติดา้ นการเกษตร ในช่วงฤดฝู น ปี 2565 39

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก คาดการณพ์ ้นื ท่ีทม่ี โี อกาสเกิดน้าทว่ มในพน้ื ท่ีการเกษตรจังหวัดพิจิตร ปี 2565

ภาคผนวก ข คาดการณ์พน้ื ทท่ี ี่มีโอกาสเกิดฝนท้ิงชว่ งในพ้ืนที่ทา้ การเกษตรจังหวัดพจิ ิตร ปี 2565

ภาคผนวก ค เสบยี งสตั ว์

ภาคผนวก ง แผนสา้ รองเมล็ดพันธุ์เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผปู้ ระสบภัยพิบัติ ปี 2565

ภาคผนวก จ การเตรียมความพร้อมเคร่ืองจกั รเคร่ืองมือ เพ่อื การให้ความชว่ ยเหลือ

ภาคผนวก ฉ เคร่อื งจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออปุ กรณ์ และการตดิ ต่อประสานงาน



แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพบิ ัติด้านการเกษตร ในชว่ งฤดฝู น ปี 2565
บทท่ี 1
บทนา

ด้วยประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่อง การเร่ิมต้นฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2565
ฤดูฝนของประเทศไทยในปีน้ีเร่ิมต้นตั้งแต่วันท่ี ๑3 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖5 เนื่องจากมีฝนตกชุกและต่อเนื่อง
ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ประกอบกับลมท่ีพัดปกคลุมประเทศไทยที่ระดับผิวพื้นถึงความสูง
ประมาณ 3.5 กิโลเมตร ได้เปล่ียนทิศเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงพัดนาความช้ืนจากทะเลอันดามัน
เข้ามาปกคลุมประเทศไทยอย่างต่อเน่ืองและลมช้ันบนต้ังแต่ระดับความสูง 5 กิโลเมตรขึ้นไปได้เปล่ียนทิศ
เป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงถือว่าเป็นการเข้าสู่ฤดูฝนของประเทศไทยในปีน้ีโดยปริมาณฝนรวมของทั้ง
ประเทศในชว่ งฤดูฝนปนี ี้จะมากกว่าค่าปกติเลก็ น้อยประมาณรอ้ ยละ 3 แตจ่ ะน้อยกว่าปที ีแ่ ล้ว

โดยในช่วงคร่ึงแรกของฤดูฝนช่วงต้ังแต่กลางเดือนมิถุนายนถึงกลางเดือนกรกฎาคมจะเกิด
ส ภ า ว ะ ฝ น ทิ้ง ช่ว ง ส่ง ผ ล ใ ห้ป ริม า ณ แ ล ะ ก า ร ก ร ะ จ า ย ข อ ง ฝ น มีน้อ ย อ า จ ทา ให้เกิด ก า ร ข า ด แ ค ล น น้า ใ ช้
เพือ่ การเกษตรในหลายพืน้ ท่ีโดยเฉพาะพ้ืนทแ่ี ล้งซ้าซากนอกเขตชลประทาน ในช่วงเดือนสงิ หาคมและกันยายน
ซ่ึงเป็นช่วงที่มีฝนตกชุกหนาแน่นท่ีสุดและมีโอกาสสูงท่ีจะมีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านบริเวณประเทศไทย
ต อ น บ น ซึ ่ง จ ะ ส ่ง ผ ล ใ ห ้ม ีฝ น ต ก ห น ัก ถ ึง ห น ัก ม า ก ใ น ห ล า ย พื ้น ที ่แ ล ะ ก ่อ ใ ห ้เก ิด ส ภ า ว ะ น้ า ท ่ว ม ฉับ พ ล ัน
นา้ ป่าไหลหลากรวมทงั้ น้าล้นตลิ่งไดใ้ นหลายพนื้ ที่

ดงั น้ัน ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัดพิจิตร จึงได้เตรียมการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร ในช่วงฤดูฝน ปี 2565 ซ่ึงเป็นการเตรียมรับสถานการณ์อุทกภัย
ดินโคลนถล่ม ฝนทิ้งช่วงและศัตรูพืชระบาดท่ีจะส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตร ซ่ึงสร้างความเสียหายให้แก่
ผลผลติ ดา้ นการเกษตรเปน็ วงกว้าง และมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากยิง่ ขนึ้

วตั ถุประสงค์
2.1 เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานป้องกันและลดความเสี่ยงจากอุทกภัยด้านการเกษตร

ผลกระทบจากปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรของส่วนราชการที่เก่ียวข้องทั้งในและนอกกระทรวงเกษตรและ
สหกรณข์ องจังหวดั พจิ ติ รใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

2.2 เพ่ือเตรียมความพร้อมของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร
ในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และสามารถฟ้ืนฟูพื้นที่การเกษตร
ใหก้ ลบั สภู่ าวะปกตโิ ดยเรว็

2.3 เพือ่ เปน็ ประโยชน์กับหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องในการบูรณาการงานในพื้นที่

 กรอบแนวคิดแผน
ปัจจุบันกรอบแนวคิดในการบรหิ ารจัดการสาธารณภัยของโลกได้เปลี่ยนแปลงจากแนวคิดในอดีต

ทเ่ี คยมุ่งเน้น การจดั การสาธารณภัย (Disaster Risk Management) เม่ือภัยเกิดขนึ้ แล้ว มาเป็นการให้ความสาคัญ
กบั การดาเนนิ การเชิงรุก โดยใช้แนวทางการจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management : DRM)
ซ่ึงเป็นการจัดการกับปัจจัยท่ีทาให้เกิดความเสี่ยงผ่านมาตรการต่างๆ ท่ีจะช่วยทาให้ผลกระทบท่ีอาจเกิด
จากสาธารณภัยลดน้อยลงท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นได้ โดยให้ความสาคัญกับมาตรการป้องกันและลดผลกระทบ
มาตรการเตรยี มความพรอ้ ม และมาตรการเสริมสร้างศกั ยภาพและความสามารถของชุมชนในพ้ืนที่เส่ียงมากข้ึน
เพื่อให้สามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากประเทศไทยได้นากรอบแนวคิด
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management) มาใช้ในการวางแผนการป้องกัน



และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติฉบับใหม่ ซ่ึงเป็นแผนหลักในการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศ
ดงั น้นั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงนาแนวคิดดังกลา่ วมาเปน็ กรอบแนวทางในการจดั ทาแผนเตรยี มรบั สถานการณ์
ภัยพิบัติด้านการเกษตรในช่วงฤดูฝน เพ่ือให้สอดคล้องกับทิศทางการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศ
และสามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนและบูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพต่อไป

 การประเมนิ ความเสย่ี ง (Risk Assessment)
ความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk) หมายถึง โอกาสที่จะเกดิ การสูญเสียจากสาธารณภัย

ต่อชีวิต ร่างกายทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ และภาคบริการต่างๆ ในชุมชนใดชุมชนหน่ึง ณ ห้วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ในอนาคต

ความเสย่ี งจากสาธารณภัย = ภยั x ความล่อแหลม x ความเปราะบาง
ศกั ยภาพ

ภัย (Hazard) คือ เหตุการณ์หรืออันตรายที่เกิดข้ึนจากธรรมชาติหรือจากการกระทาของมนุษย์
ทอ่ี าจนามาซึ่งความสูญเสยี ตอ่ ทรัพย์สิน ตลอดจนทาใหเ้ กดิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม

ความล่อแหล่ม (Exposure) คือ การท่ีสิ่งใดๆ ก็ตามที่สถานที่ตั้งอยู่ภายในอาณาบริเวณพื้นที่
เสี่ยงทอี่ าจจะเกดิ ภัยและมโี อกาสได้รับความเสยี หายจากภยั นั้นๆ

ความเปราะบาง (Vulnerability) คือ ปัจจัยหรือสภาวะใดๆ ที่ทาให้ชุมชนหรือสังคม
ขาดความสามารถในการป้องกันตนเอง ทาให้ไม่สามารถรับมือกับภัยอันตรายท่ีเกิดขนึ้ หรือไม่สามารถฟ้ืนฟูได้
อยา่ งรวดเร็วจากความเสยี หายอนั เกดิ จากภัย

ศักยภาพ (Capacity) คือ ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรต่างๆ ท่ีมีอยู่ในชุมชน สังคม หรือ
หน่วยงานใดๆ ทสี่ ามารถนามาใช้เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายท่ีตงั้ ไว้

การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) เป็นกระบวนการท่ีช่วยตรวจสอบระดับของความเสี่ยง
ที่ชุมชนหรือสังคมมีต่อสาธารณภัย ประกอบด้วย การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) การวิเคราะห์ความเส่ียง
(Risk Analysis) และการประเมินผลความเสย่ี ง (Risk Evaluation)

 แนวคิดการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management : DRM)
เป็นแนวคิดการนาเร่ืองความเส่ียงมาเป็นปัจจยั หลักในการจัดการสาธารณภัยเชงิ รุกไปส่กู ารจัดการ

อย่างย่ังยืน ประกอบด้วย การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction: DRR) ได้แก่ การป้องกัน
(Prevention) การลดผลกระทบ (Mitigation) และการเตรียมความพร้อม (Preparedness) ควบคู่กับการจัดการ
ในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) ได้แก่ การเผชิญเหตุ (Response) และการบรรเทาทุกข์ (Relief)
รวมถึงการฟื้นฟู (Recovery) ได้แก่ การฟ้ืนสภาพและการซ่อมสร้าง (Rehabilitation and Reconstruction)
การสร้างให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (Build Back Better and Safer) โดยวงจรการจัดการความเสี่ยง
จากสาธารณภัยตามแผนภาพ ดงั นี้



ความเสี่ยงจากสาธารณภยั (Disaster Risk) หมายถึง โอกาสที่จะเกิดการสูญเสียจากสาธารณภัย
ทง้ั ต่อชวี ติ รา่ งกาย ทรพั ยส์ นิ ความเป็นอยู่ภาคบรกิ ารต่างๆ ในชุมชนใดชุมชนหน่ึง ณ หว้ งเวลาใด เวลาหนึ่งในอนาคต

การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Management) แบ่งการดาเนินงาน
ออกเปน็ 3 ระยะ ได้แก่

ระยะก่อนเกดิ ภัย
- การป้องกันและการลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation) เป็นการดาเนินการช่วงก่อน
เกิดภัยท้ังที่ใช้โครงสร้างและไม่ใช้โครงสร้าง โดยการวิเคราะห์และจัดการกับปัจจัยที่เป็นสาเหตุและผลกระทบ
ของสาธารณภัย เพื่อลดโอกาสท่ีสาธารณภัยจะสร้างผลกระทบต่อบุคคล ชุมชนหรือสังคม รวมถึงป้องกัน
ความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต ได้แก่ การประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัย การวางแผนการใช้ท่ีดิน
การจัดทาแผนที่เส่ียงภัย การกาหนดมาตรฐานความปลอดภัยในการก่อสร้างอาคาร การเสริมสร้าง
ความแขง็ แรงของตลิ่ง การขุดลอกคคู ลอง/ท่อระบายนา้ การปรับแผนการเกษตรเพอื่ กระจายความเส่ียง เป็นต้น
- การเตรียมความพร้อม (Preparedness) เป็นการดาเนินการช่วงก่อนเกิดภัยเพ่ือให้ประชาชน
หรือชุมชน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และทักษะต่างๆ พร้อมที่จะรับมือ
กับสาธารณภัย ได้แก่ การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน การฝึกป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย การเตรียมการอพยพและจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราว การพัฒนาคลังข้อมูลสาธารณภัยแห่งชาติ
การจัดตัง้ คลังสารองทรพั ยากร รวมทงั้ การพัฒนาระบบและกระบวนการแจ้งเตือนภัยให้มีประสิทธิภาพ เปน็ ต้น
ระยะเกิดภยั
- การจัดการในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Management) เป็นการเผชิญเหตุและการบรรเทา
ทุกข์ โดยการจัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน โดยการจัดระบบการจัดการ
ทรัพยากร และภารกิจความรับผิดชอบ เพ่ือเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นทุกรูปแบบได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
รวมทั้งลดความสูญเสียทจี่ ะมีต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ทรัพยากร สภาพแวดล้อม สังคมและประเทศ
ใหม้ ผี ลกระทบนอ้ ยท่สี ดุ
ระยะหลงั เกิดภัย
- การฟื้นฟู (Recovery) เป็นการดาเนินการภายหลังจากท่ีภาวะฉุกเฉินจากสาธารณภัยบรรเทาลง
หรือได้ผ่านพ้นไปแล้ว เพื่อปรับสภาพระบบสาธารณูปโภค การดารงชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชน
ท่ีประสบภัยให้กลับสู่สภาวะปกติ หรือพัฒนาให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (Build Back Better and Safer)
ตามความเหมาะสม โดยการนาปัจจัยในการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยมาดาเนินการในการฟื้นฟู
ซ่ึงหมายรวมถึงการซอ่ มสร้าง (Reconstruction) และการฟื้นสภาพ (Rehabilitation) ไดแ้ ก่ การฟื้นฟูสุขภาพ
ผปู้ ระสบภัย การฟนื้ ฟทู อี่ ยู่อาศยั ระบบโครงสรา้ งพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รวมถงึ การฟืน้ ฟู
ระบบเศรษฐกิจ

กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ / ศนู ยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์

ผบู้ ญั ชาการ / ผอู้ านวยการ ท่ีปรึกษา / ผู้เชี่ยวชาญ
ศนู ยข์ ้อมลู ประชาสมั พนั ธร์ ่วม ศนู ยป์ ระสานการปฏบิ ตั ิ

สว่ นปฏบิ ตั กิ าร ส่วนอานวยการ ส่วนสนบั สนุน



 ระบบสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานในภาวะฉกุ เฉินแห่งชาติ
เป็ น ก ร อ บ ก า ร ป ฏิ บั ติ งา น ส า ห รั บ ใช้ ใน ก า ร จั ด ก า ร ภ า ว ะ ฉุ ก เฉิ น จ า ก ส า ธ า ร ณ ภั ย ท่ี เกิ ด ข้ึ น

ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 และแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ พ.ศ.2558 ซึง่ มคี วามสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 - 2565 ได้แก่

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติให้พร้อมเผชิญกับภาวะไม่ปกติ
และจัดการความเสยี่ งอย่างบรู ณาการ

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การเสรมิ สรา้ งความเช่ือมั่น ภมู ิคุ้มกัน และศกั ยภาพของทุกภาคส่วน ใหม้ ีความตระหนัก
และความเขม้ แข็งร่วมกนั ในลักษณะประชารฐั

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเสรมิ สร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในการเตรียมพร้อมรับมือภัยคุกคาม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การบรหิ ารจดั การยุทธศาสตรม์ ีการบูรณาการและผนกึ กาลงั ในลกั ษณะหุ้นส่วนยุทธศาสตร์
สาหรับระบบการสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินหรือ สปฉ. (Emergency Support
Function : ESF) นั้น คือ การจัดหมวดหมู่ภาระงานในการจัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินให้อยู่ภายใต้
โครงสร้างการจัดการที่เอ้ือให้เกิดการประสานการปฏิบัติระหว่างส่วนราชการต่างๆ ที่มีภารกิจเก่ียวข้องในการ
จัดการภาวะฉุกเฉินประเภทเดียวกันให้เป็นไปอย่างมีเอกภาพ ลดความซ้าซ้อน อีกท้ังยังช่วยสนับสนุนให้
การประสานงานของกองอานวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยกลางรวมถึงการควบคุม สั่งการ บัญชาการ
ของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดและกรุงเทพมหานครของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติในสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) และขนาดร้ายแรงอย่างย่ิง (ระดับ 4) ให้เกิดความเป็นเอกภาพ
สอดคล้องกับลักษณะของสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนในแต่ละคร้ัง ซึ่งจะทาให้การวางแผนการอานวยการ
การประสานงาน การสนับสนุน การบูรณาการการสื่อสารการบริหารจัดการทรัพยากรและการจัดการเหตุ
ฉุกเฉินมีความเหมาะสมกบั สถานการณ์ทีเ่ กิดข้นึ มปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ

กลไกการบรหิ ารจัดการภัยพบิ ัตดิ ้านการเกษตร

 โครงสรา้ งการบริหารจดั การภยั พบิ ตั ดิ า้ นการเกษตร ดังน้ี
ระดบั นโยบาย
1. คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร โดยมี รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ประธาน
2. คณะอนุกรรมการวางแผนและติดตามการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร

โดยมปี ลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ ประธาน
ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร
1. สว่ นกลาง : ศูนยต์ ิดตามและแก้ไขปัญหาภยั พบิ ตั ิดา้ นการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เฝ้าระวังติดตามสภาวะทางอุตุ-อุทกวิทยา จากหน่วยงานต่างๆ ประเมินสถานการณ์ และแจ้งเตือนภัย
ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ศูนย์ติดตามฯ จังหวัด เพ่ือเตรียมการป้องกันและให้การช่วยเหลือเกษตรกร รวมทั้ง
ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และแจ้งเตือนภัยให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปรับทราบผ่านสื่อตา่ งๆ รวมถึง
เวบ็ ไซต์ https://www.moac.go.th/service_all-agriculture_situation และให้บรกิ ารขอ้ มลู สายด่วน 1170

1.2 กรมชลประทาน โดยศูนย์ปฏิบัติการน้าอัจฉริยะ (SWOC) และศูนย์เครือข่าย
(SWOC 1-17) ติดตามเฝ้าระวัง สถานการณ์น้าในอ่างเก็บน้าสภาพน้าท่า และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร
แจ้งเตือนภัยให้เกษตรกรและประชาชนทราบผ่านทางส่ือต่างๆ รวมท้ังเว็บไซต์ www.rid.go.th และ
http://wmsc.rid.go.th/ พรอ้ มทงั้ ให้บรกิ ารสายดว่ น 1460



1.3 กรมพัฒนาที่ดิน เฝ้าระวังและคาดการณ์พ้ืนที่ที่ประสบภัยล่วงหน้า เพ่ือประชาสัมพันธ์
ใหเ้ กษตรกรและประชาชนท่ัวไปทราบผ่านทางเวบ็ ไซต์ http://irw101.ldd.go.th/index.php

2. ส่วนภูมิภาค : ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัด ติดตามข้อมูล
ข่าวสารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวังสถานการณ์ และประเมินสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในพื้นท่ี
เพ่ือดาเนินการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และแจ้งเตือนภัยให้เกษตรกรทราบผ่านทางสื่อประชาสัมพั นธ์
ในพืน้ ท่ีทเ่ี กษตรกรสามารถเข้าถึงไดง้ า่ ย

 ความเชื่อมโยงกลไกการบริหารจัดการภัยพิบัติด้านการเกษตรกับการบริหารจัดการ
สาธารณภัยของประเทศ
การบริหารจัดการภัยพิบัติด้านการเกษตร ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เชื่อมโยงและ

สอดคล้องกบั การบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศ โดยในระดับนโยบายได้รว่ มบูรณาการ และปฏิบตั ิงาน
ภายใต้ กอปภ.ช. ทั้งในภาวะปกตแิ ละภาวะเกิดภยั ส่วนในระดับปฏิบัตกิ ารหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ได้ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและในพื้นท่ี เพ่ือสนับสนุน
การปฏิบัติงานของศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า และกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติตามระดับความรนุ แรงของภยั



 บทบาท หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หนว่ ยงาน ภารกิจ/หนา้ ท่ี
ศนู ย์ติดตามและแกไ้ ขปัญหา
ภัยพิบัติด้านการเกษตร - ติดตาม วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์และผลกระทบด้านการเกษตร
จงั หวดั พิจติ ร และแจ้งเตือนภัยในระดับจังหวัด
โครงการชลประทานพจิ ิตร
- เรง่ รัดการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ดา้ นการเกษตรของหน่วยงานในจังหวัด
สานักงานประมงจงั หวัด - รายงานสถานการณ์และผลการชว่ ยเหลือตอ่ ศูนย์ตดิ ตามฯ กระทรวงทราบ
พจิ ิตร - ประสานการปฏิบตั ิงานกบั กองอานวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั

สานักงานปศุสัตว์จังหวดั (กอปภ.จ.) และกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ (กอปภ.อ.)
พิจติ ร
- ประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเสีย่ งโดยการป้องกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพรอ้ มเพื่อการเผชิญเหตุและการฟน้ื ฟู
ใหก้ ลับสูภ่ าวะปกตหิ รอื พัฒนาใหด้ กี ว่าเดิม

- จดั ทาแผนการบรหิ ารจัดการน้า เพ่ือป้องกนั บรรเทาผลกระทบจากภยั พบิ ัติ
- ดาเนินการตามแผนบรหิ ารจัดการนา้ เพื่อการเกษตร
- ตดิ ตามเฝ้าระวงั สถานการณ์น้า
- วางแผนจดั สรรนา้ และการเพาะปลกู พืชใหส้ อดคลอ้ งกับนา้ ต้นทุน
- กาหนดมาตรการควบคมุ การใช้นา้ ของกิจกรรมต่างๆใหส้ อดคลอ้ งตามแผนทก่ี าหนด
- ประชาสมั พันธ์/รณรงค์ให้ใชน้ ้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ
- จัดเตรียมความพร้อมของรถบรรทกุ น้า เครื่องสูบน้า เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ต่างๆ

เพือ่ ให้การชว่ ยเหลือพน้ื ทีป่ ระสบภยั
- การประเมนิ ความเสียหายและการซ่อมสร้างระบบโครงสรา้ งพ้นื ฐานดา้ นชลประทาน

- ประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัยและบริหารจัดการความเสย่ี งโดยการปอ้ งกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพรอ้ มเพ่ือการเผชิญเหตุและการฟืน้ ฟู
ใหก้ ลบั ส่ภู าวะปกติหรือพฒั นาให้ดกี ว่าเดิม

- จดั ทาทะเบียนเกษตรกรผ้เู ลยี้ งสตั ว์น้าใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน
- ประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนภัย และให้คาแนะนาด้านวิชาการ วางแผน

การเพาะเลยี้ งสัตว์น้าให้เหมาะสมกบั ชว่ งฤดูกาล
- กากับ ตรวจสอบสถานท่ีเลยี้ งสัตวด์ รุ ้าย (จระเข้) ที่อาจเป็นภัยต่อสว่ นรวม
- การปอ้ งกนั และกาจดั โรคสตั วน์ า้
- ติดตามสถานการณ์และรายงานผลกระทบ
- การใหก้ ารช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลย้ี งสัตว์น้า ตามบทบาท ภารกิจ หน้าท่ี และ

ระเบยี บ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง

- ประเมินความเสย่ี งจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเสย่ี งโดยการป้องกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพร้อมเพ่ือการเผชิญเหตุและการฟ้ืนฟู
ใหก้ ลับสภู่ าวะปกติหรอื พฒั นาให้ดีกว่าเดิม

- จัดทาทะเบียนเกษตรกรผเู้ ล้ยี งสัตว์
- ให้คาแนะนาในการวางแผนการเลี้ยงสัตว์ แผนการอพยพสัตว์ และบริหาร

จัดการสถานที่อพยพสัตว์ การดูแลสุขภาพสัตว์ และการป้องกันโรคสัตว์
ท่เี กิดจากภัยพบิ ตั ิ
- การเตรียมเสบียงสัตว์ และเวชภัณฑ์ เพ่อื สนบั สนุนในกรณีที่ขาดแคลน

หน่วยงาน ๗
สถานีพฒั นาท่ีดนิ พจิ ิตร
ภารกจิ /หนา้ ท่ี
ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนา - ติดตามสถานการณ์ รายงานผลกระทบความเสียหายและการให้ความช่วยเหลือ
การเกษตรพจิ ิตร
เกษตรกรผเู้ ลยี้ งสัตว์
สานักงานเกษตรจงั หวัด - การให้การช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ตามบทบาท ภารกิจ หน้าที่ และ
พจิ ิตร
ระเบยี บ กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง
ศนู ยเ์ มลด็ พันธ์ุข้าวพิจิตร - ประเมินความเสีย่ งจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเส่ียงโดยการปอ้ งกัน

ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรียมความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุและการฟื้นฟู
ใหก้ ลบั สู่ภาวะปกติหรือพัฒนาให้ดกี ว่าเดิม
- จัดทาแผนทเี่ ส่ยี งภัย และให้คาแนะนาการปลกู พชื ในเขตทด่ี ินทเ่ี หมาะสม
- เฝา้ ระวังและคาดหมายพนื้ ทเ่ี ส่ียงต่อการเกิดภยั เพื่อแจง้ เตือนเกษตรกร
- จัดทาแผนงาน/โครงการต่าง ๆ เพื่อช่วยป้องกันและบรรเทาผลกระทบ
จากภยั พิบตั ดิ ้านการเกษตร เช่น การพฒั นาแหล่งน้า การขุดบอ่ นา้ ในไร่นา
การอนุรักษด์ ินและนา้
- เตรียมสารพด. น้าหมกั ชีวภาพ ดินกรด(ไดโลไมท์) และวสั ดอุ ื่น เพ่ือฟื้นฟูพื้นท่ี
ประสบภยั พบิ ตั ิ
- ประเมนิ ความเส่ียงจากสาธารณภัยและบริหารจัดการความเส่ยี งโดยการป้องกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพร้อมเพ่ือการเผชิญเหตุและการฟื้นฟู
ใหก้ ลับสภู่ าวะปกตหิ รอื พฒั นาให้ดกี ว่าเดิม
- ติดตาม เฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของศัตรูพืชเศรษฐกิจ โดยให้ข้อมูล
วิธีการป้องกันกาจัดศัตรูพืชท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และแจ้งหน่วยงาน
ท่รี ับผิดชอบแจ้งเตอื นเกษตรกร
- ประชาสัมพันธ์และให้คาแนะนาในการดูแลรักษาพืช วางแผนการปลูกพืช
ใหเ้ หมาะสมกับสภาพพื้นท่ี เพื่อประชาสัมพนั ธใ์ ห้กับเกษตรกรในพ้นื ที่
และจัดเตรยี มสารองเมลด็ พันธุ์
- ประเมนิ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเสีย่ งโดยการป้องกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุและการฟ้ืนฟู
ใหก้ ลบั สภู่ าวะปกตหิ รือพัฒนาให้ดีกว่าเดิม
- จัดทาทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพชื ให้เป็นปจั จุบนั
- ตดิ ตามสถานการณเ์ พ่ือประชาสมั พันธ์แจง้ เตอื นภยั แก่เกษตรกร
- ให้คาแนะนาในการดูแลพืช วางแผนการปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
แนะนาการป้องกันกาจัดศตั รพู ืช
- รายงานพ้นื ทกี่ ารเกษตรได้รบั ผลกระทบ และการใหค้ วามชว่ ยเหลือ
- การให้การช่วยเหลือเกษตรกร ตามบทบาท ภารกิจ หน้าที่ และระเบียบ
กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง
- ประเมนิ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยและบริหารจัดการความเสีย่ งโดยการปอ้ งกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุและการฟื้นฟู
ใหก้ ลับสภู่ าวะปกตหิ รือพฒั นาใหด้ กี ว่าเดิม
- ติดตาม เฝ้าระวัง สถานการณ์การระบาดของศัตรูข้าว เพ่ือแจ้งเตือนภัย
แกเ่ กษตรกร

หน่วยงาน ๘

สานกั งานสหกรณ์จงั หวดั ภารกิจ/หนา้ ท่ี
พจิ ติ ร - ประชาสัมพันธ์และให้คาแนะนาในการดูแลรักษา วางแผนการปลูกข้าว

ศูนย์ปฏบิ ตั ิการฝนหลวง ให้เหมาะสมกบั สภาพพืน้ ที่
ภาคเหนือตอนลา่ ง จังหวดั - จัดเตรียมสารองเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี และจัดทาแผนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
พิษณุโลก
เพิม่ เตมิ
สานักงานการปฏริ ูปท่ีดิน - ประเมนิ ความเสยี่ งจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเส่ยี งโดยการปอ้ งกัน
จังหวัดพิจติ ร
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรียมความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุและการฟื้นฟู
สานักงานเศรษฐกิจ ใหก้ ลับสภู่ าวะปกตหิ รือพัฒนาให้ดกี ว่าเดิม
การเกษตร ท่ี 12 - จัดทาและตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลเกี่ยวกับพ้ืนที่การเกษตร
ทรัพยส์ นิ หน้สี ินของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลือ
ดา้ นหนีส้ นิ
- ฝึกอบรมเพ่ือฟ้ืนฟูอาชพี ให้เกษตรกรที่ประสบภยั
- สนับสนนุ เงนิ ทุน เพ่อื การฟ้ืนฟอู าชีพสมาชกิ สถาบันเกษตรกร
- การให้การช่วยเหลือเกษตรกร ตามบทบาท ภารกิจ หน้าท่ี และระเบียบ
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
- ประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภยั และบริหารจัดการความเสีย่ ง โดยการปอ้ งกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรียมความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุ
- ปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน้าในพ้ืนที่ เกษตรกรรม ป่าไม้ และเข่ือน
เก็บกักนา้
- พัฒนาเทคโนโลยีฝนหลวงและการดัดแปรสภาพอากาศ รวมทั้งปฏิบัตกิ ารดา้ น
การบนิ เกษตร
- จดั ทาแผนปฏบิ ัติการฝนหลวงประจาปี
- ประเมนิ ความเส่ียงจากสาธารณภัยและบริหารจัดการความเสีย่ งโดยการปอ้ งกัน
ลดและบรรเทาผลกระทบ เตรยี มความพร้อมเพื่อการเผชิญเหตุและการฟ้ืนฟู
ใหก้ ลับส่ภู าวะปกติหรอื พฒั นาให้ดกี ว่าเดิม
- ดาเนนิ การก่อสร้างแหล่งนา้ ขดุ ลอกคูคลองในพ้นื ทเ่ี ขตปฏิรปู ที่ดนิ ฯ
- สนับสนนุ เครอ่ื งสูบน้า รถบรรทุกน้า
- การให้การช่วยเหลือเกษตรกร ตามบทบาท ภารกิจ หน้าท่ี และระเบียบ
กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง
- พยากรณ์แนวโน้มการผลิตและการตลาดพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ
- การประเมินมลู คา่ ความเสียหายด้านเศรษฐกจิ การเกษตรจากการเกิดภยั พิบัติ
- การวิเคราะห์ความเสียหาย (Damages) และความสูญเสีย (Losses)
ที่เกิดจากภัยในแตล่ ะด้าน
- การวิเคราะห์ผลกระทบจากภัยพิบัติในเชิงเศรษฐกิจมหาภาค (Macro –
Economic Impact) และผลกระทบตอ่ มนุษย์และสงั คม (Human/Social Impact)
- การวิเคราะห์ความต้องการ/ความจาเป็นในการฟ้ืนฟูหลังเกิดภัย
เพ่ือการจัดลาดับความสาคัญในการฟ้นื ฟใู นแต่ละภาคส่วน ตามระยะเวลา
3 ช่วง คอื ระยะส้ัน ระยะกลาง ระยะยาว

บทท่ี 2
การเตรยี มรับสถานการณ์ภยั พบิ ตั ิด้านอุทกภัย
 ข้อมูลทวั่ ไปของจงั หวัดพจิ ิตร
 สภาพพนื้ ท/ี่ ลักษณะภมู ิประเทศ
ที่ต้ัง จังหวัดพิจิตร ต้ังอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยระหว่างละติจูดที่ 15 องศา
55 ลิปดา 51 ฟิลิปดาเหนือ ถึงละติจูดที่ 16 องศา 36 ลิปดา 14 ฟิลิปดา เหนือ และระหว่างลองติจูดที่
99 องศา 599 ลิปดา 15 ฟิลิปดา ตะวันออก ถึงลองติจูดท่ี 111 องศา 47 ลิปดา 25 ฟิลิปดา ตะวันออก
มีเนื้อท่ี ประมาณ 4,531.013 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2,831,883 ไร่ มีความกว้างประมาณ
72 กโิ ลเมตร ความยาว 77 กิโลเมตร
จงั หวดั พจิ ิตร มีอาณาเขตติดต่อกับจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดงั นี้
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ จงั หวดั พิษณโุ ลก
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับ จังหวดั เพชรบรู ณ์
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ จงั หวดั นครสวรรค์
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ จงั หวัดกาแพงเพชร และจงั หวัดนครสวรรค์

ภาพ แสดงพื้นท่ีอาณาเขตของจงั หวัดพิจติ ร

๑๐

 ลักษณะภมู ิประเทศ
ลักษณะพ้ืนท่ีของจังหวัดพิจิตร เป็นพ้ืนที่ราบลุ่มแอ่งกระทะทิศตะวันออกเป็นที่ลาดเชิงเขา

ทิศตะวันตกเป็นพื้นท่ีลุ่มต่ากว่าจังหวัดกาแพงเพชรประมาณ 20 เมตร มีแม่น้า 3 สาย ท่ีไหลจากทิศเหนือ
ลงสู่ทิศใต้ คือ แม่น้ายม แม่น้าน่าน และแม่น้าพิจิตร สภาพพ้ืนที่เป็นท่ีราบลุ่มแม่น้า ดินดีมีความอุดมสมบูรณ์
ปานกลางถึงสูง เน่ืองจากตะกอนที่น้าพัดมาทับถมเหมาะแก่การทานา และปลูกพืชหมุนเวียน ตอนกลาง
ของจังหวัดพิจิตร มีแม่น้าไหลผ่านถึง 3 สาย ได้แก่ แมน่ ้าน่าน แม่นา้ ยม และแม่นา้ พิจิตร ซ่ึงสามารถแบ่งพ้ืนที่
ตามสภาพภูมปิ ระเทศ ออกเป็น 3 พืน้ ที่

แมน่ า้ แมน่ า้
ยม นา่ น

ต. ต.
ต.วัง

โมอก.ขว์ ชิร ต.ป่ามะ อ.สาก ต.ทา่

ต.วัง อ.สามง่าม ต.ไผ่ ต.ทา่ ฬ่อ ต. เหล็ก เยี่ยม
ต. ต.สาม ขวาง ต.ปากทาง ต.วัง

ต.เนินปอต.รงงั า่ นมก อ.เมอื ง ต.หนอง

ต.โรง ต.บ้าน ต.สายคา ต.วงั พื้นทฝี่ ง่ั ตะวนั ออกของ
ช้างต. บุ่ง โหอ้ .วังทราย แม่น้านา่ นมีพน้ื ที่
ต. ต.ทา การเกษตรประมาณ
ต.ไผ่รอบ ต.ฆะมงั 1,092,801 ไร่
ต.วัง พูน ต.หนอง
ต.ดงกลาตง.หวั ต.วงั
ต.ทุ่ง อ.โพธ์ิ
ต.ดงปา่ ต.ง้ิว ต.เขา
ต.ดงเสือ ต.ไผ่
ต.วตัดตปค.วข.่า.ดังคตควสง.าาาวางตหงั โตเ.รลกไ.งวหผตตงตโ้วุ่.บขหอย.ไาน.ทินงตรตะโ.รพดงงาตตหน..ลทวมุ ังุ่ง
พนื้ ทฝี่ งั่ ตะวันตกของแมน่ า้ ยม ต.แห เหลอื ง
มพี น้ื ทีก่ ารเกษตร ประมาณ ต.บงึ นา ต.บาง
ลม่ รงั ราง
883,039 ไร่ ต.เขา

อ.บึง ต. ต.ทบั
ท้าย
ต.หว้ ย ต. อ.ทบั

อ โพทะเ ต.ทุ่ง ต.ทา้ ย
ทงุ่
ต. . ต.ท่าบัว ต.ลา
ต.หอไกร
ทนง ต.บ้าน
ต.ท่า ตมะ.เอนกนอ.านิบกตกตา..วงงั มตูลต..หวว้ังยกตรด.วังตต.หะว้กยู ต.หอเจว้ .ยดรพิญงุก
ขมนิ้ น้อย
ต.บาง
ต.ท่า
เสา ต.ทา่ นงั่

สาโรง

แมน่ า้ คลองดงปา่
พจิ ติ ร
คาคา

พ้ืนท่รี าบลมุ่ ระหวา่ งแมน่ า้ นา่ นและแมน่ า้ ยม(พนื้ ทีโ่ ครงการส่งน้า
และบารงุ รกั ษาจานวน 3 โครงการ) มพี น้ื ท่ี ชลประทาน
ประมาณ 371,973 ไร่

ภาพ แสดงพน้ื ทีแ่ บ่งตามสภาพภูมปิ ระเทศของจังหวัดพิจติ ร

๑๑

 ลักษณะภมู ิอากาศ
1) ฤดูกาล
เน่ืองจากพื้นที่พิจิตร มีสภาพภูมิอากาศ แบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู ดังน้ี ฤดูร้อน เริ่มประมาณ

กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคมมีอากาศร้อน อบอ้าวท่ัวไป โดยเฉพาะในเดือนเมษายนเป็นเดอื น
ท่ีมีอากาศร้อนอบอ้าวมากที่สุดในรอบปี ฤดูฝน เริ่มประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
ซึง่ เป็นระยะทีม่ รสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย อากาศจะเร่ิมชุ่มชื้นและมีฝนตกชุกต้ังแต่ประมาณ
กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป เดือนท่ีมีฝนตกมากที่สุดคือเดือนสิงหาคม ฤดูหนาว เร่ิมประมาณกลางเดือน
ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นช่วงที่มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย อากาศ
โดยทว่ั ไปจะหนาวเย็นและแหง้ เดือนที่มีอากาศหนาวทสี่ ดุ คือ เดอื นธนั วาคมและมกราคม

2) สภาพฝนในจงั หวดั พจิ ติ ร ปี 2565

ตารางท่ี 2.1 การเปรยี บเทียบปรมิ าณนา้ ฝน ปี 2561 - 2565

ปรมิ าณฝน ปรมิ าณฝนปี 2561 ปริมาณฝนปี 2562 ปริมาณฝนปี 2563 ปรมิ าณฝนปี 2564 ปรมิ าณฝนปี 2565

เฉลย่ี ระยะ

ยาว 27 ปี +สูง,-ตา่ ปริมาณฝน +สูง,-ตา่ ปรมิ าณ +สงู ,-ต่า ปริมาณฝน +สูง,-ตา่ ปรมิ าณฝน +สูง,-ต่า ปรมิ าณ
(มม.) กว่า (มม.) กวา่ ฝน (มม.) กว่า (มม.) กว่า (มม.) กวา่ ฝน

คา่ เฉลี่ย ค่าเฉล่ยี คา่ เฉลี่ย ค่าเฉลีย่ ค่าเฉล่ยี (มม.)

(%) (%) (%) (%) (%)

1,264.8 -13.72 1,091.3 -33.78 837.6 -45.23 692.7 -18.95 1,025.1 - 235

ที่มา : สถานีอุตุนิยมวทิ ยาพิจิตร
หมายเหตุ : ปริมาณนา้ ฝนปี 2565 เป็นขอ้ มลู เดอื น มกราคม 2565 – เมษายน 2565

3) อุณหภมู แิ ละความช้นื สัมพัทธ์ (ข้อมูล 5 ปี)

ตารางที่ 2.2 อุณหภูมแิ ละความช้ืนสมั พัทธ์สูงสดุ - ต่าสุด ปี 2561 - 2565

ปี อณุ หภูมิ (°c) ความช้ืนสัมพัทธ์ (%)
สงู สดุ ต่าสดุ เฉลีย่ ท้ังปี สูงสดุ ต่าสุด เฉลยี่ ทงั้ ปี

2561 33.2 23.9 28.6 92 56 74

2562 34.6 23.7 29.2 92 51 72

2563 34.8 24.1 29.5 90 50 70

2564 33.8 23.8 28.8 91 53 73

2565 34.3 23.1 28.7 92 48 70

ทีม่ า: สถานีอตุ นุ ิยมวิทยาพจิ ิตร

หมายเหตุ : อณุ หภูมแิ ละความชื้นสัมพทั ธ์ ปี 2565 เปน็ ข้อมูลเดือน มกราคม – เมษายน 2565

๑๒

 แหล่งนา้่ ธรรมชาติ

แม่น้าน่าน ไหลจากจังหวัดพิษณุโลก ผ่านจังหวัดพิจิตร ที่อาเภอเมืองพิจิตร ตะพานหิน บางมลู นาก

ไปจังหวัดนครสวรรค์ มีคลองใหญ่รับน้าไหลลงสู่แม่น้าน่าน 7 คลอง แม่น้าน่านช่วงท่ีไหลผ่านจังหวัดพิจิตร

มีความยาวประมาณ 97 กิโลเมตร ปริมาณน้าไหลสูงสุด 1,040 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พ้ืนที่ในลุ่มน้า

ประมาณ 2,602 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 1,626,250 ไร่

แม่น้ายม ไหลจากจังหวัดพิษณุโลกผ่านจังหวัดพิจิตรที่อาเภอสามง่าม โพธิ์ประทับช้าง โพทะเล

ไปจังหวัดนครสวรรค์ มีคลองใหญ่รับน้าไหลลงสู่แม่น้ายม 7 คลอง แม่น้ายมช่วงท่ีไหลผ่านจังหวัดพิจิตร

มีความยาวประมาณ 124 กิโลเมตร มีปริมาณน้าไหลสูงสุด 900 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พ้ืนที่ในลุ่มน้า

ประมาณ 2,046 ตารางกโิ ลเมตร หรือ 1,276,750 ไร่

แม่น้าพิจิตร เดิมเป็นแม่น้าน่าน เมื่อมีการขุดลอกคลองแยกสายทาให้ต้ืนเขิน โดยอยู่กึ่งกลาง

ระหว่างแม่น้าน่านกับแม่น้ายม มีความยาว 127 กิโลเมตร ไหลผ่านอาเภอเมืองพิจิตร โพธิ์ประทับช้าง

ตะพานหิน แล้วไปบรรจบกับแมน่ ้ายมที่บ้านบางคลาน อาเภอโพทะเล แม่น้าสายน้ีตื้นเขินมากและมฝี ายกน้ั น้า

เป็นชว่ ง ๆ เพือ่ ใชใ้ นสวนผลไม้

 ขอ้ มูลดา้ นการเกษตร

1) ครวั เรอื นเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร

จังหวัดพิจิตร มีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 201,089 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนเกษตรกร

จานวน 74,242 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 36.92

ตารางท่ี 2.3 จานวนครัวเรือนเกษตรกรและจานวนแรงงานภาคเกษตรของจังหวัดพิจิตร

อ่าเภอ จา่ นวนครัวเรอื น จ่านวนครวั เรอื น ร้อยละจ่านวน
เกษตรกร ครัวเรอื นเกษตรกร/
ครัวเรือนทั้งหมด

เมืองพจิ ติ ร 44,259 10,510 23.75

วงั ทรายพูน 8,366 4,244 50.73

โพธปิ์ ระทบั ชา้ ง 15,201 5,981 39.35

ตะพานหนิ 24,708 8,509 34.44

บางมูลนาก 18,730 6,847 36.56

โพทะเล 20,505 9,348 45.59

สามง่าม 15,049 7,070 46.98

ทบั คล้อ 16,459 5,037 30.60

สากเหลก็ 8,574 2,747 32.04

บึงนาราง 10,896 4,794 44.00

ดงเจรญิ 7,262 3,690 50.81

วชิรบารมี 11,080 5,465 49.32

รวม 201,089 74,242 36.92

ทมี่ า: สานกั งานเกษตรจงั หวดั พิจติ ร ข้อมูล ณ วนั ที่ 29 พฤษภาคม 2565

2.) การใช้ทด่ี นิ เพ่ือการเกษตร
จงั หวัดพจิ ิตรมีพ้ืนท่ีทั้งหมด 2,831,883 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีทาการเกษตร 2,25
ไม้ผล/ไมย้ ืนตน้ 93,502 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.30 พชื ไร/่ พชื ผัก/ไมด้ อก 152,674 ไร่ ค
ตารางที่ 2.4 การใชท้ ดี่ นิ เพ่ือการเกษตรแยกตามรายอาเภอ จงั หวดั พจิ ติ ร

อำเภอ พน้ื ทท่ี งั้ หมด ทนี่ ำ ไม้ผล/ไม
(ไร่) จำนวน ร้อยละพนื้ ท่ี จำนวน

(ไร่) เกษตร (ไร่)

1.อำเภอเมอื งพจิ ิตร 461,837 243,252.00 52.67 9,399.00

2.อำเภอวงั ทรำยพนู 162,188 130,918.00 80.72 3,220.00

3.อำเภอโพธ์ิประทับช้ำง 236,601 180,939.00 76.47 12,997.00

4.อำเภอตะพำนหิน 293,081 222,152.00 75.80 5,595.00

5.อำเภอบำงมลู นำก 236,086 215,304.00 91.20 1,191.00

6.อำเภอโพทะเล 302,631 229,399.00 75.80 18,674.00

7.อำเภอสำมงำ่ ม 211,302 174,154.00 82.42 1,635.00

8.อำเภอทับคล้อ 236,430 187,988.00 79.51 1,071.00

9.อำเภอสำกเหลก็ 110,219 69,140.00 62.73 22,072.00

10.อำเภอบึงนำรำง 281,631 94,269.00 33.47 16,657.00

11.อำเภอดงเจริญ 137,689 104,784.00 76.10 878.00

12.อำเภอวชิรบำรมี 162,188 137,951.00 85.06 113.00

รวม 2,831,883 1,990,250.00 70.28 93,502.00

ทม่ี า : สานกั งานเกษตรจงั หวดั พจิ ิตร ข้อมูล ณ วนั ที่ 29 พฤษภาคม 2565

50,306 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 79.46 แบ่งเป็น ทานา 1,990,250ไร่ คิดเป็นร้อยละ 70.28
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.39 เกษตรอ่นื ๆ 13,880 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.49

พนื้ ทที่ ำกำรเกษตร รวมพนื้ ทท่ี ำกำรเกษตร

ม้ยนื ตน้ พืชไร่/พืชผกั /ไม้ดอก เกษตรอนื่ ๆ

ร้อยละพน้ื ที่ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
เกษตร (ไร่) พน้ื ทเี่ กษตร (ไร่) พน้ื ทเ่ี กษตร (ไร่) พน้ื ที่
ทง้ั หมด
2.04 3,991.00 0.86 251.00 0.05 256,893.00 55.62
1.99 2,898.00 1.79 3,141.00 1.94 140,177.00 86.43
5.49 16,518.00 6.98 1,011.00 0.43 211,465.00 89.38
1.91 8,077.00 2.76 0.08 236,068.00 80.55
0.50 272.00 0.12 244.00 0.27 217,407.00 92.09
6.17 12,014.00 3.97 640.00 1.06 263,299.00 87.00
0.77 22,123.00 10.47 3,212.00 0.14 198,207.00 93.80
0.45 14,076.00 5.95 295.00 0.20 203,609.00 86.12
20.03 2,907.00 2.64 474.00 0.94 95,159.00 86.34
5.91 55,204.00 19.60 1,040.00 1.26 169,667.00 60.24
0.64 10,071.00 7.31 3,537.00 0.02 115,758.00 84.07
0.07 4,523.00 2.79 25.00 0.01 142,597.00 87.92
3.30 152,674.00 5.39 10.00 0.49 2,250,306.00 79.46
13,880.00

13

14

3) ขอ้ มลู สนิ คา้ เกษตรท่ีสา่ คัญของจังหวัดพิจิตร

1) ข้อมูลด้านพืช

พชื เศรษฐกิจหลักทีส่ าคัญของจังหวัดพิจิตร ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ ส้มโอ มะม่วง

มะนาว

ตารางที่ 2.5 ขอ้ มูลด้านการปลกู พืชเศรษฐกิจของจังหวดั ปกี ารผลิต 2565

จ่านวน เนอ้ื ที่ เนื้อท่ีเก็บ ผลผลติ ทเี่ ก็บ ผลผลติ เฉล่ีย/ ราคาขาย

ชนิดพชื เกษตรกร เพาะปลกู เกีย่ ว เก่ียวได้ เนอ้ื ท่ีเก็บเกยี่ ว เฉล่ีย
(ราย) (ไร่) (ไร่) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (บาท/ตนั )

ขา้ วนาปี 2565/66 10,360 233,594 233,594 39,222,173 596 8,347

ข้าวนาปรงั 2564/65 21,866 62,838 62,838 93,901,813 635 7,988

ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ รุน่ 1 124 2,516 2,516 2,440,724 970 942
2565/66

ส้มโอ ปี 2565 1,347 16,767 16,767 33,534,500 2,000 30,000

มะม่วง ปี 2565 4,212 28,327 28,327 28,326,500 1,000 25,000

มะนาว ปี 2565 2,047 9,944 9,944 29,831,610 3,000 20,000

ถัวเขยี ว ปี 2565 1,526 26,885 26,885 6,049,013 225 26,000

มนั สาปะหลงั ปี 2565 116 1,298 1,298 4,153,600 3,200 2,000

อ้อย ปี 2565 1,541 35,456 35,456 25,466,000 12,000 1,070

มะยงชดิ ปี 2565 861 2,315 2,315 856,365 370 100,000

พชื ผกั ปี 2565 2,208 6,318 6,318 5,888,609 932 20,000

ที่มา :สานักงานเกษตรจังหวดั พิจติ ร ข้อมูล ณ วนั ท่ี 6 มถิ ุนายน 2565

(2) ขอ้ มลู ดา้ นปศสุ ตั ว์
การปศุสตั ว์ท่ีสาคญั ของจงั หวัดพิจิตร ได้แก่ ไก่เน้อื 1,849,035 ตวั ไก่ไข่ 938,852 ตัว

เปด็ ไข่ (เป็ดไลท่ งุ่ ) 646,682 ตวั สุกร 47,491 ตวั โคนม (นม) 460 ตัว โคเนอ้ื 47,693 ตวั กระบอื 8,489 ตวั
ตารางที่ 2.6 ข้อมูลดา้ นปศสุ ัตวข์ องจงั หวัด ปีการผลติ 2565

ชนิดสตั ว์ จ่านวน จา่ นวนสตั ว์ ข้อมลู ผลผลติ ราคาเฉลย่ี มลู ค่าผลผลติ
เกษตรกร (ตัว) (บาท/หนว่ ย) (บาท)
(ราย) หน่วย
จ่านวน นบั

ไกเ่ นื้อ 66 1,849,035 1,849,035 ตวั 60 110,942,100

ไกไ่ ข่ 2,081 938,852 844,967 ฟอง 3.5 2,957,384

เปด็ ไข่ (เปด็ ไล่ทงุ่ ) 173 646,682 582,014 ฟอง 4 2,328,055

สุกร 991 47,491 37,993 ตวั 8,220.00 312,300,816

โคนม 17 460 250,000 กโิ ลกรมั 18.15 4,537,500

โคเนื้อ 1,489 47,693 453 ตวั 35,492.00 16,077,876.00

กระบอื 649 8,489 2,547 ตวั 37,400.00 95,246,580

ทม่ี า : สานักงานปศสุ ตั วจ์ ังหวัดพิจติ ร ข้อมูล ณ เดือน มถิ ุนายน 2565

15

(3) ขอ้ มูลดา้ นประมง

การประมงของจังหวัดพิจิตร มีเกษตรกรผู้เพาะเล้ียงสัตว์น้าท้ังส้ิน 9,908 ราย

มีบ่อเลีย้ งสตั วน์ า้ จานวน 17,005 บ่อ มพี ้ืนท่เี ลยี้ งรวม 12,291.20 ไร่

ตารางท่ี 2.7 ขอ้ มูลด้านประมงของจังหวดั ปีการผลติ 2564/2565

อา่ เภอ จ่านวน พืน้ ทีก่ ารเลี้ยง ผลผลติ มลู คา่ ผลผลติ
เกษตรกร (กโิ ลกรัม) (บาท)
(ราย) จ่านวนพนื้ ท่ี จา่ นวนบอ่
(ไร่) (บ่อ/กระชัง)

เมืองพจิ ติ ร 1,616 2,273.81 2,376 177,830 16,195,020

วังทรายพูน 471 531.26 658 208,500 4,208,720

โพธ์ิประทับช้าง 1,117 1,397.15 3,576 156,990 8,259,230

ตะพานหนิ 527 659.96 756 508,240 18,198,790

บางมูลนาก 1,406 1,630.69 2,262 327,720 28,428,130

โพทะเล 1,749 1,815.04 2,518 363,710 30,318,240

สามงา่ ม 600 762.03 924 732,640 20,905,940

ทับคลอ้ 124 146.63 208 399,930 3,072,050

สากเหลก็ 240 302.65 422 297,220 3,862,950

บงึ นาราง 1,045 1,490.25 1,682 507,070 36,469,540

ดงเจริญ 485 633.51 837 284,970 9,220,290

วชิรบารมี 528 648.22 786 682,390 17,892,600

รวม 9,908 12,291.20 17,005 4,647,210 197,031,500

ที่มา : สานกั งานประมงจงั หวัดพจิ ติ ร ข้อมูล ณ วนั ท่ี 27 พฤษภาคม 2565

(4) ขอ้ มูลยางพารา
การแก้ไขปญั หาสินคา้ ยางพารา จงั หวดั พิจติ ร ขอ้ มูล ณ วันท่ี 29 เมษายน 2565

1. สรปุ การจัดท่าข้อมูลประมาณการสมดุลยางพาราของจังหวัด
ข้อมูลประมาณการสมดุลยางพาราของจังหวัด ฤดูกาลผลิตปี 2565/2566 โดยจัดทาข้อมูลอุปสงค์
และอุปทาน ซึ่งประกอบด้วย สต็อกต้นเดือน ผลผลิตรายเดือน และการนาเข้า-ส่งออก ผลผลิตจากภายนอก
จังหวัด รายละเอียดตามตารางที่ 2.8 พร้อมด้วยราคายางพาราในจังหวัดฤดูกาลผลิต ปี 2565/2566
ระดับจังหวัดพิจิตร จาแนกตามชนิดยาง รายละเอียดตามตารางที่ 2.9 ข้อมูลระบบตลาดยาง ระดับจังหวัดพิจิตร
รายละเอยี ดตามตารางที่ 2.10 และโครงสรา้ งอตุ สาหกรรมของยางจงั หวดั พิจติ รรายละเอยี ดตามตารางท่ี 2.11
2. สรปุ การจดั ทา่ แผนบริหารจัดการสนิ คา้ ยางพารา
ได้จัดทาแผนการบริหารจัดการสินค้ายางพารารอบการผลิต ปี 2565/2566 โดยจัดทาแผนต้นน้า
กลางนา้ และปลายนา้
- แผนบริหารจัดการตน้ น้า เน้นทตี่ ัวเกษตรกรทที่ าการผลิตยางเป็นยางก้อนถว้ ยคณุ ภาพดี (ยางหมาด-
ยางแหง้ ) และผลติ เป็นยางแผ่นดิบ
- แผนบริหารจัดการกลางน้า ซึ่งจังหวัดพิจิตรไม่มีโรงงานแปรรูปในพ้ืนที่จังหวัด มีพ่อค้าจากจังหวัด
พิษณุโลกมารบั ซ้ือไปแปรรปู ทโ่ี รงงานจงั หวัดพษิ ณุโลก
- แผนการบริหารจัดการปลายน้า ไม่มีโรงงานในพื้นท่ี ส่งออกไปจังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดอื่น
ท้ังหมด

16

3. สรุปขอ้ เสนอแนะสา่ หรับการบริหารจัดการสินค้ายางพารารอบการผลิต 2565/2566

- ส่งเสริมและพัฒนาใหเ้ กษตรกรมคี วามรแู้ ละความชานาญในการประกอบอาชีพสวนยางพารา

- เพ่ิมทกั ษะให้เกษตรกรสามารถปฏิบัติงานเองไดภ้ ายในสวนยางเพื่อลดต้นทนุ การผลิต

- สนบั สนุนการประกอบอาชีพเสริมในกรณีที่เกษตรกรประกอบอาชพี สวนยางเพียงอย่างเดียว

- สง่ เสรมิ ให้เกษตรกรรวมกลุ่มเพื่อสรา้ งเครือข่ายในการประกอบอาชีพสวนยางพารา

ตารางท่ี 2.8 ข้อมูลประมาณการสมดลุ ยางพาราของจงั หวัด ฤดูกาลผลติ ปี 2565/2566 จังหวดั พิจติ ร

ปริมาณ (หนว่ ย : ตัน)

รายการ พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566

เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.

อุปทาน สตอ๊ กต้นเดอื น

ผลผลติ รายเดือน - - 10.50 28.75 38.00 54.75 58.25 62.50 68.75 58.25 13.00 -

นาเข้านอก

จังหวดั

รวมอุปทาน - - 10.50 28.75 38.00 54.75 58.25 62.50 68.75 58.25 13.00 -

อปุ สงค์ สง่ ออกไปนอก - - 10.50 28.75 38.00 54.75 58.25 62.50 68.75 58.25 13.00 -

จังหวดั

ใช้ภายในจงั หวดั

รวมอุปสงค์ - - 10.50 28.75 38.00 54.75 58.25 62.50 68.75 58.25 13.00 -

สตอ๊ กปลายเดอื น (ยกไป) 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

(รวมอุปทาน หักดว้ ย

รวมอปุ สงค)์

ท่ีมา : ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการดาเนินการแกไ้ ขปัญหาสินคา้ ยางพาราอย่างเป็นระบบครบวงจร จงั หวดั พจิ ติ ร

ตารางท่ี 2.9 ราคายางพาราในจงั หวัด ฤดกู าลผลติ ปี 2565/2566 ระดบั จังหวัดพิจติ ร

นา่้ ยางสด ยางก้อนถ้วย ยางแผ่นดิบ ยางแผ่นรมคว

61.5 45.50 60.00 68.79

ทมี่ า : ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาสินคา้ ยาง

ตารางท่ี 2.10 ขอ้ มลู ระบบตลาดยาง ระดบั จังหวดั พจิ ติ ร ปี 2565/2566

เกษตรกร/สถาบันเกษตร ผ้รู ับซื้อยางพารา ปรมิ

ผลผลติ จาหนา่ ย สต๊อก พ่อค้า พอ่ คา้ ร้าน สกต. ตลาด โรงงาน รวม จ
(ตัน) (ตัน) (ตนั ) รับซือ้ รับซื้อ รับซอ้ื ของธกส. กลาง แปรรปู
นา้ ยาง ยาง ทร่ี บั ซอื้ ยางพารา ยางที่
ยาง แผน่ (แห่ง) ยาง(แห่ง) (แหง่ )
(ราย) ดบิ รบั
(ราย) ซือ้ หน้า
โรงงาน
(แหง่ )

- - - 123 - - 1-

ทม่ี า : ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการดาเนินการแก้ไขปัญหาสนิ คา้ ยางพาราอย่างเป็นระบบค

17

วนั F.O.B. F.O.B. F.O.B.
ยางแผ่นรมควันช้ัน 3 ยางแท่งชั้น 20 น้่ายางขน้

73.70 56.47 51.52

งพาราอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร จงั หวดั พจิ ติ ร ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 29 เมษายน 2565

ผ้ปู ระกอบการแปรรูปยางข้ันตน้ ผ้ปู ระกอบการผลติ ภณั ฑย์ าง

มาณผลผลติ กาลงั การผลติ จานวนโรงงาน ปริมาณ จานวนโรงงาน
(ตัน) (แหง่ )
(ตนั ) (ตัน) (แหง่ )

จาหนา่ ย สต๊ น้า ยาง RSS อ่นื ๆ สง่ ออก ขายให้ รง. การ สต๊ จาหนา่ ย
อก ยาง แทง่ ผลติ ภัณฑ์ ใช้ อก ส่งออก ใน
ขน้ ยางใน ยาง
ประเทศ ประเทศ

- - ---- - - -- - -

ครบวงจร จงั หวัดพิจิตร ขอ้ มลู ณ วันท่ี 29 เมษายน 2565

17

ตารางท่ี 2.11 โครงสรา้ งอุตสาหกรรมยางของจงั หวัดพิจิตร ปี 2565/2566

ต้นน้า

ขอ้ มลู พืน้ ฐาน ผลผลติ (ตนั ) จานวนโรงง

พื้นทปี่ ลกู พ้ืนทกี่ รดี ผลผลติ จานวน นา้ ยาง ยาง อื่นๆ น้า ยาง ยา
(ไร่) (ไร)่ เฉลย่ี สถาบัน ยาง ก้อน แผ่น ยาง แท่ง แผ่น
(กก./ เกษตรกร สด ถ้วย ดบิ ข้น รมคว
ไร่) (แหง่ )

1,482.37 1,256.68 196.3 1 -- - --- -

ทม่ี า : ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาสินค้ายางพาราอยา่ งเปน็ ระบบค

หมายเหตุ เดอื นเมษายนไมม่ ีผลผลติ ยางพาราเน่ืองจากเป็นช่วงปิดกรดี ปริมาณผลผลิตรวม

99.332 ตนั แบง่ เป็น ยางก้อนถ้วย 25.655 ตนั ยางแผ่นดบิ 8.58 ต

18

กลางนา้ ปลายนา้

งาน (แห่ง) ผลผลติ (ตนั ) จานวนโรงงาน (แห่ง) ผลผลติ (ตนั )

ผลติ ผลติ ผลิต ผลติ ผลติ ผลติ

าง อนื่ ๆ รวม น้า ยาง ยาง อ่ืนๆ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์
น ยาง แทง่ แผน่ จาก จาก จาก จาก จาก จาก
วัน ขน้ รมควัน น้า ยาง ไม้ น้า ยาง ไม้

ยาง แห้ง ยาง ยาง แห้ง ยาง

- --- - - - - - - - -

ครบวงจร จงั หวดั พิจิตร ข้อมูล ณ วันที่ 29 เมษายน 2565

ม (ตนั ) เดอื นตลุ าคม ถึง เมษายน 2565

ตนั น้ายางสด 65.097 ตัน

18

19

 แหล่งนา้่ เพอื่ การเกษตร

1) เขตพื้นท่ีชลประทาน นอกเขตชลประทาน จังหวัดพิจิตรมีพ้ืนที่โครงการส่งน้าและบารุงรักษา

จานวน 828,296 ไร่ พื้นท่ีโครงการชลประทานขนาดกลางและสูบน้าด้วยไฟฟ้าท้ังหมดรวม 259,433 ไร่

รวมพน้ื ที่ทั้งหมด 1,087,729 ไร่

ตาราง 2.12 แหลง่ นา้ เพ่ือการเกษตร

ที่ อาเภอ โครงการสง่ น้าและบารงุ รกั ษา ชลประทาน รวมพนื้ ที่
พลายชุมพล ดงเศรษฐี ท่าบัว วงั ยาง-หนองขวัญ วงั บัว ขนาดกลางและ ชลประทาน
สบู นา้ ด้วยไฟฟ้า

1 เมอื ง 4,790 62,137 32,864 50,688 150,479
2 วังทรายพนู 22,151 1,624
3 สากเหล็ก 11,290 11,290
4 ทบั คล้อ 105,976 30,000 159,751
5 สามงา่ ม

6 วชิรบารมี 18,564 10,013 10,955 10,955
7 โพธิ์ประทบั ช้าง 39,236 55,210 100,922 129,499
8 ตะพานหนิ 1,589 28,978 113,320
9 บางมลู นาก 18,874 71,722
41,155

10 ดงเจริญ 25,835 25,835
11 บึงนาราง 115,132
5,100 82,983 27,049

12 โพทะเล 39,875 60,747 117,533 81,591 299,746

รวม 26,941 168,125 187,812 200,516 244,902 259,433 1,087,729

382,878 445,418

ทม่ี า : ข้อมูลโครงการชลประทานพิจิตร

2) แหล่งน้าอืน่ ๆ

- บ่อน้าบาดาล ของจังหวัดพิจิตร ที่ได้รับอนุญาตใช้น้าบาดาลจากสานักงานทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดล้อมจังหวัดพิจิตร มีจานวน 3,793 บ่อ แยกเป็น บ่อธุรกิจ จานวน 140 บ่อ อุปโภคหรือบริโภค

367 บ่อ เกษตรกรรม 3,286 บอ่

- บอ่ บาดาลท่เี จาะโดยกรมทรัพยากรน้าบาดาล จานวน 1,818 บ่อ

ตาราง 2.13 บอ่ น้าบาดาล

ลา่ ดับท่ี อา่ เภอ ธรุ กจิ (บ่อ) อุปโภคหรอื บริโภค(บ่อ) เกษตรกรรม(บ่อ) รวม (บ่อ)

1 เมอื ง 37 21 340 398

2 สามง่าม 6 23 182 211

3 วชริ บารมี 21 34 913 968

4 โพธ์ิประทับชา้ ง 8 20 412 440

5 บึงนาราง 4 11 122 137

6 โพทะเล 4 32 188 224

7 บางมลู นาก 8 18 449 475

8 ตะพานหนิ 26 33 357 416

9 ทับคล้อ 13 114 166 293

10 วังทรายพูน 2 8 54 64

11 สากเหลก็ 9 37 60 106

12 ดงเจรญิ 2 16 43 61

รวม 140 367 3,286 3,793

ท่มี า : ฐานข้อมูล สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัดพิจิตรข้อมลู ณ วันท่ี 20 พฤษภาคม 2565

20

- แหลง่ น้าในไร่นานอกเขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลบ. ตง้ั แต่ 2564 – 2565

โดยสถานพี ัฒนาที่ดนิ พจิ ติ ร สานกั งานพฒั นาทีด่ ินเขต 8 กรมพฒั นาที่ดนิ จานวน 4,983 บ่อ

ตารางท่ี 2.14 แหลง่ นา้ ในไร่นานอกเขตชลประทาน

ล่าดับ อ่าเภอ จา่ นวน (บ่อ) ปี พ.ศ. รวมทั้งส้นิ
2564 2565

1 เมอื ง 2 13 15

2 ตะพานหนิ 12 31 43

3 ทบั คลอ้ 25 35 60

4 บางมลู นาก 6 12 18

5 ดงเจริญ 7 20 27

6 โพทะเล 4 21 25

7 สามง่าม 14 45 59

8 วชริ บารมี 6 29 35

9 โพธิป์ ระทับชา้ ง 19 22 41

10 บึงนาราง 5 9 14

11 สากเหล็ก 4 20 24

12 วังทรายพูน 14 34 48

รวมทงั้ สนิ้ 118 291 409

ท่ีมา : สถานพี ฒั นาท่ีดินพจิ ิตร สานกั งานพฒั นาที่ดนิ เขต 8 กรมพัฒนาท่ดี นิ ณ วันท่ี 20 พฤษภาคม 2565

- แหลง่ นา้ ในพื้นท่ีสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ที่เขา้ รว่ มโครงการสนบั สนนุ เงนิ ทุนเพือ่ สรา้ งระบบน
ตาราง 2.15 แหลง่ นา้ ในพ้ืนทส่ี หกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ระยะที่ 1 จานวน 13 สหกรณ์/กล่มุ

ทตี่ ั้งสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร

ชือ่ สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร เลขที่ หม่ทู ี่ ต่าบล อ่าเภอ ทา่ นา
ที่
438
1 สกก.ทับคลอ้ จากัด 883/3 9 ทับคลอ้ ทับคลอ้ 219

2 สกก.ปฏริ ูปท่ีดินสามง่ามหนึ่ง 2 หนองโสน สามงา่ ม 544
158
จากดั 23
50
3 สกก.เมอื งพิจิตร จากัด 27/15 - ในเมอื ง เมืองพิจติ ร
28
4 สขน.วงั ทรายพูน จากดั 85 - วงั ทรายพนู วังทรายพูน 17
26
5 สขน.วชิรบารมี จากดั 47/5 1 บึงบัว วชิรบารมี 307

6 สกก.โพทะเล จากัด 681 8 โพทะเล โพทะเล 132
1,94
7 กลมุ่ ทาสวนบางคลาน 80/1 1 บางคลาน โพทะเล

8 กน.ท่าบัว 125 3 ท่าบวั โพทะเล

9 กน.ท่านั่ง 106 6 ท่าน่งั โพทะเล

10 กส.น้าท่งุ นอ้ ย 35/1 6 ทงุ่ น้อย โพทะเล

11 กน.ย่านยาว 141 4 ยา่ นยาว เมืองพิจิตร

12 สก.โคนมการเกษตรพจิ ิตร 71 9 ท้ายน้า โพทะเล

จากดั

13 สกก.สามงา่ ม จากดั 39 1 บา้ นนา สามง่าม

รวม

ทม่ี า : สานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดพจิ ติ ร ขอ้ มูล ณ เดือนพฤษภาคม 2565

21

น้าในไรน่ าของสมาชกิ สถาบนั เกษตรกร วัตถปุ ระสงคข์ อกเู้ งินของสมาชกิ เพอ่ื
มเกษตรกร
ชุดสระ เจาะบ่อ ปรบั ปรุง จัดหา
สมาชกิ มพี น้ื ท่ใี นการประกอบอาชพี (ไร)่ นา้่ บาดาล บ่อ อุปกรณ์
บาดาล
า ท่าสวน ทา่ ไร่ ปศสุ ตั ว์ อนื่ ๆ รวม 34

8 438 35
9 22 241

4 544 18 5 4
8 158 5 1
23 5 8
2 50 2
22 13 15 3 2
22
18 28 3 1
35 3
7 14 26 4
321 7

2 132 4 1 0 5
42 42 36 0 13 2,033 44 42

21

ตาราง 2.16 แหลง่ น้าในพ้นื ท่สี หกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรระยะท่ี 2 จานวน 15 สหกรณ์/กลุ่มเก

ทต่ี ้ังสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร สมาชิกมพี ื้นท่ใี นการประกอ

สมาชิก

ท่ี สถาบันเกษตรกร เข้ารว่ ม ท่า ปศุ
โครงการ ท่านา สวน ท่าไร่ สตั ว์
ตา่ บล อ่าเภอ

(ราย) (ไร)่ (ไร)่ (ไร)่ (ไร่)

1 ก.เลีย้ งสัตว์น้าทงุ่ น้อย ทงุ่ น้อย โพทะเล 5 68

2 ก.เลี้ยงสัตวส์ ากเหล็ก สากเหล็ก สากเหลก็ 7 140
1,389
3 สกก.ตะพานหิน จากดั วังหว้า ตะพานหิน 94 711 22
4 ก.พอเพียงตาบลรังนก รังนก สามงา่ ม 60 173 9
5 ก.เล้ียงสตั วห์ นองปลาไหล หนองปลาไหล วงั ทรายพนู 5 654
6 ก.กา้ วหน้าวงั ทรายพนู วงั ทรายพูน วงั ทรายพูน 25 434
7 ก.ทานาเนนิ ปอ เนินปอ สามงา่ ม 15 689
149
8 ส.ผู้ใช้นา้ ฯ บ้านวงั ลูกชา้ ง จากัด รายชะโด สามง่าม 32 411
9 สกก.สามง่าม จากดั บา้ นนา วชิรบารมี 9 828
10 ส.โคนมการเกษตรพจิ ติ ร จากัด ทา้ ยน้า โพทะเล 19 874
800
11 สกก.ปฏิรปู ทด่ี ินฯ หนองโสน จากัด หนองโสน สามง่าม 42 982
บางมูลนาก 44 756
12 สกก.บางมลู นาก จากัด เนนิ มะกอก สามง่าม 36
วชิรบารมี 41
13 สกก.ปฏิรูปทด่ี นิ สามง่ามหนงึ่ จากดั เนนิ ปอ ทบั คล้อ 26

14 ส.ชาวนาวชริ บารมี จากดั บงึ บัว

15 สกก.ทา้ ยทงุ่ จากัด ท้ายท่งุ

รวม 460 9,058 31 0 0

ทม่ี า : สานกั งานสหกรณจ์ งั หวัดพิจิตร ข้อมลู ณ เดอื นพฤษภาคม 2565
หมายเหตุ ข้ันตอนการขอความเหน็ จากคณะกรรมการพิจารณาเงนิ กูฯ้ เพื่อใหส้ มาชกิ รายใดเข้ารว่ มโครงการได้น้นั สามารถ

1. นาเสนอผลการสารวจตอ่ ที่ประชมุ คณะกรรมการพิจารณาเงนิ กูฯ้ ระดบั จังหวดั ในครง้ั ทมี่ ีการพจิ ารณาอนุมัติเ
2. แจ้งเวียนใหค้ ณะกรรมการพิจาณาเงินกูฯ้ ให้ความเห็นชอบกอ่ น แล้วจงึ นาผลการพิจารณาแจง้ ใหท้ ปี่ ระชมุ ทร

อน่งึ การจดั ทาตาแหน่งแปลงพนื้ ที่ทากนิ ของสมาชกิ หมายถงึ ตาแหน่งทีต่ งั้ ทด่ี นิ ในการประกอบอาชพี ของสม

22

กษตรกร

อบอาชพี วตั ถุประสงคใ์ นการขอกูเ้ งิน (1) พน้ื ที่ ความเหน็ เบ้อื งตน้ ความเห็นของคณะกรรมการ
เหมาะสม ของ 3 หน่วยงาน พิจารณาเงนิ กู้ฯ ระดบั จงั หวดั
(2) ปฏบิ ัติ
ใหส้ มาชกิ เข้าร่วมโครงการ
ตาม
อืน่ ขุดสระ ขดุ เจาะ กฎระเบยี บ
เก็บกัก บ่อ การขอใช้น้่า
ๆ รวม รวม บาดาลได้ เหน็ ชอบ ไม่ เห็นชอบ ไม่
(ระ น้่า บาดาล เห็นชอบ เห็นชอบ เนื่อง
(ราย) (ราย)
บ)ุ (ราย) (ราย) จาก
5
(ไร)่ (ไร่) 0 5 (ราย) (ราย) (ราย) (ราย)
7
68 7 0 94
47 47 60
140 28 32 5
1,389 4 1 25
733 20 5 15
173 5 10 32
663 10 22 9
434 7 2 19
689 9 10 42
149 40 2 44
411 44 0 36
828 21 15 41
874 21 20 26
800 19 7
982 460
756 282 178

0 9,089 0 00 00

ถดาเนนิ การไดด้ งั น้ี
เงิน (ตามตวั อยา่ งระเบยี บวาระการประชุม ขอ้ 3 (3.3) หรอื
ราบ จากนัน้ จงึ พจิ ารณาอนมุ ัติเงนิ กู้ตอ่ ไปในคราวเดียวกัน
มาชกิ ในแบบสารวจคณุ สมบตั ิและความเหมาะสมของพ้นื ท่ี โดยสานกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เกบ็ รักษาไวเ้ พือ่ เปน็ ขอ้ มลู

22

23

 ปญั หาอทุ กภัย

อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายท่ีเกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลันหรืออันตรายเกิดจาก
สภาวะน้าไหลเอ่อล้นฝังแม่น้า ลาธาร หรือทางน้า เน่ืองจากมีน้าเป็นสาเหตุอาจเป็นน้าท่วม น้าป่าไหลหลาก
หรืออ่ืนๆ โดยปกติอุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทาให้เกิดการสะสมน้าบนพื้นท่ีซึ่งระบาย
ออกไมท่ นั ทาให้พ้นื ท่นี ้นั มนี ้าท่วม ภยั ร้ายทเี่ กิดขนึ้ โดยธรรมชาติและเปน็ สิง่ ที่ไม่สามารถควบคุมได้

การเกิดอุทกภัยมาจากหลายสาเหตุ ทั้งโดยทางธรรมชาติและเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งอาจเกิดจาก
ฝนตกหนักต่อเน่ืองกันเป็นเวลานาน ในบางคร้ังอาจทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อน
ลมมรสุมมีกาลังแรง มีกาลังแรง ร่องความกดอากาศต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวนบางคร้ังทาให้เกิดแผ่นดินถล่ม
น้าทะเลหนุน แผ่นดินไหว เข่ือนพัง ก็เป็นสาเหตุทาให้เกิดอุทกภัยได้ ซึ่งอุทกภัยทาให้เกิดความเสียหาย
ท้งั ต่อชีวิต ทรพั ย์สนิ และสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ รวมไปถงึ ความเสยี หายทางดา้ นเศรษฐกิจดว้ ย

 ลักษณะของอุทกภัย
อุทกภัยมีความรุนแรง และรูปแบบต่างๆ กันออกไปข้ึนอยู่กับลักษณะภูมิประเทศและส่ิงแวดล้อม

ของแต่ละพ้นื ทีโ่ ดยมลี กั ษณะดังน้ี
1. น้าป่าไหลหลากหรือน้าท่วมฉับพลัน มักจะเกิดขึ้นในท่ีราบต่าหรือท่ีราบลุ่มบริเวณใกล้ ภูเขา

ต้นน้า อันเกิดขึ้นเน่ืองจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเน่ืองเป็นเวลานาน ทาให้จานวนน้าสะสมมีปริมาณมากจน
พื้นดินและต้นไม้ดูดซับไม่ไหว ทาให้น้าไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่าเบ้ืองล่างอย่างรวดเร็ว มีอานาจทาลายล้างอย่าง
รนุ แรงทาให้บา้ นเรือนและพนื้ ท่ีการเกษตรได้รบั ความเสยี หายและอาจทาให้เกดิ อนั ตรายถงึ ชีวิตได้

2. น้าท่วมหรือน้าท่วมขัง เป็นลักษณะอุทกภัยที่เกิดข้ึนจากปริมาณน้าสะสมจานวนมาก
ท่ีไหลบ่าในแนวระนาบจากท่ีสูงไปยังที่ต่าเข้าท่วมอาคารบ้านเรือน เรือกสวนไร่นาได้รับความเสียหาย หรือเป็น
สภาพน้าท่วมขังในเขตเมืองใหญ่ ท่ีเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายน้า
ไม่ดีพอ มีสง่ิ กดี ขวางทางระบายนา้ หรือเกิดน้าทะเลหนุนสงู กรณีพ้นื ที่อยใู่ กลช้ ายฝ่งั ทะเล

3. น้าล้นตล่ิง เกิดขึ้นจากปริมาณน้าจานวนมากท่ีเกิดจากฝนหนักต่อเน่ือง ที่ไหลลงสู่ลาน้า
หรือแม่น้ามีปริมาณมากจนระบายลงสู่ลุ่มน้าด้านล่างหรือออกสู่ปากน้าไม่ทัน ทาให้เกิดสภาวะน้าล้นตล่ิง
เขา้ ท่วมเรอื กสวนไรน่ าตามสองฝ่งั นา้ จนได้รบั ความเสียหาย ถนนหรือสะพานอาจชารุดทางคมนาคมถูกตดั ขาดได้

 น้่าท่วมก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบอันตรายและความเสียหาย
1. อันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน โดยตรง เกิดน้าท่วม ใน

บ้านเมือง โรงงาน คลังพัสดุ โกดังสินค้า บ้านเรือนไม่แข็งแรง อาจถูกกระแสน้าไหลเช่ียวพังทลาย หรือคล่ืนซัดลง
ไปทะเลไปได้ ผู้คน สัตว์พาหนะ สัตว์เล้ียง อาจจมน้าตาย หรือถูกพัดพาไปกับกระแสน้าไหลเชี่ยวเส้นทาง
คมนาคมถูกตัดขาด ท้ังทางถนน ทางรถไฟ ชารุดเสียหาย โดยทั่วไป รวมท้ังยานพาหนะ วิ่งรับส่งสินค้าไม่ได้เกิดความ
เสียหายและชะงักงันทางเศรษฐกิจ กิจการสาธารณูปโภคจะได้รับความเสียหาย เช่น กิจการโทรเลข โทรศัพท์
การไฟฟ้า การประปา และระบบการระบายน้า เป็นต้น ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียนสิ่งก่อสร้าง
สาธารณสถานเกิดความเสียหาย เช่น สถานีขนส่ง ท่าอากาศยาน สวนสาธารณะ โรงเรียน วัด สถาปัตยกรรม
และศลิ ปกรรมต่าง ๆ

2. ความเสียหายของแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่ แหล่งกสิกรรมไร่นา สัตว์เลี้ยง สัตว์พาหนะ
ตลอดจนแหลง่ เกบ็ เมล็ดพันธพ์ ืช ยุ้ง ฉาง

3. ความเสียหายทางเศรษฐกิจ รายได้ของประเทศลดลง ผลกาไรจากภารกิจต่างๆ ถูกกระทบ
กระเทอื น รัฐต้องมีรายจ่ายสูงข้ึนจากการซ่อมบรู ณะซ่อมแซม และช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และเกดิ ขา้ วยาก
หมากแพงท่วั ไป

24

4. ความเสยี หายทางด้านสขุ ภาพอนามัยของประชาชน ขณะเกิดอุทกภยั ขาดน้าดีในการอุปโภค
บริโภค ขาดความสะดวกด้านห้องน้า ห้องส้วม ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรคน้ากัดเท้า โรคอหิวาตกโรค
รวมทงั้ โรคเครียด มีความวิตกกังวลสูง โรคประสาทตามมา

5. ความเสียหายที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ ฝนตกท่ีหนัก น้าที่ท่วมท้นขึ้นมาบนแผ่นดิน
และกระแสน้าท่ีไหลเชี่ยวทาให้เกิดแผ่นดินถล่มได้ นอกจากนั้นผิวหน้าดินท่ีอุดมสมบูรณ์จะถูกน้าพัดพา
ลงสทู่ ่ตี า่ ทาใหด้ นิ ขาดปยุ๋ ธรรมชาติ และแหลง่ นา้ เกิดการตื้นเขนิ เป็นอุปสรรคในการเดินเรือ

 การลดความเสยี หายจากอทุ กภยั
1. ติดตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาและประกาศเตือนภัยของศูนย์เตือนภัยพิบัติ

แห่งชาติ เม่ือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติประกาศเตือนให้อพยพ ควรรบี อพยพไปอยู่ในท่ีสูงหรืออาคารท่ีมั่นคง
แข็งแรง ทั้งคนและสัตว์เล้ียง เพราะการอยู่ที่ราบ น้าป่าที่หลากจากภูเขาหรือที่ราบสูงลงมา กระแสน้ารุนแรง
จะรวดเรว็ มาก

2. ควรสังเกตเม่ือมีฝนตกหนักติดต่อกันบนภูเขาหลายๆ วัน ให้เตรียมตัวอพยพขนย้ายสิ่งของ
และสตั ว์เล้ยี งไวท้ สี่ งู

3. ถ้าอยรู่ ิมน้าให้เอาเรอื หลบเขา้ ฝ่ังไวใ้ นที่จะใชง้ านได้ เม่อื เกิดน้าท่วม เพื่อการคมนาคม
4. มีการวางแผนอพยพวา่ จะไปอยู่ท่ีใด พบกันที่ไหน เพราะเมื่อมกี ระแสน้าหลาก จะทาลายวัสดุ
ก่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ต้นไม้ พืชไร่ และระวงั กระแสน้าพัดพาไป
5. ซอ่ มแซมอาคารให้แขง็ แรง เตรยี มปอ้ งกนั ภยั ให้สัตวเ์ ลีย้ งและพืชผลการเกษตร
6. มีการบริหารจัดการน้าท่ีดี วางแผนการเก็บกักน้า และการพร่องน้าระบายน้าสัมพันธ์
กับสถานการณท์ ่คี วรจะเกิด
7. หากอยู่ในพ้ืนที่น้าท่วมขัง ป้องกันโรคระบาด ระวังเร่ืองน้าและอาหาร ต้องสุกและสะอาด
ก่อนบรโิ ภค

 แนวโน้มและการประเมินสถานการณ์

 การคาดหมายลกั ษณะอากาศในช่วงฤดฝู น ปี 2565
ช่วงกลางเดือนพฤษภาคมถึงประมาณกลางเดือนมิถุนายน บริเวณประเทศไทยจะมีฝน

เพ่ิมมากข้ึนและต่อเนื่องโดยส่วนใหญ่จะมีฝนตกร้อยละ 40 - 60 ของพ้ืนท่ีกับมีฝนตกหนักบางแห่งเว้นแต่
ภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนตกร้อยละ 60 - 80 ของพ้ืนที่กับมีฝนหนักหลายพื้นที่และ
หนักมากในบางแห่งทั้งนี้เน่ืองจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะพัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยโดยมี
กาลังแรงเป็นระยะๆประกอบกับจะมีร่องมรสุมพาดผ่านบริเวณประเทศไทยตอนบนเป็นระยะๆ นอกจากนี้
ในบางช่วงจะมีหย่อมความกดอากาศต่ากาลังแรงก่อตัวบริเวณทะเลอันดามันแล้วทวีกาลังแรงขึ้นเป็นพายุ
ดีเปรสชั่นหรือพายไุ ซโคลนและเคลอ่ื นตวั เข้าใกลด้ ้านตะวนั ตกของประเทศไทย

ช่วงกลางเดือนมิถุนายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม ปริมาณและการกระจายของฝนจะลดลง
และอาจทาให้เกิดการขาดแคลนน้าด้านการเกษตรในหลายพ้ืนที่โดยเฉพาะพ้ืนท่ีแล้งซ้าซากนอกเขตชลประทาน
เน่ืองจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยจะมีกาลังอ่อนลงส่วนร่องมรสุม
จะเลือ่ นขึน้ ไปพาดผ่านบรเิ วณตอนใต้ของประเทศจีน

25

ช่วงต้งั แต่กลางเดือนกรกฎาคมถงึ กันยายน ประเทศไทยจะกลับมามฝี นตกชุกหนาแน่นอีกคร้ัง
โดยส่วนใหญ่จะมีฝนตกร้อยละ 60 - 80 ของพื้นที่กับมีฝนหนักหลายพื้นที่และหนักมากในบางแห่ง
ซ่ึงจะก่อให้เกิดสภาวะน้าท่วมฉับพลันน้าป่าไหลหลากรวมทง้ั น้าล้นตล่ิงในบางแห่งเน่ืองจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยจะกลับมามีกาลังแรงและต่อเนื่องมากขึ้นประกอบกับร่องมรสุม
จะเลือ่ นกลบั ลงมาพาดผา่ นบรเิ วณประเทศไทยตอนบน โดยร่องมรสุมจะปรากฏเป็นระยะๆ

ในเดือนตุลาคม บริเวณเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือปริมาณและการกระจายของฝน

จะลดลงและเร่ิมจะมีอากาศหนาวเย็นในตอนเช้าโดยเฉพาะตอนบนของภาค ส่วนบริเวณภาคกลาง

ภาคตะวันออกและภาคใต้ยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไปกับมีฝนตกหนักหลายพ้ืนที่และหนักมากบางแห่ง

เน่ืองจากบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนจะเร่ิมแผ่ลงมาปกคลุมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ

ตอนบนภาคเหนือประกอบกับร่องมรสุมจะเล่ือนลงไปพาดผ่านบริเวณภาคกลางตอนล่าง ภาคใต้ตอนบนและ

ภาคตะวันออก นอกจากนี้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพัดปกคลุมประเทศไทยจะเร่ิมเปล่ียนเป็นมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือพดั ปกคลมุ แทน

 ปรากฏการณ์เอลนโี ญ - ลานีญา พ.ศ.2565
จากการคาดหมายอุณหภูมิผวิ น้าทะเลและระบบการหมุนเวยี นบรรยากาศบริเวณตอนกลางและดา้ น
ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณเขตศูนย์สูตรมีค่าต่ากว่าค่าเฉลี่ยต้ังแต่เดือนสิงหาคม 2564 จนถึง
ต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2565 คาดว่าปรากฏการณ์เอนโซที่อยู่ในสภาวะลานีญาจะต่อเน่ืองไปจนถึงช่วงเดือน
มนี าคมถึงเดอื นพฤษภาคม 2565 จากน้นั มีแนวโน้มทจี่ ะเข้าสู่สภาวะปกติต่อไป

 สภาพน่้า ปี 2565
1. เขตพนื้ ที่ชลประทานพิจิตร นอกเขตชลประทานพิจิตร
จังหวดั พจิ ติ รมพี ืน้ ที่โครงการส่งนา้ และบารงุ รักษา จานวน 828,296 ไร่ พื้นทีโ่ ครงการชลประทาน

ขนาดกลางและสบู นา้ ด้วยไฟฟา้ ทง้ั หมดรวม 259,433 ไร่ รวมพ้นื ท่ีท้งั หมด 1,087,729 ไร่
2. ขอ้ มูลสภาพลุ่มนา้ ผังเสน้ ทางน้า แหลง่ เก็บกักน้า อ่างเก็บน้า ฝาย แกม้ ลิง ฯลฯ : แหล่งน้า

ตามธรรมชาติ ประกอบด้วย แมน่ ้า ลาคลอง หนองบงึ
- แม่น้าน่าน ไหลจากจังหวัดพิษณุโลก ผ่านจังหวัดพิจิตร ที่อาเภอเมืองพิจิตร อาเภอตะพานหิน

อาเภอบางมูลนาก ไปจังหวัดนครสวรรค์ มีความยาวประมาณ 107 กิโลเมตร มีคลองใหญ่รับน้า
ไหลลงสู่แม่น้าน่าน 8 คลอง ปริมาณน้าไหลสูงสุด 299 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พื้นที่ในลุ่มน้าฝ่ังซ้ าย
ประมาณ 2,011.9328 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 1,257,458 ไร่

- แม่น้ายม ไหลจากจังหวัดพิษณุโลกผ่านจังหวัดพิจิตรท่ีอาเภอสามง่าม อาเภอโพธ์ิประทับช้าง
อาเภอบึงนาราง อาเภอโพทะเล ไปจังหวัดนครสรรค์ ความยาวประมาณ 124 กิโลเมตร มีคลองใหญ่
รับน้าไหลลงสู่แม่น้ายม 11 คลอง ปริมาณน้าไหลสูงสุด 200 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที พ้ืนที่ในลุ่มน้าฝ่ังขวา
ประมาณ 1,599.960 ตารางกิโลเมตร หรือ 999,975 ไร่

- แม่น้าพิจิตร เดิมเป็นแม่น้าน่าน เมื่อมีการขุดลอกคลองแยกสาย ทาให้ตื้นเขิน โดยอยู่กึ่งกลาง
ระหว่างแม่นา้ น่านและแม่น้ายม มีความยาว 127 กิโลเมตร ไหลผ่านอาเภอเมืองพจิ ิตร อาเภอโพธิ์ประทบั ชา้ ง
อาเภอตะพานหนิ และไปบรรจบแม่น้ายมทบี่ ้านบางคลาน อาเภอโพทะเล มีฝายกนั้ นา้ เป็นชว่ ง ๆ

- พ้ืนที่ระหว่างแม่น้าน่านและแม่น้ายม มีพื้นท่ีประมาณ 919.120 ตารางกิโลเมตร
หรือ 574,450 ไร่ (เป็นพนื้ ทโ่ี ครงการส่งและบารุงรักษาจานวน 3 โครงการ)

26

แผนท่ี แสดงพนื้ ทช่ี ่มุ น้าของจังหวดั พจิ ิตร

27

ตาราง 2.1.7 แสดงระบบการกักเก็บน้า แหลง่ น้าทสี่ าคญั ปี ๒๕๖5

ล่าดบั ประเภทแหล่งน่า้ จา่ นวน ความจุ

(แห่ง) (ลบ.ม.)

๑ ทรบ.คลองทา่ หลวง (คลองท่าหลวง) ๑ 420,000

๒ ทรบ.บ้านบงุ่ (คลองไดชมุ แสง) ๑ 450,000

๓ ปตร.คลองคนั (คลองคนั ) ๑ 600,000

๔ ทรบ.คลองรอ่ งกอกใหญ่ (คลองนา้ ลดั ) ๑ 350,000

๕ ฝายพับได้สามง่าม (แมน่ า้ ยม) ๑ 13,390,000

๖ ทรบ.คลองนา้ โจน (คลองน้าโจน) ๑ ๕๔๐,๐๐๐

๗ ทรบ.คลองหว้ ยเกตุ (คลองหว้ ยเกต)ุ ๑ 540,000

๘ ทรบ.คลองสินเธาว์ (คลองสนิ เธาว์) ๑ ๓๐๐,๐๐๐

๙ ทรบ.คลองหอไกร (คลองลาประดา) ๑ ๕๐๐,๐๐๐

๑๐ ทรบ.คลองบุษบงค์เหนอื (คลองบุษบงคเ์ หนอื ) ๑ ๓๐๐,๐๐๐

๑๑ ทรบ.คลองบษุ บงค์ใต้ (คลองบษุ บงค์ใต้) ๑ 210,000

๑๒ ปตร.บางไผ่ (คลองหว้ ยหลัว) ๑ ๕๘๐,๐๐๐

๑๓ ปตร.คลองบุษบงค์ (คลองบษุ บงค)์ ๑ ๒๑๐,๐๐๐

๑๔ ปตร.วังงวิ้ (คลองบษุ บงค)์ ๑ ๑๕๐,๐๐๐

๑๕ ฝายวงั เรอื น (คลองบอระเพด็ ) ๑ ๖๘๐,๐๐๐

๑๖ ฝายยางพญาวงั (แมน่ ้ายม) ๑ ๓,๖๙๐,๐๐๐

๑๗ ฝายยางพจิ ิตร (แม่นา้ ยม) ๑ ๘,๕๐๐,๐๐๐

รวม ๑๗ 31,410,000

หมายเหตุ : เป็นอาคารชลประทานขนาดกลางของโครงการชลประทานพิจิตร ที่เก็บน้าในลาคลองธรรมชาติ
และแมน่ า้ ยม

28

 คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงอุทกภัย
จังหวัดพจิ ติ รมพี ืน้ ที่เสย่ี งอุทกภัย แบง่ เป็น 3 ลักษณะ คือ
พนื้ ท่ีน้าท่วมขัง เป็นพื้นท่ีราบลุ่มตา่ แม่น้ายมเอ่อล้น อยู่ในพื้นที่เขตอาเภอวชิรบารมี อาเภอสามง่าม

อาเภอโพธทิ์ ะเล อาเภอบึงนาราง อาเภอโพธป์ิ ระทับชา้ ง โดยมีเส้นทางน้า ดงั นี้
1. อาเภอวชิรบารมี จะรับน้าจากอาเภอบางระกา จังหวัดพิษณุโลก ไหลมาตามคลองห้วยใหญ่

คลองห้วยน้อย และจากอาเภอลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร มีคลองผ่าน 3 เส้นทาง คือ คลองห้วยใหญ่
คลองห้วยน้อย คลองห้วยน้อย คลองห้วยบึง มาบรรจบกันท่ีประตูน้าคลองวังพะยอม ตาบลวังโมก น้าจะไหล
ไปรวมกันทตี่ าบลบ้านนา

2. อาเภอสามง่าม มี 3 ตาบล ที่มีพน้ื ที่อย่ตู ดิ ริมแมน่ า้ ยม ได้แก่
2.1 ตาบลกาแพงดนิ ตาบลสามง่าม ตาบลรังนก ตาบลกาแพงดินมีคลองที่รบั

นา้ มาจากลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร และอาเภอบางระกา จังหวดั พิษณโุ ลก โดยมีคลอง 4 คลอง ดังนี้
- คลองไอด้ ว้ น รับนา้ จากตาบลบ่อทอง อาเภอบางระกา จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
- คลองพนั จอ รบั น้าจากหนองหลุม วงั โมก ซึง่ เช่ือมต่อกับจงั หวดั กาแพงเพชร
- คลองระมาน รบั นา้ จากหนองหลุม
- คลองวงั เย็น รบั นา้ จากอาเภอไทรงาม จงั หวัดกาแพงเพชร

น้าทง้ั 4 คลอง นา้ จะไหลมารวมกันทปี่ ระตูนา้ ตาบลกาแพงดนิ 3 แหง่ คือ 1.ประตคู ลองไอ้ด้วน 2.ประตูคลอง
พันจอ 3.ประตูคลองวังเย็น ลักษณะท่ีเกิด เม่ือแม่น้ายมมีน้าปริมาณมาก ประตูน้าทั้ง 3 แห่ง จะปิดเพ่ือไม่ให้
นา้ ดนั ข้ึนมา เมือ่ นา้ ทง้ั 4 คลอง ไหลมารวมกนั ไม่มีทางระบายนา้ ก็จะทาใหน้ ้าท่วมตาบลกาแพงดิน

2.2 ตาบลสามง่าม มีคลองไหลผ่าน 3 แห่ง 1.คลองหนองงู 2.คลองบ้านนา
3.คลองบ้านไร่ มวลน้าจะไหลลงมาที่ประตูคลองคลองไดหนองรี ตาบลสามง่าม และน้าจากตาบลกาแพงดิน
ตาบลสามงา่ ม จะไหลบา่ ต่อไปท่ี ตาบลรงั นก ตามคลองรังนก น้าจงึ ทว่ มเป็นประจา

2.3 เขตชุมชนที่ต้องป้องกัน คือชุมชนที่อยู่ อาเภอสามง่าม ถ้าริมแม่น้ายม
ในตลาดสงู กจ็ ะเอ่อลน้ ไหลท่วมตลาด

3. อาเภอโพธ์ิประทับช้าง จุดที่เป็นปัญหาคือพ้ืนที่ลุ่มน้ายม ประกอบด้วยตาบลวังจิก ตาบล
ไผ่ท่าโพธ์ิ ตาบลโพธิ์ประทับช้าง เม่ือนา้ ยมสูงขึ้นจะเอ่อท่วมพ้ืนที่ท้ัง 3 ตาบล ตาบลวังจิกเป็นตาบลตา่ สุด
ซงึ่ มาจากตาบลรงั นก

4. อาเภอบึงนาราง จะรบั น้าจากแม่น้ายมลน้ ตลิ่ง และน้าฝนท่ีตกในจังหวัดแพงเพชร ไหลมา
จากอาเภอบึงสามัคคี ผ่านมาตาบลวังทอง ตาบลห้วยแก้ว ลงมาคลองสะแวก คลองเขาสะบ้า คลองห้วย
ผักหวาน แล้วลงแมน่ า้ ยม

5. อาเภอโพทะเล เป็นอาเภอที่แม่น้ายมไหลผ่านกลาง ถ้าน้ามีปริมาณมากจะมีผลกระทบ
กบั 5 ตาบล คอื ตาบลท้ายน้า, โพทะเล , บา้ นนอ้ ย ,บางคลาน ,ท่านั่ง

- ทางด้านใต้และฝ่ังตะวันออกของอาเภอโพทะเล จะได้รับผลกระทบจากแม่น้าน่าน
ซ่งึ ไหลผ่านทางอาเภอบางมูลนากเอ่อลน้

- ทางด้านตะวันตกของอาเภอโพทะเล จะไดร้ ับผลกระทบจากแมน่ า้ ปิง ตาบลทะนง, ท่าขมนิ้

29

พื้นที่ราบลุ่มต่าแม่น้าน่านเอ่อล้นอาเภอเมืองพิจิตร อาเภอตะพานหิน อาเภอบางมูลนาก โดยมี
เสน้ ทางนา้ ดงั นี้

1. อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จะรับน้า 2 ทาง คือ
1.1 รับน้าจากทางลาเข็ก จะไหลผ่าน หมู่ 1 บ้านท่าเสา ตาบลมะคาบ น้าจะเอ่อท่วมฝ่ัง

ดา้ นขวาของคลองท่าหลวงตลอดทัง้ สาย ทงั้ หมด 14 หมู่บา้ นและน้าจะไหลบา่ 2 จดุ คอื จดุ ท่ี ๑ ปากคลอง
ชุมชนท่าหลวง ซ่ึงอยู่ในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร จุดที่ 2 คลองท่าหลวงจะมีคลองส่งน้าไหลลงในพื้นที่
ตาบลบา้ นบุง่ ทงั้ 2 จดุ

1.2 เป็นน้าหลากมาจากอาเภอสากเหล็ก และอาเภอวังทรายพูน จะไหลมาท่ี
ตาบลสายคาโห้ แล้วไหลลงมาตามคลองซอยสาขาและทุ่งนา มารวมกันที่ตาบลบ้านบุ่งซ่ึงเป็นพ้ืนที่รองรับน้า
จะได้รบั ผลกระทบท้ังหมด

2. อาเภอตะพานหิน ฝั่งแม่น้าน่าน มี 2 ตาบลที่ได้รับผลกระทบ คือตาบลวังหลุม
ตาบลหนองพะยอม ตาบลทุ่งโพธิ์ ตาบลดงตะขบ ตาบลงิ้วราย ตาบลไทรโรงโขน จะรับน้าจากเพชรบูรณ์
ต่อจากอาเภอทับคล้อ ไหลเข้าอาเภอตะพานหิน ตรงประตูระบายน้าจะหลากเข้าท่วมวังหลุม ไปตาบลทุ่งโพธ์ิ
และรับน้าจากตาบลท้ายทุ่ง อาเภอทับคล้อ อีกทางหนึ่ง และจากตาบลทุ่งโพธ์ิไปตาบลดงตะขบ ซึ่งดงตะขบ
มีประตูระบายน้า ตาบลบางไผ่ อาเภอบางมูลนาก ถ้าน้าแม่น้าน่านมาก มากปิดประตูน้าก็จะทาให้น้าท่วมขัง
ฝั่งตะวันออก ต่อจากอาเภอเมือง คือ ตาบลงิ้วราย รับน้าจากตาบลหนองพะยอม ซึ่งไหลมาจาก วังหลุม
ซึง่ ไมส่ ามารถระบายออกไปทางไหนได้

3. อาเภอบางมูลนาก รบั น้ามาจาก 2 ทาง คือ
- น้ามาจากอาเภอทับคล้อ น้าจะไหลมาทางคลองบุษบงค์ เข้าตาบลวังตะกู ลงมาท่ี

ตาบลภูมิ บริเวณนจ้ี ะมีวัดหว้ ยเขนเปน็ ทีล่ ่มุ ตา่ น้าจะท่วมทุกปี น้าเออ่ ล้นคลองบุษบงค์ นา้ จะทว่ มวัดห้วยเขนทกุ ปี
- น้าจากตะพานหิน จะมาจากตาบลลาประดาไหลมาท่ีตาบลบางไผ่ และลงแม่น้าน่าน

ซ่ึงนา้ ไม่สามารถไหลลงแม่นา้ น่านได้ท้ังหมด เนอ่ื งจากแมน่ า้ น่านสงู กว่า
ทางทิศตะวันออกของจังหวัดพิจิตร จะมีลักษณะเป็นพ้ืนท่ีค่อนข้างสูง มีลาคลอง

ธรรมชาติที่เกิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ์หลายสาย ซึ่งจะไหลผ่านพื้นที่น้ีและไหลลงสู่แม่น้าน่านในท่ีสุด พ้ืนท่ีดังกล่าว
ได้แก่ บางส่วนของอาเภอเมืองพิจิตร อาเภอสากเหล็ก อาเภอวังทรายพูน อาเภอทับคล้อ อาเภอตะพานหิน
อาเภอบางมลู นาก และอาเภอดงเจรญิ โดยเส้นทางน้า ดังน้ี

1) อาเภอสากเหล็ก น้าป่าไหลหลากมาจากเทือกเขาในจังหวัดเพชรบูรณ์อีกส่วนหน่ึง
มาจากอาเภอเนินมะปราง อาเภอวงั ทอง จงั หวดั พิษณโุ ลก

2) อาเภอวังทรายพูน รับน้ามาจากอาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก อาเภอวังโป่ง
จังหวดั เพชรบรู ณ์ และจากอาเภอสากเหลก็ โดยนา้ จะไหลมารวมกันท่ีตาบลทา่ กระดาน แลว้ ลงไปรวมที่บ้านบุ่ง
อาเภอเมอื งพิจิตร

๓) อาเภอวชิรบารมี จะรับนา้ จากอาเภอบางระกา จงั หวัดพษิ ณุโลก ไหลมาตามคลองห้วยใหญ่
คลองห้วยน้อย และจากอาเภอลานกระบือ จังหวัดกาแพงเพชร มีคลองผ่าน 3 เส้นทาง คือ คลองห้วยใหญ่
คลองห้วยน้อย คลองห้วยบึง มาบรรจบกันที่ประตูน้าคลองวังพะยอม ตาบลวังโมก น้าจะไหลไปรวมกันที่
ตาบลบา้ นนา

4) อาเภอเมืองพิจิตร น้าหลากมาจากอาเภอสากเหล็ก และอาเภอวังทรายพูน จะไหล
มาทต่ี าบลสายคาโห้ แลว้ ไหลลงมาตามคลองซอยและทงุ่ นา จะมารวมกันท่ตี าบลบา้ นบ่งุ

30

5) อาเภอทับคล้อ ได้รับน้ามาจากอาเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ มาทางคลองวังแดง
คลองร่องขอ ลงไปที่ประตนู ้าคลองขดุ

6) อาเภอดงเจริญ รับน้าจากตาบลรากแค อาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ลงมาท่ี
คลองเขาทราย บรรจบกันท่ีคลองบอระเพ็ด ผ่านตาบลวังงิ้ว วังง้ิวใต้ เขา้ เขตตาบลห้วยพุก ซ่ึงลาคลอง มีความ
คดเค้ียว น้าไหลได้ช้า และจะไหลเข้าท่วมตาบลห้วยร่วม อาเภอดงเจริญ และตาบลห้วยร่วม อาเภอหนองบัว
จงั หวดั นครสวรรค์

บทท
แผนป้องกันและแก้ไขปญั หาภัยพิบัตดิ า้

จังหวัด

กิจกรรม เป้าหมาย

จานวน หน่วยนับ

3.1 กอ่ นเกิดภัย
 การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention & Mitigation)

1. การพัฒนาแหลง่ นาเพ่ือป้องกันและบรรเทาปัญหาจากอทุ กภัย 1 แห่ง 5
1.1 ปตร.ท่าแห (แม่น้ายม) 1 แหง่ 23
1.2 ปตร.วังจิก (แม่นา้ ยม)

1.3 ปตร.โพธ์ิประทบั ช้าง (แมน่ ้ายม) 1 แหง่ 5
1.4 การพฒั นาและรณรงคก์ ารใช้หญ้าแฝก อนั เน่ืองมาจากพระราชด้าริฯ 20,000 กล้า

1.5 โครงการก่อสร้างบ่อบาดาลพรอ้ มระบบสบู น้าโซล่ารเ์ ซลล์ หมู่ 8 ต.เนินปอ อ.สามง่าม 1 แหง่

1.6 โครงการก่อสรา้ งบ่อบาดาลพร้อมระบบสบู น้าโซลา่ ร์เซลล์ หมู่ 1 ต.หนองโสน อ.สามงา่ ม 1 แห่ง

1.7 โครงการก่อสร้างบ่อบาดาลพร้อมระบบสบู น้าโซลา่ รเ์ ซลล์ หมู่ 4 ต.แหลมรัง อ. บึงนาราง 1 แห่ง

2. การขดุ ลอก กาจดั วัชพืช เพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการรับนาและระบายนา

2.1 กา้ จัดวัชพืช จา้ นวน 8 สาย ปริมาณ 307 ไร่ 8 แห่ง

3. การเฝ้าระวังและแจง้ เตือนภัย 160 แห่ง
10 แหง่
3.1 ประชาสัมพนั ธ์สถานการณ์น้า
3.2 ธงสีตดิ ตังบนสะพานทางหลวงแจ้งเตอื นระดบั นา้ แมน่ า้ ยม 8 แห่ง

แมน่ ้าน่าน 2 แหง่
4. การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา

4.1 รถบรรทกุ นา้ ขนาด 6,000 ลติ ร 1 คนั

4.2 เคร่อื งสบู นา้ เคลือ่ นที่ 23 เคร่ือง

ที่ 3
านการเกษตร ในช่วงฤดูฝน ปี 2565
ดพิจิตร

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

500 ลา้ นบาท โครงการชลประทานพจิ ิตร

31.39 ลา้ นบาท โครงการชลประทานพจิ ิตร

580 ลา้ นบาท โครงการชลประทานพิจิตร

9,000 ส.ป.ก.

1,396,510 ส.ป.ก.

1,408,510 ส.ป.ก.

1,508,510 ส.ป.ก.

998,529 โครงการชลประทานพิจิตร

โครงการชลประทานพิจิตร
โครงการชลประทานพจิ ิตร

โครงการชลประทานพจิ ิตร
สนง.ชลประทานท่ี 3

กิจกรรม เป้าหมาย
จานวน หน่วยนับ
 การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
5. เฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย 12 อา้ เภอ
12 อา้ เภอ
5.1 ตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารสภาพภูมอิ ากาศสภาพปริมาณน้าสภาพน้า
ในเขื่อนอ่างเกบ็ นา้ แหล่งนา้ ธรรมชาติ 1 ระบบ
6,500 ราย
5.2 ประสานการปฏิบัตงิ านกับกองอา้ นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 78,200 ครัวเรือน
จังหวัด/อ้าเภอ

5.3 ประชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ข่าวสารและแจ้งเตอื นภยั

6. การเตรียมพร้อมด้านปัจจัยในการป้องกนั
6.1 การเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั
6.1.1 จัดเตรียมบคุ ลากรและยานพาหนะ
6.1.2 จัดเตรียมเสบียงสตั ว์และเวชภณั ฑ์
6.1.3 จัดเตรียมสถานท่ีอพยพสัตว์
6.1.4 การเฝา้ ระวังดแู ลสขุ ภาพสัตว์

7. การจัดทาขอ้ มลู ทะเบียนเกษตรกร

7.1 จัดท้าข้อมูลทะเบยี นเกษตรกรดา้ นประมงใหเ้ ป็นปจั จุบัน

7.2 ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรดา้ นประมง
7.3 ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกรดา้ นเกษตรใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

สนง.กษ.พจ/หน่วยงานสงั กัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สนง.กษ.พจ
กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

ปศ.จ/ปศ.อ/กส.จ./กส.อ

งบปกติ ปม.จ.
15,000 ปม.จ./ปม.อ.
กส.จ./กส.อ

32

กิจกรรม เป้าหมาย
จานวน หน่วยนับ
8. การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับจังหวัด
1 เลม่
8.1 จัดทา้ แผนปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภยั พิบัตดิ า้ นการเกษตร
ในช่วงฤดฝู น ปี 2565 1 ครัง
12 อ้าเภอ
9. การประชาสัมพันธ์ให้คาแนะนาทางวิชาการ
9.1 จังหวัด/อา้ เภอออกเยี่ยมเยียนใหค้ า้ แนะนา้ เกษตรกรเกี่ยวกับการเร่มิ 12 คนั
การเพาะปลูกในช่วงฤดฝู น 3 เคร่อื ง
9.2 เตรียมการป้องกนั ดา้ นศตั รูพืช โดยใหค้ ้าแนะนา้ ในการป้องกันและก้าจัด
ศตั รูพืช

9.3 แจ้งเตอื นภยั กับเกษตรกรผเู้ พาะเลยี งสตั ว์น้า แจ้งเวียนหนังสอื
ประชาสัมพันธ์แจ้งเตอื นภัยให้กบั เกษตรกรผูเ้ ลยี งสัตว์น้าและ
ใหค้ ้าแนะน้าทางดา้ นวิชาการ

9.4 จังหวัด/อ้าเภอออกเยี่ยมเยียนใหค้ า้ แนะนา้ เกษตรกรดา้ นวิชาการ
9.5 เตรียมการปอ้ งกันวางแผนการเลียงใหเ้ หมาะสม
10. การเตรียมพร้อมยานพาหนะ เคร่ืองจักรกล เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ต่างๆ

10.1 ตรวจสอบบญั ชีทรัพยากร เครือ่ งจักร เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์
ดา้ นการเกษตร

10.2 จัดเตรียมบุคลากรและยานพาหนะ
10.3 เตรียมเครื่องสบู นา้

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

หน่วยงานสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

กส.จ./กส.อ
กส.จ./กส.อ

งบปกติ ปม.จ.
งบปกติ
ปม.จ./ปม.อ.
ปม.จ./ปม.อ.

กส.จ./กส.อ

ปศอ.

- ส.ป.ก.

33

กจิ กรรม เป้าหมาย
จานวน หน่วยนับ

11. การประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรทราบหน้าท่ีและสิทธิในการย่ืนคาขอ 12 อ้าเภอ

11.1 ประชาสมั พันธ์ใหเ้ กษตรกรมาขึนทะเบยี นเกษตรกรและปรับปรุงข้อมูล 12 อ้าเภอ
ทะเบียนเกษตรกรใหเ้ ปน็ ปจั จุบัน
พืนที่ประสบภัย
11.2 ประชาสมั พนั ธ์ข้อมูลข่าวสารและการแจ้งเตอื นภัย
3 เครอื่ ง
3.2 ขณะเกิดภัย 80,200 กโิ ลกรัม
 การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ (Emergency Response)
1. การแจง้ เตือนภัยและประชาสัมพันธ์ พืนท่ีประสบภัย
2. การจัดชุดเฉพาะกจิ ลงพืนท่ีประสบภัย เพื่อให้ความชว่ ยเหลือเกษตรกร 12 อา้ เภอ

2.1 จัดชุดเฉพาะกจิ ลงพืนที่ประสบภัย เพ่ือให้ความช่วยเหลอื เบืองตน้ แก่
เกษตรกรที่ประสบภยั

2.2 ให้ความช่วยเหลอื ทางดา้ นวิชาการ ให้คา้ แนะน้าในการป้องกันโรคระบาดสัตว์น้า

3. การสนบั สนนุ เครื่องจกั ร เครื่องมือ วัสดอุ ุปกรณต์ า่ งๆ เพื่อช่วยเหลือพืนท่ี
ประสบภยั

4. สนับสนุนเสบียงสัตว์เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรในพืนท่ีประสบภัย
5. การให้ความชว่ ยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน

5.1 พิจารณาการใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกรตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ
6. ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย

6.1 สา้ รวจความเสียหายเบื่องตน้
6.2 การใหค้ วามช่วยเหลือเบื่องตน้
6.3 เสนอขอรับการช่วยเหลอื เงินทดรองราชการ

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กส.จ./กส.อ
กส.จ./กส.อ

กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

งบปกติ กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ
ปม.จ.
- ส.ป.ก.

งบปกติ ปศ.จ./ปศ.อ.

กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ
กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

34

กิจกรรม เป้าหมาย
จานวน หน่วยนับ
7. ประเมินสถานการณ์เบืองต้น และรายงานสถานการณ์พืนที่การเกษตร
ประสบภัยพิบัติ ทุกสปั ดาห์ ครงั

8. การติดตามและเร่งรัดการช่วยเหลอื เกษตรกรท่ีประสบภัย
3.3 หลังเกิดภัย
 การฟ้ืนฟู (Recovery)
1. สารวจและประเมนิ ความเสยี หายของเกษตรกรผู้ประสบภัย

1.1 ผูว้ ่าราชการจังหวัดประกาศเขตการใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ
กรณีฉุกเฉินให้เร่งรัดสา้ รวจและประเมินความเสียหาย ดา้ นพชื

1.2 เมื่อสถานการณ์เข้าสู่ภาวะท่ีสามารถประเมนิ ความเสียหายไดใ้ ห้หน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้องเร่งดา้ เนินการสา้ รวจและประเมินความเสียหายของเกษตรกร ภายใน 30 วัน นบั แต่วันที่
สามารถเข้าประเมินพืนทไี่ ด้
ผูป้ ระสบภยั

1.3 เจ้าหน้าท่ีออกพืนท่ีสา้ รวจพืนที่เกษตรกร/รับค้าร้อง - -
2. การให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเป็นเงิน
ภายใน 3
2.1 การใหค้ วามช่วยเหลือโดยเงินทดรองราชการตามระเบยี บ เดือน นับ
2.2 การใหค้ วามช่วยเหลือโดยใช้เงินงบกลาง แต่วนั ท่ี
2.3 น้าข้อมลู เกษตรกรผ้ปู ระสบภัยพบิ ตั ิ น้าเสนอคณะกรรมการปฏิรูปที่ดนิ เกิดภัย

เพื่อให้การช่วยเหลอื เกษตร ตอ่ ไป --
2.4 การให้เงินช่วยเหลือแกเ่ กษตรกรชาวสวนยาง 273 บาท/ราย

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

กส.จ./กส.อ

งบปกติ กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ
- ส.ป.ก.

กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ/กษ.พจ

- ส.ป.ก.
งบกองทุน
การยางแห่งประเทศไทย (สาขา
พิจติ ร)

35

กจิ กรรม เป้าหมาย
จานวน หน่วยนับ
3. เตรียมสารชีวภัณฑแ์ จกจา่ ยชว่ ยเหลอื เกษตรกรหลงั นาลด
4. สารวจและประเมนิ ความเสยี หายของเกษตรกรผู้ประสบภัย ทกุ สปั ดาห์ ครัง

4.1 สา้ รวจความเสยี หายเบืองตน้ พืนท่ีประสบภัย
4.2 การใหค้ วามช่วยเหลอื เบืองตน้ (สนบั สนนุ ปจั จัยดา้ นการพัฒนาที่ดนิ ) พืนท่ีประสบภัย
5. การสง่ เสริมและสนับสนุนให้มีการปลกู แทน

งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ปี 2564 ปี 2565
ปี 2565
(บาท) กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ ต.ค.พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กส.จ./ปศ.จ/ปม.จ

งบปกติ สถานีพัฒนาที่ดนิ พจิ ิตร
งบปกติ สถานีพฒั นาที่ดนิ พิจิตร

36

๓๗

บทที่ 4
การติดตามและรายงานผล
การติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามแผนเตรียมรบั สถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตร
ประจาปีงบประมาณ 2565 ได้กาหนดให้มีระบบการติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้การขับเคล่ือนแผนเตรียมรับสถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตรบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
โดยมีแนวทางการดาเนนิ งานของศนู ย์ตดิ ตามและแกไ้ ขปญั หาภยั พิบตั ิดา้ นการเกษตรจังหวดั พจิ ิตร ดงั น้ี
 ก่อนเกดิ ภยั
 ให้ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัด ประชุมคณะกรรมการ
บริหารศูนย์ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และจัดทารายงานผลการแจ้งเตือนภัยด้านการเกษตร และการประชาสัมพันธ์
ประจาเดอื น
 สร้างการรับรู้ให้กับเกษตรกร โดยการแจ้งเตือนสถานการณ์น้าและมาตรการบริหารจัดการน้า
ของภาครัฐที่เกษตรกรสามารถเข้าใจ และเข้าถึงได้ง่าย การรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการประหยัดน้า
การประชาสัมพันธ์ช่องทางการขอรับความช่วยเหลือจากทางราชการ พร้อมท้ังเน้นย้าให้เกษตรกรติดตามข้อมูล
ข่าวสารจากทางราชการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
 ให้ศูนย์ติดตามฯ จังหวัด ประสานข้อมูลและการปฏิบัติกับคณะกรรมการอานวยการ
ขับเคล่ือนงานนโยบายสาคัญและการแก้ไขปัญหาภาคเกษตรระดับจังหวัด (Chief of Operation)
และคณะทางานปฏิบัติการขับเคลื่อนสาคัญและแก้ไขปัญหาการเกษตรระดับอาเภอ (Operation Tearm)
และซักซ้อมแนวปฏิบัติกระบวนการแจ้งเตอื น การตดิ ตามและรายงานสถานการณ์ภัยพิบัติตลอดจนแกไ้ ขปัญหา
ในพ้ืนท่ี
 ขณะเกดิ ภัย
 เมื่อเกิดภัยให้ศูนย์ติดตามและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติด้านการเกษตรจังหวัด พิจิตร
รายงานข่าวซึ่งระบุว่าเกิดผลกระทบ/ความเสียหายด้านการเกษตร ให้เร่งตรวจสอบข้อเท็จจริง มอบหมายเจ้าหน้าที่
ลงพ้ืนท่ีเพื่อชี้แจงทาความเข้าใจ และการช่วยเหลือ รายงานการดาเนินการภายใน 24 ช่ัวโมง ทาง E-Mail :
[email protected] หรอื โทรสารหมายเลข 056-612495
 ให้ศูนย์ติดตามฯ จังหวัดประสานการปฏิบัติงานและสนับสนุนการดาเนินงาน
ของกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ระดับจังหวัด อาเภอ
และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนกากับ ติดตามให้มีการปฏิบัติ
ในทุกระดบั อย่างใกล้ชดิ และใหเ้ กิดประสิทธิภาพและลดผลกระทบหรือความเสยี หาย
 หลังเกิดภัย
 เม่ือจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ อุทกภัยของจังหวัด
ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยกรณีฉกุ เฉินแล้ว ให้ประสาน
เกษตรจังหวัด/เกษตรอาเภอเร่งสารวจความเสียหาย และพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ อุทกภัย
ตามระเบียบหลักเกณฑ์และแนวทางที่กาหนดอยา่ งเคร่งครัด โดยให้ดาเนนิ การอย่างรวดเรว็ ทั่วถึงและเป็นธรรม
 ให้ศูนยต์ ดิ ตามฯ จังหวัด รายงานขอ้ มลู
- ข้อมูลสถานการณ์ ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู สถานการณน์ า้ ขอ้ มูลการเพาะปลูก
- ขอ้ มูลผลกระทบดา้ นการเกษตร
- การใหค้ วามช่วยเหลอื
- ปัญหาข้อพพิ าทและการแกไ้ ข


Click to View FlipBook Version