The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือพิธีพระราชทานเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sbpac icd, 2021-12-23 03:24:26

พิธีพระราชทานเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2563

หนังสือพิธีพระราชทานเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี พ.ศ. 2563

Keywords: หนังสือพิธีพระราชทานเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่น,เกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทาน,หนังสือพิธีพระราชทาน,จังหวัดชายแดนภาคใต้

พธิ ีพระราชทานเกียรติบตั รและเข็มรางวลั พระราชทาน

ผทู้ ่มี ีผลงานดเี ด่นของจงั หวัดชายแดนภาคใต้
ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓

ศนู ย์อ�ำนวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้



สาร
พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี
เนอ่ื งในโอกาสพิธพี ระราชทานเกียรติบตั รและเขม็ รางวลั พระราชทาน
ผู้ทีม่ ผี ลงานดีเดน่ ของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พุทธศักราช ๒๕๖๔
..............................................

รัฐบาลให้ความสําคัญกับการพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีครอบคลุม
ในทุกมิติอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความอยู่ดีมีสุขของประชาชนอย่างยั่งยืน
บนพื้นฐานการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม รวมท้ังส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนและประชาชนในพ้ืนท่ี
มีส่วนรว่ มในการขับเคลอื่ นพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใตใ้ นด้านต่าง ๆ ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ

ผมขอแสดงความยินดีกับทุกท่านท่ีได้สร้างผลงานที่ตอบสนองความต้องการของประชาชน
และแก้ไขปัญหาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เกียรติบัตรและเข็มรางวัล
พระราชทานท่ีทุกท่านได้รับ ถือเป็นแบบอย่างของผู้ทําคุณประโยชน์ให้แก่สังคม และเป็นส่ิงยืนยันว่า
ท่านเป็นผู้ท่ีมีหัวใจท่ีเข้มแข็งในการสร้างคุณประโยชน์และความเจริญแก่พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
และพื้นที่จังหวัดที่มีส่วนในการบูรณาการที่เช่ือมโยงสู่การพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
จนเป็นท่ีประจักษ์แก่สาธารณะ ผมหวังว่าทุกท่านจะยึดถือหลักการทํางานที่เห็นแก่ประโยชน์ของประชาชน
และประเทศชาติเป็นสําคัญ และมุ่งมั่นในการสร้างผลงานโดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค เพื่อดํารงไว้ซ่ึงเกียรติยศ
ใหป้ รากฏสบื ไป

ในโอกาสนี้ ผมขออํานาจสรรพสิ่งศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลายที่ทุกท่านนับถือ ได้โปรดดลบันดาล
ประทานพรให้ผู้ท่ีได้รับเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ท่ีมีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ทุกท่าน พร้อมท้ังครอบครัว ประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีกําลังกาย กําลังใจ
ที่เขม้ แข็ง และสัมฤทธิผลในสงิ่ ท่พี ึงปรารถนาทุกประการโดยทว่ั กนั

พลเอก
(ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา)
นายกรฐั มนตรี

สาร
พลเอก ประวติ ร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี
เนื่องในโอกาสพิธีพระราชทานเกียรตบิ ัตรและเขม็ รางวลั พระราชทาน
ผทู้ ี่มผี ลงานดเี ดน่ ของจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พทุ ธศักราช ๒๕๖๔
..............................................

การพัฒนาพน้ื ท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตใ้ หม้ คี วามเจริญก้าวหนา้ อยา่ งยงั่ ยืน ทั้งในดา้ นเศรษฐกจิ
สงั คม และการสรา้ งสรรคส์ งั คมสงบสขุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ แกพ่ น่ี อ้ งประชาชน รวมทง้ั ลดความเหลอ่ื มลำ�้ สรา้ งความเปน็ ธรรม
เป็นเป้าหมายสําคัญของรัฐบาลท่ีมุ่งหมายให้พ่ีน้องประชาชนมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีและอยู่ร่วมกัน
อยา่ งมคี วามสขุ ตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี ดา้ นความมนั่ คง ผา่ นกลไกตา่ ง ๆ ตลอดจนการมสี ว่ นรว่ ม
จากทุกภาคส่วนอย่างเข้มแข็ง ท้ังข้าราชการ บุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และผู้นําศาสนา
ที่ได้บูรณาการนโยบายภาครัฐไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
ในพ้ืนท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ผมขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลและเข็มพระราชทานผู้ท่ีมีผลงานดีเด่นของจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ทุกท่าน ท่ีมีความมุ่งม่ันต้ังใจ เสียสละ ทุ่มเทกําลังกาย กําลังใจ
พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อมุ่งหมายให้พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพื้นที่ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน
และขอชน่ื ชมพรอ้ มทง้ั เปน็ กาํ ลงั ใจใหท้ กุ ๆ ทา่ น ทสี่ รา้ งผลงานอนั เปน็ ประโยชนแ์ กพ่ น่ี อ้ งประชาชนและประเทศชาติ
ได้อยา่ งนา่ ภาคภูมิใจ

เน่ืองในโอกาสพิธีพระราชทานเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่น
ของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ผมขออํานาจส่ิงศักดิ์สิทธิ์ท้ังหลายที่ทุกท่านเคารพนับถือ
ได้โปรดดลบันดาลประทานพรให้ทุกท่าน พร้อมทั้งครอบครัว ประสบแต่ความสุข สวัสดี มีพลังกาย พลังใจ
ทเ่ี ขม้ แขง็ เพอ่ื รว่ มเปน็ กาํ ลงั สาํ คญั ในการขบั เคลอื่ นพฒั นาประเทศชาตใิ หม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ และมคี วามสงบ
สันติสุขตลอดไป

พลเอก
(ประวิตร วงษส์ ุวรรณ)
รองนายกรฐั มนตรี

สาร
พลเรือตรี สมเกียรติ ผลประยูร เลขาธิการศนู ยอ์ �ำนวยการบริหารจงั หวัดชายแดนภาคใต้

เนอ่ื งในโอกาสพิธพี ระราชทานเกียรตบิ ัตรและเข็มรางวัลพระราชทาน
ผู้ท่มี ผี ลงานดเี ดน่ ของจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓

พทุ ธศักราช ๒๕๖๔
..............................................

ในโอกาสรับเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ที่มีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ผมมคี วามภาคภมู ใิ จกบั เพอื่ นขา้ ราชการ บคุ ลากรภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน
และผ้นู �ำศาสนาในจังหวดั ชายแดนภาคใตท้ กุ ท่าน

รางวัลเกียรติบัตรและเข็มรางวัลพระราชทานผู้ท่ีมีผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นการคัดเลือกจากกลุ่มข้าราชการ กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลมุ่ ผูป้ ฏบิ ตั ิงานอ่ืนในหน่วยงานของรฐั กลุม่ ผู้น�ำทอ้ งท่ี ผนู้ �ำท้องถน่ิ กล่มุ สตรี เดก็ และเยาวชน กลมุ่ ผูน้ �ำศาสนา
กลุ่มผู้ประกอบการและกลุ่มองค์กรอื่นในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมและ
มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์สนองตอบและเชื่อมโยงสู่การแก้ไขปัญหาและพัฒนาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต้

ผมขออ�ำนวยพรสิ่งศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลายท่ีท่านนับถือ ปกป้องคุ้มครองรักษาให้ทุกท่านประสบ
แต่ความสุขความเจริญ และช่ืนชมและยินดีกับทุกท่านเป็นอย่างย่ิง ท่ีได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติในครั้งนี้
ขอให้รักษาความดี มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และรักษามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ เพ่ือเป็นแบบอย่างที่ดี
แกเ่ พ่อื นเจา้ หนา้ ท่ี และบุคลากรทุกภาคส่วนตลอดไป

พลเรือตรี
(สมเกยี รติ ผลประยรู )
เลขาธกิ ารศนู ยอ์ �ำนวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้



โครงการท่เี กยี่ วข้องกับการพฒั นา
และยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชนในพ้ืนท่ี
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผา่ นแนวพระราชด�ำริของ

สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ

สยามบรมราชกมุ ารี



โครงการท่ีเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน
ในพื้นทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ผ่านแนวพระราชดำ� รขิ อง สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า

กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

๑. โครงการสนบั สนนุ การพฒั นาการศึกษาโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ประกอบด้วย

๑) การสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๒
“...การเรยี นภาษาไทยในระดบั ประถมศกึ ษา เปน็ การเรยี นขน้ั ตน้ เพอื่ วางรากฐานการศกึ ษาไมเ่ ฉพาะดา้ นความรู้ภาษาไทย
แตเ่ ปน็ รากฐานการศึกษาความร้วู ิชาอืน่ ๆ เปน็ รากฐานการคิด การรบั คณุ ธรรม จริยธรรม การร้จู กั ระเบยี บวนิ ัยและกฎเกณฑ์
ของสังคม ตลอดจนการปลูกฝังวัฒนธรรมไทยและความเป็นไทยด้วย ส�ำหรับคนไทยภาษาไทยจึงเป็นภาษาท่ีมีความส�ำคัญ
มากทสี่ ดุ การเรียนระดบั ประถมศึกษาหากเรียนได้ถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำแล้ว ผ้เู รยี นจะสามารถยึดถือเปน็ หลกั ตลอดไป ท�ำให้ใช้ภาษา
ถกู ตอ้ งในการอา่ นการเขียน และการใช้ตามบริบทของสังคม…”
“...ส่วนครูเป็นบุคคลส�ำคัญในการจัดการเรียนการสอน ครูจงึ ต้องมคี วามรู้ มคี วามทันสมัย ขา้ พเจา้ ขอให้ครภู าษาไทย
ทกุ คนมสี ขุ ภาพสมบรู ณ์ มกี �ำลงั ใจมงุ่ มน่ั ในการสอนภาษาไทย ใหเ้ ดก็ ไทยรกั และตงั้ ใจรกั ษาภาษาไทยไวใ้ หเ้ ปน็ สมบตั ขิ องประเทศ
ชาตติ ลอดไป…”
พระราชด�ำรัสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซ่ึงเสด็จ
พระราชด�ำเนนิ เปน็ องคป์ ระธานเปิดการอบรม และพระราชทานปาฐกถา เรอื่ ง “การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย” เนื่องใน
วนั ภาษาไทยแหง่ ชาติ ประจ�ำปี ๒๕๔๙ จดั โดย สมาคมครภู าษาไทยแหง่ ประเทศไทย ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรงุ เทพมหานคร
เมื่อวันท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยกองประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริและกิจการพิเศษ ได้น้อมน�ำ
พระราชด�ำรแิ ละการด�ำเนนิ งานตามแนวทางของโครงการตามพระราชด�ำริ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
ภาษาไทยให้กับนักเรียนโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนในพื้นที่จังหวัด
นราธวิ าส ปตั ตานี ยะลา และโรงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดนในเขตพนื้ ท่ี
อ�ำเภอนาทวี อ�ำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือให้นักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง มีทักษะในการฟัง พูด
อ่าน เขียน สามารถเปน็ สอื่ กลางในการสอื่ สารภาษาไทยกับผปู้ กครอง เพ่ือให้เกดิ การเข้าถงึ แหล่งขอ้ มูลที่ถูกต้อง มคี วามพร้อม
ในการใชช้ วี ติ และเพ่อื การศกึ ษาต่อในระดับทส่ี งู ข้นึ
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตส้ นบั สนนุ บคุ ลากร เพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทวี่ ทิ ยากร
ผสู้ อนภาษาไทยในโรงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดนชายแดนในพนื้ ท่ี ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละอ�ำเภอนาทวี อ�ำเภอสะบา้ ยอ้ ย
จังหวัดสงขลา รวม ๑๘ แห่ง ๆ ละ ๒ อัตรา เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนสามารถอ่านออก เขียนได้
การสง่ เสริมการเรยี นรู้ และพัฒนาผ้เู รยี นดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย เนน้ ผ้เู รยี นเป็นส�ำคญั ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๒

9

ศูนยอ์ �ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตไ้ ดด้ �ำเนินการจดั กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพวทิ ยากรผูส้ อนภาษาไทย
เรื่อง การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านทาง Video Conference โปรแกรมซูม (Zoom Meeting) เพ่ือใช้
ในการจดั การเรยี นการสอน การนเิ ทศ ตดิ ตามและฝกึ อบรม เรอ่ื ง หลกั การสอนภาษาไทย ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๒
เพื่อให้วิทยากรผ้สู อนภาษาไทยท้งั ๓๖ คน ได้น�ำความร้แู ละทกั ษะทีไ่ ดร้ ับจากการฝกึ อบรมมาปรับใชใ้ นการจัดการเรยี น
การสอน แต่สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ส่งผลให้
การเปิดภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ไม่สามารถเปิดท�ำการเรยี นการสอนได้ตามเวลาท่กี �ำหนด โดยวิทยากรผสู้ อน
ภาษาไทยได้ปฏิบัติหน้าที่การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On - hand คือ การเรียนรู้ที่บ้านโดยครูจัดท�ำเอกสาร

หรือใบงานให้กับนักเรียน ซ่ึงเป็นลักษณะแบบเรียนส�ำเร็จรูป โดยมีครู
ออกไปเยี่ยมบ้านนักเรียนเป็นครั้งคราว หรือให้ผู้ปกครองท�ำหน้าที่เป็นครู
คอยชว่ ยเหลอื เพ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถเรียนไดอ้ ย่างต่อเนื่อง

จากการประมวลผลการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย
ด้านการอ่านและการเขยี นของนักเรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๒
โรงเรียนในสังกัดกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๓ และ ๔๔
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โดยเปรยี บเทียบภาคเรียนท่ี ๑ กับภาคเรยี นท่ี ๒ ดงั น้ี

สรปุ ผลการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย นกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑
โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน

สงั กดั กองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนท่ี ๔๓ และ ๔๔ จ�ำนวน ๑๘ แหง่
ภาคเรยี นที่ ๑ และ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ระดับ คร้งั ท๑่ี ๑/๒ภ๕า๖ค๓เรยี นท่ี คร้ังท๒่ี ๒/๒ภ๕า๖ค๓เรียนท่ี ผลการพัฒนา หมายเหตุ

จำ�นวน/คน รอ้ ยละ จำ�นวน/คน ร้อยละ จำ�นวน/คน รอ้ ยละ

ปรับปรงุ ๖๖ ๒๒.๓๗ ๕๑ ๑๗.๕๙ -๑๕ -๔.๗๘ จำ�นวนนกั เรยี นในระดับ
ปรับปรุงลดลง ๑๕ คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔.๗๘

พอใช้ ๘๐ ๒๗.๑๒ ๗๗ ๒๖.๕๕ -๓ -๐.๕๗ จำ�นวนนกั เรียนในระดบั
พอใชล้ ดลง ๓ คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐.๕๗

ดี ๑๔๙ ๕๐.๕๑ ๑๖๒ ๕๕.๘๖ ๑๓ ๕.๓๕ จำ�นวนนกั เรยี นในระดบั ดี
เพมิ่ ขึ้น ๑๓ คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕.๓๕

10

สรุปผลการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย นกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒
โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน

สงั กัด กองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๓ และ ๔๔ จ�ำนวน ๑๘ แหง่
ภาคเรียนที่ ๑ และ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ระดับ ครงั้ ท๑่ี ๑/๒ภ๕า๖ค๓เรียนท่ี ครั้งท๒่ี ๒/๒ภ๕า๖ค๓เรยี นที่ ผลการพฒั นา หมายเหตุ
ปรบั ปรงุ
พอใช้ จำ�นวน/คน ร้อยละ จำ�นวน/คน รอ้ ยละ จำ�นวน/คน รอ้ ยละ จำ�นวนนกั เรยี นในระดบั
๗๐ ๒๓.๒๖ ๕๘ ๑๙.๓๓ -๑๒ -๓.๙๓ ปรบั ปรงุ ลดลง ๑๒ คน
ดี คดิ เป็นร้อยละ ๓.๙๓
๙๑ ๓๐.๒๓ ๗๒ ๒๔.๐๐ -๑๙ -๖.๒๓ จำ�นวนนักเรียนในระดบั
พอใชล้ ดลง ๑๙ คน
๑๔๐ ๔๖.๕๑ ๑๗๐ ๕๖.๖๗ ๓๐ ๑๐.๑๖ คดิ เปน็ ร้อยละ ๖.๒๓
จำ�นวนนกั เรยี นในระดบั ดี
เพิ่มขึ้น ๓๐ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐.๑๖

๒) สนบั สนนุ การแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ�้ อปุ โภคบรโิ ภค ใหแ้ กโ่ รงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นปาโจแมเราะ
และราษฎรบ้านปาโจแมเราะ และบา้ นบเู กะ๊ ซายี ต�ำบลแม่หวาด อ�ำเภอธารโต จงั หวดั ยะลา

ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ กรมชลประทาน และ
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ร่วมกันพิจารณาผ่านแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ้� อปุ โภคบรโิ ภค จ�ำนวน ๒ แหง่
ได้แก่

11

๑. การปรับปรุงแหล่งน�้ำให้แก่ราษฎรบ้านปาโจแมเราะ
และราษฎรบา้ นกระปอ๋ ง ต�ำบลแมห่ วาด อ�ำเภอธารโต จงั หวดั ยะลา
โดยด�ำเนนิ การปรบั ปรงุ ระบบทอ่ สง่ นำ้� จากโครงการ “ฝายบา้ นกอื แด”
ต�ำบลแมห่ วาด อ�ำเภอธารโต จงั หวดั ยะลา เพ่ือส่งไปยังถังเก็บน�้ำ
ขนาดความจุ ๑,๖๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร ทีต่ ั้งอยูใ่ นเขตพ้นื ทโี่ รงเรยี น
ต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านปาโจแมเราะ ให้มีน�้ำใช้ส�ำหรับ
การอุปโภคและบริโภคอย่างพอเพียงตลอดท้ังปี ซ่ึงโครงการ
ชลประทานยะลา ก�ำลังเตรียมความพร้อมด้านออกแบบและ
จัดท�ำประมาณการ เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณเหลือจ่ายปี
พ.ศ. ๒๕๖๔ ของกรมชลประทาน คาดวา่ จะไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ ภายในเดอื นกนั ยายน ๒๕๖๔ ผไู้ ดร้ บั ประโยชน์
เปน็ เจ้าหน้าทีแ่ ละนักเรยี นโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นปาโจแมเราะ จ�ำนวน ๑๕๖ คน

๒. การปรับปรุงฝายบูเก๊ะซายี เพ่ือส่งน�้ำช่วยเหลือราษฎร
บา้ นบเู กะ๊ ซายปี ระมาณ ๒๐ ครวั เรอื น ซงึ่ ประสบปญั หาขาดแคลน
น้�ำส�ำหรับการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือให้มีน้�ำใช้เพียงพอ
ตลอดทงั้ ปี ซ่ึงโครงการชลประทานยะลาก�ำลังเตรยี มความพรอ้ ม
ด้านออกแบบ เพ่ือขอรับการสนับสนนุ งบประมาณจากส�ำนกั งาน
คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชด�ำริ ช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

12

๒. การสาธารณสขุ เชงิ รกุ ชว่ ยเหลอื คนพกิ ารในพน้ื ทหี่ า่ งไกล โดยสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งานรถโมบายเคลอื่ นท่ี
“สิริเวชยาน” รถทใ่ี หบ้ รกิ ารทางการแพทย์อนั เปน็ มงคล

เมอ่ื วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ศูนยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวัดชายแดนภาคใต้ได้รบั พระมหากรุณาธิคณุ จาก

สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานช่อื รถโมบายเคลอื่ นท่ี
(Mobile Unit) ตามที่ศูนย์อ�ำนวยการบรหิ ารจังหวดั ชายแดนภาคใตไ้ ด้น�ำความกราบบงั คมทลู ทราบฝา่ ละอองพระบาท
จดั ท�ำชดุ บรกิ ารดา้ นการแพทย์และสาธารณสุขเคล่ือนที่ จ�ำนวน ๒ คนั เพ่อื น�ำไปใชใ้ นการฟนื้ ฟสู ภาพทางร่างกายให้แก่
คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง และประชาชนท่ีอยู่ห่างไกลสถานพยาบาลในพ้ืนท่ีของจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส

โดยพระราชทานช่อื รถโมบายเคลือ่ นท่ีว่า “สิริเวชยาน” หมายถึง รถท่ีให้บริการ
ทางการแพทย์อันเป็นมงคล และพระราชทานพระราชานุญาตให้เชิญอักษร
พระนามาภิไธย “ส.ธ.” ประดับที่ช่ือพระราชทานด้วย สร้างความปลาบปล้ืมปิติ
แก่พสกนิกรอย่างหาที่สุดมิได้ โดยส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลาและ
จังหวัดนราธิวาส มอบหมายให้โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา อ�ำเภอยะหา
จังหวัดยะลาและโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก อ�ำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส
ท�ำหน้าท่ดี ูแลรถโมบายเคลอ่ื นท่ดี งั กล่าว ตามล�ำดับ
ตอ่ มาในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ รว่ มกับกระทรวงสาธารณสขุ ผลิตรถโมบายเคลือ่ นที่เพ่ิมเติมจ�ำนวน ๓ คนั
เพอ่ื ขยายผลการบรกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ เชงิ รกุ ใหค้ รอบคลมุ ในพนื้ ที่
๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ แลว้ เสรจ็ ในเดอื นมนี าคม ๒๕๖๓ โดยส�ำนกั งานสาธารณสขุ
จงั หวดั สงขลา จงั หวดั ปตั ตานี และจงั หวดั สตลู มอบหมายใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ
ท�ำหนา้ ทดี่ ูแลรถโมบายดงั กล่าว ดงั นี้

๑. โรงพยาบาลบางกล่ำ� อ�ำเภอบางกล่ำ� จงั หวัดสงขลา จ�ำนวน ๑ คัน
๒. โรงพยาบาลปัตตานี อ�ำเภอเมอื งปัตตานี จงั หวดั ปตั ตานี จ�ำนวน ๑ คัน
๓. โรงพยาบาลสตลู อ�ำเภอเมืองสตูล จงั หวดั สตูล จ�ำนวน ๑ คนั

ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภายหลงั สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) มแี นวโนม้
ดีขึ้น และรัฐบาลได้ประกาศใชม้ าตรการผอ่ นปรนการเฝ้าระวังและควบคุมโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงร่วมกับทีมสหวิชาชีพของหน่วยงาน ส่วนราชการในพ้ืนที่ ๕ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ จดั กจิ กรรมสนองแนวพระราชด�ำริ ในการใหบ้ รกิ ารฟน้ื ฟสู ภาพคนพกิ ารและครอบครวั เคลอื่ นท่ี โดยเฉพาะ
เดก็ พกิ ารทางสมองและพกิ ารซำ้� ซอ้ นใหไ้ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื อยา่ งเปน็ ระบบ ประกอบดว้ ย การฟน้ื ฟสู ภาพรา่ งกาย การให้
ค�ำแนะน�ำและถ่ายทอดทักษะการฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล การสนับสนุนด้านอุปกรณ์คนพิการที่จ�ำเป็น
การสง่ ตอ่ เพอื่ การดแู ลทตี่ อ่ เนอื่ งของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งและอนื่ ๆ โดยมปี ระชาชนเขา้ รบั บรกิ าร รวมทงั้ สน้ิ จ�ำนวน ๓๙๒ คน
หรือ ๑๖๘ ครอบครวั จ�ำแนกเป็น

13

๑. จังหวัดนราธิวาส จ�ำนวน ๑๑๙ คน ๕๕ ครอบครัว
๒. จังหวดั ปตั ตานี จ�ำนวน ๙๔ คน ๔๐ ครอบครวั
๓. จงั หวัดยะลา จ�ำนวน ๗๐ คน ๓๐ ครอบครัว
๔. จงั หวัดสงขลา จ�ำนวน ๕๖ คน ๒๒ ครอบครวั
๕. จังหวัดสตลู จ�ำนวน ๕๓ คน ๒๑ ครอบครวั
ส�ำหรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) มกี ารขยายวงกว้างมากข้ึน สง่ ผลให้การออก
บริการรถโมบายเคลื่อนท่ีได้เฉพาะในช่วงต้นปีงบประมาณ (เดือนตุลาคม -
เมษายน ๒๕๖๔) และรัฐบาลได้ประกาศใช้มาตรการการเฝ้าระวังและควบคุม
โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จงึ ต้องชะลอการใหบ้ รกิ ารจนกวา่
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) จะดขี น้ึ

การออกให้บริการเชิงรุกตามแผนการออกบริการของโรงพยาบาลที่รับผิดชอบรถโมบายเคล่ือนที่ “สิริเวชยาน”
และออกบรกิ ารร่วมกับหนว่ ยมูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี จ�ำนวน ๒๑ ครงั้ โดยมปี ระชาชน
เข้ารับบรกิ ารรวมทั้งสน้ิ จ�ำนวน ๓๖๕ คน จ�ำแนกเป็น

๑. จังหวัดนราธิวาส จ�ำนวน ๑ ครงั้ ๙ คน
๒. จังหวดั ปตั ตานี จ�ำนวน ๑๑ ครง้ั ๙๖ คน
๓. จงั หวดั ยะลา จ�ำนวน ๓ คร้งั ๓๗ คน
๔. จงั หวดั สงขลา จ�ำนวน ๑ คร้ัง ๓๗ คน
๕. จงั หวัดสตลู จ�ำนวน ๕ ครง้ั ๑๘๖ คน

ผ้รู บั บริการมคี วามพงึ พอใจต่อการจัดบริการผา่ นรถโมบายเคลื่อนที่ ได้รับการดแู ลอยา่ งเหมาะสม มขี วญั ก�ำลงั ใจ
และเช่ือมั่นว่าความบกพร่องด้านต่าง ๆ ของสมาชิกในครอบครัว สามารถฟื้นฟูไปสู่การช่วยเหลือและพ่ึงพาตนเองได้
นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ต่อผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและประชาชนในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
สร้างความซาบซ้ึง รัก ศรัทธาต่อสถาบันพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลปัจจุบันทุกพระองค์
และมีพลังมุ่งมั่น พัฒนา อาสา น้อมใส่เกล้าใส่กระหม่อม สนองงาน สืบสานแนวพระราชด�ำริ ในการช่วยเหลือคนพิการ
และครอบครัว เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนในพืน้ ท่ีตอ่ ไป

14

รถโมบายเคล่ือนที่ “สิรเิ วชยาน” ออกให้บรกิ ารประชาชน ในพื้นท่จี งั หวัดชายแดนภาคใต้
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

15

๓. การช่วยเหลือครอบครัวเดก็ พกิ ารทางสมอง ตามโครงการ “เกา้ อส้ี ุขใจ สรู่ องเทา้ สง่ั ตัด”
กิจกรรมน�ำร่องเพื่อสนองแนวพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ

สยามบรมราชกมุ ารี ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื และฟน้ื ฟสู ภาพครอบครวั เดก็ พกิ ารทางสมอง “ไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองได้
ต้องให้ผู้ปกครองน่ังอุ้มตลอดเวลา” ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
อาทิ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านการศึกษา ด้านพัฒนาสังคม ด้านพัฒนาฝีมือแรงงานและอ่ืน ๆ ในพื้นที่
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ รเิ รมิ่ น�ำนวตั กรรมซง่ึ เปน็ อปุ กรณท์ เี่ ปน็ ประโยชน์ และจ�ำเปน็ ตอ่ การฟน้ื ฟสู ภาพเดก็ พกิ ารทางสมอง
และเดก็ พกิ ารซำ้� ซอ้ น มงุ่ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทางรา่ งกายทดี่ ขี น้ึ รวมถงึ ใหบ้ ดิ า มารดาหรอื ผดู้ แู ลมเี วลาในการประกอบอาชพี
การงานได้มากขนึ้

นับต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ ได้สนับสนุนอุปกรณ์เคร่ืองช่วยพยุง
ร่างกาย “เก้าอ้ีสุขใจ” ให้กับเด็กพิการในพ้ืนที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้
เพ่อื ฝกึ ชนั คอและการนง่ั ทรงตวั จ�ำนวน ๔๐๓ คน การฟน้ื ฟดู ว้ ยอปุ กรณด์ งั กลา่ ว
แมส้ ง่ ผลตอ่ พยาธสิ ภาพหรอื พฒั นาการดา้ นรา่ งกายของเดก็ ไมม่ ากนกั ในระยะสนั้
แต่ระยะยาวพบว่าเด็กมีพัฒนาการดีข้นึ ตามล�ำดบั สามารถนัง่ ทรงตัว ฝกึ การยนื
ไดบ้ า้ ง และมพี ฒั นาการทดี่ ใี นดา้ นอน่ื ๆ เชน่ สามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองไดม้ ากขนึ้
มีพัฒนาการและการเรียนรู้ที่ดีข้ึน ท่ีส�ำคัญคือบิดา มารดาหรือผู้ดูแลพึงพอใจ
มคี วามหวงั และก�ำลงั ใจในการดแู ลบตุ รมากยงิ่ ขนึ้ รวมทงั้ มเี วลาวา่ งในการประกอบ
กจิ วตั รประจ�ำวนั หรอื ท�ำงานหารายไดด้ แู ลครอบครัวได้มากยิ่งขึ้นอกี ด้วย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อเป็นการพัฒนาขีดความสามารถ
ให้เด็กพิการได้มีอุปกรณ์ฟื้นฟูสภาพและสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการ
ของประชาชน ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้สนับสนุน
อุปกรณ์เครื่องช่วยพยุงร่างกาย “เก้าอี้สุขใจ” ให้กับเด็กพิการในพ้ืนท่ี ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพ่ือฝึกชันคอและ
การน่ังทรงตัว จ�ำนวน ๖๐ คน และยังได้ขยายผลการน�ำนวัตกรรมอุปกรณ์ฟื้นฟูการทรงตัว “เตียงฝึกยืน” สนับสนุน
ให้กบั เดก็ พกิ าร จ�ำนวน ๕๙ คน รวมทั้งการจดั ท�ำอุปกรณ์ชว่ ยการเดนิ “รองเท้าส่งั ตดั ” ส�ำหรบั แก้ไขปญั หารูปเท้าและ
ฝึกการเดินทรงตวั จ�ำนวน ๘๘ คน และอปุ กรณช์ ่วยพยงุ เดิน “วอล์คเกอร์” อีกจ�ำนวน ๗๐ คน
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สถานการณร์ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19) มีการขยายวงกว้างและระบาดรุนแรงข้ึน แต่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
เดก็ พกิ ารกย็ งั คงตอ้ งด�ำเนนิ ตอ่ ไป เพอ่ื ฟน้ื ฟใู หเ้ ดก็ พกิ ารมพี ฒั นาการดขี น้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
จึงได้สนับสนุนอุปกรณ์ฟื้นฟูการทรงตัว “เตียงฝึกยืน” สนับสนุนให้กับเด็กพิการ
จ�ำนวน ๖๖ คน และอปุ กรณช์ ว่ ยการเดนิ “รองเทา้ สง่ั ตดั ” ส�ำหรบั แกไ้ ขปญั หารปู เทา้
และฝึกการเดินทรงตัว จ�ำนวน ๑๑๔ คน สร้างความยินดีแก่ครอบครัวเด็กพิการ
เป็นอยา่ งย่งิ เด็กพกิ ารสามารถท�ำกิจกรรมในการด�ำเนินชวี ติ ประจ�ำวนั รว่ มกันในสังคม
มากยงิ่ ข้ึน ซ่งึ เป็นการจดั บริการดา้ นสังคมท่ีเชือ่ มโยงกับสุขภาพทีด่ ีของประชาชนในพ้ืนที่
ครอบคลมุ ทกุ มติ ิ ตามแนวนโยบายส�ำคญั ของรฐั บาล “เราจะไมท่ งิ้ ใครไวข้ า้ งหลงั ” และสนองงานตามแนวพระราชด�ำริ
ในการช่วยเหลอื และฟืน้ ฟูสภาพครอบครวั เด็กพิการอย่างเป็นรปู ธรรม

16

นอกจากนี้ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตร้ ว่ มกบั หนว่ ยงาน
ทเ่ี กย่ี วข้อง ยงั ไดน้ �ำร่องกจิ กรรม เพื่อสนับสนุนโอกาสใหค้ นพิการได้มอี ุปกรณท์ ีม่ ี
มูลค่าสงู และจ�ำเป็นต้องใชใ้ นการฟนื้ ฟสู ภาพ ลดภาระผู้ดแู ลและชว่ ยเหลอื ตัวเอง
ในการด�ำเนนิ ชวี ติ ประจ�ำวนั เปน็ กจิ กรรมทส่ี อดคลอ้ งในการสนองแนวพระราชด�ำริ
ในการช่วยเหลือและฟื้นฟูสภาพคนพิการและครอบครัว โดยเฉพาะการสร้าง
ความร่วมมือกับสถาบันสิรินธรและหน่วยงานทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดยะลา
ปัตตานีและนราธิวาส เช่น ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส�ำนักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์การศึกษาพิเศษประจ�ำจังหวัดและ
โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ริเร่ิม
ประสานงานสร้างความร่วมมือในการบริหารจัดการเป็น “ธนาคารอุปกรณ์
คนพกิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต”้ จดั ตงั้ ขน้ึ ทอ่ี าคารศนู ยร์ าชการจงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ ท�ำหน้าที่รวบรวมอุปกรณ์ท่ีได้รับการสนับสนุน บริจาค หรือผลิตขึ้น
ตามโครงการสนองแนวพระราชด�ำริ “เก้าอี้สุขใจ สู่รองเท้าสั่งตัด” และ
บูรณาการการท�ำงานกับสถานบริการสาธารณสุขในการค้นหา คัดกรอง สนับสนุนและส่งต่อการให้ความช่วยเหลือ
คนพกิ าร โดยเฉพาะคนพิการทป่ี ระสบปญั หาซ้�ำซ้อน เช่น ยากจน ขาดอปุ กรณ์ ขาดผดู้ แู ล ว่างงาน รวมถึงการเชอ่ื มโยง
กับภาคประชาสังคม (สมาคมคนพิการจังหวัดยะลา) ในการจัดตั้งเป็นศูนย์ซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์คนพิการ ดังน้ัน นอกจาก
คนพิการจะไดร้ ับอุปกรณท์ ่ีจ�ำเป็นไม่น้อยกว่า ๒๐๐ – ๓๐๐ คน ในแตล่ ะปีแลว้ ยังเกิดเปน็ ศูนย์กลางการบรหิ ารจดั การ
แลกเปล่ยี น หมุนเวยี น อุปกรณท์ ีห่ ลากหลาย และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพ้นื ท่ีมากขึน้ อกี ดว้ ย

17

๔. การยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตผ่านแนวพระราชด�ำริ “ครวั โรงเรยี น สคู่ รวั บ้าน”
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดข้ อพระราชทานกราบบงั คมทลู

รายงานผลการด�ำเนินงานท่ีเก่ียวเน่ืองกับการส่งเสริมกิจกรรมที่สามารถ
สนับสนุนการบริโภคอาหารกลางวันท่ีปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการของ
เด็กนักเรียนจัดท�ำโครงการน�ำร่อง “ครัวโรงเรียน สู่ครัวบ้าน” ในคราวรับเสด็จ
สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๐ ณ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้ทรงมีพระราชด�ำรัสให้ “ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ร่วมกับ
หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเขา้ ไปสง่ เสรมิ และขยายผลการด�ำเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั
“ครัวโรงเรียน สู่ครัวบ้าน” โดยมุ่งเน้นการลดสารเคมีในการท�ำเกษตรและท�ำให้ท่ัวถึงประชาชนทุกพื้นท่ี”
ดงั นนั้ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ งึ นอ้ มน�ำกระแสพระราชด�ำรสั ใสเ่ กลา้ ใสก่ ระหมอ่ มและด�ำเนนิ การ
ขยายผลโครงการตามแนวพระราชด�ำริ โครงการอาหารกลางวัน “ครัวโรงเรียน สู่ครัวบ้าน” ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๐ มาถึงปัจจุบัน โดยร่วมกับส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
กองก�ำกบั การต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๓ กองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๔ และส�ำนักงานเกษตรจงั หวดั
ในพนื้ ที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

ในปจั จบุ ันปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มีนักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาเป็นนกั เรียน
ต้นแบบท่ีรักในวิชาชีพเกษตร จ�ำนวน ๔๗ คน และพัฒนาเป็นแกนน�ำเครือข่าย
นักเรียนสนใจการเกษตร จ�ำนวน ๔๒๔ คน จากโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ
จ�ำนวน ๓๘๖ แห่ง สามารถน�ำตัวอย่างการท�ำเกษตรตามแนวทางโครงการ
อาหารกลางวนั “ครวั โรงเรยี น สคู่ รวั บา้ น” ไปขยายผลสงู่ านเกษตรของครวั เรอื น
ท่ีสามารถสร้างความม่ันคงทางอาหารระดับครัวเรือน รวมถึงการลดรายจ่าย
เพ่ิมรายได้ให้กับนักเรียนและครอบครัวตามหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง” โดยภาครฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื พฒั นาใหเ้ ปน็ เกษตรกรกา้ วหนา้
ผา่ นการศกึ ษาองคค์ วามรู้ ทกั ษะ เทคโนโลยแี ละสรา้ งทศั นคตใิ นงานวชิ าชพี เกษตร
ซงึ่ ในอนาคตเดก็ นกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การปลกู ฝงั การท�ำเกษตรเหลา่ นี้ สามารถยกระดบั
เป็นการท�ำเกษตรเชิงสัมมาอาชีพท่ีม่ันคงและยั่งยืน รวมทั้งการเป็นก�ำลังหลัก
ในการพฒั นาถน่ิ ฐานบา้ นเกดิ ใหก้ ารท�ำเกษตรทกุ รปู แบบเปน็ การเกษตรกา้ วหนา้
ใหก้ ับชุมชนตอ่ ไป

18

๕. การแกไ้ ขปัญหาบุคคลไมม่ ีสถานะทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไร้สัญชาติในพื้นท่ีจงั หวัดชายแดนภาคใต้
โดยการตรวจพสิ จู น์สารพนั ธกุ รรม (DNA)

ปญั หาคนไทยในจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ มม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎร

เป็นส่วนส�ำคัญก่อให้เกิดความเหล่ือมล้�ำในทุก ๆ ด้าน ทั้งน้ีเนื่องจากท�ำคลอด
ดว้ ยหมอต�ำแย บดิ า/มารดา เปน็ แรงงานในตา่ งประเทศไมไ่ ดแ้ จง้ เกดิ ตามระบบ
ความยากจน ทอ่ี ยอู่ าศยั หา่ งไกลความเจรญิ ความเชอื่ เฉพาะถนิ่ การถกู ทอดทงิ้
และการขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการรับรองสถานะทางทะเบียน
ราษฎร รวมถึงการไม่มีเอกสารของทางราชการหรือไม่มีบุคคลที่สามารถ
มาเป็นพยาน เพื่อยืนยันสถานภาพส�ำหรับการขอเพิ่มช่ือในทะเบียนบ้านและ
การออกบัตรประจ�ำตัวประชาชนของกรมการปกครอง ท�ำให้ประชาชนใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้บางส่วน ได้แก่
จงั หวดั นราธวิ าส ปตั ตานี ยะลา สงขลา และสตลู รวมทงั้ คนไทยทอ่ี าศยั อยใู่ นประเทศมาเลเซยี กลายเปน็ คนไทยไรส้ ญั ชาติ
หรอื ไมม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎร จงึ ท�ำใหบ้ คุ คลเหลา่ นไี้ มส่ ามารถเขา้ ถงึ สทิ ธิ เสรภี าพและการบรกิ ารขนั้ พนื้ ฐานตา่ ง ๆ
จากรัฐอย่างเท่าเทียมกับประชาชนท่ีมีสัญชาติไทย ดังน้ัน เพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและอ�ำนวยความยุติธรรมให้กับ
ประชาชนอยา่ งเทา่ เทยี ม โดยค�ำนงึ ถงึ เกยี รตยิ ศและศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู กระทรวงการต่างประเทศ (สถานกงสุลไทย
ในประเทศมาเลเซีย) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
จึงได้บูรณาการการแก้ไขปัญหาคนไทยไร้สัญชาติใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งในประเทศมาเลเซีย
โดยมีวัตถุประสงค์ดงั นี้
๑. เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื และแกไ้ ขปญั หาคนไทยไรส้ ญั ชาตหิ รอื ไมม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎร ในพน้ื ที่ ๕ จงั หวดั
ชายแดนภาคใต้ และคนไทยท่ีอาศัยอยู่ในประเทศมาเลเซียให้มีบัตรประจ�ำตัวประชาชน โดยอาศัยผลการตรวจพิสูจน์
สารพันธุกรรม (DNA) ความสัมพันธท์ างสายโลหติ หรอื ความสมั พันธ์เครือญาติ
๒. เพื่อสร้างหลักประกันให้กับบุคคลกลุ่มเปราะบางให้มีสิทธิเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะการเข้าถึงบริการ
ขนั้ พ้นื ฐาน การประกอบอาชพี และการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ใหห้ ลุดพ้นจากปัญหาความยากจน

ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ไดด้ �ำเนนิ การแกไ้ ขปญั หาบคุ คลไมม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎร
หรอื ไรส้ ญั ชาตคิ รง้ั แรกในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยเรม่ิ
ด�ำเนินการท่ีสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู ประเทศ
มาเลเซีย และต่อมาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงเริ่ม
ด�ำเนินการควบคู่กับ ๕ จังหวัดชายแดนภาคไต้ ได้แก่
จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลาและสตูล แนวทาง
ในการแก้ไขปัญหาอาศัยผลการตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม
ความสมั พันธท์ างสายโลหิต (Paternity DNA Testing) หรือ
ความสัมพันธ์เครือญาติ มาใช้ประกอบการพิจารณาเพิ่มชื่อ
ในทะเบียนราษฎรและการออกบตั รประจ�ำตัวประชาชน

19

ขนั้ ตอนการด�ำเนินงาน
๑. ประชาชนทป่ี ระสงคจ์ ะขอมบี ตั รประจ�ำตวั ประชาชน ใหย้ นื่ ค�ำรอ้ ง ณ ทว่ี า่ การอ�ำเภอ ฝา่ ยงานทะเบยี นและบตั ร
๒. ในกรณีท่ีจ�ำเป็นต้องตรวจพิสูจน์สารพันธุกรรม อ�ำเภอจะส่งรายชื่อผู้ร้องขอมีบัตรประจ�ำตัวประชาชน
พร้อมคู่เทียบ (ญาติที่มีบัตรประจ�ำตัวประชาชนแล้วและตามหลักวิชาการสามารถตรวจ DNA เทียบความสัมพันธ์
ทางครอบครวั ได้) ให้ศูนย์อ�ำนวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อเขา้ รว่ มโครงการ
๓. จัดกิจกรรมการพิสูจน์สารพันธุกรรม DNA ตามแผนท่ีก�ำหนด โดยให้ผู้ร้องขอมีบัตรประจ�ำตัวประชาชน
เขา้ ร่วมจัดเกบ็ ตัวอยา่ งเย่อื บกุ ระพงุ้ แกม้ หรอื ตัวอยา่ งโลหิตพร้อมกบั คู่เทียบ
๔. หน่วยงานที่ท�ำการตรวจ DNA ส่งรายงานผลการตรวจ DNA ให้กับอ�ำเภอ เพื่อพิจารณาด�ำเนินการเพ่ิมช่ือ
ในทะเบียนบา้ นและออกบตั รประจ�ำตัวประชาชน
๕. ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ประสานติดตามผลสัมฤทธ์ิในการเพ่ิมบุคคลในทะเบียนบ้าน
และการออกบตั รประจ�ำตวั ประชาชน

การจัดเก็บตัวอย่างเพ่ือตรวจพิสจู น์สารพันธุกรรม
ความสมั พนั ธ์ทางสายโลหติ (Paternity DNA Testing) หรือความสัมพันธ์เครือญาติ

20

ผลการด�ำเนินงานการแก้ไขปญั หาบคุ คลไมม่ สี ถานะทางทะเบียนราษฎรหรือไรส้ ญั ชาติ
ใน ๕ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และเมืองโกตาบารู ประเทศมาเลเซยี

การตรวจพิสจู นส์ ารพนั ธุกรรม
ใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลาและสตลู )

ปีงบประมาณ บคุ คลไร้สญั ชาติ บุคคลอ้างอิง รวมทั้งหมด ดำ�เนนิ การเพม่ิ ชอ่ื อยู่ระหวา่ ง
พ.ศ หรอื ไมม่ สี ถานะ (คน) (คน) ในทะเบยี น ดำ�เนนิ การ
ทางทะเบียน ราษฎร (คน)
๒๕๖๐ ราษฎร (คน) - (คน)
๒๕๖๑ ๔๒๒
๒๕๖๒ - ๔๗๓ -- -
๒๕๖๓ ๕๓๔ ๑๘๐ ๙๕๖ ๔๙๕ ๓๙
๒๕๖๔ ๕๗๓ ๑๘๓ ๑๐๔๖ ๒๒๓ ๓๕๐
รวมทั้งหมด ๒๑๕ ๑,๒๖๘ ๓๙๕ ๗๕ ๑๔๐
๒๑๒ ๔๐๕ - ๒๑๒
๑,๕๓๔ ๒๘๐๒ ๗๙๓ ๗๔๑

การตรวจพสิ จู น์สารพันธุกรรม
ณ เมอื งโกตาบารู ประเทศมาเลเซีย

ปงี บประมาณ บคุ คลไร้สัญชาติ บคุ คลอา้ งอิง รวมทั้งหมด ดำ�เนนิ การเพม่ิ ชอ่ื อยรู่ ะหว่าง
พ.ศ หรือไม่มีสถานะ (คน) (คน) ในทะเบยี น ดำ�เนนิ การ
ทางทะเบียน ราษฎร (คน)
๒๕๖๐ ราษฎร (คน) ๔๕ (คน)
๒๕๖๑ ๔๙ ๑๑๙ ๕๗
๒๕๖๒ ๗๔ ๕๗ ๑๓๙ ๕๑ ๑๗
๒๕๖๓ ๙๐ - ๑๔๙ ๓๓ ๓๙
รวมทงั้ หมด ๙๒ ๑๕๑ ๕๙
- -- -
๒๕๖ ๔๐๗ ๑๔๑ ๑๑๕

หมายเหตุ : ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ ไม่ได้ด�ำเนินการเน่อื งจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19 )

21

การออกบัตรประจ�ำตวั ประชาชน

22

๖. การพัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุมานิ (โอรัง อสั ล)ี ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ เปน็ ชนเผา่ ในชาตพิ นั ธน์ุ กิ รอยด์ หรอื “เนกรโิ ต”

มาจากภาษาสเปน แปลว่า “นิโกรเล็ก” ในทางวิชาการ หมายถึง กลุ่มคนท่ีมีเชื้อสายนิกรอยด์ คือ ผิวด�ำ ผมหยิก
ริมฝีปากหนา ส่วนค�ำว่า “โอรัง อัสลี” (Orang Asli) เป็นชื่อที่มาเลเซียใช้เรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มนี้ มีความหมายว่า
“ชนพ้นื เมอื งดง้ั เดิม” ค�ำน้เี ป็นค�ำท่ีใช้ในราชการของประเทศมาเลเซียหลังไดร้ ับเอกราชจากอังกฤษ ซง่ึ เป็นคนกลุ่มแรก
ท่ีไดอ้ พยพเข้าสคู่ าบสมุทรมลายแู ละเชื่อวา่ ชนพนื้ เมอื งเหล่าน้เี ปน็ บรรพบุรษุ ของชาวมลายู จะมถี ่ินอาศัยอยใู่ นเทือกเขา
สันกาลาคีรีและเทือกเขาบรรทัด และได้มีการเคลื่อนย้ายท่ีท�ำกินไปในพ้ืนที่ป่าของจังหวัดพัทลุง ตรัง สตูล ยะลา และ
นราธิวาส เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอาศัยในป่าของประเทศไทยมานาน โดยเฉพาะผืนป่าในเขตนิคมสร้างตนเองเบตง
นิคมสร้างตนเองธารโต จังหวัดยะลา นิคมสร้างตนเองสุคิริน นิคมสร้างตนเองศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ซึ่งมีประมาณ
๗ กลมุ่ รวม ๓๐๐ คน ทตี่ อ้ งดแู ลใหเ้ ขา้ ถงึ บรกิ ารพนื้ ฐานของรฐั การอา่ นออกเขยี นได้ พนื้ ทที่ �ำกนิ ทม่ี นั่ คงและเพอื่ ปอ้ งกนั
มใิ ห้ตกเป็นเคร่ืองมอื ของผแู้ สวงหาผลประโยชน์
เมื่อวันท่ี ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดท้ รงเยยี่ มราษฎร
ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละไดพ้ บกบั กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี
จากเทือกเขาบรรทัดและพื้นท่ีอ�ำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ทรงมี
พระราชด�ำรัสเป็นห่วงในด้านวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี)
ทีอ่ าจตกเป็นเครื่องมือของผู้ทไ่ี มห่ วังดแี สวงหาผลประโยชน์
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตใ้ นฐานะเปน็ หนว่ ย
สนับสนุน ประสานงานและอ�ำนวยการให้หน่วยงานในพื้นท่ีที่เกี่ยวข้อง
รับผิดชอบดูแลกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี) ได้ด�ำเนินการเป็นไปตาม
วัตถปุ ระสงค์ในการทจี่ ะท�ำใหค้ ุณภาพชีวิตกลุม่ ชาติพันธุ์มานิ (โอรงั อัสล)ี
มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และสามารถได้รับการดูแลสุขภาพและเข้าถึง
สวัสดิการภาครัฐได้ โดยมีผลการด�ำเนินงานระยะ ๓ ปีท่ีผ่านมา
(พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔) ดังตอ่ ไปน้ี

๑. การจัดท�ำเอกสารรับรองบคุ คล โดยการจัดท�ำบตั รประจ�ำ
ตัวประชาชนและบัตรอื่น ๆ เช่น บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้แก่
กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี บา้ นนากอ ต�ำบลอยั เยอรเ์ วง อ�ำเภอเบตง
จังหวัดยะลา เห็นชอบให้อ�ำเภอเบตงเป็นผู้จัดท�ำแผนการปฏิบัติการ
และด�ำเนินการออกบัตรประจ�ำตัวประชาชน โดยก�ำหนดให้แล้วเสร็จ
ภายในไตรมาสแรกของปี ๒๕๖๔ (สนิ้ สดุ เดอื นธนั วาคม ๒๕๖๓)

23

เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พรอ้ มดว้ ยเจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยงานทะเบยี น
และบัตร ประจ�ำอ�ำเภอเบตง กรมการปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัดยะลาและเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพต�ำบลอยั เยอรเ์ วง อ�ำเภอเบตง จงั หวดั ยะลา รว่ มลงพนื้ ทตี่ รวจเกบ็ ขอ้ มลู อตั ลกั ษณใ์ บหนา้ และถา่ ยรปู ท�ำบตั รประจ�ำ
ตวั ประชาชนแกก่ ลมุ่ ชาติพนั ธุ์มานิ (โอรงั อสั ล)ี ท่ีอาศัยอยพู่ ้นื ทบี่ ้านนากอ ต�ำบลอยั เยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา
และลงทะเบยี นบตั รประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ซงึ่ กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี ในพนื้ ทดี่ งั กลา่ ว ปจั จบุ นั มจี �ำนวน ๕๙ คน
ไดส้ ิทธ์ิสวัสดกิ ารสงั คม ดงั นี้

- บัตรประจ�ำตัวประชาชน จ�ำนวน ๔๐ คน
- บตั รประกนั สขุ ภาพ จ�ำนวน ๕๙ คน
- เงินยงั ชีพผสู้ ูงอาย ุ จ�ำนวน ๓ คน
- เงนิ อดุ หนนุ เด็กแรกเกดิ จ�ำนวน ๗ คน

๒. การพัฒนาคุณภาพชวี ิต การขออนญุ าตการใช้ประโยชนใ์ นที่ดินของนิคมสร้างตนเอง เพอ่ื การเกษตรกรรม
และทีอ่ ยอู่ าศยั ส�ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ยะลาจดั ท�ำแผนด้านการดแู ลรักษาสุขภาพและประสานหนว่ ยงานในสังกัด
กระทรวงศึกษาธกิ าร อาทิ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๗ พิจารณาแผนการสง่ เสริมและพฒั นาการศกึ ษา

• ดา้ นการขออนุญาตการใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีดนิ ของนคิ มสรา้ งตนเองเบตง
เม่อื วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔ นิคมสร้างตนเองเบตง จงั หวดั ยะลา แจ้งว่าตามทศ่ี ูนยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจังหวดั
ชายแดนภาคใต้ ไดย้ นื่ ค�ำรอ้ งขออนญุ าตใชพ้ น้ื ทส่ี งวนบรเิ วณบา้ นนากอ หมทู่ ่ี ๙ ต�ำบลอยั เยอรเ์ วง อ�ำเภอเบตง จงั หวดั ยะลา
และก�ำหนดขอบเขตของที่ดินที่มีการจัดสรรอย่างชัดเจน พร้อมมีการจัดท�ำกฎระเบียบการใช้อย่างรอบคอบ เพ่ือไม่ให้
เกิดข้อพิพาทและเป็นพ้ืนท่ีทับซ้อนกับพื้นท่ีของชาวบ้านใช้ประโยชน์ หรือเพื่อป้องกันมิให้เกิดการบุกรุกขยายพื้นท่ี
ในอนาคต กรมพัฒนาสังคมและสวัสดกิ ารไดพ้ ิจารณาอนุญาตให้ใชท้ ่ีดนิ สงวน เพอื่ เป็นแนวทางชว่ ยเหลอื กลุ่มชาตพิ ันธุ์
มานิ (โอรัส อัสลี) จ�ำนวน ๓๐ ไร่ เรียบร้อยแล้ว ตามบันทึกกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ท่ี พม ๐๖๐๗/๑๔๕๗๓
ลงวนั ที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๓

24

โดยเมื่อวันท่ี ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๔ นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยพ์ รอ้ มคณะผบู้ รหิ าร ลงพนื้ ท่ี
จังหวัดยะลา เพื่อบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี)
พร้อมหารือบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
รายครัวเรอื น โดยมี พลเรือตรี สมเกยี รติ ผลประยูร เลขาธิการศูนยอ์ �ำนวยการ
บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ พร้อมด้วยนายชัยสิทธิ์ พานิชพงศ์ ผู้ว่าราชการ
จังหวัดยะลา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๒ สงขลา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยะลา
ผ้ชู ่วยเลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้แทนสถานตี �ำรวจในพืน้ ทีร่ ับผดิ ชอบต�ำรวจภธู รภาค ๙
จงั หวดั ยะลา ผแู้ ทนกองอ�ำนวยการรกั ษาความมนั่ คงภายในภาค ๔ สว่ นหนา้ รวมทง้ั หวั หนา้ สว่ นราชการ ภาคประชาสงั คม
บัณฑิตอาสาพัฒนามาตุภูมิ พร้อมเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องร่วมให้การต้อนรับ และมอบบัตรประจ�ำตัวประชาชนแก่กลุ่ม
ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี โดยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ยะลา มอบแกน่ ายเดง็ รกั ษฮ์ าลา หวั หนา้ กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี
ท้ังนี้ นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยไ์ ด้มอบหนงั สอื อนญุ าตใหใ้ ช้
ประโยชน์ที่ดินในเขตนิคมสร้างตนเองเบตง จ�ำนวน ๓๐ ไร่ ให้แก่
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ใช้พื้นท่ีสงวนบรเิ วณ
บ้านนากอ หมู่ท่ี ๙ ต�ำบลอัยเยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา
เพ่ือขับเคล่ือนโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิ
(โอรัง อัสลี) จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามแนวพระราชด�ำริ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี
• ดา้ นการศึกษา
เมื่อวนั ท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ศนู ย์อ�ำนวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขา้ รว่ มประชุมร่วมกบั ส�ำนกั งาน
ศึกษาธิการภาค ๗ ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดยะลา เพื่อด�ำเนินการ
จดั ท�ำแผนปฏิบตั ิการและจัดเวลาการเรียนการสอนใหก้ ลุ่มชาติพนั ธุม์ านิ (โอรัง อสั ลี) พ้นื ที่บ้านนากอ ต�ำบลอยั เยอรเ์ วง
อ�ำเภอเบตง จงั หวัดยะลา
เมื่อวันท่ี ๑๔ และ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔ คณะครูส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั ต�ำบลอัยเยอรเ์ วง ลงพนื้ ทบ่ี ้านนากอ หมูท่ ่ี ๙ ต�ำบลอยั เยอรเ์ วง อ�ำเภอเบตง จงั หวัดยะลา จัดกิจกรรมการเรียน
การสอนสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สอื ไทย ใหก้ บั กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี พนื้ ทบี่ า้ นนากอ มกี ลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ านิ (โอรงั อสั ล)ี

ซึง่ มีผูเ้ รียน (ชาย) จ�ำนวน ๑๒ คน พรอ้ มมอบอปุ กรณ์ส�ำหรับการเลี้ยง
ปลาในบ่อดนิ บรเิ วณท่ีตง้ั ทบั และมแี ผนงานรว่ มกันด�ำเนินการส่งเสรมิ
ดา้ นอาชพี ผา่ นหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารต่อไป
นอกจากนี้ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
จะด�ำเนนิ การรว่ มกบั ชมุ ชนจดั ใหม้ ศี นู ยเ์ รยี นรู้ เพอ่ื ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้
การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี) แสดงประวัติ
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี)
ณ พืน้ ท่บี ้านนากอ ต�ำบลอัยเยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา

25

๗. ศนู ยจ์ ติ อาสาศนู ย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศูนย์จิตอาสา ศอ.บต.)
ศูนย์จิตอาสาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศูนย์จิตอาสา ศอ.บต.) จัดตั้งขึ้น

เม่ือวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เพ่ือขับเคล่ือนงานด้านจิตอาสาในนามศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตลอดจนหนุนเสริมภารกิจด้านจิตอาสาของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทั้งน้ี เป็นการสืบสานพระราชปณิธานของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม ให้หน่วยราชการในพระองค์ ๙๐๔ ร่วมกันจัดโครงการจิตอาสาพระราชทาน ตามแนวพระราชด�ำริ
เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและแสดงความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
ท่ีทรงประกอบพระราชกรณียกจิ นานปั การ เพือ่ ประโยชนส์ ุขของประชาชน โดยมุ่งเน้น “การท�ำความดี ดว้ ยหวั ใจ”
การขบั เคลอื่ นงานศนู ยจ์ ติ อาสาศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตน้ �ำโดย พลเรอื ตรี สมเกยี รติ ผลประยรู
เลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะหัวหน้าศูนย์จิตอาสา ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร บุคลากรและจิตอาสา ๙๐๔ จากโรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน
ตลอดระยะเวลาท่ผี า่ นมาไดข้ บั เคล่ือนภารกจิ ส�ำคัญครอบคลุมทัง้ ด้านจติ อาสาพฒั นาและจติ อาสาภัยพบิ ตั ิ ดังนี้
๑. ถุงยังชีพพระราชทาน มูลนิธิอาสา เพ่ือนพึ่ง (ภาฯ)
ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ด้วยสถานการณ์อุทกภัยในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ในห้วงเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ – มกราคม ๒๕๖๔ ท�ำให้ประชาชน
ในหลายพ้ืนที่ได้รับความเดือดร้อนจากการท่ีน้�ำเข้าท่วมบ้านเรือน
และพื้นท่ีเกษตรกรรม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
กรมหม่ืนสุทธนารีนาถ (องค์นายกกิตติมศักด์ิตลอดชีพ) และสมเด็จ
พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา (องค์ประธาน
กรรมการมูลนิธิอาสา เพื่อนพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย) ทรงมีพระเมตตาต่อปวงชนชาวไทยโดยพระราชทาน
ถงุ ยงั ชพี ผ่านมูลนิธอิ าสา เพ่ือนพึง่ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย รวม ๑๑,๑๙๗ ถงุ
ศูนย์จิตอาสาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นผู้แทนรับมอบถุงยังชีพพระราชทานดังกล่าว
และลงพื้นท่ีร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อเชิญถุงยังชีพพระราชทานไปมอบแก่พสกนิกรผู้ประสบอุทกภัยในพื้นท่ี
จังหวดั นราธวิ าส ปัตตานี และยะลาจนสถานการณ์คลค่ี ลาย

26

๒. โรงครัวพระราชทาน มูลนิธิอาสา เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพ่ือช่วยเหลือผู้ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณแ์ พรร่ ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
ดว้ ยสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) สง่ ผลใหป้ ระชาชนในหลายพน้ื ท่ี
ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นในการด�ำรงชพี พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี กรมหมนื่ สทุ ธนารนี าถ (องคน์ ายกกติ ตมิ ศกั ด์ิ
ตลอดชพี ) และสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ พชั รกติ ยิ าภา นเรนทริ าเทพยวดี กรมหลวงราชสารณิ สี ริ พิ ชั ร มหาวชั รราชธดิ า
(องค์ประธานกรรมการมูลนิธิอาสา เพื่อนพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย) ทรงมีพระเมตตาต่อปวงชนชาวไทย
จึงโปรดใหจ้ ัดตัง้ โรงครวั พระราชทาน มลู นิธอิ าสา เพือ่ นพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ในอ�ำเภอเบตง อ�ำเภอยะหา
อ�ำเภอกาบัง และอ�ำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ระหว่างวันที่ ๑ – ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน
ของประชาชน
ศูนย์จิตอาสาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงเป็นตัวแทนจัดพิธีจัดตั้งโรงครัวพระราชทาน
มูลนิธิอาสา เพ่ือนพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย ณ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยร่วมกับ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องประกอบอาหารและน�ำอาหารจากโรงครัวพระราชทาน มูลนิธิอาสา เพ่ือนพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก
สภากาชาดไทยไปมอบแกป่ ระชาชนในพ้นื ทท่ี ีไ่ ดร้ บั ความเดอื ดร้อน รวม ๗,๑๔๐ คน/วัน
๓. จิตอาสาปลูกจิตส�ำนึกความจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์
ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาท่ีสุดมิได้ที่สถาบันพระมหากษัตริย์ทรงมีต่อปวงชนชาวไทยเสมอมา
ศูนย์จิตอาสาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยวิทยากรจิตอาสา ๙๐๔ สังกัด ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จงึ ไดม้ งุ่ เผยแพรพ่ ระราชกรณยี กจิ ของบรู พกษตั รยิ ไ์ ทยตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ทท่ี รงท�ำเพอ่ื ปวงชน
ชาวไทยและก่อให้เกดิ คณุ ปู การอันใหญห่ ลวงแก่ประเทศชาติ โดยการจดั กิจกรรมบรรยายปลกู จติ ส�ำนึกความจงรักภกั ดี
ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐจังหวัดชายแดนภาคใต้ในโอกาสต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการเทิดพระเกียรติ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ
พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ตลอดจนพระบรมวงศานวุ งศ์ทุกพระองค์

27

๔. จติ อาสาเยยี วยาผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ
ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้
สถานการณค์ วามไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใตต้ ง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๗
เป็นต้นมา สร้างความสูญเสียแก่ประชาชนในพ้ืนที่ครั้งแล้วคร้ังเล่า ผู้ได้รับ
ผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่หลายรายกลายเป็นบุคคล
ทพุ พลภาพและผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นในการด�ำรงชพี ศนู ยจ์ ติ อาสา
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จงึ ไดล้ งพนื้ ทเ่ี ยยี่ มเยยี น ใหก้ �ำลงั ใจและมอบสง่ิ ของแกผ่ ไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณค์ วามไมส่ งบในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นราธวิ าส
ปตั ตานี ยะลา และ ๔ อ�ำเภอของจงั หวดั สงขลา (อ�ำเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบา้ ยอ้ ย) โดยมงุ่ หวงั ให้ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ
เหลา่ นี้มคี ณุ ภาพชีวิตและก�ำลังใจที่ดีขนึ้

๕. บ�ำเพญ็ สาธารณประโยชน์
ดว้ ยตระหนักถึงคณุ ค่าแหง่ การเป็นผใู้ ห้ ศูนยจ์ ติ อาสาศูนยอ์ �ำนวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้มุง่ บ�ำเพญ็
สาธารณประโยชน์ เพื่อรองรับการบริการประชาชนและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน รวมทั้งเสริมสร้าง
ความสมานฉนั ท์ระหวา่ งภาครัฐและประชาชน โดยการจดั กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชนร์ ว่ มกบั ชมุ ชนในโอกาสตา่ ง ๆ อาทิ
กิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์ศาสนสถาน กิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ปฏิบัติงาน เพ่ือรองรับการให้บริการประชาชน
กิจกรรมส่งเสรมิ อาชพี เกษตรกรรม เปน็ ตน้ โดยม่งุ เน้น “การท�ำความดี ดว้ ยหัวใจ” ใหป้ ระชาชน

ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา ศูนย์จิตอาสาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ขับเคล่ือนงาน
ดา้ นจติ อาสาของศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และหนนุ เสรมิ การด�ำเนนิ งานดา้ นจติ อาสาของหนว่ ยงาน
ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต ดูแลและช่วยเหลือประชาชนในพ้ืนที่เสมอมา ด้วยเจตนารมณ์ที่สร้างคุณประโยชน์
แกช่ ุมชน โดยมุง่ หวงั ความสุขของประชาชนเป็นส�ำคญั

28

ทศิ ทางการพัฒนา
และความก้าวหนา้ ทีส่ ำ� คญั

ประจ�ำปี ๒๕๖๔



ทิศทางการพฒั นาและความก้าวหนา้ ที่สำ� คัญ
ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

ศูนยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ไดน้ อ้ มน�ำยุทธศาสตร์พระราชทานและหลกั การทรงงานของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา” “หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง” และ “การพฒั นาภมู สิ งั คม” พระปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทร
มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว “เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งอาณาราษฎรตลอดไป” และแนวพระราชด�ำริ “จิตอาสา เราท�ำความดี ด้วยใจ” ตลอดจนแนวพระราชด�ำริของ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีพระราชทานแก่ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ในการด�ำเนนิ โครงการดา้ นการพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้
มาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพฒั นาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ในปี ๒๕๖๔
ก�ำหนดจดุ มงุ่ ของการพฒั นา คอื “เพอื่ ใหป้ ระชาชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี อยรู่ ว่ มกนั ภายใตว้ ถิ พี หวุ ฒั นธรรมอยา่ งยงั่ ยนื ”
และมเี ปา้ หมายสดุ ทา้ ยของการพฒั นา คอื “ประชาชนในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ทา่ เทยี มหรอื ใกลเ้ คยี ง
กับพ้ืนท่ีโดยรอบ” ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงาน ๒ มิติ คือ การพัฒนาตามศักยภาพของพื้นท่ี และการพัฒนาเสริมความมั่นคง
โดยด�ำเนนิ การควบคกู่ ับการด�ำเนินโครงการผ่านแนวพระราชด�ำริ ซึง่ เปน็ หัวใจส�ำคัญในการร้อยรักความสามคั คีของประชาชน
ในพืน้ ท่ที กุ เชอ้ื ชาติและศาสนาใหเ้ ปน็ หน่งึ เดยี วอยา่ งแทจ้ ริง มผี ลการด�ำเนินงานส�ำคญั โดยสรปุ ดงั นี้
๑. การพัฒนาตามศักยภาพพื้นท่ี เป็นการพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนภายใต้การบูรณาการของ
หนว่ ยงานตามภารกิจหนา้ ที่ (Function) เชน่ กระทรวง กรม เป็นต้น หน่วยงานเชงิ พน้ื ที่ (Area) เชน่ จงั หวัด อ�ำเภอ เปน็ ต้น
และหน่วยงานท่ีมีภารกิจเฉพาะ (Agenda) รวมทั้งภาคประชาสังคมและภาคประชาชนในพ้ืนท่ี โดยมีการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ
ประกอบด้วย

๑.๑ การพฒั นาเศรษฐกจิ มเี ป้าหมายเพือ่ ใหป้ ระชาชนในพนื้ ที่มีความกนิ ดี อย่ดู ี มอี าชีพ มีงานท�ำ และประชาชน
ทุกกลุ่มได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง ผ่านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
ควบคู่กบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับอนุภูมภิ าค ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย

๑.๑.๑ ดา้ นการพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากระดบั ครวั เรอื น มงุ่ เน้นสร้างความเข้มแข็ง ใหเ้ กษตรกรสามารถพึ่ง
ตนเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยปรับวิถีฐานรากระดับครัวเรือนจากการปลูกพืชเชิงเด่ียวให้หันมาท�ำการ
เกษตรแบบผสมผสาน เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันและสร้างรายได้ตลอดปี ส่งเสริมครัวเรือนน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริ “ปลูกป่า ๓ อย่าง
ประโยชน์ ๔ อย่าง” และอาชีพตามความถนัด ภูมิสังคม และฐานทรัพยากรของท้องถิ่น โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ได้ร่วมกับหลายหน่วยงานด�ำเนินโครงการน�ำร่อง จ�ำนวน ๒๘๒ แห่ง ในพื้นท่ี ๒๘๒ ต�ำบล ด�ำเนินการมา
ตัง้ แต่ปี ๒๕๖๒ และจะขับเคล่ือนด�ำเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องในระยะถดั ไป ดงั นี้

31

๑) พ้ืนที่ราบลุ่มแม่น้�ำและพื้นที่ราบตอนใน ร่วมกับสภาเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงพลังงาน ส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนท่ีและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
อาทิ ไมผ้ ล กาแฟ กลว้ ยหนิ ขา้ วพนั ธพ์ุ นื้ เมอื ง พชื ระยะสนั้ เชน่ ถวั่ ลสิ ง เปน็ ตน้ พชื เศรษฐกจิ ทางเลอื กใหม่ ไดแ้ ก่ การปลกู ไผพ่ ลงั งาน
เพื่อรองรับโรงไฟฟ้าชีวมวลในพ้ืนที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ส่งเสริม
การปลูกไผ่เศรษฐกิจน�ำร่องแล้ว ประมาณ ๖,๐๐๐ ไร่ ปัจจุบันสามารถตัดจ�ำหน่ายให้กับโรงไฟฟ้าได้แล้ว เกษตรกรมีรายได้
กว่า ๑๕,๐๐๐ บาท/ไร่/ปี ขณะนี้จัดต้ังวิสาหกิจชุมชน ๑๖ แห่ง สมาชิกกว่า ๑,๐๐๐ คน ได้ท�ำบันทึกข้อตกลง (MOU) กับ
ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าขยายพ้ืนที่ปลูกแล้วประมาณ ๓๐,๐๐๐ ไร่ โดยปลายปี ๒๕๖๔ จะด�ำเนินการขยายพื้นที่น�ำร่อง
เพ่ิมอีก ๒,๐๐๐ ไร่ สมาชิก ๕๐๐ คน ซึ่งคาดว่าต้ังแต่ปลายปี ๒๕๖๕ จะสามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรส่วนนี้ไม่น้อยกว่า
ปีละ ๗๒ ล้านบาท นอกจากนี้ ได้ส่งเสริมการปลูกกาแฟ รองรับการบริโภคภายในประเทศ โดยความร่วมมือจาก
บริษัทการปโิ ตรเลยี มแห่งประเทศไทยนำ�้ มนั และการค้าปลีก จ�ำกัด (มหาชน) ผนู้ �ำธรุ กจิ “คาเฟ่อเมซอน” ซึ่งมเี กษตรกรเข้าร่วม
หลายพื้นท่ี

๒) พนื้ ทช่ี ายฝง่ั ทะเล สนบั สนนุ โครงการการเลย้ี งปทู ะเลน�ำรอ่ ง (เนน้ ปดู �ำ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
ของตลาด) ในพ้ืนท่ี ๕ อ�ำเภอชายฝงั่ ทะเล ประกอบดว้ ย อ�ำเภอเทพา จงั หวัดสงขลา อ�ำเภอหนองจิก อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอยะหร่ิง
และอ�ำเภอไมแ้ กน่ จังหวดั ปตั ตานี มกี ล่มุ เกษตรกรเขา้ รว่ มประมาณ ๒๐ กลมุ่ รวม ๔๐๐ ครวั เรือน เกษตรกรทเี่ ข้ารว่ มโครงการ
สามารถจ�ำหน่ายปูสู่ตลาด ประมาณห้วงเดือนพฤศจิกายน
๒๕๖๔ เปน็ ตน้ ไป พรอ้ มทงั้ ไดเ้ ตรยี มการพฒั นาเกษตรกรรนุ่ ใหม่
โดยเฉพาะกลมุ่ เยาวชนใหม้ กี ารพฒั นาองคค์ วามรใู้ นการแปรรปู
ปูทะเล อาทิ ปูเค็ม ปูดอง เพ่ือเพ่ิมมูลค่าและขยายช่องทาง
การตลาดให้กว้างขวางยิ่งขึ้นและมีความยั่งยืน โครงการน้ี
นอกจากจะสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในห่วงโซ่การผลิตอย่าง
กว้างขวางแล้ว จะส่งผลให้มีการฟื้นฟูนากุ้งร้างและป่าชายเลน
เส่ือมโทรมให้มีความสมบูรณ์ เพ่ือเป็นแหล่งผลิตอาหารที่มี
ความยั่งยืนต่อไป

๓) การท�ำปศุสัตว์ ส่งเสริมอาชีพ
การเลี้ยงโค แพะ และสัตว์ปีกในพ้ืนที่ท่ีเหมาะสม เน่ืองจากสอดคล้องกับวิถีชีวิตและมีศักยภาพเป็นสัตว์เศรษฐกิจของพื้นท่ี
ในระยะยาว ในปี ๒๕๖๔ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ร่วมมือกับส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดในพ้ืนที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ สหกรณ์โคขุนศรีวิชัย จังหวัดพัทลุง รวมทั้งสถาบันการศึกษาท้ังในและนอกพื้นท่ี ด�ำเนินการจัดหาพันธุ์โค
ให้เพียงพอกับความต้องการของเกษตรกร พัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูป และส่งเสริมการท�ำตลาดอย่างครบวงจร
ได้จัดตั้งกลุ่มเลี้ยงโคแล้ว จ�ำนวน ๒๕ กลุ่ม สมาชิก จ�ำนวน ๗๕๐ คน ซ่ึงจะท�ำให้การเล้ียงโคเป็นอาชีพทางเลือกท่ีสามารถ
สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับประชาชนในพ้นื ที่ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง

นอกจากนศ้ี นู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตย้ งั ไดส้ ง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรยกระดบั มลู คา่ สนิ คา้
เกษตรใหส้ งู ขน้ึ ดว้ ยการท�ำเกษตรในรปู แบบทเี่ หมาะสมกบั สภาพพน้ื ที่ เชน่ เกษตรอนิ ทรยี ป์ ลอดสารพษิ เกษตรอตั ลกั ษณพ์ นื้ ถนิ่
เกษตรอจั ฉรยิ ะ เปน็ ตน้ โดยมงุ่ เนน้ ใหเ้ กษตรกรใชพ้ น้ื ทน่ี อ้ ยทสี่ ดุ ท�ำการเกษตรดว้ ยตน้ ทนุ ทต่ี ำ่� แตไ่ ดม้ าตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน
GAP (Good Agricultural Practice) และสามารถสรา้ งมลู ค่าจากสนิ คา้ เกษตรใหไ้ ดม้ ากทีส่ ุด ควบคกู่ บั การพัฒนาระบบตลาด
ให้เขม้ แขง็ สามารถเชื่อมโยงระหว่างระบบเศรษฐกจิ ฐานราก สู่ระบบเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ภมู ภิ าค และระบบเศรษฐกิจทสี่ งู ข้นึ
ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศให้มปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ

32

๑.๑.๒ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากระดับชุมชน มุ่งเน้นการรวมกลุ่มเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง
ดา้ นการผลติ พัฒนากลมุ่ ผลิตสินคา้ OTOP ซง่ึ ในพื้นท่ี ๕ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ มปี ระมาณ ๘๐๐ แหง่ อตุ สาหกรรมครัวเรือน
และวิสาหกิจชุมชน ให้มีองค์ความรู้ ทักษะ สามารถผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน มีมูลค่าสูงและตรงกับความต้องการ
ของตลาด โดยมเี ปา้ หมาย คอื การยกระดบั กลมุ่ และวสิ าหกจิ ชมุ ชนตา่ ง ๆ สกู่ ารเปน็ สหกรณท์ ม่ี ฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คลตามกฎหมาย
เพอ่ื สรา้ งความมัน่ คงด้านอาชีพและสามารถจัดสวัสดิการใหก้ ับสมาชกิ ในระยะยาว ในปี ๒๕๖๔ มคี วามกา้ วหนา้ การด�ำเนินงาน
ของกลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนมากกว่า ๓๐ แห่ง และมีความพรอ้ มยกระดับเป็นสหกรณ์ในอนาคต อาทิ วสิ าหกจิ ชมุ ชนผลิตเครอื่ งแกง
ครสู ดุ ใจ ต�ำบลตนั หยงมสั อ�ำเภอระแงะ จงั หวดั นราธวิ าส มรี ายไดม้ ากกวา่ ๑๔๐,๐๐๐ บาทตอ่ ปี วสิ าหกจิ ชมุ ชนแปรรปู ยางพารา
ต�ำบลถำ�้ ทะลุ อ�ำเภอบนั นงั สตา จงั หวดั ยะลา ปจั จบุ นั สามารถสง่ ออกผลติ ภณั ฑไ์ ปจ�ำหนา่ ยยงั ประเทศจนี วสิ าหกจิ ชมุ ชนประมง
ชายฝั่ง (ปลากุเลาเค็มแปรรูป) ต�ำบลท่าก�ำช�ำ อ�ำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี วิสาหกิจผลิตกล้วยแปรรูป ต�ำบลนาประดู่
อ�ำเภอโคกโพธิ์ จังหวดั ปตั ตานี เกิดการสรา้ งงานมากกวา่ ๒๐๐ ครวั เรือน และมคี วามมนั่ คงด้านอาชีพ เน่ืองจากมตี ลาดรองรับ
ท่ีแนน่ อน ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ

๑.๑.๓ ด้านการท่องเท่ียว ด�ำเนนิ การผา่ นโครงการเมืองต้นแบบ
ท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยการพัฒนาจุดชมวิวพื้นกระจก
หรอื Skywalk เปน็ จดุ ทอ่ งเทย่ี วหลกั ทมี่ คี วามโดดเดน่ (Landmark) ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทยี่ ว
เฉลย่ี วนั ละ ๑,๐๐๐ คน การพัฒนาแหล่งท่องเทย่ี วเพม่ิ เติมอีกหลายแห่งใหเ้ ชอ่ื มโยง
กับแหล่งท่องเที่ยวหลัก อาทิ
บ่อน�้ำร้อนบ้านนากอ ต�ำบล
อัยเยอร์เวง หมู่บ้านชาวจีน
ท่าอากาศยานเบตง ฮากกา ๑๕๐ ปี เปน็ ตน้ ทงั้ น้ี

ไดข้ ยายทางหลวงหมายเลข ๔๑๐ ซง่ึ เปน็ เสน้ ทางหลกั เขา้ สแู่ หลง่ ทอ่ งเทยี่ ว
อ�ำเภอเบตง เป็น ๔ ช่องจราจร จะส่งผลให้มีนักท่องเท่ียวเพ่ิมขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับท่าอากาศยานเบตง ได้เตรียมความพร้อมส�ำหรับ
การเปิดใช้สนามบินเม่ือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVIC – 19) คลี่คลาย ควบคู่กับการสนับสนุนและ
สร้างความเข้มแข็งการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพ่ือให้ประชาชนในพ้ืนท่ี
ได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียว โดยมีรายได้จากการให้บริการด้าน
ต่าง ๆ อาทิ ค่าท่ีพัก ร้านอาหาร ร้านจ�ำหน่ายของท่ีระลึก ค่าน�ำทาง
ท่องเที่ยว ซ่ึงคาดว่าเม่ือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVIC – 19) คล่ีคลายลง โครงการเมืองต้นแบบ
ท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา จะสามารถสร้างอาชีพ
ทีม่ ัน่ คงและสรา้ งรายได้ให้กับประชาชนในพื้นทไ่ี ด้อยา่ งตอ่ เน่อื ง

จุดชมววิ พน้ื กระจก Skywalk

33

๑.๑.๔ ดา้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อนภุ มู ภิ าค ๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ สง่ เสรมิ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ ม
ให้เอ้ือต่อการลงทุนในพ้ืนที่เมืองต้นแบบทั้ง ๔ แห่ง ตามโครงการ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน” เพ่ือให้เกิดการสร้างงาน
ในโครงการขนาดใหญ่ การขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลาและนราธิวาส การเพ่ิมศักยภาพด่านชายแดน
ไทย - มาเลเซียท้ัง ๙ แห่ง เพื่อรองรับการค้า การลงทุน และเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนให้สูงข้ึน การส่งเสริมและพัฒนาพ้ืนท่ี
จงั หวดั ชายแดนภาคใตใ้ หเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางธรุ กจิ และอาหารฮาลาล การยกระดบั การผลติ จากภาคเกษตรดง้ั เดมิ สรู่ ะดบั อตุ สาหกรรม
ทมี่ มี ลู คา่ สงู ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ตามแนวทางเศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว (BCG Model)
และการพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานและการคมนาคมขนส่ง ซึ่งปัจจุบันมีความก้าวหน้าเป็นล�ำดับ ตัวอย่างการด�ำเนินงาน
ทส่ี �ำคัญ ไดแ้ ก่

๑) การสนบั สนุนใหเ้ กิดโรงงานแปรรปู ทเุ รียนในพ้นื ที่ ต�ำบลปากบาง อ�ำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ซ่ึงเร่ิมด�ำเนินการเมื่อวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน เพ่ือส่งออกผลผลิตทุเรียน และทุเรียนแปรรูปไปยัง
ประเทศจีน จา้ งแรงงานในพน้ื ทีป่ ระมาณ ๑,๒๐๐ คน ในชว่ งเดอื นกรกฏาคม – กันยายน ๒๕๖๔ สามารถรับซ้อื ผลผลติ ทเุ รียน
จากเกษตรกรในพ้ืนทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใตไ้ ด้กวา่ ๒๐,๐๐๐ ตัน และมแี ผนรบั ซอ้ื ทเุ รยี นเพ่ิมเป็น ๓๐,๐๐๐ ตนั ในปี ๒๕๖๕

๒) การผลักดันให้มีโรงงานแปรรูปมะพร้าวครบวงจรในพื้นที่ เมืองต้นแบบอ�ำเภอหนองจิก
จังหวัดปัตตานี ซ่ึงจะสร้างงานให้กับประชาชนในพ้ืนที่
ประมาณ ๑๕๐ – ๒๐๐ คน ขณะท่ีเกษตรกรท่ปี ลกู มะพร้าว
ในพ้ืนที่ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ครัวเรือน จะมีรายได้จากการ
จ�ำหน่ายผลมะพร้าวในราคาท่ีสูงข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐
เน่ืองจากจ�ำหน่ายโดยตรงให้กับโรงงาน โดยไม่ต้องผ่าน
คนกลางทซี่ อ้ื ผลมะพรา้ วแลว้ ไปสง่ ยงั โรงงานแปรรปู นอกพน้ื ท่ี

๓) การพัฒนาระบบรางขนส่ง
ตู้คอนเทนเนอร์สินค้าโดยรถไฟ โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ร่วมกับการรถไฟแห่งประเทศไทย
พัฒนาและทดสอบระบบการขนส่งตู้คอนเทนเนอร์จากสถานี
รถไฟนาประดู่ อ�ำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี ไปยงั ปลายทาง
ท่าเรือแหลมฉบัง เม่ือวันท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๔ ซ่ึงจะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ
ที่เข้ามาลงทุนในพนื้ ทเ่ี มอื งต้นแบบท้งั ๔ แหง่ ตามโครงการ “สามเหล่ยี มม่ันคง มงั่ คง่ั ยง่ั ยนื ”

๔) การผลักดันให้พื้นท่ี ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นระเบียงเศรษฐกิจฮาลาล ได้ร่วมมือกับ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หอการค้า สภาอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนระเบียงเศรษฐกิจฮาลาลเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาล
ในพ้ืนที่อย่างเป็นระบบและครบวงจร โดยเมื่อวันท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (กพต.) ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบในหลกั การโครงการพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใตใ้ หเ้ ปน็ เมอื งปศสุ ตั ว์ ตามทศ่ี นู ยอ์ �ำนวย
การบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้เสนอ เพ่ือพฒั นาอาชีพปศุสตั ว์อย่างครบวงจรจากตน้ น�้ำสูป่ ลายน�ำ้ โดยน�ำรอ่ งในกิจการเลีย้ ง
โคในระยะแรก ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ด�ำเนินโครงการในลักษณะการขยายผล โดยน�ำความส�ำเร็จและ
บทเรยี นรขู้ องสหกรณเ์ ลยี้ งโคศรวี ชิ ยั จากจงั หวดั พทั ลงุ มาเปน็ ตน้ แบบ กลมุ่ เลยี้ งโค จ�ำนวน ๒๕๐ กลมุ่ เลยี้ งโค จ�ำนวน ๑๖,๐๐๐ ตวั
และจะขยายผลสู่การเล้ียงปศุสัตว์อ่ืน อาทิ ไก่ แกะ แพะ ในระยะถัดไป ซึ่งจะท�ำให้เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการมีอาชีพและ
รายได้ทมี่ ั่นคง ขณะที่อุตสาหกรรมฮาลาลจะเป็นแหลง่ สรา้ งงานและยกระดบั รายไดใ้ หก้ บั ประชาชนในพื้นที่ได้ในระยะยาว

34

นอกจากน้ี ยังมีการส่งเสริมการสร้างงาน กระจายรายได้ผ่านกิจกรรมการค้าออนไลน์ การพัฒนา
ศักยภาพผู้ประกอบการเริ่มใหม่ (Start Up) ผู้ประกอบการขนาดกลาง/ขนาดย่อม (Smart SME) รวมทั้ง เร่งขับเคล่ือน
สวนอตุ สาหกรรมฮาลาล (ชนั้ ๔ ศนู ยร์ าชการจงั หวดั ชายแดนภาคใต)้ รว่ มกบั ส�ำนกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
และหน่วยงานอ่ืน ๆ เพ่อื ยกระดับ SME ในพืน้ ที่ และยกระดบั สู่ Halal Hub

๑.๒ การพฒั นาสงั คม มเี ปา้ หมายเพอ่ื สรา้ งความเทา่ เทยี ม
ในการเข้าถึงบริการจากภาครัฐและสร้างหลักประกันการด�ำเนินชีวิต
อย่างมีความสุข ภายใต้หลักศาสนาและความเชื่อ การสร้างพ้ืนท่ีกลาง
ส�ำหรับคนทุกกลุ่มทุกศาสนา ซ่ึงเป็นปัจจัยส�ำคัญของการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมพหุวัฒนธรรม การด�ำเนินงานทีส่ �ำคัญ ประกอบดว้ ย

๑.๒.๑ ด้านการเข้าถึงสวัสดิการของรัฐ รัฐบาล
ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริการของรัฐให้ประชาชนเข้าถึง
อย่างสะดวกและท่ัวถึง อาทิ ถนน ไฟฟ้า ประปา ระบบอินเตอร์เน็ต
แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นท่ีห่างไกล ดังน้ัน ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ จึงได้เร่งด�ำเนินการส�ำรวจจัดท�ำฐานข้อมูลในระบบดิจิตอลที่ครอบคลุมทุกมิติ และส่งต่อให้หน่วยเก่ียวข้อง
ด�ำเนนิ การ รวมถึงการพฒั นาระบบบริการสาธารณสขุ ทุกระดับให้มคี ุณภาพได้มาตรฐาน และประชาชนไดร้ ับบริการอย่างทัว่ ถึง
โดยเฉพาะโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล (รพ.สต.) ให้สามารถดูแลสุขภาพในขั้นปฐมภูมิได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(อย่างน้อย ๑ ต�ำบล ๑ รพ.สต. คุณภาพ) ตลอดจนการพัฒนาเจ้าหนา้ ท่ี เครือ่ งมือ อุปกรณ์ และการพฒั นากลไกอาสาสมัคร
สาธารณสุข (อสม.)

๑.๒.๒ ดา้ นการดแู ลกลมุ่ คนเปราะบาง มงุ่ เนน้ การสรา้ งโอกาสและความเทา่ เทยี มใหก้ บั กลมุ่ คนเปราะบาง
และขาดโอกาสใหม้ คี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดขี ้ึนและด�ำเนินชีวิตในสงั คม ไดอ้ ย่างปกติสขุ ตามสมควร มกี ารด�ำเนนิ งานที่ส�ำคญั ดังน้ี

๑) การดแู ลและพัฒนาศักยภาพกลมุ่ คนพิการ โดยในพนื้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใตม้ ีกล่มุ คนพิการ
ประมาณ ๙๔,๐๐๐ คน เป็นเด็กพิการ ๙,๒๐๐ คน โดยเฉพาะเด็กพิการซ้�ำซ้อนกว่า ๑,๒๐๐ คน ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
จากสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานค�ำแนะน�ำการแกป้ ญั หา

โดยใชเ้ ครอื่ งชว่ ยพยงุ รา่ งกาย เชน่ เกา้ อส้ี ขุ ใจ จ�ำนวน ๔๐๓ ราย การจดั ท�ำรองเทา้
สงั่ ตดั เฉพาะรายทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื พเิ ศษสมยั ใหมใ่ นการวดั ขนาด ออกแบบ และจดั ท�ำ
จ�ำนวน ๙๓ ราย การฟน้ื ฟรู า่ งกายส�ำหรบั ผพู้ กิ ารหรอื ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี งในพนื้ ทห่ี า่ งไกล
โดยใช้รถ “สิริเวชยาน” ไปให้บริการถึงพ้ืนท่ี ช่วยสร้างความสะดวก ส่งผลให้
ผพู้ กิ ารมพี ฒั นาการทด่ี ขี น้ึ จ�ำนวน ๑,๖๗๘ ราย นอกจากนศี้ นู ยอ์ �ำนวยการบรหิ าร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังได้ร่วมกับสถาบันสิรินธร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในพนื้ ที่ และโรงพยาบาลศูนยย์ ะลา จัดตัง้ ธนาคารกายอุปกรณ์เพอื่ เป็นศูนย์กลาง
ในการรวบรวม แจกจ่าย และซ่อมบ�ำรุงกายอุปกรณ์ที่ได้รับการสนับสนุนจาก
ทุกภาคสว่ นให้กบั ผู้พกิ ารในพ้นื ที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้

35

๒) การดูแลและพัฒนาศักยภาพเด็กก�ำพร้า ในพ้ืนที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ ๔ อ�ำเภอ
ของจังหวัดสงขลา มีเด็กก�ำพร้า จ�ำนวน ๙,๖๕๔ คน แยกเป็น ครอบครัวได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพ้ืนท่ี
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๕,๔๒๑ คน ก�ำพรา้ จากบดิ า มารดาเสยี ชวี ติ จากการเจบ็ ปว่ ยตามปกติ และจากปญั หาการหยา่ รา้ ง
รวม ๔,๒๓๓ คน ซึ่งเด็กเหล่าน้ีจ�ำเป็นต้องมีการวางระบบการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพเป็นรูปธรรม และยั่งยืน ด�ำเนินการ
ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กก�ำพร้า โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา ๓ ประการ ได้แก่ ๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
๒) ยกระดับการพัฒนาให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลว่าด้วยอนุสัญญาสิทธิเด็ก เพื่อให้นานาชาติเห็นถึงความมุ่งมั่นของภาครัฐ
ในการดแู ลเดก็ ตามปฏญิ ญาสากล และ ๓) พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ พรอ้ มกบั เยยี วยาสภาพจติ ใจส�ำหรบั เดก็ ก�ำพรา้ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ
จากสถานการณ์ความไม่สงบในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ในฐานะ
เปน็ ศนู ยก์ ลางเชอื่ มโยงการท�ำงานทกุ ระดบั ด�ำเนนิ การรว่ มกบั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ กองอ�ำนวยการ
รักษาความม่ันคงภายในภาค ๔ ส่วนหน้า กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัด และองค์กรภาคประชาสังคม ก�ำหนด
กรอบแนวทางและกลไกการพฒั นาศกั ยภาพเดก็ ก�ำพรา้ ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื โดยระยะสน้ั เรง่ จดั ท�ำฐานขอ้ มลู โดยระบบเลขประจ�ำตวั
ประชาชน ๑๓ หลกั แยกประเภท พนื้ ทแี่ ละองคก์ รทใ่ี หก้ ารดแู ล พรอ้ มกบั เรง่ แกไ้ ขความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ เชน่ อาหาร เสอื้ ผา้
ท่ีพักอาศัย และการเยียวยาจิตใจ ส่วนในระยะยาว ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงานของแต่ละหน่วยงานและวางระบบเชื่อมโยง
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทงั้ การใหก้ ารศกึ ษา การเตรยี มการสกู่ ารแสวงหาอาชพี ทเ่ี หมาะสม และการจดั ตง้ั ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ก�ำพรา้ ประจ�ำ
ต�ำบล ซง่ึ เปน็ ส่วนหนงึ่ ตามแผนพฒั นาโครงการต�ำบล มัน่ คง มงั่ ค่ัง ย่ังยืน

๓) ผูส้ ูงอายุ เน่อื งจากผสู้ ูงวยั ในพ้ืนทีจ่ ังหวดั ชายแดนภาคใตม้ จี �ำนวนมาก เฉพาะทมี่ อี ายเุ กนิ ๘๐ ปี
มีจ�ำนวนประมาณ ๔๐,๐๐๐ คน ในจ�ำนวนนี้มีผู้ท่ีประสบปัญหาในการด�ำรงชีวิตในด้านต่าง ๆ ทั้งสุขภาพ ที่อยู่อาศัย เป็นต้น
การด�ำเนินการตอ้ งวางระบบการบริหารจัดการผสู้ ูงอายุอยา่ งครบวงจร โดยจดั ท�ำโครงการน�ำรอ่ งหลายโครงการ อาทิ โครงการ
บริบาลผู้สูงวัย โดยอาศัยสถาบันศึกษาปอเนาะ (น�ำร่อง ๒๖ แห่ง) เพื่อดูแลให้ความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ ท้ังในเรื่องอาชีพ
การใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ การอยู่ร่วมกบั สงั คม และการเรียนรู้ทางศาสนา ซง่ึ สอดคลอ้ งกับวิถชี ีวิตของไทยมสุ ลิมในพน้ื ท่ี
จังหวัดชายแดนภาคใต้เปน็ อย่างมาก

๔) คนไร้สัญชาติ เนื่องจากคนไร้สัญชาติ/ไร้สถานนะทางทะเบียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
มีจ�ำนวน ๑๓,๙๐๕ คน และประชาชนผู้อาศัยอยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนไทย-มาเลเซีย ซ่ึงสืบเช้ือสายมาจากผู้มีสัญชาติไทย
แต่อยู่ในสถานะไร้ตัวตนทางทะเบียนราษฎร หรือเป็นบุคคลไร้รัฐ ไร้สัญชาติ อีกไม่น้อยกว่า ๕๐๐ คน ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้น้อมน�ำพระราชกระแสรับส่ังของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ในคราวเสดจ็ พระราชด�ำเนินศนู ยอ์ �ำนวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เม่อื วันที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๕๙
ในการชว่ ยเหลอื และแกไ้ ขปญั หาสถานะและสทิ ธทิ ตี่ กหลน่ ทางทะเบยี นราษฎร ท�ำใหเ้ กดิ ความเสมอภาคในดา้ นสทิ ธแิ ละเสรภี าพ
ตามกฎหมาย สามารถเขา้ ถงึ สวสั ดกิ ารภาครฐั มคี วามกนิ ดอี ยดู่ ี ลดปญั หาความเหลอ่ื มลำ�้ ของสงั คม และน�ำพาสงั คมสคู่ วามสนั ตสิ ขุ
ภายใตค้ วามรว่ มมอื กบั กรมการปกครอง มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ และสถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมอื งโกตาบารู ประเทศมาเลเซยี
และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยด�ำเนนิ โครงการตงั้ แตป่ ี ๒๕๖๐ จนถงึ ปี ๒๕๖๔ ผลการด�ำเนนิ งานไดร้ บั บตั รประจ�ำตวั ประชาชนไทยแลว้
จ�ำนวน ๑,๐๘๖ คน

36

๕) การพฒั นาคุณภาพชวี ติ กล่มุ ชาตพิ ันธุม์ านิ (โอรงั อสั ล)ี
เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมในคาบสมุทรมลายู ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส และ
จังหวัดยะลา จ�ำนวน ๓๔๙ คน บางสว่ นยังคงอาศัยในป่า บางส่วนเริม่ ออกมาอาศยั ใน
พนื้ ทชี่ ายขอบบางฤดกู าล และบางสว่ นพรอ้ มมาอาศยั ในพน้ื ทช่ี ายขอบ/พน้ื ราบอยา่ งถาวร
ศูนยอ์ �ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ขับเคลื่อนโครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ
กลุม่ ชาติพนั ธุม์ านิ (โอรงั อัสล)ี ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ รว่ มกับหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
สง่ ผลใหไ้ ดร้ บั สทิ ธสิ วสั ดกิ ารขน้ั พน้ื ฐานจากภาครฐั ไดแ้ ก่ การจดั ท�ำบตั รประจ�ำตวั ประชาชน
จ�ำนวน ๔๐ คน การขึ้นทะเบียนผู้มีสิทธิรับเงินเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ จ�ำนวน ๓ คน
การข้นึ ทะเบียนผมู้ สี ทิ ธริ บั เงนิ อดุ หนนุ บตุ ร หรอื เงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกดิ จ�ำนวน ๗ คน และการจดั ท�ำบตั รประกนั
สขุ ภาพถว้ นหนา้ (บัตรทอง) จ�ำนวน ๕๙ คน ส�ำหรับการช่วยเหลือด้านท่ีอยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ โดยกรมพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ ได้อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ที่ดินในนิคมสร้างตนเองเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา เป็นที่อยู่อาศัย
และการประกอบอาชีพ จ�ำนวน ๓๐ ไร่ และบ้านจุฬาภรณ์พัฒนา ๙ จ�ำนวน ๘๐ ไร่ นอกจากนี้ยังได้ช่วยเหลือด้านการศึกษา
โดยส�ำนักงานศึกษาธิการภาค ๗ ได้ท�ำการส�ำรวจความต้องการและการจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพชีวิต สู่การขยายผล
จัดการเรียนรู้ภาษาไทยให้กลุ่มชาติพันธุ์มานิ (โอรัง อัสลี) ชุมชนบ้านนากอ ต�ำบลอัยเยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา
เพื่อให้สามารถพูดอ่าน และเขียนไดต้ อ่ ไป

๖) การแกไ้ ขปัญหาความยากจนแบบช้เี ปา้ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ รว่ มกบั
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสขุ และหนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ
ระดับพ้ืนท่ี (บพท.) ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แก้ไขปัญหาความยากจนแบบครบวงจร โดยใช้ฐานข้อมูลคนจน
๕ มิติ จากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนจนแบบชี้เป้า (ThaiPeople Map and Analytics Platform : TPMAP)
ประกอบดว้ ย (๑) คนจนดา้ นสขุ ภาพ (๒) คนจนดา้ นความเปน็ อยู่ (๓) คนจนดา้ นการศกึ ษา (๔) คนจนดา้ นรายได้ และ (๕) คนจน
ดา้ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารรฐั และไดก้ �ำหนดเปน็ เปา้ หมายส�ำคญั เรง่ ดว่ นทจี่ ะตอ้ งเรง่ ด�ำเนนิ การนบั จากปี ๒๕๖๔ เปน็ ตน้ ไป นอกจากนี้
ได้มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในพ้ืนที่ให้เป็นรูปธรรมและยั่งยืน ด้วยการขับเคลื่อนโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
ควบคู่ไปกับโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตอ่ืน ๆ โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเร่งด่วนกับผู้ที่ได้ลงทะเบียนรับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
ไวแ้ ล้ว (รายไดไ้ มเ่ กนิ ๑ แสนบาท/ปี) จ�ำนวนกว่า ๓๕๐,๐๐๐ คน

37

๑.๒.๓ ดา้ นการสง่ เสรมิ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม มงุ่ สรา้ งพน้ื ทก่ี ลางและสภาวะแวดลอ้ มทเี่ ออื้ ตอ่ การปฏสิ มั พนั ธ์
การแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละการท�ำกจิ กรรมรว่ มกนั ของประชาชนตา่ งศาสนกิ ในพน้ื ท่ี อาทิ การแขง่ ขนั กฬี า กจิ กรรมดนตรี กจิ กรรม
ส่งเสริมอาชีพต่าง ๆ ควบคู่กับการส่งเสริมการด�ำเนินชีวิตตามหลักความเช่ือ ความศรัทธา ครอบคลุมทุกเชื้อชาติ ศาสนา
โดยสง่ เสรมิ ประเพณวี ฒั นธรรมทางศาสนาพทุ ธในเทศกาลตา่ ง ๆ อาทิ เขา้ พรรษา ออกพรรษา งานบญุ เดอื นสบิ สง่ เสรมิ กจิ กรรม
ทางศาสนาอิสลามในห้วงเดือนรอมฎอน วันตรุษอีด้ิลฟิตรี อีดิลฮัฎฮา ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเชื้อสายจีนในห้วงวันตรุษจีน
การส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มทุกศาสนิกได้ช่วยเหลือดูแลและเอ้ืออาทรต่อกัน และการฟื้นฟูความเชื่อม่ันให้ชุมชนไทยพุทธ
เปราะบาง จ�ำนวน ๑๑๒ ชมุ ชน โดยศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดจ้ ดั ตงั้ คณะท�ำงานเฉพาะดแู ลใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ได้แก่ การพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ถนน ไฟฟ้า ประปา การปรับปรุงที่อยู่อาศัย การพัฒนาวัด และส�ำนักสงฆ์ ส่งผลให้
ในปี ๒๕๖๔ การด�ำเนินงานของศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หน่วยงานของกระทรวงวัฒนธรรม และ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีความส�ำเร็จและก้าวหน้า
หลายด้าน และท�ำให้ประชาชนในพื้นที่เห็นว่า
ประชาชนทุกหมู่เหล่าสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
สันติในสังคมพหุวัฒนธรรม และชุมชนไทยพุทธ
เปราะบาง มีความเชื่อมั่นต่อการด�ำเนินงานของ
ภาครฐั และไมม่ ีการละท้งิ ถิน่ ฐานไปอย่ทู อ่ี ่นื

๑.๓ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ มเี ปา้ หมายเพอื่ ใหค้ นมสี ขุ ภาวะดที กุ ชว่ งวยั การศกึ ษาตอ้ งตอบโจทยส์ รา้ งคนเกง่
คนดี มีงานท�ำ และวางระบบการเรียนรู้ทุกช่วงวัยสอดคล้องกับโลกในศตวรรษที่ ๒๑ เช่นเดียวกับภูมิภาคอ่ืนของประเทศ
ซ่ึงหน่วยงานภาครัฐต้องให้ความส�ำคัญและต้องด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน เน่ืองจากเป็นแกนหลักและเป็นต้นทางของการพัฒนา
ทัง้ ปวง มกี ารด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญ ประกอบด้วย

๑.๓.๑ ด้านสุขภาวะ ได้วางกรอบการพัฒนาท่ีส�ำคัญตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา โดยมุ่งเน้นการดูแล
ด้านภาวะโภชนาการเด็กแรกเกิดถึงช่วงปฐมวัย (เน้นภาวะทุพโภชนาการต�่ำ ในเด็กอายุ ๐ - ๖ ขวบ) การพัฒนาศักยภาพเด็ก
ปฐมวยั โดยเฉพาะในศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก ในปี ๒๕๖๔ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดด้ �ำเนินโครงการร่วมกบั
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยแ์ ละมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ในการพัฒนาคุณภาพของเด็กช่วงปฐมวัย เน่ืองจากเด็กในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีสภาพทุพโภชนาการในอัตราท่ีสูงมาก

เมือ่ เปรียบเทียบกบั ภูมภิ าคอ่นื ซึง่ จะส่งผลสบื เนือ่ งไปสปู่ ระสทิ ธิภาพ
ของการศึกษาและการหางานท�ำเม่ือเติบโตขึ้น ทั้งนี้ เมื่อวันที่
๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ท่ีประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตร์
ด้านการพัฒนาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ (กพต.) มีมติเห็นชอบหลกั การ
และกรอบงบประมาณ เพ่ือแก้ไขปัญหาสุขภาวะและโภชนาการต�่ำ
ของเด็กเล็กในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามท่ีศูนย์อ�ำนวยการ
บริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใตเ้ สนอ ซงึ่ คาดว่าจะท�ำใหป้ ญั หาหมดไป
ในระยะ ๔ ปีขา้ งหนา้ (ปี ๒๕๖๘)

38

๑.๓.๒ ดา้ นการศกึ ษา ไดส้ นบั สนนุ พฒั นาการดา้ นการศกึ ษา
โดยเฉพาะภาษาไทย ซงึ่ เปน็ พน้ื ฐานของการศกึ ษาในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ อยา่ ง
ต่อเนือ่ ง โดยขับเคลื่อนโครงการน�ำร่องรว่ มกับโรงเรยี นต�ำรวจตระเวน
ชายแดนและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการพัฒนาการเรียนรู้
ภาษาไทยในพ้ืนที่ห่างไกลในโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน จ�ำนวน
๑๘ แหง่ ซงึ่ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดจ้ ดั ครสู อน
ภาษาไทยที่มีความรู้ จบการศึกษาด้านภาษาไทยโดยตรง ไปประจ�ำ
ทกุ โรงเรยี น และมกี ารฝกึ อบรม/ตวิ เขม้ การสอนทกุ รปู แบบในปี ๒๕๖๔
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVIC – 19) ได้พัฒนาศักยภาพวิทยากรผู้สอนภาษาไทยในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านทาง Video Conference
โปรแกรมซมู (Zoom Meeting) และจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ On - hand โดยครจู ดั ท�ำเอกสารและใบงานใหก้ บั นกั เรยี น
และออกไปเยยี่ มบา้ นนกั เรยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซง่ึ จากผลการประเมนิ ผลการเรยี นของนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ปที ่ี ๑ และ ๒
ปรากฎวา่ มพี ฒั นาการทส่ี งู ขน้ึ อยา่ งชดั เจน กลา่ วคอื จ�ำนวนนกั เรยี นในระดบั ดี เพม่ิ ขนึ้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕.๓๕ และ รอ้ ยละ ๑๐.๑๖
ตามล�ำดบั
นอกจากนี้ ยังได้ให้การสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในความดูแลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
จ�ำนวน ๑๖๕ แห่ง มีเด็กเล็กเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน ๑๖,๘๑๒ คน เพ่ือขยายผลการใช้สื่อสร้างสรรค์ ส่งเสริมพัฒนาการ
การเรียนรู้ตามช่วงวัย การใช้ภาษาไทยให้กับเด็กก่อนวัยเรียนและผู้ปกครอง เพื่อให้สามารถใช้ภาษาไทยได้ทั้งในทักษะฟัง พูด
อา่ น เขยี น ผา่ นการเลน่ เลา่ รอ้ งเพลงและวถิ วี ฒั นธรรมในชวี ติ ประจ�ำวนั โดยอทุ ยานการเรยี นรู้ TK Park จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้พัฒนาชุด Mobile สื่อเคลื่อนที่ เพ่ือเข้าถึงเด็ก
ในชมุ ชน ผูป้ กครองและบคุ ลากรผูส้ อนในศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
การสนบั สนนุ พฒั นาการดา้ นการศกึ ษาส�ำหรบั นกั เรยี นทม่ี คี วามสนใจดา้ นการเกษตร เมอื่ วนั ท่ี ๓ กนั ยายน๒๕๖๔
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื โครงการ
พิเศษรับนักเรียนในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าศึกษาในคณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสนับสนุนการเข้าศึกษาในระดับ
ปรญิ ญาตรแี กน่ กั เรยี นตน้ แบบดเี ดน่ ดา้ นการเกษตรจากโครงการพระราชด�ำริ “ครวั โรงเรยี น สคู่ รวั บา้ น” และเคยเขา้ รบั รางวลั จาก
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเป็นการขยายผลการส่งเสริมนักเรียน
ท่ีมีความสนใจด้านการเกษตรเข้าศึกษาการท�ำการเกษตรอย่างจริงจัง เป็นเกษตรกรยุคใหม่ สามารถก�ำหนดทิศทางของตลาด
ก�ำหนดราคา และปลายทางของตลาดบริโภคได้ ส�ำหรับการบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือในครั้งน้ี ได้สนับสนุนการเข้าศึกษาต่อในระดับ
ปริญญาตรีของนักเรียนท่ีผ่านการคัดเลือกจากโครงการ “ครวั โรงเรยี น
สคู่ รวั บา้ น” จ�ำนวน ๔๗ คน เริม่ ด�ำเนนิ การรับนักเรยี นเข้าศกึ ษาต้ังแต่
ปี ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ และนบั ตง้ั แตป่ ี ๒๕๗๑ เปน็ ตน้ ไป ทางมหาวทิ ยาลยั
โดยคณะทรพั ยากรธรรมชาตจิ ะรบั นกั เรยี นจากโครงการ “ครวั โรงเรยี น
สู่ครวั บา้ น” จ�ำนวนปีละ ๑๐ คน อยา่ งตอ่ เน่ือง

39

๑.๓.๓ ด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการพัฒนาทักษะอาชีพในสาขา
ตา่ ง ๆ โดยมงุ่ สนบั สนนุ ใหผ้ วู้ า่ งงาน ประชาชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย และเยาวชนทอี่ ยนู่ อกสถานศกึ ษาและไมม่ งี านท�ำ เขา้ รบั การอบรม
ทักษะอาชีพระยะสั้นหลายโครงการ อาทิ โครงการฝึกอาชีพ ณ
ศูนย์ฝึกอาชีพพระราชทาน ๓ แห่งใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการฝึกอบรมศิษย์พระดาบสในโรงเรียนพระดาบสจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ โครงการฝกึ อาชพี ใหก้ บั เยาวชนทผ่ี า่ นการบ�ำบดั /
เลกิ ยาเสพตดิ การฝกึ อาชพี ตดั เยบ็ ใหก้ บั กลมุ่ แมบ่ า้ น การฝกึ อบรม
การประกอบอาหารฮาลาล ซึ่งเป็นการฝึกอบรมทักษะอาชีพ
ท่ีตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน มีผู้เข้าร่วมโครงการ
มากกว่า ๓,๐๐๐ คน ปัจจุบันผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมเกือบท้ังหมด
มีงานท�ำ และมอี าชีพเล้ยี งตนเองและครอบครัวไดเ้ ป็นอย่างดี

๑.๔ การบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาเจ้าหน้าท่ีรัฐให้พร้อมปฏิบัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิสูงสุด และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์กับประชาชน
อย่างแท้จริง และไม่เป็นช่องว่างให้เกิดเง่ือนไขต่าง ๆ ท่ีจะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดท่ีจะน�ำไปสู่ความรุนแรง มีการด�ำเนินงาน
ท่สี �ำคญั ประกอบด้วย

๑.๔.๑ ดา้ นการจดั สรรทรพั ยากรภาครฐั ไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพของขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และพนกั งาน
สว่ นทอ้ งถนิ่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจสถานการณ์ บรบิ ทของสงั คมในพน้ื ท่ี และเขา้ ถงึ ตน้ ตอ/รากเหงา้ ของปญั หา รวู้ ธิ แี กป้ ญั หาอยา่ งแทจ้ รงิ
ซง่ึ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดจ้ ดั ท�ำโครงการอบรมพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทบี่ รรจใุ หมห่ รอื โยกยา้ ยปฏบิ ตั ิ
หนา้ ทใี่ นต�ำแหนง่ ใหมเ่ ปน็ เวลา ๑ สปั ดาห์ ด�ำเนนิ การมาตง้ั แตป่ ี ๒๕๖๑ จนถงึ ปี ๒๕๖๔ มขี า้ ราชการผา่ นการพฒั นาศกั ยภาพแลว้
จ�ำนวน ๒,๗๕๒ คน จากการประเมินผลพบวา่ เจา้ หน้าที่ของรัฐมีความเข้าใจสถานการณ์และแนวทางการแกป้ ญั หาและพฒั นา
จังหวัดชายแดนภาคใตม้ ากขึ้น ได้ทุม่ เทให้กบั การปฏบิ ตั ิงานในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใตใ้ นระดับเกณฑด์ มี าก และไม่ปรากฏ
การสร้างเงื่อนไขต่าง ๆ กับพื้นท่ีและประชาชน นอกจากน้ียังได้จัดโครงการพัฒนาความสัมพันธ์ระดับผู้บริหารทั้งฝ่ายพลเรือน
ต�ำรวจ ทหาร ระดับจังหวัด และอ�ำเภอ ท�ำให้การท�ำงานมีความเข้าใจต่อกัน มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน และเชื่อมโยงงานกัน
สง่ ผลใหป้ ระชาชนได้รับประโยชน์จากการบรหิ ารจัดการงานท่ดี ีของหนว่ ยงานภาครัฐมากขนึ้

๑.๔.๒ ด้านการให้บริการประชาชน ได้ยกระดับการพัฒนาการบริการของรัฐให้มีความสะดวก รวดเร็ว
ในลักษณะของการบริการ ณ จุดเดียว โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ด�ำเนินการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน
และบริการการค้าและการลงทุน ศูนย์ประสานงานการให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ
และศูนย์ประสานงานกิจการเด็กและสตรีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้อาคารศูนย์ราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นสถานท่ี
ด�ำเนินการ โดยนายกรฐั มนตรไี ด้มาเปน็ ประธานเปดิ เม่ือวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นอกจากน้ไี ดป้ รับรูปแบบการประสานงาน
ตดิ ต่อราชการในระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกต่อประชาชนมากท่สี ดุ

40

๑.๔.๓ ด้านการรับเร่ืองราวร้องทุกข์ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้จัดต้ังศูนย์ด�ำรงธรรม
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เพอ่ื รบั เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขข์ องประชาชนในพน้ื ท่ี โดยสามารถมารอ้ งเรยี นรอ้ งทกุ ขด์ ว้ ยตนเองทศี่ นู ยอ์ �ำนวยการ
บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ โทรศัพท์สายด่วนอุ่นใจ ๑๘๘๐ โทรฟรี ๒๔ ชั่วโมง เว็บไซต์
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละจดหมาย โดยในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ไดร้ บั แจง้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี น รอ้ งทกุ ขก์ วา่
๒,๐๐๐ เรอ่ื ง สามารถแกป้ ญั หาจนยตุ ิ จ�ำนวน ๑,๗๕๔ เรอ่ื ง นอกจากนย้ี งั ไดจ้ ดั เจา้ หนา้ ทรี่ ว่ มกบั ศนู ยด์ �ำรงธรรมเคลอ่ื นทจี่ งั หวดั
และอ�ำเภอ ออกพบปะประชาชนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ เพ่ือรับทราบข้อมูลและประเด็นปัญหาความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชน
ซงึ่ ท�ำใหเ้ รอื่ งรอ้ งทกุ ขแ์ ละปญั หาความเดอื ดรอ้ นตา่ ง ๆ ไดร้ บั การแกไ้ ขอยา่ งรวดเรว็ เปน็ ทพ่ี อใจของประชาชน และท�ำใหป้ ระชาชน
รสู้ ึกวา่ รฐั เป็นทพ่ี ึ่งให้กบั ประชาชนได้อย่างแทจ้ รงิ
๒. การพฒั นาเสรมิ ความมน่ั คง มงุ่ เนน้ การอ�ำนวยความเปน็ ธรรมและเยยี วยาผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณค์ วามไมส่ งบ
การแก้ปัญหาที่กระทบตอ่ ความมั่นคงในชีวิตและการพฒั นา เพื่อสรา้ งความเข้มแขง็ ระดบั ชุมชน หมบู่ ้าน และต�ำบล ลดปญั หา
ภัยแทรกซอ้ นและเงอ่ื นไขการก่อเหตรุ นุ แรง มีผลการด�ำเนินงานทส่ี �ำคญั ประกอบด้วย

๒.๑ ดา้ นการอ�ำนวยความยตุ ธิ รรม ด�ำเนนิ การเพมิ่ ศกั ยภาพการอ�ำนวยความเปน็ ธรรม ภายใตแ้ นวคดิ “คลายทกุ ข์
ที่ต้นทาง” ด้วยการจัดเจ้าหน้าที่อ�ำนวยความเป็นธรรม เพื่อให้ช่วยเหลือประชาชนที่มาติดต่อราชการในส่วนราชการต่าง ๆ
เชน่ ส�ำนกั งานอยั การ ส�ำนกั งานคณะกรรมการอสิ ลามประจ�ำจงั หวดั เรอื นจ�ำ ศนู ยด์ �ำรงธรรม เปน็ ตน้ สนบั สนนุ การเขา้ ถงึ กระบวนการ
ยุติธรรมคดีความมั่นคง ผ่านช่องทางกองทุนยุติธรรม การสร้างเครือข่ายยุติธรรมชุมชนช่วยเหลือทางกฎหมายเบื้องต้น
โดยให้ความชว่ ยเหลือผ่านศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชน ๑๐๖ ศนู ย์ จ�ำนวน ๘,๕๘๗ คน ผ่านทนายอาสาและเครอื ขา่ ยศนู ยน์ ติ สิ มานฉันท์
จ�ำนวน ๗,๑๖๐ ราย และการช่วยเหลือคนไทยไร้สัญชาติใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้และในประเทศมาเลเซีย ให้ได้มีสัญชาติ
ไทยและไดร้ บั สทิ ธิและสวสั ดิการขัน้ พนื้ ฐานที่จ�ำเปน็ เทยี บเท่ากบั คนไทยคนอนื่ ๆ

๒.๒ ด้านการเยยี วยา ในปี ๒๕๖๔ ได้ใหก้ ารช่วยเหลือเยียวยาผูไ้ ดร้ ับผลกระทบจากเหตคุ วามไมส่ งบใหค้ รอบคลุม
ทุกมิติอย่างเป็นธรรม และไม่ล่าช้า จ�ำนวน ๖๖ คน ติดตามเยี่ยมเยียนดูแลคุณภาพชีวิตผู้ได้รับผลกระทบอย่างต่อเน่ือง
จ�ำนวน ๑๕,๐๐๐ คน และปรับปรุงฐานข้อมูลของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ โดยยึดโยงกับหมายเลข
บตั รประจ�ำตวั ประชาชน ๑๓ หลกั พรอ้ มบนั ทกึ ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรายบคุ คลโดยละเอยี ด และเชอื่ มโยงฐานขอ้ มลู กบั หนว่ ยงานหลกั
ได้แก่ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนษุ ย์ และกระทรวงมหาดไทย ไดด้ �ำเนนิ การเรยี บรอ้ ย เพอื่ ใหก้ ารดแู ลครอบคลมุ ทกุ มติ ติ อ่ เนอื่ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒.๓ ด้านการลดปญั หายาเสพตดิ มงุ่ พฒั นาคุณภาพชีวติ และสง่ เสริมอาชพี ภายหลงั การบ�ำบัดรักษา เพือ่ ให้ผู้ผ่าน
การบ�ำบดั รกั ษากลบั คนื สสู่ งั คมแบบมอี าชพี รองรบั ทที่ �ำไดจ้ รงิ และมนั่ คง โดยการสง่ เสรมิ อาชพี ใหเ้ ชอื่ มโยงกบั เศรษฐกจิ ฐานราก
ทีม่ อี ยู่ในชุมชน ควบคกู่ บั การฝกึ ทักษะอาชพี เพิม่ เติมตามความต้องการของตลาด โดยเฉพาะอาชีพช่างสาขาตา่ ง ๆ ในปี ๒๕๖๔
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ด�ำเนินการฝึกอาชีพให้กับผู้ผ่านการบ�ำบัด
รกั ษาแลว้ กวา่ ๑,๐๐๐ คน ซ่ึงสามารถท�ำงานในสถานประกอบการและประกอบอาชพี เลยี้ งดูตนเองและครอบครวั ได้

41

๒.๔ ดา้ นการแกป้ ญั หาทกี่ ระทบตอ่ ความมนั่ คงในชวี ติ มงุ่ สรา้ งโอกาสในการประกอบอาชพี และสรา้ งหลกั ประกนั
ดา้ นรายไดแ้ กป่ ระชาชนทกุ กลมุ่ โดยเฉพาะกลมุ่ ทม่ี ฐี านะยากจนและขาดโอกาส โดยปญั หาส�ำคญั ประการหนงึ่ คอื การขาดทด่ี นิ
ท�ำกนิ ของราษฎรในพน้ื ท่ี ซงึ่ ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดเ้ รง่ ด�ำเนนิ การตรวจสอบ
เพื่อแก้ไขปัญหานม้ี าอยา่ งต่อเนอื่ งและมคี วามกา้ วหนา้ ตามล�ำดบั ดงั น้ี

๒.๔.๑ การแกไ้ ขปญั หากรณรี าษฎรทม่ี ที ด่ี นิ ท�ำกนิ ทบั ซอ้ นอยใู่ นเขตอทุ ยานแหง่ ชาตบิ โู ด-สไุ หงปาดี ปจั จบุ นั
ได้ออกหนังสือรับรองให้ราษฎรสามารถใช้ประโยชน์/ท�ำกินได้แล้วรวม ๑๓,๑๓๒ แปลง เนื้อที่ประมาณ ๖๐,๐๐๓ ไร่ ผู้เข้าใช้
ประโยชน์/ท�ำกิน จ�ำนวน ๗,๖๓๐ คน ส่วนกรณีราษฎรที่มีที่ดินท�ำกินนอกเขตอุทยาน ได้ด�ำเนินการเดินส�ำรวจ รังวัด และ
ออกโฉนดใหก้ บั ราษฎรแลว้ มากกวา่ ๙๒,๐๐๐ แปลง เนอ้ื ทป่ี ระมาณ ๑๖๑,๖๑๙ ไร่ ผคู้ รอบครอง จ�ำนวนมากกวา่ ๖๐,๐๐๐ คน

๒.๔.๒ การแกไ้ ขปญั หาการขาดทดี่ นิ ท�ำกนิ ของราษฎรในระยะตอ่ ไป เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ งานเกดิ ความตอ่ เนอื่ ง
และประชาชนในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ย่ี งั ตกคา้ งจากการส�ำรวจไดม้ ที ด่ี นิ ท�ำกนิ เปน็ ของตนเองใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ ศนู ยอ์ �ำนวยการ
บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้จึงได้ขออนุมัติหลักการขยายผลโครงการเดินส�ำรวจออกโฉนดที่ดิน เพ่ือเสริมสร้างความม่ันคง
ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๗๐ (ระยะเวลา ๖ ปี) จากที่ประชุมคณะกรรมการ
ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (กพต.) เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และทป่ี ระชมุ คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์
ด้านการพฒั นาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้มีมติเห็นชอบในหลกั การให้กรมทดี่ นิ ด�ำเนินการเพิ่มเตมิ อกี จ�ำนวน ๙๐,๐๐๐ แปลง
(ปลี ะ ๑๕,๐๐๐ แปลง) ซง่ึ หากการด�ำเนนิ งานเปน็ ไปตามเปา้ หมายจะท�ำใหป้ ระชาชนในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ มที ดี่ นิ ท�ำกนิ
รวมมากกว่า ๑๘๐,๐๐๐ แปลง เนื้อทปี่ ระมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ไร่ ประชาชนมีที่ดินท�ำกินมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คน ซ่ึงจะท�ำให้
ประชาชนโดยรวมในพ้ืนที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตม้ ที ่ีดินท�ำกินอย่างถูกตอ้ ง สามารถใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต
ใหด้ ีขึน้

๒.๕ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนระดบั ต�ำบล ในปี ๒๕๖๔ ไดร้ ว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๑๗ หนว่ ยงาน
สถาบนั การศกึ ษา หนว่ ยงานทางวิชาการ องคก์ รภาคประชาสังคม และสภาเยาวชนจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ด�ำเนินการโครงการ
ต�ำบลมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เร่งรัดและผลักดันให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนท่ีระดับต�ำบล ผ่านกลไก “สภา
สันติสุขต�ำบล” เพื่อท�ำหน้าท่ีเป็นกลไกส�ำคัญในการบริหารจัดการระดับต�ำบลที่สามารถออกแบบการพัฒนาได้ด้วยตนเอง
ท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจ�ำเป็น ความเดือดร้อน และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ีอย่างแท้จริง และสามารถ
จดั ท�ำแผนพฒั นาต�ำบล เพอื่ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการขอจดั สรรงบประมาณ เพอื่ การพฒั นาระดบั ชมุ ชน หมบู่ า้ น และต�ำบลของตนเอง
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการด�ำเนินงานในปี ๒๕๖๔ กิจกรรมของหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง สามารถตอบสนองต่อความ
ตอ้ งการของชมุ ชนระดบั ต�ำบล สามารถยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนใหด้ ขี น้ึ มตี �ำบลผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
เปน็ ต�ำบลต้นแบบในการพฒั นา จ�ำนวน ๓๗ ต�ำบล นอกจากนี้ยังไดร้ ว่ มกบั สถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน (พอช.) และองค์กรภาค
ประชาสังคม ด�ำเนินการโครงการพ้ืนท่ีสันติสุขขนาดเล็ก มีพ้ืนท่ีและกลุ่มเป้าหมายในระดับครัวเรือน และกลุ่มบุคคล ภายใต้
หลักคิด “จะท้ิงใครไว้ข้างหลังไม่ได้” โดยองค์กรพัฒนาชุมชนระดับต�ำบล และองค์กรภาคประชาสังคม ร่วมกับแกนน�ำชุมชน
ออกแบบการพฒั นาชมุ ชนไดด้ ว้ ยตนเองทสี่ อดคลอ้ งกบั ตน้ ทนุ ของชมุ ชน สภาพปญั หา ความจ�ำเปน็ และความตอ้ งการของชมุ ชน
จดั ท�ำเปน็ แผนชมุ ชนสรา้ งสขุ โดยกจิ กรรมเรง่ ดว่ น ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตด้ �ำเนนิ การจดั สรรงบประมาณ
สนบั สนนุ การพฒั นา สว่ นกจิ กรรมอน่ื ๆ จะน�ำเขา้ บรรจไุ วใ้ นแผนพฒั นาต�ำบลตามโครงการต�ำบลมน่ั คง มง่ั คงั่ ยง่ั ยนื ผลการด�ำเนนิ งาน
ในปี ๒๕๖๔ จัดต้ังพ้ืนที่สันติสุขขนาดเล็ก จ�ำนวน ๔๐ ชุมชน สามารถยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ให้ประชาชน
ในระดับครัวเรือนได้ จ�ำนวนกว่า ๑,๒๐๐ คน

42

๒.๖ การเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและความรว่ มมอื กบั ประชาชน และองคก์ รตา่ ง ๆ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ มงุ่ เนน้
ส่ือสารเพ่อื สร้างความเข้าใจในเร่อื งสถานการณท์ เ่ี ปน็ จริงในพน้ื ทีจ่ ังหวดั ชายแดนภาคใต้ ภาคสว่ นต่าง ๆ และสรา้ งความรว่ มมือ
กบั องค์กรต่าง ๆ ทั้งภายในและตา่ งประเทศ มกี ารด�ำเนนิ การทีส่ �ำคญั ประกอบดว้ ย

๒.๖.๑ การสอื่ สารขอ้ มลู สถานการณ์ การแกไ้ ขปญั หา และการพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ ทถ่ี กู ตอ้ ง เนน้ สอ่ื สารขอ้ มลู
จากหน่วยงานรัฐในช่องทางท่ีประชาชนและเยาวชนสนใจ เข้าถึงง่ายและสะดวก โดยเฉพาะส่ือโซเชียลทุกประเภท เพื่อให้เกิด
การรบั รแู้ ละความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง สง่ ผลใหเ้ กดิ ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ รฐั เกดิ ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ การลงทนุ และการทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ทม่ี ากขนึ้
รวมท้ังสนับสนุนการพฒั นาศักยภาพกลมุ่ เยาวชนและประชาชนใหม้ สี ว่ นร่วมในการส่อื สารอย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือประชาสัมพนั ธ์
และสร้างความเขา้ ใจด้วยข้อมูลทีถ่ กู ตอ้ งต่อสาธารณะเก่ยี วกบั จังหวัดชายแดนภาคใตใ้ นชอ่ งทางท่ตี นเองถนดั อีกดว้ ย

๒.๖.๒ การพัฒนาความสัมพันธ์และสร้างความร่วมมือจากองค์กรต่าง ๆ ท้ังภายในและต่างประเทศ
โดยพัฒนาความสมั พนั ธก์ บั องคก์ รภาคประชาสงั คม เพอื่ เปดิ พื้นทใี่ นการท�ำงานรว่ มกนั อาทิ ศนู ย์ประสานงานดา้ นเดก็ และสตรี
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศป.ดส.) และพัฒนาความสันพันธ์กับองค์การระหว่างประเทศ และนานาชาติ อาทิ สถานทูตและ
สถานกงสลุ ของประเทศตา่ ง ๆ รวมทง้ั การผลติ ขอ้ มลู และขา่ วสารความคบื หนา้ ในการพฒั นาพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ส่งผ่าน
สถานเอกอคั รราชทตู ไทยในแตล่ ะประเทศ เพอื่ สอ่ื สารขอ้ มลู สถานการณท์ ถี่ กู ตอ้ ง สรา้ งความเชอ่ื มนั่ และเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื
ดา้ นตา่ ง ๆ ตอ่ กนั เชน่ การศกึ ษา การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม เปน็ ตน้ ซงึ่ ในปี ๒๕๖๔ องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และนานาชาติ
สนบั สนนุ แนวทางการแกป้ ญั หาและพฒั นาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ไมม่ ปี ระเดน็ ปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ถกู หยบิ ยกขนึ้ หารอื
ในเวทีนานาชาติ
๓. การด�ำเนนิ งานแกไ้ ขปญั หาผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณป์ ญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา
2019 (COVID - 19) ในปี ๒๕๖๔ พ้นื ทจ่ี งั หวัดชายแดนภาคใตไ้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณป์ ญั หาการแพรร่ ะบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ระดับรุนแรงครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�ำเนินการทุกวิถีทางในการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน เพ่ือบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนให้กับ
ประชาชนใหไ้ ด้มากท่ีสดุ มผี ลการด�ำเนินงานท่สี �ำคญั ดังน้ี

๓.๑ การป้องกันการแพร่ระบาด ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์และสร้างการตระหนักรู้ในเร่ืองอันตรายของโรค
การป้องกันตนเอง การให้ความร่วมมือกับมาตรการของรัฐ การรณรงค์ให้ประชาชนฉีดวัคซีน โดยเฉพาะประชาชนกลุ่มเส่ียง
ผา่ นสือ่ ทกุ ช่องทางทั้งภาษาไทยและภาษามาลายทู ้องถ่นิ อย่างตอ่ เนื่อง และการสนับสนุนบณั ฑติ อาสา ศูนย์อ�ำนวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อคอยช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ทุกภาคส่วนในพื้นท่ีในการด�ำเนินการป้องกันและดูแลประชาชนในช่วง
การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ในแต่ละหม่บู ้าน

๓.๒ การชว่ ยเหลอื แรงงานไทยท่ีได้รบั ผลกระทบจากโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยเฉพาะ
แรงงานไทยท่ีเดินทางกลับจากประเทศมาเลเซีย ประมาณ ๑๗,๐๐๐ คน โดยประสานและช่วยเหลือเข้าสู่สถานประกอบการ
ทั้งในพื้นที่และนอกพ้ืนท่ีแล้วกว่า ๔,๐๐๐ คน สร้างอาชีพทางเลือกให้กับผู้ท่ีประสงค์จะท�ำงานอยู่ในพื้นที่ อาทิ การปลูกพืช
พลังงาน การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงชายฝั่งโดยการเล้ียงปูทะเล ประมาณ ๒,๐๐๐ คน ฝึกอบรมทักษะการท�ำงานกับหน่วยงาน
สังกัดกระทรวงแรงงาน และหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ เพ่ือเข้าสู่ตลาดแรงงาน ประมาณ ๕,๐๐๐ คน
และเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สกู่ ารท�ำงานภาคเกษตรในประเทศมาเลเซยี โดยมเี ปา้ หมายน�ำรอ่ ง จ�ำนวน ๔๐๐ อตั รา โดยจะด�ำเนนิ การ
เมื่อสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) คลค่ี ลาย

43

๓.๓ การให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบด้านอ่ืน ๆ
สนับสนุนการด�ำเนินงานของจังหวัดและอ�ำเภอต่าง ๆ ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ในการให้ความช่วยเหลือประชาชนท่ีได้รับผลกระทบจากการปิดพ้ืนท่ี/
จ�ำกัดการเข้าออก (Lockdown) โดยเฉพาะเร่ืองอาหารซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญและ
จ�ำเป็นส�ำหรับทุกคน โดยได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตตั้งโรงครัว
พระราชทานจาก “มูลนิธิอาสา เพื่อนพ่ึง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย”
ในพื้นที่ ๔ อ�ำเภอของจังหวัดยะลา เป็นเวลา ๗ วัน และช่วยเหลือเกษตรกร
ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) โดยการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร อาทิ ฟักทอง แตงกวา ข่า
พริก ถั่วฝักยาว เพื่อมาเป็นวัตถุดิบในการจัดต้ังโรงครัวพระราชทาน รวมท้ัง
สนับสนุนงบประมาณแก่ทุกต�ำบลในพ้ืนท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ
๔ อ�ำเภอของสงขลา (อ�ำเภอจะนะ เทพา นาทวแี ละสะบา้ ยอ้ ย) รวม ๒๘๒ ต�ำบล
ผ่าน “โครงการต�ำบลม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” เพ่ือจัดซื้ออุปกรณ์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในชุมชน อาหารส�ำหรับโรงพยาบาลสนามและอุปกรณ์
ทางการแพทยท์ ีจ่ �ำเปน็ ในโรงพยาบาลสนาม
๔. การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเร่งด่วนจากการระบาดของโรคพืช ช่วงปลายปี ๒๕๖๓ - ต้นปี ๒๕๖๔ ได้เกิด
การระบาดของโรคใบร่วงชนิดใหม่ในต้นยางพาราที่ระบาดอย่างมากในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มากกว่า ๘๐๐,๐๐๐ ไร่
โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ร่วมกับการยางแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ก�ำหนดแนวทาง
การแก้ไขปัญหาระยะเร่งด่วน โดยการยางแห่งประเทศไทย สนับสนุนงบประมาณให้กับสถาบันการศึกษาในพื้นท่ีในการ
ใช้สารชีวภัณฑ์ เพื่อการบ�ำรุงรักษาต้นยางพารา การศึกษาเช้ือท่ีเป็นสาเหตุของโรค และการช่วยเหลือฟื้นฟูเกษตรกรท่ีได้รับ
ผลกระทบในพื้นท่ีน�ำร่องกว่า ๑๒,๐๐๐ ไร่ ส่งผลให้ประชาชนตื่นตัว ตระหนักรู้ในการดูแลสวนยางพาราอย่างถูกต้อง

ประกอบกับสภาพอากาศในพื้นท่ีท่ีมีความชื้นลดลงตาม
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ส่งผลให้สถานการณ์ท่ีมี
การระบาดรุนแรงลดลงสู่ระดับปกติ ปัจจุบันมีพื้นท่ีระบาด
ลดลงเหลือประมาณ ๑๐,๐๐๐ ไร่เศษ อย่างไรก็ตาม
ศนู ยอ์ �ำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ ะรว่ มกบั หน่วย
งานท่ีเกี่ยวข้องก�ำหนดมาตรการต่าง ๆ และเฝ้าระวัง
ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างตามวงจรการระบาด
ของโรคซำ้� อีกในช่วงเดอื นตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๔

44

ภารกจิ สำ� คัญท่ีตอ้ งเรง่ ด�ำเนนิ การในปงี บประมาณ ๒๕๖๕ และระยะถดั ไป

การด�ำเนินงานนับจากน้ีไปศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเร่งประสานงานกับทุกภาคส่วนด�ำเนิน
โครงการตามแนวทางพระราชด�ำริอย่างต่อเน่ือง ควบคู่กับการเร่งขับเคล่ือนด�ำเนินการทั้งมิติการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นท่ี
เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และมิติการพัฒนาเสริมความม่ันคง
โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกกลุ่ม โดยมีกลุ่มเป้าหมายเฉพาะคือ คนยากจน ๕ มิติ จากระบบบริหาร
จัดการข้อมลู การพัฒนาคนจนแบบชเี้ ปา้ (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ประกอบด้วย (๑) คนจน
ดา้ นสขุ ภาพ (๒) คนจนดา้ นความเปน็ อยู่ (๓) คนจนดา้ นการศกึ ษา (๔) คนจนดา้ นรายได้ และ (๕) คนจนดา้ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารรฐั
รวมถงึ กลมุ่ คนเปราะบางและผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) และกลมุ่ คนทไ่ี ดร้ บั
ผลกระทบจากการอ�ำนวยความยุติธรรม เพื่อลดความเหลื่อมล้�ำทุกมิติ และขจัดเงื่อนไขความเห็นต่างอันน�ำไปสู่การก่อเหตุ
รนุ แรงให้หมดไป และน�ำจังหวดั ชายแดนภาคใตก้ ลบั สคู่ วามปกตสิ ุขโดยเรว็ ที่สดุ โดยมีเปา้ หมายการด�ำเนนิ งานที่ส�ำคัญ ดงั น้ี
๑. คืนความรกั ความผกู พันผ่านการสบื สานพระราชปณธิ าน

๑.๑ จัดสร้างหอเฉลิมพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์กับการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระยะที่ ๑
ณ ศูนย์ราชการจงั หวัดชายแดนภาคใต้ อ�ำเภอเมอื งยะลา จังหวัดยะลา

๑.๒ โครงการธนาคารอาหารปลอดภยั ระดบั หมบู่ า้ น ต�ำบล โครงการเกา้ อส้ี ขุ ใจ สรู่ องเทา้ สง่ั ตดั คแู่ รก ขยายผลโครงการ
สริ ิเวชยาน และโครงการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยน�ำร่องในโรงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดน

๑.๓ การสนับสนุนพัฒนาการด้านการศึกษาส�ำหรับนักเรียนท่ีมีความสนใจด้านการเกษตร เข้าศึกษาในคณะ
ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพ่ือสนับสนุนการเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีแก่นักเรียนต้นแบบดีเด่น
ดา้ นการเกษตรจากโครงการพระราชด�ำริ “ครัวโรงเรียน ส่คู รัวบ้าน”
๒. มิติการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และทรัพยากรมนุษย์

๒.๑ เรง่ ขบั เคลอ่ื นด�ำเนนิ การทง้ั มติ กิ ารพฒั นาตามศกั ยภาพของพนื้ ที่ เพอื่ ฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ และสงั คมจากสถานการณ์
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)

๒.๒ วางระบบการท�ำงานเชิงบูรณาการด้านการพัฒนาและด้านความม่ันคง ทั้งในส่วนของกลุ่มบุคคลเป้าหมาย
พนื้ ทเ่ี ปา้ หมาย และกจิ กรรมของสว่ นราชการทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาความจ�ำเปน็ และความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
อย่างแท้จริง โดยมีกลุ่มเป้าหมายเฉพาะคือคนยากจน ๕ มิติ จากระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนจนแบบช้ีเป้า
(Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) และกลมุ่ คนทไ่ี ดร้ บั กระทบจากการอ�ำนวยความยตุ ธิ รรม มพี น้ื ทเ่ี ปา้ หมาย
คอื ต�ำบลเปน็ ศนู ยก์ ลาง ผา่ นโครงการต�ำบลมน่ั คง มง่ั คง่ั ยงั่ ยนื ขบั เคลอื่ นโดยใชส้ ภาสนั ตสิ ขุ ต�ำบล และโครงการสรา้ งพน้ื ทส่ี นั ตสิ ขุ
ขนาดเล็ก ขับเคลือ่ นโดยองค์กรพัฒนาชมุ ชนระดบั ต�ำบลและองคก์ รภาคประชาสงั คม

๒.๓ ปรบั วถิ ฐี านรากในระดบั ครวั เรอื น “ใหป้ ระกอบอาชพี ผสมผสาน” ลดพน้ื ทปี่ ลกู ยางพารา เพอื่ ปลกู พชื เศรษฐกจิ
ทดแทน เช่น กาแฟ โกโก้ และไผเ่ ศรษฐกจิ เปา้ หมายปลูกไผ่ ๓ แสนไร่ และเรง่ ขยายผลการขับเคลือ่ นปศุสัตว์ อาทิ โคเนอื้ โคนม
แพะ ไก่เบตง เป็นตน้

๒.๔ ในระดบั ต�ำบล/ชมุ ชน เรง่ ขยายผลวสิ าหกจิ ชมุ ชนทม่ี ศี กั ยภาพใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรม สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ในลกั ษณะ
วสิ าหกจิ ชมุ ชน/สหกรณ์ฯ และเร่งด�ำเนินการเร่อื งแหลง่ น�ำ้ และระบบชลประทาน

45

๒.๕ โครงการ “จังหวัดชายแดนภาคใต้ สู่เมืองปูทะเลโลก” ได้แก่ เร่งขยายพื้นท่ีอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลน
การศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาการเพาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้� รอบอา่ วปตั ตานี และเพมิ่ พน้ื ทกี่ ารเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ ชายฝง่ั เพอื่ เปน็ “เมอื งปทู ะเลโลก”
รวมทง้ั เรง่ แก้ไขปญั หาประมงให้ครบวงจรและย่งั ยืน

๒.๖ โครงการบรู ณาการขับเคล่ือนพื้นท่ีเศรษฐกิจพเิ ศษ เมอื งตน้ แบบ และระเบยี งเศรษฐกิจท่ี ๖ ได้แก่ เร่งผลักดัน
กิจกรรมหลักเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน จัดท�ำแผนความเช่ือมโยงโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการคมนาคมขนส่ง
ในจังหวดั ชายแดนภาคใตท้ งั้ ทางบก ทางน้�ำ ทางรางและทางอากาศ (Transport Connectivity) เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ าร
จัดการด่านพรมแดน ๙ แห่ง ขับเคลื่อนเมืองต้นแบบจะนะ “อุตสาหกรรมก้าวหน้าแห่งอนาคต” และยกระดับพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ
จงั หวัดชายแดนภาคใตเ้ ชื่อมโยงส่กู ารเป็นระเบยี งเศรษฐกจิ ท่ี ๖

๒.๗ เรง่ รดั การจดั สรรทรพั ยากรทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบอาชพี เกษตรกรรมใหก้ บั ประชาชนอยา่ งเปน็ ระบบและ
ครบวงจร เชน่ การจดั สรรทดี่ นิ ท�ำกนิ การออกโฉนดรบั รองกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ท�ำกนิ การสง่ เสรมิ การปลกู พชื เศรษฐกจิ ทสี่ รา้ งรายได้
แน่นอนผ่านโครงการ ๑ ต�ำบล ๑ พ้ืนทส่ี าธารณะ และการบรหิ ารจดั การน้�ำเพือ่ การเกษตร อุปโภคและบรโิ ภค เป็นตน้

๒.๘ ขับเคลื่อนโครงการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างเป็นระบบและครบวงจร
เพอ่ื ความม่นั คง มั่งคง่ั ย่ังยนื

๒.๙ พัฒนาและเปิดแหล่งท่องเท่ียวใหม่ในอ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา เช่น หมู่บ้านจีนฮากกา ๑๕๐ ปี บ่อน�้ำพุ
ร้อน - เย็น บา้ นนากอ ต�ำบลอัยเยอร์เวง และเส้นทางศึกษาธรรมชาตปิ า่ บาลาฮาลา รองรบั การเปดิ ท่าอากาศยานเบตง

๒.๑๐ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างเก้ือกูลในสังคมพหุวัฒนธรรม ทั้งส่งเสริมวิถีพุทธ ฟื้นฟูชุมชนไทยพุทธถดถอย
วิถีมสุ ลมิ ชาวไทยเชือ้ สายจีน ชาติพันธมุ์ านิ (โอรงั อสั ล)ี ให้ประชาชนทกุ ศาสนาอยูร่ ่วมกันอย่างสนั ตสิ ขุ

๒.๑๑ จัดระบบขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มคนเปราะบางกว่า ๑๖๐,๐๐๐ คน เน้นคนพิการ ผู้ป่วย
ติดเตียง เด็กก�ำพรา้ ผู้สงู อายุ ฯลฯ

๒.๑๒ เพ่ิมศักยภาพเยาวชนโดยจัดต้ังศูนย์พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมอาชีพเยาวชน เพ่ือจัดระบบและกลไก
ความเชอ่ื มโยงผสู้ �ำเรจ็ การศกึ ษาสกู่ ารแสวงหาอาชพี และสง่ เสรมิ บทบาทของเยาวชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นา
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ในทุกมติ ิให้มากทสี่ ุด

๒.๑๓ การแกไ้ ขปญั หาแรงงานจงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ เี่ ดนิ ทางเขา้ ไปประกอบอาชพี ในประเทศมาเลเซยี และไดร้ บั
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

๒.๑๔ เรง่ แกป้ ัญหาภาวะโภชนาการ และพฒั นาระบบสุขภาพเดก็ เลก็
๒.๑๕ ขบั เคลอ่ื นการจดั การทรพั ยากรหนนุ เสรมิ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื นอ้ มน�ำพระราชด�ำริ ปลกู ปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์
๔ อยา่ ง ในพนื้ ท่ี “ปา่ ชมุ ชน” พนื้ ทส่ี าธารณประโยชน์ และทด่ี นิ ทม่ี กี รรมสทิ ธ์ิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมน่ั คงทางอาหาร และสรา้ งรายได้
รวมทัง้ อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม โดยปลกู ไม้บรโิ ภค ไมใ้ ชส้ อย และไม้เศรษฐกิจ ปีละไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ ลา้ นตน้

46

ท�ำเนียบผทู้ ม่ี ผี ลงานดีเดน่
ของจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓



จงั หวัดนราธิวาส


Click to View FlipBook Version