ความเป็นครมู ืออาชพี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
บทท่ี 4
ความเป็นผนู้ าและเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีทงั้ ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี
บทนา
การทจี่ ะเป็นบคุ คลต้นแบบหรอื แบบอยา่ งทดี่ ีในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีท่ดี ีนนั้ ไมไ่ ดท้ ามาเพยี ง
ชวั่ ระยะเวลาหนึ่ง หากต้องปฏบิ ัติดว้ ยความมานะ และส่ังสม ท่ตี ิดต่อกนั ในระยะเวลาทน่ี านและ
ตอ้ งใชค้ วามเพยี ร ความมงุ่ มั่น ใฝร่ ู้ และรทู้ จ่ี ะพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ประโยชนท์ ี่จะได้รบั นอกจาก
จะส่งผลต่อตนเองอย่างมีคณุ คา่ แลว้ ยังส่งผลต่อส่วนรวมท่จี ะเปน็ บคุ คลตวั อย่างอันดีใหผ้ ูอ้ น่ื ได้
เรยี นรู้และปฏิบัตติ ามต่อไป
นยิ ามของความเปน็ ผู้นาและเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ที ง้ั ด้านวิชาการและวชิ าชีพ
1. ความเปน็ ผ้นู าด้านวชิ าการและวิชาชีพ
ความเปน็ ผูน้ าหรือภาวะผนู้ า (Leadership) ของครูน้ันมคี วามจาเป็นอย่างยิ่งของครยู ุ
ศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะความเป็นผู้นาทางวชิ าการและวชิ าชพี ครู เนื่องจากวชิ าชพี ครูเป็นวชิ าชพี ที่
ต้องพฒั นานักเรียนให้ได้รบั การเรยี นรู้เท่าทนั กบั การเปลยี่ นแปลง ดงั นนั้ จึงกลา่ วได้วา่ ครูจาเปน็ ตอ้ งมี
ความเปน็ ผูน้ าทางวิชาการ เพอื่ เป็นผู้ชีน้ าให้คาปรึกษาหารอื เปน็ แรงจูงใจให้นักเรียนปฏบิ ัตใิ นส่งิ ที่
ถูกตอ้ ง และเกิดความเปลีย่ นแปลงในสง่ิ ทพี่ งึ ประสงค์ของสถานศึกษา ในฐานะของครผู มู้ ีความเปน็
ผนู้ าทางวชิ าการนั้นจาเปน็ ตอ้ งมีวสิ ยั ทัศนก์ ว้างไกล เปน็ ผจู้ ดั ระเบยี บสถานศึกษา ผู้นาและ ผู้ประเมิน
เพ่อื เป็นการรบั ประกันความกา้ วหนา้ ทางวิชาการของสถานศึกษา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ทจี่ ะทาให้
นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรยี นรสู้ ูงขนึ้ ครจู ึงมีผลตอ่ การพฒั นานักเรียนทั้งดา้ นการเรียนและ
พฤติกรรมโดยตรง ความเป็นผู้นาทางวชิ าการจึงเป็นสิง่ สาคัญทีค่ รูควรไดร้ ับการส่งเสริม และ
พฤตกิ รรมของครทู ี่ควรไดร้ ับการสง่ เสริมเป็นเบ้อื งตน้ คอื การพัฒนาหลกั สูตร การจดั กระบวนการ
เรยี นรู้ การพัฒนาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ และการให้การ
นิเทศการศกึ ษา ซ่งึ เป็นพฤตกิ รรมของครทู ีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ นกั เรียนอยา่ งชัดเจน (ธรี ธร สธุ ีธร, 2559)
Suranna and Moss (2002) ทาการวิจัยคน้ หาความเป็นผนู้ าของครูในการเรียนการ
สอนวิชาชีพครู พบวา่ ครูผูม้ ีความเปน็ ผู้นามีคณุ ลกั ษณะที่สาคญั ดังนี้ 1) เป็นผสู้ อนท่ีดใี นหอ้ งเรียน
2) เป็นผู้นาทางชวี ิตใหก้ บั เพ่ือนครู 3) เป็นผพู้ ัฒนาหลักสูตร 4 ) รบั บทบาทเป็นตัวแทนขององค์กร
ทง้ั ในโรงเรียนหรอื ของสมาคมทอ้ งถ่ิน 5 ) ทางานรว่ มกับครูคนอ่นื ๆ และผู้บริหารด้วย ส่วน
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร( 2553) ได้กลา่ วถึงความเป็น
1
ความเป็นครูมอื อาชีพ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกูฏ
ผนู้ าของครใู นวชิ าชพี ครู ในคู่มือการประเมนิ สมรรถนะครูในการปฏิบตั งิ านของครรู ะดบั การศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐาน โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ประเมินการปฏิบัติงานของครผู สู้ อนและใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มูลในการ
กาหนดกรอบการพัฒนาครูตามนโยบายพัฒนาครูทั้งระบบประกอบดว้ ย 5 ดา้ นดังนี้ 1) มวี ฒุ ิภาวะ
ความเปน็ ผใู้ หญท่ ี่เหมาะสมกบั ความเป็นครู 2) มกี ารสนทนาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) เปน็ บคุ คลแหง่ การ
เปล่ียนแปลง 4) มกี ารปฏบิ ตั งิ านอย่างไตรต่ รอง และ 5) การม่งุ พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิผู้เรียน สาหรับ
อาภารตั น์ ราชพฒั น์ (2554) กล่าววา่ ความเป็นผนู้ าของครูในวชิ าชีพครูระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
หมายถงึ การแสดงออกของครูในสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานที่วัดได้จากพฤตกิ รรม ประกอบดว้ ย มกี าร
พฒั นาตนเองและเพ่ือนครู การเป็นแบบอยา่ งทางการสอน มีส่วนร่วมในการพฒั นา และการเป็นผนู้ า
การเปลี่ยนแปลง
สุพรรตั น์ สตั ตธนชยั ภทั ร (2557) ได้ระบคุ วามเป็นผนู้ าทางวิชาการและวชิ าชพี ของครู
ไทย ประกอบดว้ ย 1) การตรวจสอบความก้าวหน้าของนกั เรียน 2) การจดั ให้มีส่งิ สง่ เสริมสภาพการ
เรยี นรู้ 3) การควบคุมการใช้เวลาในการสอน 4) การพฒั นาและสร้างมาตรฐาน 5) การกาหนด
เป้าหมายของโรงเรยี น 6) การสือ่ สารเปา้ หมายของโรงเรียน และ 7) การประสานงานการใช้หลกั สตู ร
สรุปได้วา่ ความเป็นผูน้ าของครูท้ังวิชาการและวชิ าชพี มีความสาคัญตอ่ การสร้าง
จติ วิญญาณความเป็นครแู ละการพัฒนาครูในศตวรรษท่ี 21 เพราะเป็นผมู้ ีหนา้ ที่โดยตรงในการ
พัฒนาการเรียนรูข้ องผเู้ รียนให้เปน็ ผไู้ ด้รบั การถ่ายทอดการเรยี นรูอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ โดยลักษณะ
ความเป็นผู้นาของครูทั้งวิชาการและวชิ าชพี ประกอบด้วย 1) การมวี ุฒภิ าวะความเปน็ ผ้ใู หญท่ ี่
เหมาะสมกับความเปน็ ครู 2) การจดั กระบวนการเรียนรทู้ เี่ ท่าทนั กบั การเปล่ียนแปลง 3) การมงุ่
พฒั นาทผี่ ลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ รยี น 4) การเป็นผ้นู าทสี่ ร้างสรรค์ในการพัฒนาหลกั สตู ร 5) การพัฒนาและ
สร้างแหล่งเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั บรบิ ทของหลกั สูตรและผู้เรียน 6) ปฏิบตั ติ นและคานงึ ถงึ วิชาชีพครู
อยา่ งเหมาะสมในทุกสถานการณ์
2. การเปน็ แบบอย่างทด่ี ดี า้ นวิชาการและวิชาชีพ
เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา พ.ศ. 2537 ข้อท่ี 8 ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่
ผเู้ รยี น ไดก้ าหนด หลักการ คาอธบิ าย และพฤตกิ รรมสาคญั ดังนี้ (สานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา,
2540)
คาอธิบาย
การปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างทด่ี ี หมายถึง การแสดงออก การประพฤติและปฏิบตั ใิ นดา้ น
บุคลิกภาพท่ัวไป การแตง่ กาย กิริยา วาจา และจรยิ ธรรมทีเ่ หมาะสมกบั ความเป็นครูอยา่ งสมา่ เสมอ
ที่ทาให้ผู้เรยี นเล่อื มใสศรทั ธา และถือเปน็ แบบอย่าง
ระดบั คุณภาพ
ระดบั 1 ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในด้านต่างๆ อยา่ งสม่าเสมอ โดยพจิ ารณาจาก
1) การแตง่ กายสุภาพเรียบรอ้ ยเหมาะสมกบั กาลเทศะ
2) การใช้วาจาทสี่ ุภาพ
2
ความเป็นครูมืออาชพี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
3) มีความประพฤตเิ รยี บรอ้ ย
4) มคี วามเมตตากรุณาต่อผเู้ รียน
5) รบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านอยา่ งขยนั ขนั แขง็
ระดบั 2 ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดอี ยา่ งสมา่ เสมอ ให้คาแนะนาและแก้ไขขอ้ บกพร่อง
ในลักษณะสรา้ งสรรค์ ตลอดจนสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอน โดยพจิ ารณาจาก
1) การให้คาแนะนา
2) การเชญิ ชวนให้ปฏบิ ัติ
3) การแก้ไขขอ้ บกพร่อง
4) การสอดแทรกในกระบวนการเรียนการสอน
ระดบั 3 ปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีจนผู้เรยี นเกดิ ศรัทธา และปฏบิ ตั ิตนตามแบบอยา่ งที่
เลอื กสรรแล้วเปน็ ปกตนิ สิ ยั โดยพิจารณาจาก
1) เป็นโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั พฤตกิ รรมของครใู นสถานศึกษา
2) เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นตดั สินใจเลือกพฤติกรรมของตนเอง
3) เสรมิ แรงทางบวกแกผ่ เู้ รียน
4) เผยแพร่วธิ ีการทถ่ี กู ต้องในการสรา้ งคุณธรรม
สาหรบั ตวั บ่งช้ีในการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในของระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ตาม
ตวั บ่งชีท้ ่ี 7.8 ครปู ระพฤติปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี และเป็นสมาชิกทดี่ ีของสถานศึกษา
คาอธิบาย : ครยู ึดมน่ั และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถอื และมีจรรยาบรรณ
ในวิชาชีพ มีความยุติธรรมและเมตตาธรรม มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่และงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
พฒั นาตนเองให้มคี วามก้าวหน้าในวิชาชพี ปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ดี ใี นการดาเนินชีวติ ทง้ั ต่อ
ตนเอง ครอบครวั และสังคม ใหค้ วามร่วมมอื ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
มีความรกั สามคั คีในหมู่คณะ รวมท้งั ร่วมปกปอ้ งและรักษาช่ือเสยี งของสถานศึกษา
ประเดน็ การพจิ ารณา : การประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดี และการเปน็ สมาชิกทด่ี ี
ของสถานศึกษา มีพฤตกิ รรมดงั น้ี
1) การยึดมน่ั และปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือ
2) การยดึ ม่นั และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
3) การปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวติ ท้งั ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และ
สังคม
4) การพัฒนาตนเองให้มคี วามก้าวหน้าในวิชาชีพ
5) การมีความรับผิดชอบต่อหนา้ ทีท่ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
6) การใหค้ วามร่วมมอื ในกจิ กรรมของสถานศกึ ษา
7) การมีความรกั สามัคคใี นหมคู่ ณะ
8) การร่วมปกปอ้ งและรกั ษาชอื่ เสยี งของสถานศึกษา
3
ความเป็นครูมอื อาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
โดยสรุปแล้วการปลกู ฝงั จติ วญิ ญาณความเป็นครเู พื่อยกระดับการพัฒนาครูในศตวรรษ
ที่ 21 ด้านการเป็นแบบอยา่ งที่ดีด้านวิชาการและด้านวชิ าชพี เปน็ การแสดงออก การประพฤตแิ ละ
ปฏบิ ัติในดา้ นบุคลิกภาพทั่วไป การแต่งกาย กริ ยิ า วาจา และจริยธรรมท่ีเหมาะสมกบั ความเป็นครู
อย่างสมา่ เสมอ ทีท่ าให้ผู้เรียนเลื่อมใสศรัทธา และถอื เป็นแบบอย่าง ตลอดจนยึดม่นั และปฏบิ ัตติ น
ตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถอื และมจี รรยาบรรณในวิชาชีพ มคี วามยตุ ธิ รรมและเมตตาธรรม
มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่แี ละงานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย พัฒนาตนเองให้มคี วามกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพ
ปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีในการดาเนนิ ชวี ติ ทงั้ ต่อตนเอง ครอบครวั และสังคม ให้ความร่วมมอื
ในการแก้ไขปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา มคี วามรักสามคั คีในหม่คู ณะ รวมท้ังร่วมปกปอ้ งและ
รกั ษาชอื่ เสยี งของสถานศึกษา
คุณลักษณะของครูทมี่ ีความเปน็ ผู้นาและเป็นแบบอย่างทดี่ ที ง้ั ด้านวิชาการและวชิ าชีพ
ตามโครงการส่งเสริมครดู ี
“ครู” เปน็ วิชาอาชีพทม่ี ีสาคัญมาก เปน็ อาชพี “สร้างคนให้เป็นมนุษย์” “ครู” มีภาระหนา้ ท่ี
ถา่ ยทอดศลิ ปวิทยา ขดั เกลา อบรมบ่มนิสัย เพือ่ ยกระดบั สตปิ ัญญา อารมณ์ ร่างกายและจติ ใจให้มี
ความสมบรู ณเ์ หมาะสม พร้อมทจ่ี ะมอี นาคตท่ดี งี าม สามารถนาพาตนเอง สงั คม และประเทศชาติให้
อย่รู อดปลอดภัย แต่ในสภาวการณป์ ัจจบุ ัน ความศรัทธาของคนทว่ั ไปทม่ี ีต่อวชิ าชพี ครกู าลงั ลดน้อย
ถอยลง ครมู ภี าพลบท่ีถกู สงั คมวิพากษ์มากขน้ึ จนร้สู กึ ว่าคุณค่าของ “ครู” ตกตา่ ลงเรอ่ื ย ๆ ในสงั คม
ปจั จุบนั ภารกิจยกยอ่ ง เชิดชู “ครูสอนดี” จึงเป็นเจตนารมณส์ าคญั อยา่ งย่ิงทจ่ี ะช่วยจรรโลงสรา้ งสรรค์
คณุ ค่าของครู และร่วมสรา้ ง “ครดู ีเพ่ือศิษย์” ทั้งแผ่นดนิ อนั เปน็ การยกระดบั คุณภาพคนแหง่ อนาคต
ในสว่ นนี้จงึ จะกลา่ วถงึ โครงการครูสอนดี โครงการหน่ึงแสนครูดี ซ่ึงเป็นโครงการที่หน่วยงานทางการ
ศกึ ษาจัดทาขึน้ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
โครงการครูสอนดี
สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ สังคมแหง่ การเรยี นรู้และคุณภาพเยาวชน (2557) ได้จดั ทา
โครงการครสู อนดี โดยกาหนดหลกั เกณฑ์การคัดเลอื กครสู อนดี และแนวทางการพิจารณาคดั เลือกครู
สอนดี โดยมีหลักเกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี
1. จดั กระบวนการเรยี นรไู้ ด้ดี หมายถึง มีการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง มีการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง และเปดิ โอกาสใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา
2. มีผลการสอนทที่ าให้ลูกศษิ ยป์ ระสบความสาเรจ็ และความกา้ วหนา้ ในทางการเรยี นหนา้ ท่ี
การงาน และการดาเนนิ ชวี ติ
3. เป็นแบบอย่างท่ีดีและเป็นท่ยี กย่องของลูกศิษย์ เพ่อื นครู และชุมชน ไดแ้ ก่
4
ความเป็นครูมืออาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
3.1 เป็นแบบอยา่ งท่ีดเี ปน็ ท่ีเคารพนับถอื ของศิษย์และสังคมทั้งในด้านความเป็นครูและ
เป็นตน้ แบบการดาเนินชวี ติ ท่ีดีมีคณุ ธรรม และความพอเพยี ง
3.2 เป็นสมาชิกท่ีดขี องสังคมในชุมชน เป็นที่ยกย่องของผู้บริหาร เพ่ือนครู ผู้เรียน
ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชน
3.3 มีความมุ่งม่ันที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยไม่เห็นแก่ลาภยศหรือ
ผลตอบแทน
3.4 อทุ ศิ เวลา และเปน็ ทพี่ ง่ึ ให้ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและการดาเนินชวี ิตอย่างเสมอต้น
เสมอปลายและท่วั ถึง
3.5 มคี วามภาคภูมิใจในการเป็นครู และมีความสขุ ในการประกอบวิชาชีพครู
โครงการหน่งึ แสนครดู ี
สานักงานเลขาธิการครุ สุ ภา (2554) จดั ทาโครงการหนงึ่ แสนครูดี โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ยก
ย่องเชดิ ชเู กียรตผิ ู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา และเพอื่ เสริมสรา้ งขวัญและกาลงั ใจใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบ
วิชาชีพทางการศกึ ษา และกาหนดหลักเกณฑก์ ารคดั เลอื กผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาเพอ่ื รบั
รางวัลหน่งึ แสนครูดี ประจาปี 2554 ประกอบดว้ ย 3 ด้าน ดังนี้
ดา้ นที่ 1 การครองตน (คุณธรรม จรรยาบรรณ และจติ วิญญาณ) หมายถงึ มคี วามประพฤติ
เปน็ แบบอย่างที่ดีทง้ั ทางกาย วาจา ใจ มวี นิ ยั ในตนเอง สารวม ระวังความประพฤติ ละเว้นจาก
อบายมขุ มีความขยันหม่นั เพยี ร อตุ สาหะ มีความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และจริงใจในการปฏิบตั งิ าน และเปน็
ผพู้ ฒั นาตนเอง ทันต่อเหตุการณ์ วิทยาการ ตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมอยูเ่ สมอ
ดา้ นที่ 2 การครองคน (คณุ ลักษณะที่ดตี ่อผ้อู ื่นและสงั คม) หมายถงึ รกั เมตตา และเอาใจใส่
ตอ่ ศิษย์ ผใู้ ต้บังคบั บัญชา เพอื่ นร่วมงาน และผบู้ ังคับบญั ชา วางตนเป็นกลาง ใจกว้าง ยอมรับฟังความ
คดิ เหน็ ของผู้รว่ มงาน โดยเหน็ ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ รบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชพี และเป็นสมาชกิ
ที่ดีตอ่ องค์กรวชิ าชพี มลี ักษณะความเป็นผ้นู าในการอนุรกั ษ์ พฒั นา เศรษฐกจิ สังคม ศาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา และสงิ่ แวดลอ้ ม
ดา้ นที่ 3 การครองงาน (การปฏิบัตงิ าน) หมายถึง มคี วามสามารถทางวชิ าการ มคี วามรู้
ความเข้าใจในสิ่งทป่ี ฏบิ ตั ิอยา่ งแทจ้ รงิ ใฝ่เรียนรู้ ศึกษา คน้ คว้า และติดตามความกา้ วหน้าของข้อมูล
ขา่ วสารและข้อมลู ทางวชิ าการนามาพฒั นางานและพัฒนาตนอยา่ งสมา่ เสมอ กระตอื รอื ร้นหาสาเหตุ
ของปัญหาในงาน และหาแนวทางแก้ไขไดด้ อี ยเู่ สมอ วเิ คราะห์ พัฒนา และปรบั ปรุงงานใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพให้เป็นท่ยี อมรับ และมคี วามคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์นวตั กรรม ส่ือ เพอ่ื เสริมสรา้ งความ
เขม้ แขง็ ในการปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
โครงการดงั กลา่ วข้างต้นนี้ เปน็ โครงการที่ชว่ ยเสริมสร้างขวัญและกาลงั ใจใหแ้ ก่ผปู้ ระกอบ
วิชาชพี ครู และเปน็ แนวทางในการพฒั นาคุณลักษณะทีด่ ขี องครู อยา่ งไรก็ตาม ถ้าพิจารณาเกณฑก์ าร
5
ความเป็นครมู อื อาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สวุ รรณกฏู
คดั เลือกจะพบวา่ การคดั เลอื กครสู อนดใี นโครงการครสู อนดี และโครงการหน่ึงแสนครดู นี ัน้ แนว
ทางการพจิ ารณาคุณสมบตั ิของครูทสี่ าคญั คอื ครูตอ้ งมีความรดู้ ี มคี ุณธรรมดี และมีบุคลกิ ภาพดี
ครูดตี ามคุณลักษณะสาคัญของครทู ่ีดี : กรณตี วั อย่างครสู ุมน อมรววิ ัฒน์
ครูท่ดี ีในสังคมไทยทีไ่ ด้รบั การยกยอ่ งว่าเป็นครูดีในวงการศกึ ษาชาตมิ ีจานวนมากมาย โดยครู
ทีด่ แี ต่ละท่านจะมคี วามโดดเด่นในแตล่ ะด้านทแี่ ตกตา่ งกัน เชน่ ด้านการพัฒนาสงั คม ดา้ นการพัฒนา
เด็กพเิ ศษ ด้านการคดิ คน้ นวตั กรรมทางการศกึ ษา ในท่ีนี้ผเู้ ขยี นขอนาเสนอตวั อย่างครดู ที ่มี ีคณุ สมบัติ
สอดคล้องกบั คณุ ลกั ษณะทด่ี ีของครูครบท้ัง 3 ดา้ น คือ ด้านภูมิรู้ ภูมธิ รรม และภูมฐิ าน ดงั นี้
“ศาสตราจารย์กติ ติคุณ สุมน อมรวิวฒั น์” เป็นตาแหน่งทางวิชาการท่ีครูสุมน อมรวิวัฒน์
ได้รับล่าสุด ครูสุมน อมรววิ ัฒนน์ ับเปน็ บคุ ลากรดีเด่นของชาติ ด้านการพัฒนาสังคม ดา้ นการศึกษา
บคุ ลากรดีเด่นประเภทความเป็นครู บุคคลดเี ด่นแห่งวงการศกึ ษาของชาติ ปูชนยี บุคคล ปูชนยี าจารย์
และราชบณั ฑติ สาขาศึกษาศาสตร์ทางวทิ ยวิธี (สานกั งานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้, 2554)
ความเปน็ ครูทีม่ ีภมู ิร้ขู องศาสตราจารยก์ ิตติคณุ สมุ น อมรววิ ฒั น์ จากคาบอกเล่าของศิษยห์ น่ึง
ในนั้นคอื โกมล คีมทอง ผซู้ ึ่งมีความใฝ่ฝันอนั แรงกล้าที่จะทาโรงเรยี นชมุ ชนใหเ้ กดิ ขึ้นจริง คณุ งาม
ความดแี ละอดุ มคติของเขา จุดประกายใหเ้ กิดมลู นธิ ิโกมลคมี ทองในเวลาตอ่ มา เขาเขียนถึงครูสุมนใน
ความตอนหน่งึ วา่ “...ครูสมุ นสอนภาษาไทยและการศกึ ษากับสังคม วิชาหลงั น้คี รูสุมนจะบรรยาย ถึง
ลกั ษณะสงั คมไทยแตเ่ ดมิ มา และวิวฒั นาการมาจนถงึ ปัจจบุ นั สภาพเป็นอยา่ งไร ปญั หาคอื อะไรท้งั ใน
ด้านการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคม มาจนเกยี่ วกบั การศึกษาในเร่ืองเศรษฐกจิ นั้น จรงิ อยู่ครสู ุมนมิได้แสดง
หลกั ทางเศรษฐศาสตร์ท่ีลกึ ซง้ึ อะไรให้เห็น แตส่ ง่ิ ท่ีรับรอง ความทันตอ่ เหตุการณ์ของครูสมุ นคือ
ความรใู้ นการเคลือ่ นไหวของเศรษฐกจิ ไทยอยา่ ง กระช้ันชดิ และทันต่อเหตกุ ารณส์ ม่าเสมอ…”
ศาสตราจารย์ ดร.สมหวงั พิธยิ านุวฒั น์ อดตี ผู้อานวยการสานักงานรบั รองมาตรฐานและ
ประเมินคณุ ภาพการศึกษา และเปน็ ผูไ้ ด้รบั รางวัลนกั วจิ ัยดเี ดน่ สาขาการศึกษา กลา่ วถึงอาจารยส์ ุมนว่า
“…ท่านเปน็ ต้นแบบว่าครูทด่ี เี ป็นอย่างไร ครูสุมนคอื นกั ปราชญ์ เพราะทา่ นมพี ร้อม ท่านคดิ อะไรท่าให้
เราเห็นไดช้ ดั เจนทบี่ อกว่าความรู้ส่าคญั แต่ว่าท่านอาจารยส์ ุมนได้สาธติ ให้เหน็ วา่ ความรู้นัน้ สา่ คัญจริง
แต่ทส่ี า่ คญั กวา่ นนั้ คือความคิดและความคดิ อนั น้ี ผมคดิ ว่า เป็นอดุ มทศั นท์ ี่คดิ วา่ มีคนไม่มากนกั ในวง
การศึกษาทจ่ี ะเปน็ วทิ ยทายาท…”
รองศาสตราจารยท์ ิศนา แขมณี ผไู้ ด้รับการยกยอ่ งว่าเป็นครูประถมศกึ ษาดีเดน่ และผ้บู ุกเบกิ
ดว้ ยกระบวนการกลมุ่ ในการจัดการศึกษา ไดก้ ลา่ วถึงความประทบั ใจตอ่ อาจารยส์ ุมนว่า
“…ร้จู ักอาจารยต์ ้ังแต่เป็นนสิ ิต อาจารยเ์ ปน็ นกั วิชาการท่ีขวนขวายเป็นนิจอาจารยอ์ ่านหาความรู้
เพ่ิมเติม ยอมรับสิ่งใหม่ ความร้ใู หม่ ๆ ให้เกยี รติผอู้ ายุนอ้ ยกวา่ รบั ฟงั รับส่ิงใหม่ๆ เขา้ มา อาจารยร์ บั ที่
จะน่าเอาไปใช้ อันนี้เปน็ สว่ นท่ดี ีมากเปน็ ลกั ษณะของ นกั วชิ าการ…”
จากการสังเคราะห์ข้อความข้างตน้ ได้ข้อสรปุ ว่า ครูสุมนเป็นตน้ แบบของครทู ่ีมคี ณุ ลกั ษณะดี
ด้านภมู ิรู้ คอื ความเป็นผู้มีความรอบรู้ และมีความสามารถทางวิชาการในการจัดการความรูใ้ ห้แก่
6
ความเป็นครมู ืออาชีพ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
ผู้เรยี นมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ วสิ ัยทศั นก์ ว้างไกล ร้จู กั แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อนั เปน็ ลักษณะของครทู ่ีดี
และครูควรยึดเป็นแบบอย่างในการปฏิบัตงิ านของครูและอกี ความตอนหนงึ่ กล่าววา่
“…ประทับใจในบุคลิกภาพ อาจารย์มีบุคลิกภาพที่นา่ เคารพ สอนชัดเจนพดู จาไพเราะแต่งกาย
เรียบร้อย และมคี วามสงา่ …”
สอดคล้องกับศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์ กล่าวถึงอาจารยส์ มุ นวา่
“…ทุกครั้งทีพ่ บอาจารย์สมุ น ผมรู้สึกสบายใจกลบั มา อาจารย์พูดคุยดคี วามเปน็ ต้นแบบของอาจารย์
คอื อาจารย์มคี วามคงเสน้ คงวา เป็นท่พี ง่ึ พิงของศิษยใ์ นทกุ ๆ ด้าน ไมท่ ้ิง ติดตามศษิ ย์อยูเ่ สมอ และ
ความเปน็ ผู้ทันสมยั ตดิ ตามความเปน็ ไป เปลี่ยนแปลง เรียนรูแ้ ละเข้าใจ แตไ่ มเ่ ปล่ียนตาม มีความเป็น
ตัวของตัวเองและพร้อมท่จี ะพูดคยุ กบั คนทีม่ ีความคดิ ใหม่ ๆ ได้…”
จากการสังเคราะหข์ อ้ ความข้างตน้ ไดข้ ้อสรุปวา่ ครสู มุ นเป็นตน้ แบบของครูทม่ี ีคุณลกั ษณะดี
ด้านมีความภูมฐิ าน คือ การมบี คุ ลกิ ภาพดี อารมณด์ ี นา่ เคารพ รปู รา่ งทา่ ทางดี แต่งกายสะอาด
เรยี บร้อย พูดจาไพเราะนุ่มนวล น้าเสยี งชัดเจน มีลกั ษณะความเปน็ ผู้นา ร้จู ักปรับตวั เขา้ กบั สภาพการ
เปลย่ี นแปลงของโลก ยอมรบั และเรียนรู้ ให้เกยี รติผอู้ ืน่ นบั เป็นคณุ ลกั ษณะทีด่ ีทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงความ
ภมู ิฐานของครูได้อยา่ งแทจ้ รงิ
นอกจากความเป็นผู้มภี ูมริ ู้ และภมู ิฐานของศาสตราจารย์กติ ตคิ ณุ สุมน อมรวิวฒั น์ แล้ว ใน
ความเป็นผมู้ ีภมู ธิ รรมของท่าน หลายขอ้ ความท่ที า่ นกล่าวไว้ในหนังสอื ชวี ติ งามดว้ ยความดี ล้วนแสดง
ใหเ้ ห็นถงึ ความเป็น ผ้มู ีคณุ ธรรม ดังน้ี
“…การเป็นครมู ีความสุขไดพ้ บปะนักเรยี นท่ีเปล่ียนแปลงไปเร่อื ย ๆ มีอาชพี ไม่กี่อาชีพทีไ่ ด้รับความ
ไว้วางใจ คนเปน็ ครยู ่ิงใหญม่ าก ครูจะมองโลกในแงด่ อี ารมณ์ดี คดิ ทางบวก ถา้ ครูไมร่ กั และตั้งใจสอน
เราจะไดซ้ ากปรักหักพังของเด็กทีถ่ ูกกร่อนเซาะจนเศร้าซึม ท่ีส่าคัญคือตัวครูเอง อยา่ เป็นซาก
ปรกั หกั พงั เพราะทา่ เปน็ เพยี งอาชพี ไมใ่ ช่วิชาชีพ…”
“…ความสา่ คัญของการเป็นครู คือ ใจของตนเอง ทกั ษะและกระบวนการเผชญิ สถานการณ์ คือ การ
เผชญิ ผจญ ผสมผสาน เราต้องเตรยี มเผชิญคอื ไมว่ ิ่งหนผี จญพร้อม ท่ีจะสู้ ผสมผสานคือ ใชว้ ิธีการ
หลาย ๆ อยา่ งเพ่อื เผด็จปัญหาน้นั ทกุ วันนที้ ่วี ุน่ วายเพราะไมม่ สี ติ ถ้าพบสงิ่ ทไี่ ม่พึงปรารถนากอ็ ยา่ มี
อารมณ์ ให้ถือสตเิ ป็นทต่ี ง้ั ยึดความพอดไี มป่ ระมาท ท่าใหพ้ อดี แกป้ ญั หาดว้ ยทางสายกลาง เปน็
กลั ยาณมติ รต่อกนั …”
“…จติ วิญญาณของความเป็นครู ตอ้ งเร่ิมจากความรกั และเมตตาก่อน สอนใหเ้ หน็ ถงึ คณุ ค่าของคนท่ี
เราสอน เขาเปน็ มนษุ ย์ ถา้ จติ ใจของเขาไดร้ ับความกระทบกระเทือน เขาจะมีปมด้อย ครเู ป็นผพู้ ฒั นา
มนษุ ย์ เราจะท่าให้เขาเป็นคนดเี ราตอ้ งให้ก่าลงั ใจเขา เราเหน็ เขาพกิ ารกต็ ้องให้ก่าลังใจ เราเห็นเขา
เขียนหนังสือไม่ไดก้ ต็ อ้ งหม่ันสอน โดยครู ต้องเอาใจใส่ต่อเขา…”
“…การสอนท่ดี ีจรงิ ของครูนัน้ เกิดขน้ึ จากจิตสา่ นกึ และความตระหนักภายในตนของครเู อง วิธีการ
สอนทีด่ มี าก ๆ ไมเ่ หมือนกับท่ีครูเคยท่าเมอ่ื เวลาฝกึ สอน บรรยากาศ สอื่ การสอน และส่วนประกอบ
ต่าง ๆ เป็นความคดิ และฝีมอื ของครูโดยแท้ ครสู อนดี เพราะครูตั้งใจ และครูเข้าใจนักเรียน ครสู อนดี
7
ความเป็นครมู อื อาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สวุ รรณกูฏ
เพราะมีกัลยาณมิตร และเป็นกัลยาณมิตร ครูสอนดี เพราะครมู ีศรัทธาต่อชีวติ ของเพื่อนมนษุ ย์ ชีวิต
ของเดก็ และครเู องมหี ัวใจของความเปน็ มนุษย์…”(อุบล เลยี้ ววารนิ , 2556 ; อ้างอิงมาจาก พฒั นาครู
ทจี่ ติ เพอ่ื ศิษยง์ อกงามทีใ่ จ, 2554)
กล่าวโดยสรุป คณุ ลักษณะเกี่ยวกับความเปน็ ครูทีด่ ดี ้านภมู ิธรรม ของศาสตราจารยก์ ติ ติ
คุณสมุ น อมรวิวฒั น์ คอื การเปน็ ผู้มคี วามประพฤติดี กระทาแต่ส่ิงที่ดที สี่ ุจรติ ทง้ั กาย วาจา และ
ใจ มคี วามเป็นกลั ยาณมติ ร เอาใจใสร่ ักและห่วงใยศษิ ย์ ศรทั ธา ซื่อสัตย์ตอ่ อาชีพ มองโลกในแง่ดี
อารมณด์ ี คิดทางบวก ถือสตเิ ปน็ ทต่ี ้ัง ความพอดี ไม่ประมาท สงิ่ ท่กี ลา่ วมาทง้ั หมดนล้ี ว้ นเปน็
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทอี่ าจารย์สมุ นมีอย่างครบถว้ น
จากกรณีศึกษาของศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ุณสุมน อมรวิวัฒน์ ดังกล่าวมาข้างต้น เปน็ สิง่ ท่ีผู้
ประกอบวิชาชีพครู ทุกคนควรยดึ เป็นแบบอยา่ งและประพฤติปฏบิ ัติตนใหม้ ีคณุ ลักษณะท้งั 3 ดา้ น
ดงั กลา่ วคอื การเป็นผู้มีภมู ริ ู้ ภูมิธรรม และภูมิฐาน ท้ังน้ีเพื่อการเป็นครูทดี่ สี มควรแกก่ ารได้รบั การ
ยกย่องสืบไป
8
ความเป็นครมู อื อาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สุวรรณกฏู
กิจกรรม
ใบงานท่ี 4.1
ความเปน็ ผนู้ าและเป็นแบบอยา่ งท่ดี ที ้งั ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี
ให้ผู้เขา้ อบรมอธบิ ายประเดน็ ต่อไปน้ี
1. ความหมายของ ความเปน็ ผ้นู าและเป็นแบบอย่างที่ดีทงั้ ด้านวิชาการและวิชาชพี เป็น
อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงระบุคณุ ลักษณะความเป็นผ้นู าและเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ที ง้ั ด้านวิชาการและวิชาชพี
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9
ความเป็นครูมืออาชพี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สวุ รรณกฏู
แบบทดสอบประจาบทที่ 4
คาชแ้ี จง ใหเ้ ลือกคาตอบท่ถี ูกต้องทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว โดยทาเครอ่ื งหมาย กากบาท (X) ลงใน
กระดาษคาตอบท่ีแจกให้
1. ข้อใดเป็นพฤตกิ รรมทแี่ สดงถึงภาวะผนู้ าของครู ?
ก. ครดู ุสิตพยายามแสวงหารูปแบบการจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ เพือ่ ใชใ้ นการสอน
ข. ครูมานติ ยพ์ านักเรยี นเขา้ พักแรมบนภูแลนคา
ค. ครสู ขุ สันต์สอนเด็กเยบ็ ปักถักร้อย
ง. ครณู ชิ าสอนเปตองนกั เรยี นทุกเยน็ หลังเลิกเรียน
2. ประโยชนท์ นี่ กั เรยี นไดร้ ับจากความเป็นผนู้ าของครตู รงกับข้อใด ?
ก. นกั เรียนไดเ้ รยี นตามหลักสตู รมากขึ้น
ข. นักเรียนไดไ้ ปทัศนศึกษาบอ่ ยคร้ังขึ้น
ค. นกั เรียนได้ใชน้ วตั กรรมและส่ือทางการเรียนทหี่ ลากหลายมากขึ้น
ง. นกั เรยี นไดเ้ ห็นครูมคี วามสามัคคกี นั มากขนึ้
3. เหตุผลในข้อใดท่ตี อ้ งใหค้ รทู าวิจยั ในชนั้ เรียน ?
ก. เพือ่ ให้การประเมนิ สถานศกึ ษาผ่าน
ข. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครู
ค. เพ่อื พฒั นาระบบงานวชิ าการของโรงเรยี น
ง. เพอื่ ช่วยเหลอื เพอ่ื นครูท่ที าวจิ ยั ไมเ่ กง่
4. ความเป็นผู้นาของครูในวชิ าชพี ครูระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานแสดงออกจากพฤติกรรมยกเวน้
ข้อใด ?
ก. มกี ารพฒั นาตนเองและเพ่อื นครู
ข. เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง
ค. เป็นแบบอยา่ งทางการสอน
ง. ให้ความสาคญั กบั ผบู้ ริหารมากที่สดุ
5. ข้อใดควรจะเปน็ ความเป็นผนู้ าทางวิชาการและวิชาชพี ครูไทย ?
ก. ไม่จาเปน็ ตอ้ งมีส่ิงสนับสนุนการเรยี นรเู้ พราะสอนตรงไหนก็ได้
ข. สอนให้เกนิ เวลาไดเ้ ปน็ การดี
ค. ตรวจสอบความก้าวหนา้ ของนักเรยี นสม่าเสมอ
ง. ไม่จาเปน็ ต้องทาวจิ ยั เพราะรูจ้ กั นกั เรียนดที กุ คน
10
ความเป็นครมู ืออาชพี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สวุ รรณกฏู
6. การปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งทดี่ จี นผู้เรยี นเกิดศรทั ธา ตรงกบั ข้อใด ?
ก. การใชว้ าจาท่ีสุภาพ
ข. การเชิญชวนใหป้ ฏิบัติ
ค. การแก้ไขข้อบกพรอ่ ง
ง. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนตดั สนิ ใจเลือกปฏบิ ตั ขิ องตน
7. การปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างทีด่ ีในด้านต่างๆ อย่างสมา่ เสมอ พิจารณาจากข้อใด ?
ก. มคี วามเมตตากรุณาต่อผเู้ รยี น
ข. การแก้ไขขอ้ บกพร่อง
ค. การเสรมิ แรงทางบวกกับผ้เู รียน
ง. การสอดแทรกในกระบวนการเรยี นการสอน
8. การประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีและการเป็นสมาชิกทด่ี ีของสถานศึกษา ยกเว้นข้อใด ?
ก. การยึดม่ันปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู
ข. การพฒั นาตนเองใหม้ คี วามก้าวหน้าในวชิ าชพี
ค. การรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
ง. การมคี วามรักสามคั คีในหมู่คณะ
9. เหตุผลข้อใดสาคัญที่สดุ ทที่ าให้วชิ าชพี ครเู ปน็ วิชาชพี ชน้ั สงู ได้ ?
ก. ครูทกุ คนทาเหมือนวิชาชพี ทนาย
ข. ครูทกุ คนยดึ ม่นั ในจรรยาบรรณครูและจิตวิญญาณครู
ค. ครทู ุกคนม่งุ แตท่ างานของตนเอง
ง. ครูทุกคนไม่แสวงหาผลประโยชน์จากผ้ปู กครอง
10. ข้อใดเป็นพฤติกรรมทค่ี รองตนของบคุ คลทเ่ี ป็นครู ?
ก. เป็นแบบอย่างท่ดี ีทัง้ กาย วาจา ใจ
ข. รัก เมตตา เอาใจใสต่ อ่ ศิษย์
ค. ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากเพ่ือนรว่ มงาน
ง. ใฝ่เรียนรู้ ศึกษาคน้ คว้า
11
ความเป็นครูมอื อาชีพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร.รชฏ สวุ รรณกูฏ
อา้ งอิง
ธรี ธร สุธีธร. (2559). ภาวะผนู้ าทางวชิ าการของครยู คุ ใหม่. วารสารบริหารการศกึ ษา มศว.,
13(24), 54 – 61.
สุพรรตั น์ สตั ตธนชัยภทั ร . (2557). กลยุทธก์ ารพัฒนาภาวะผ้นู าทางวิชาการของครู.
กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
สานกั งานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู. (2554). องค์ความรูชดุ บุคคลคณุ ธรรม : ชีวติ งามดวย
ความดี ศาสตราจารย์ สุมน อมรวิวัฒน. นนทบรุ ี :โรงพมิ พ์บรษิ ทั อนิ ฟนทิ โกลบอลเทรด.
สานักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา. (2554). ประกาศสานกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา เรอ่ื งการคัดเลือกผู้
ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาเพอื่ รับรางวัลหนง่ึ แสนครดู ี ประจาปีการศกึ ษา 2554.
กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร.
. (2540). เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของครุ สุ ภา พ.ศ. 2537. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
ครุ ุสภาลาดพร้าว.
สานกั งานส่งเสรมิ สงั คมแห่งการเรยี นร้แู ละคุณภาพเยาวชน. (2557). การยกระดับคณุ ภาพครไู ทยใน
ศตวรรษ ที่ 21. ในการประชมุ วชิ าการ “อภิวัฒนก์ ารเรยี นรู้...สู่จุดเปล่ียนประเทศไทย”
กรงุ เทพฯ: สานักงานส่งเสริมสังคมแหง่ การเรียนร้แู ละคณุ ภาพเยาวชน.
อุบล เล้ียววาริน. (2556). ความเป็นครวู ิชาชพี . กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร.
อาภารตั น์ ราชพัฒน.์ (2554). การพัฒนาตวั บ่งชภ้ี าวะผู้นาของครูในสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน.
วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
Suranna, K. J., & Moss, D. M. (2002). Exploring teacher leadership in the context of
teacher preparation. Paper presented at the annual meeting of the
Educational Research Association, New Orleans. LA. (ERIC Document
Reproduction Service No. ED465751)
12