The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โคระ... สืบสานภูมิปัญญาชาวบ้าน สานโคระห่อผลจำปาดะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narisrasc2, 2022-04-25 01:22:38

โคระ... สืบสานภูมิปัญญาชาวบ้าน สานโคระห่อผลจำปาดะ

โคระ... สืบสานภูมิปัญญาชาวบ้าน สานโคระห่อผลจำปาดะ

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

“โคระ” ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบต่อกัน
มาช้านานในการใช้ห่อผลไม้ตระกูล จำปาดะ และ
ขนุนป้องกันแมลงวันทอง ซึ่งจะเจาะผลเพื่อเข้าไป
วางไข่ ทำให้ผลผลิตเน่าเสียหาย เกษตรกรจึงต้องมี
การห่อผลในช่วงผลอ่อน

“จำปาดะ” เป็นไม้ผลที่เป็นอัตลักษณ์ของ
ท้องถิ่นภาคใต้ พบได้ทั่วไปในพื้นที่จังหวัดสตูล
สงขลา พัทลุง และนครศรีธรรมราช ชาวบ้านนิยม
ปลูกไว้รับประทานและจำหน่าย สืบทอดกันมานาน
กว่าร้อยปี

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

ปัจจุบัน จำปาดะ เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่
สร้างอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกรจังหวัดสตูล
และสงขลา จำปาดะออกผลปีละ 1 ครั้ง ในช่วงฤดู
ฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ศัตรู
สำคัญของผลจำปาดะ คือแมลงวันทอง ซึ่งจะ
เจาะผลเพื่อเข้าไปวางไข่ ทำให้ผลผลิตเน่าเสียหาย
เกษตรกรจึงต้องมีการห่อผลในช่วงผลอ่อน โดยใช้
วัสดุที่สานจากใบมะพร้าว เรียกว่า “โคระ”

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบต่อกันมาช้า
นานในการใช้ห่อผลไม้ตระกูล จำปาดะ และขนุน
ปัจจุบันมีการใช้โคระจากทางมะพร้าวน้อยลงมัก
จะใช้ถุงพลาสติกและกระดาษกันมากกว่าเพราะ
สะดวกรวดเร็ว ทำให้สิ่งต่างๆ เหล่านี้เริ่มลางเลือน
ไปจากชีวิตของคนรุ่นใหม่และไม่ค่อยรู้จักโคระห่อ
ขนุนหรือจำปาดะกันแล้ว

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

“โคระ” ซึ่งทำมาจากทางมะพร้าวสาน เป็นภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่ถ่ายทอดกันมากว่า 100 ปี สามารถช่วยป้องกัน
แมลงได้ 85-100 % “โคระ” นั้นมีวิธีการสานที่ไม่ยุ่งยาก
โดยนำใบมะพร้าวหรือทางมะพร้าว มาตัดให้เหลือก้านใบ 3-4
ก้าน จำนวน 2 ทางใบ มาสานขึ้นรูป ทีละด้านในลักษณะ
ลายขัด เมื่อขัดตอกได้ 4 ตาแล้ว ใช้ก้านมะพร้าวทำเป็นหมุด
กลัดตอกเส้นบนสุดของทั้งสองข้างไว้กันหลุด แล้วพลิกไปสาน
ด้านตรงข้ามต่อไป ขัดตอกตามวิธีเดิมจนได้ รูปคล้ายกรวย
ปลายตอกทั้งสองของแต่ละท่อนทางจะไปรวมอยู่ด้านเดียวกัน
ขัดตอกตามวิธีเดิมจนใกล้สุดปลายตอกใบ รวบปลายใบขัด
เป็นปม 2 ปม คล้ายผมเปีย ก็จะได้โคระที่เสร็จสมบูรณ์

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

เป็นลูกขนาดกว้างและยาวพอเหมาะกับผลจำปาดะ สาน
เสร็จก็แขวนไว้ให้แห้งเป็นสีน้ำตาลจึงนำไปห่อผลจำปาดะ โดย
สวมทางปากหรือก้นโคระก็ได้ แล้วปล่อยทิ้งไว้จนผลไม้เจริญ
เต็มที่ โคระก็จะขยายตัวยืดออกตามขนาดของผลไม้นั้น ๆ
หากนำโคระที่ยังเป็นสีเขียวสดไปห่อผล จะไม่สามารถกัน
แมลงวันผลไม้ได้ โดยโคระแต่ละใบใช้ได้เพียงครั้งเดียว
เนื่องจากแมลงวันทองจะเห็นสีน้ำตาลของใบมะพร้าวเป็นสิ่งที่
ตายแล้วไม่เหมาะสมต่อการเข้าไปวางไข่ จึงไม่เข้าไปเจาะผล
จำปาดะ นั่นเอง

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล

ในปัจจุบันมีการใช้โคระจากทางมะพร้าวน้อยลง
มักจะใช้ถุงพลาสติกและกระดาษกันมากกว่าเพราะ
สะดวกรวดเร็ว ทำให้สิ่งต่างๆเหล่านี้เริ่มลางเลือนไป
จากชีวิตของคนรุ่นใหม่และไม่รู้จักโคระห่อขนุนหรือ
จำปาดะกันแล้ว

แหล่งที่มา : https://www.zolitic.com/south/Songkhla/30026
https://www.gotoknow.org/posts/265912

ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อำ เ ภ อ ม ะ นั ง นำ เ ส น อ

โคระ สืบสาน
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น

ส า น โ ค ร ะ ห่ อ ผ ล จำ ป า ด ะ ป้ อ ง กั น แ ม ล ง เ จ า ะ ทำ ล า ย ผ ล


Click to View FlipBook Version