The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) I30202

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stud08890, 2021-03-15 04:18:48

โครงงานเรื่องปัญหาทรัพยากรธรรมชาติในหมู่บ้านช่อผกา

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) I30202

เร่ืองปัญหาการใช้ทรัพยากรในหม่บู ้านช่อผกา

ผ้จู ดั ทำ

ชอ่ื – สกุล นายวรรรลภย์ ครองยทุ ธ ชนั้ ม.5/1 เลขท่ี 3

ช่อื – สกุล นายวทัญญู นัคราภิบาล ชัน้ ม.5/1 เลขท่ี 9

ชื่อ-สกลุ นางสาวการะเกด น้อยศิริ ชน้ั ม.5/1 เลขที่ 22

ชื่อ-สกลุ นางสาวจติ ตมิ า ชืน่ รส ชั้น ม.5/1 เลขที่ 24

ช่ือ-สกลุ นางสาวธษิ ณามดี แพรง่ สุวรรณ์ ช้ัน ม.5/1 เลขที่ 25

ชอ่ื -สกุล นางสาวสดุ ารตั น์ ทาทวี ช้นั ม.5/1 เลขที่ 26

ชอ่ื -สกุล นางสาวสพุ รรษา โคตจงั หรีด ชั้น ม.5/1 เลขท่ี 27

ครูทปี่ รึกษา: คณุ ครูนารนิ ทร์ ศรณี รงค์

รายงานนเ้ี ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวิชาการสอื่ สารและการนาเสนอ (IS2) I30202
โรงเรยี นสิงหวทิ ยาคม ตาบลบ้านสงิ ห์ อาเภอนางรอง จังหวดั บุรีรมั ย์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

เร่ืองปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในหมู่บ้านชอ่ ผกา

ผู้จัดทำ

ช่อื – สกุล นายวรรรลภย์ ครองยุทธ ชนั้ ม.5/1 เลขที่ 3

ชอื่ – สกุล นายวทัญญู นคั ราภบิ าล ชน้ั ม.5/1 เลขท่ี 9

ช่อื -สกลุ นางสาวการะเกด น้อยศริ ิ ชั้น ม.5/1 เลขท่ี 22

ชื่อ-สกุล นางสาวจติ ติมา ชน่ื รส ชั้น ม.5/1 เลขที่ 24

ชือ่ -สกลุ นางสาวธษิ ณามดี แพรง่ สวุ รรณ์ ชัน้ ม.5/1 เลขท่ี 25

ชอ่ื -สกลุ นางสาวสดุ ารัตน์ ทาทวี ชน้ั ม.5/1 เลขที่ 26

ชอื่ -สกุล นางสาวสพุ รรษา โคตจังหรีด ชั้น ม.5/1 เลขที่ 27

ครทู ี่ปรกึ ษา คุณครนู ารนิ ทร์ ศรณี รงค์

รายงานน้เี ป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชาการส่ือสารและการนาเสนอ (IS2) I30202
โรงเรียนสิงหวิทยาคม ตาบลบา้ นสิงห์ อาเภอนางรอง จงั หวัดบรุ ีรัมย์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

(ก)

ช่อื เรอื่ ง : ปัญหาการใชท้ รัพยากรธรรมชาตใิ นหมบู่ า้ นชอ่ ผกา

ผู้จดั ทา : นายวรรรลภย์ ครองยทุ ธ ช้ัน ม.5/1 เลขที่ 3

นายวทัญญู นคั ราภิบาล ชน้ั ม.5/1 เลขที่ 9

นางสาวการะเกด นอ้ ยศริ ิ ชน้ั ม.5/1 เลขท่ี 22

นางสาวจติ ตมิ า ชน่ื รส ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 24

นางสาวธิษณามดี แพร่งสวุ รรณ์ ชัน้ ม.5/1 เลขท่ี 25

นางสาวสุดารัตน์ ทาทวี ชนั้ ม.5/1 เลขท่ี 26

นางสาวสพุ รรษา โคตจงั หรีด ชัน้ ม.5/1 เลขที่ 27

ทปี่ รึกษา : คณุ ครูนารินทร์ ศรณี รงค์

โรงเรียน : สิงหวิทยาคม

ปกี ารศึกษา : 2563

บทคดั ยอ่

การศึกษาคร้ังน้เี ปน็ การศึกษาเชงิ สารวจมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาเกี่ยวกบั ปญั หา
ทรพั ยากรธรรมชาติต่างๆในหม่บู ้านชอ่ ผกาเพ่ือศกึ ษาผลลพั ธ์ของทรัพยากรแล้วนามาวเิ คราะห์หาสาเหตุ
ซง่ึ ได้แกท่ รัพยากรน้า ทรพั ยากรดิน ทรัพยากรปา่ ไม้และทรัพยากรอากาศ

ผู้ศกึ ษาได้ทาการศกึ ษาคน้ คว้าโดยการใช้การสังเกตและการสอบถามกบั ประชากรละแวกพน้ื ท่ี
ใกลเ้ คียงมกี ารสมุ่ ตวั อย่างทาแบบสอบถามกนิ กับทรัพยากรละแวกนนั้ ๆจานวน 5 ครัวเรือนเกบ็ รวบรวม
ข้อมลู โดยการถ่ายภาพและการบันทกึ เปน็ ตาราง วเิ คราะห์ข้อมูลโดยการใชก้ ารสงั เกตวา่ ทรัพยากร
ละแวกน้ันเปน็ อยา่ งไร การสอบถามชาวบ้านละแวกใกลเ้ คยี งพืน้ ท่ีว่ามปี ัญหาเกีย่ วกับทรพั ยากรอย่างไร
และการเกบ็ ตัวอยา่ งมาวิเคราะหเ์ ชน่ เกบ็ น้ามาวเิ คราะหด์ ูเกี่ยวกบั การตกตะกอนวา่ มีการตกตะกอน
หรอื ไม่มสี ีและมีกล่นิ หรือไม่

ผลการศึกษาคน้ ควา้ พบว่าทรพั ยากรต่างๆเปน็ ดังน้ีทรัพยากรนา้ ในแหล่งน้ามสี ัตว์น้าอยูแ่ ละมพี ืช
เชน่ ผักตบชวาและการนานา้ มาวิเคราะหโ์ ดยการท้งิ ไว้ให้ตกตะกอนปรากฏวา่ ไมเ่ กดิ การตกตะกอนนา้ มีสี
ใสไม่มีกลิ่น
ซง่ึ ขดั แยง้ กับสมมตฐิ านท่ตี ัง้ ไวว้ า่ ปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นหมบู่ า้ นชอ่ ผกาซ่งึ ได้แก่ น้ามีปญั หา
เน่าเสีย ป่าไม้อุดมสมบูรณ์ ดินไม่มีความอุดมสมบูรณ์ดินแตกและแห้ง และอากาศมฝี ุ่นเยอะผ้คู นทีอ่ าศยั
อยบู่ รเิ วณนั้นหายใจไมส่ ะดวก
ดงั ผลการสังเกตและการสอบถามจากชาวบา้ นในหมู่บ้าน

(ข)

กติ ติกรรมประกำศ

กติ ตกิ รรมประกาศ การศึกษาคน้ คว้าในคร้งั นส้ี าเรจ็ ลลุ ่วงได้โดยความช่วยเหลือจากอาจารย์
นรินทร์นามสกลุ ท่ีไดใ้ ห้คาปรึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการวางแผน ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่างๆมาโดยตลอด จนรายงานเร่ืองนเ้ี สร็จสมบรู ณ์ ผู้ศึกษาจงึ ขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูง

นอกจากน้ีผศู้ ึกษาขอขอบคุณชาวบ้านหมบู่ า้ นชอ่ ผกาที่ให้ความรว่ มมือในการศึกษารายงานเรื่องน้ี
โดยได้ให้คาปรึกษาและใหข้ ้อมูลตา่ งๆ

หากการศึกษาค้นคว้าครง้ั นี้จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สนใจโดยทัว่ ไปของความดีและคุณนะประโยชน์ที่
เกิดข้ึนแด่อาจารย์ที่ให้คาปรึกษาและชาวบา้ นในหมู่บา้ นชอ่ ผกาทใี่ ห้ความรว่ มมอื เป็นอยา่ งดีหากมี
ขอ้ ผิดพลาดประการใดผู้ศึกษาขอน้อมรบั ไว้แตเ่ พยี งผูเ้ ดียว

ลงช่ือ นายวรรรลภย์ ครองยทุ ธ ชัน้ ม.5/1 เลขท่ี 3

นายวทญั ญู นคั ราภิบาล ชั้น ม.5/1 เลขที่ 9

นางสาวการะเกด น้อยศิริ ชน้ั ม.5/1 เลขที่ 22

นางสาวจติ ตมิ า ชื่นรส ช้นั ม.5/1 เลขที่ 24

นางสาวธษิ ณามดี แพรง่ สุวรรณ์ ช้ัน ม.5/1 เลขท่ี 25

นางสาวสดุ ารตั น์ ทาทวี ชนั้ ม.5/1 เลขท่ี 26

นางสาวสุพรรษา โคตจังหรีด ชั้น ม.5/1 เลขที่ 27

สำรบญั (ค)

เร่ือง หน้ำ
บทคดั ย่อ ก
กิตตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพ จ
บทท่ี 1 บทนา 1
1
1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของการศกึ ษาคน้ คว้า 1
1.2 วตั ถุประสงค์ 1
1.3 สมมตฐิ านของการศกึ ษาค้นควา้ 1
1.4 ขอบเขตการศึกษาค้นควา้ 2
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 3
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้องกับการศกึ ษาค้นคว้า 3
2.1ปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3
2.2ทรัพยากรปา่ ไม้ 3
2.3ทรพั ยากรดิน 4
2.4ทรัพยากรแหล่งน้า 4
2.5ทรัพยากรอากาศ 5
บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ งานศกึ ษาค้นคว้า 5
3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 5
3.2 วธิ ดี าเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ 7
3.3 ข้อมลู ที่ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ 7
3.4 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า 7
3.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 7
3.6 การวิเคราะหข์ ้อมูล 8
บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นคว้า 8
4.1สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม 8
4.2การป้องกันปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติ 8
4.3สภาพแวดลอ้ มภายในหมู่บา้ น

เรือ่ ง หน้ำ
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 10
10
5.1 สรุปผลการศึกษาค้นควา้ 10
5.2 อภปิ รายผลการศกึ ษาค้นควา้ 10
5.3 ข้อเสนอแนะ 11
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ประวตั ิผจู้ ดั ทา

สำรบญั ตำรำง (ง)

ตารางท่ี หน้า
1 ตารางสารวจน้า 8
2 ตารางสารวจดนิ 8
3 ตารางสารวจป่า 9
4 ตารางแบบสารวจอากาศ 9

สำรบญั ภำพ (จ)

ภาพท่ี หน้า
1 รูปการศกึ ษาค้นคว้าข้อมูล 5
2 รูปการวางแผนข้อมลู 6
3 รูปการลงพืน้ ทสี่ ารวจ 6
4 รปู การสอบถามจากชาวบา้ น 7

บทที่ 1

บทนำ

1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของกำรศึกษำค้นควำ้ (ระบุความเปน็ มาหรือภูมหิ ลงั ของเรื่องท่ี
ศกึ ษา เหตจุ ูงใจทีต่ ้องศึกษาคน้ ควา้ ทาไมถงึ อยากจะศึกษาเร่ืองนี้ การจะเขียนไดค้ วรมี
ประสบการณเ์ ดมิ อยู่ก่อน)
ปญั หาการใช้ทรัพยากรเปน็ ปญั หาทสี่ าคัญในโลกปัจจบุ นั ซึ่งเป็นผลโดยตรงจากการกระทาของ

มนษุ ยอ์ ันเนื่องมาจากความต้องการพืน้ ฐานและความต้องการความสะดวกสบายในด้านต่าง ๆ กระตุน้
ให้มนษุ ย์พัฒนาความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์และวิทยาการในการนาทรัพยากรธรรมชาติใช้อย่าง
สะดวกสบายและง่ายยงิ่ ขึน้ อีกทั้งมีการพัฒนากระบวนการผลติ ทางด้านอุตสาหกรรมเพ่ือผลิตสนิ ค้าทง้ั
ทเ่ี ปน็ สินคา้ ประเภททนุ (Capital Goods) และสินคา้ บริโภค (Consumer Goods) ซึ่งกระบวนการผลิตนเี้ องท่ี
ก่อใหเ้ กิดของเสยี สู่สงิ่ แวดล้อม เช่น ปัญหานา้ เสีย ปญั หาอากาศเปน็ พษิ ปัญหาดินเสยี และปัญหาป่าไม้
ผลของการบรโิ ภคกท็ าให้เกดิ ของเสยี กระจายสูส่ ่ิงแวดล้อมในรูปของขยะมลู ฝอย นา้ เสยี อากาศเป็นพิษ

ผู้จัดทาไดม้ องเหน็ ความสาคญั ของการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละปัญหาท่ีเกิดข้นึ ซ่ึงส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม คณะผูจ้ ดั ทาจึงไดศ้ ึกษาเก่ียวกับปญั หาการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ นหมู่บ้านเพื่อใหท้ ราบ
เกี่ยวกบั ปญั หาท่ีเกิดข้ึนและศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ นี้

2. วตั ถุประสงค์ (ระบสุ ง่ิ ท่ตี ้องการศกึ ษาเพ่ือเป็นแนวทางนาไปสกู่ ารหาคาตอบท่ถี ูกตอ้ งและน่าเชื่อถอื )
2.1เพอ่ื ศกึ ษาสาเหตุทท่ี าให้เกิดปัญหาสิง่ แวดล้อม
2.2เพ่อื ศึกป้องกันปญั หาสงิ่ แวดล้อม
2.3เพื่อให้ผคู้ นหันมาสนใจทรพั ยากรธรรมชาติ
2.4เพอ่ื ศึกษาสภาพแวดล้อมในหมูบ่ า้ น

3. สมมติฐำนของกำรศึกษำค้นควำ้ (เปน็ การคาดคะเนคาตอบก่อนลว่ งหนา้ ซ่ึงจะต้องมีการพิสูจนว์ ่าใช่
หรือไม่)

ปญั หาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในหมู่บ้านชอ่ ผกาซึ่งไดแ้ ก่ น้ามปี ัญหาเนา่ เสีย ปา่ ไมอ้ ุดมสมบรู ณ์
ดนิ ไม่มีความอุดมสมบูรณด์ ินแตกและแห้ง และอากาศมฝี นุ่ เยอะผคู้ นทอี่ าศยั อยู่บรเิ วณนน้ั หายใจไม่
สะดวก

4. ขอบเขตกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ (กาหนดขอบเขตของการศึกษาค้นคว้าว่าทาเพยี งใด ท่ีไหน และกบั ใคร)
4.1 สถานที่หมูบ่ า้ นช่อผกา
4.2 ระยะเวลา1เดือน
4.3 ประชากรชาวบ้านหมู่บ้านชอ่ ผกา
คณุ อรวรรณ ซนุ เฮงกลุ บา้ นเลขที5่ หม9ู่ ต.ชอ่ ผกา อ.ชานิ จากวิธสี ุ่มโดยการสัมภาษณ์

5. ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รับ (ระบคุ ุณคา่ หรือความสาคัญของการศึกษาคน้ คว้า ว่าสิง่ ทศี่ ึกษาน้มี ีการ
ช่วยแกป้ ัญหาอะไรได้บ้างและมีประโยชน์อะไรบ้าง)
1.ทาให้ไดร้ ู้เก่ยี วกับวิธีการจดั การปญั หาส่งิ แวดล้อม
2.ทาใหท้ ราบถงึ ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นบรเิ วณชุมชนว่ามีการเปลย่ี นแปลงอย่างไรบ้าง
3.ทาให้สมาชกิ ในกลุ่มเกิดความสามัคคี

บทท่ี 2
เอกสำรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกำรศึกษำค้นควำ้

ในการศึกษาค้นคว้าเรอ่ื งปญั หาการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ นหม่บู า้ นช่อผกา
แนวคิดทฤษฎีและหลักฐานต่าง ๆ จากเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้

2.1ปญั หาของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม การพฒั นาที่ผา่ นมา ไดร้ ะดมใช้
ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทด่ี ิน ปา่ ไม้ แหลง่ น้า ทรัพยากรชายฝ่ังทะเล ทรัพยากรธรณี ในอัตราท่ี
สงู มาก และเปน็ ไปอย่างไมม่ ีประสทิ ธิภาพ จนมผี ลทาให้ทรัพยากรธรรมชาติเหลา่ น้ี เกิดการรอ่ ยหรอ
และเส่อื มโทรมลงอย่างรวดเร็ว รวมทงั้ เร่ิมสง่ ผลกระทบต่อการดารงชีวติ ของประชาชนในชนบท ท่ีต้อง
พึ่งพาทรัพยากรเป็นหลกั ในการยงั ชพี

2.2ทรัพยากรป่าไม้ พน้ื ทปี่ ่าไมม้ ีสภาพเสือ่ มโทรม และมแี นวโน้มลดลงอย่างมาก เน่ืองมาจาก
สาเหตสุ าคญั หลายประการ ได้แก่ การลักลอบตดั ไมท้ าลายป่า การเผาปา่ การบุกรกุ ทาลายป่า เพอื่
ต้องการท่ีดินเป็นท่ีอยู่อาศยั และทาการเกษตร การทาไร่เลื่อนลอยของชาวเขาในพืน้ ท่ตี ้นนา้ ลาธาร และ
การใช้ทีด่ ิน เพื่อดาเนนิ โครงการของรัฐบาล เชน่ การจัดนคิ มสรา้ งตนเอง การชลประทาน การไฟฟ้า
พลังน้า การกอ่ สร้างทาง กิจการรกั ษาความมน่ั คงของชาติ เปน็ ต้น การทพ่ี ้ืนทป่ี ่าไม้ท่วั ประเทศลดลง
อยา่ งมาก ได้ส่งผลกระทบต่อการควบคมุ ระบบนเิ วศโดยสว่ นรวมอยา่ งแจ้งชดั เชน่ กรณีเกิดวาตภยั
และอุทกภัยครัง้ รา้ ยแรง ในพ้ืนทีภ่ าคใต้ ปัญหาความแห้งแล้งในภาคตา่ งๆ ของประเทศ และปัญหาน้า
ทว่ ม ในฤดฝู นอย่างรนุ แรง ซง่ึ ปัญหาภัยธรรมชาติดัง กลา่ วได้มแี นวโน้มของการเกดิ ถี่ข้นึ อันก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อผลติ ผลทางการเกษตร ชวี ติ และทรัพย์สิน นอกจากนยี้ ังเกดิ ผลกระทบสง่ิ แวดล้อมด้าน
อนื่ ๆ เช่น การสูญเสยี หนา้ ดิน ทาใหส้ ญู เสียความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ ปญั หาการตกตะกอน ปญั หาการ
ตื้นเขินของแหลง่ นา้ และปัญหาสภาพดินฟา้ อากาศแปรปรวน เปน็ ต้น

2.3ทรัพยากรดิน ปญั หาการพงั ทลายของดนิ และการสูญเสยี หนา้ ดนิ โดยธรรมชาติ เช่น การชะ
ล้าง การกัดเซาะของน้าและลม เปน็ ตน้ และทส่ี าคญั คือ ปัญหาจากการกระทาของมนุษย์ เชน่ การ
ทาลายป่า เผาปา่ การเพาะปลกู ผิดวิธี เปน็ ตน้ ก่อใหเ้ กิดการสญู เสยี ความอุดมสมบรู ณ์ของดิน ทาให้ใช้
ประโยชน์จากท่ีดนิ ไดล้ ดนอ้ ยลง ความสามารถในการผลิตทางดา้ นเกษตรลดน้อยลง และยงั ทาให้เกดิ
การทบั ถมของตะกอนดินตามแม่น้า ลาคลอง เข่อื น อา่ งเก็บน้า เป็นเหตใุ หแ้ หล่งน้าดังกลา่ วต้ืนเขิน
รวมทงั้ การทตี่ ะกอนดนิ อาจจะทบั ถมอยู่ในแหลง่ ที่อยูอ่ าศยั และทว่ี างไข่ของสัตว์น้า อีกท้ังยังเป็นตวั กน้ั
แสงแดด ท่ีจะส่องลงสู่พ้ืนนา้ สิง่ เหลา่ นี้ลว้ นก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวติ ในนา้ นอกจากนี้ปัญหา
ความเส่ือมโทรมของดนิ อันเน่อื งมาจากสาเหตุดัง้ เดิมตามธรรมชาติ คอื การที่มสี ารเปน็ พิษเกิดขน้ึ มา
พรอ้ มกับการเกดิ ดนิ เช่น มโี ลหะหนกั มสี ารประกอบทเี่ ปน็ พษิ ซง่ึ อาจทาใหด้ ินเค็ม ดินด่าง ดินเปรีย้ วได้
โดยเฉพาะปัญหาการแพร่กระจายของดนิ เคม็ ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื การดาเนนิ กิจกรรม เพอ่ื ใช้
ประโยชนจ์ ากที่ดนิ อยา่ งไมเ่ หมาะสม และขาดการจดั การท่ีดี เชน่ การสรา้ อา่ งเก็บนา้ ในบรเิ วณท่มี ีเกลือ
หนิ สะสมอยู่มาก น้าในอ่างจะซึมลงไปละลายเกลือหินใต้ดิน แลว้ ไหลกลบั ขน้ึ สผู่ ิวดินบริเวณรอบๆ การ
ผลติ เกลือสนิ เธาว์ในเชงิ พาณิชย์ โดยการสบู นา้ เกลือใตด้ ินขึ้นมาตม้ หรือตาก ทาให้ปญั หาดนิ เคม็ แพร่
ขยายออกไปกวา้ งขวางย่ิงข้นึ ยงั มีสาเหตทุ เี่ กิดจากสารพษิ และส่งิ สกปรก จากภายนอกปะปนอยู่ในดนิ
เชน่ ขยะจากบ้านเรือนของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมตี กคา้ งจากการใช้ป๋ยุ และยากาจัด
ศตั รูพชื เปน็ ตน้ ลว้ นแต่ส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม และก่อใหเ้ กดิ การสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ

(การกลา่ วถึงทฤษฎที ่ีเกีย่ วข้องทนี่ ามาใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าต้องครบถ้วน สามารถนามาใช้ใน
การสรปุ ร่วมกบั การศกึ ษาจากข้อมลู ปฐมภมู ิ และจะต้องมีการอ้างอิงเอกสารทีน่ าขอ้ มูลมาน้ัน โดย
นาไปเขยี นไว้ทบี่ รรณานุกรมด้วย )

2.4ทรัพยากรแหล่งน้า การใชป้ ระโยชน์จากแหล่งนา้ เพื่อกจิ กรรมต่างๆ ยงั มีความขัดแย้งกันอยู่
ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงคข์ องแต่ละกิจกรรม ก่อให้เกิดความยุ่งยากตอ่ การจัดการทรพั ยากรน้า และการ
พัฒนาแหล่งนา้ ความขดั แยง้ ดังกลา่ วมแี นวโนม้ ว่า จะสงู ขึ้น จากปริมาณนา้ ทีเ่ ก็บกกั ได้มจี านวนจากดั
แตค่ วามต้องการใช้น้ามีปริมาณเพิ่มขึน้ ตลอดเวลา ท้ังในดา้ นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอุปโภค
บริโภค เป็นผลให้มนี า้ ไม่เพียงพอกับความต้องการ นอกจากน้ี ความสามารถในการเก็บกักนา้ ของดิน
ตามธรรมชาตมิ ีประสิทธิภาพลดลง และปรมิ าณนา้ บางส่วนสญู เสยี ไป เพราะการปนเป้ือนจากนา้ เน่า
และกากของเสีย ทาให้ไมส่ ามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้าที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งการใช้
ทรพั ยากรน้าเป็นไปอยา่ งไม่ประหยัด และไมก่ ่อให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ได้กอ่ ใหเ้ กิดภาวะการขาดแคลน
นา้ ในฤดูแลง้ และมแี นวโนม้ ท่ีจะเป็นปญั หารุนแรงย่ิงข้นึ สาเหตสุ าคัญคือ การทาลายพ้นื ทปี่ ่าไม้ อันเปน็
แหล่งต้นน้าลาธาร ขาดแนวทางการพฒั นาแหล่งนา้ ทีส่ อดคล้องกับความต้องการใชน้ ้า และศักยภาพ
ของแหล่งน้า การ บรหิ ารการจดั การยงั ไม่มรี ะบบท่ีชัดเจนต่อเนอื่ ง และประสานสอดคล้องกนั

2.5ทรัพยากรอากาศ อากาศจัดเปน็ ทรัพยากรธรรมชาติทใี่ ช้แล้วไม่หมดส้ินและจัดเป็นทรัพยากรที่
มคี วามจาเป็นต่อการดารงชีวติ ของส่งิ มีชวี ติ ทกุ ชนดิ อากาศมีอยู่ท่ัวไปทกุ หนทกุ แห่งรอบๆ ตวั เรา
ตลอดจนตามที่ว่างต่างๆ อากาศเป็นสงิ่ ทีม่ องไมเ่ หน็ มีมวล นา้ หนกั ตอ้ งการท่ีอยู่ มแี รงกระทาต่อวตั ถุ
ไดท้ ุกทิศทุกทางอากาศทห่ี อ่ หุ้มโลกไว้เปน็ ชนั้ ๆ มคี วามสูงจากพื้นผวิ โลกขน้ึ ไปประมาณ 500
กิโลเมตร เราเรยี กชัน้ ของอากาศท่หี อ่ หุ้มโลกวา่ บรรยากาศอากาศเปน็ สง่ิ ทจ่ี าเปน็ ต่อการดารงชวี ติ ของ
คน สัตว์ และ พชื ถา้ ไม่มีอากาศสิง่ มีชวี ิตต่างๆ ก็ไม่สามารถมีชวี ติ อยู่ได้ คนเราสามารถอดอาหารได้
หลายวนั แต่ถา้ ขาดอากาศหายใจเพียง 5-6 นาที เราสามารถตายได้อากาศทอ่ี ย่รู อบตวั เราน้ี
ประกอบดว้ ยแกส๊
หลายชนิดเชน่ แก๊สออกซเิ จน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สอนื่ ๆ นอกจากน้ี
อากาศยงั มสี ว่ นผสมของไอน้า ฝนุ่ ละออง เขม่าควนั และเชือ้ จุลนิ ทรียต์ า่ งๆเจอื ปนอยู่ด้วย อากาศมี
ความสาคัญต่อส่งิ มีชีวติ

บทท่ี 3
วิธดี ำเนนิ งำนศึกษำค้นคว้ำ

การศึกษาเรื่องปญั หาการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติในหมู่บ้านชอ่ ผกา
มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อ เพ่ือศึกษาสาเหตุทีท่ าใหเ้ กดิ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม เพื่อศึกษาการป้องกนั ปญั หา
สงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ ให้ผู้คนหนั มาสนใจทรพั ยากรธรรมชาติ และเพ่ือศึกษาสภาพแวดลอ้ มในหมบู่ ้าน
3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ประชากรที่ใช้ในการสารวจครัง้ นีค้ อื ผูป้ กครองของนกั เรยี นชน้ั ม.5และประชากร
ในหมบู่ า้ นช่อผกา
กลุ่มตวั อยา่ งท่สี ารวจสถานทไ่ี ดแ้ ก่การศึกษาดินตามทุ่งนา นา้ ในแก้มลงิ อากาศบริเวณโรงโมป่ นู
และปา่ ไม้บรเิ วณป่าโคกมะตมู
3.2 วิธีดำเนินกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ (เขยี นระบุการดาเนนิ การศึกษาค้นคว้าวา่ มีวิธกี ารทาเป็นมาอย่างไรบา้ ง)
การศึกษาค้นควา้ เปน็ ประเภทสารวจ/ทดลอง มีขนั้ ตอนการศกึ ษาค้นควา้ ดังนี้
1.การศกึ ษาประเภทสารวจ
2. สังเกตสาเหตขุ องการเกดิ ผลกระทบ
3. ศึกษาคน้ คว้าข้อมลู
3.1รปู การศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูล

4. วางแผน
4.1รูปการวางแผนข้อมลู

5. ลงพนื้ ทีส่ ารวจและสอบถาม
5.1รูปการลงพ้นื ท่สี ารวจ

5.2รูปการสอบถามจากชาวบ้าน

3.3 ข้อมูลที่ใชใ้ นกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ(ระบุนาข้อมลู มาจากแหล่งใด ข้อมูลเกย่ี วกบั อะไรและเก็บมาโดยวธิ ใี ด)
นาข้อมลู มาจากอนิ เทอรเ์ น็ตและชาวบ้านในหมู่บา้ นชอ่ ผกา ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาตใิ น
หมบู่ า้ นช่อผกา และเก็บขอ้ มูลโดยการสงั เกต การสารวจ และการจดบันทึก
3.4 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นกำรศกึ ษำค้นควำ้
เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการศึกษาครง้ั น้ีใช้แบบสอบถามและแบบสารวจ ซึ่งได้พฒั นามาจากแบบสารวจเกีย่ วกบั
ทรัพยากรธรรมชาติ
3.5 กำรเก็บรวบรวมข้อมลู (ระบวุ ่าทาการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้อยา่ งไร)
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยวธิ กี ารสารวจและจดบันทกึ ลงตาราง
3.6 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล (ระบสุ ถติ ิที่ใช้)

นาข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างทาการวเิ คราะห์โดยวธิ ีสารวจและจดบนั ทึก

บทท่ี 4
ผลกำรวิเครำะหข์ ้อมลู

การศกึ ษาเร่ืองปัญหาการใชท้ รัพยากรธรรมชาติในหมู่บา้ นช่อผกา
มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ
1.เพ่ือศกึ ษาสาเหตุท่ีทาให้เกิดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม
2.เพ่ือศึกษาการปอ้ งกันปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม
3.เพือ่ ให้ผ้คู นหนั มาสนใจทรัพยากรธรรมชาติ
4.เพอ่ื ศึกษาสภาพแวดล้อมในหมบู่ า้ น
ผลกำรศกึ ษำค้นควำ้ พบว่ำ (นาผลการวเิ คราะห์ข้อมูลด้วยวธิ ีการทางสถิตมิ าเขยี นโดยเรียงลาดบั
ตามวตั ถุประสงค์)
สาเหตุทท่ี าให้เกดิ ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม คือ การสรา้ งโรงโม่ปูนทาให้อากาศบรเิ วณนนั้ ไมบ่ รสิ ุทธิ์ มฝี ุ่น
ชาวบา้ นบรเิ วณนัน้ หายใจไมส่ ะดวก การใช้สารเคมใี นดนิ ทาใหด้ นิ บริเวณนน้ั เสยี ไมส่ ามารถปลกู พชื ได้
การบุกรกุ ปา่ ไมเ้ พ่ือสรา้ งที่อยู่อาศัยหรือทาการเกษตรทาให้ป่าไม้บรเิ วณนนั้ เสื่อมโทรม
การป้องกันปัญหาเก่ียวกับอากาศรณรงค์ใหจ้ ดั ทาโรงโมป่ ูนหา่ งไกลบรเิ วณบา้ นเรือน ลดการใช้
สารเคมีภายในดนิ ปลูกพชื คลุมดนิ รณรงคใ์ ห้มีการปลูกปา่ ทดแทน ลดการตัดต้นไม้
สภาพแวดลอ้ มภายในหมบู่ ้านช่อผกาบางพ้ืนท่เี กิดปัญหาเกย่ี วกบั ทรัพยากรธรรมชาตสิ ง่ ผล
กระทบต่อคนในชุมชน
กำรนำเสนอผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล (ในรูปแบบของแผนภูมิ กราฟ ภาพ และตาราง)

1.ตารางสารวจน้า

สขี องนา้ กลิ่นของน้า พืช สตั ว์น้า การตกตะกอน

สีเขยี ว สี สี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มีสตั วน์ า้ ไมม่ ีสตั ว์น้า ตก ไม่ตก
ขุ่น ใส กล่ิน กลน่ิ พชื พชื อาศัยอยู่ อาศัยอยู่ ตะกอน ตะกอน

2.ตารางสารวจดิน พืชทปี่ ลกู
ชนิดและลกั ษณะของดิน พืชท่ปี ลกู บรเิ วณน้ันไดแ้ กข่ ้าว

ดนิ บริเวณนนั้ เป็นดินเหนียวมีลักษณะแข็งและ
ดินแตก

3.ตารางสารวจป่า สตั ว์ที่พบ ความอุดมสมบูรณ์
พืชทีพ่ บบรเิ วณป่า
-กระรอก พนื้ ที่ป่าบริเวณช่อผกามีความอุดมสมบูรณ์
-ต้นตะแบก -กระแต มากและยงั มีแหลง่ น้าเล็กๆแต่บางบรเิ วณได้มี
-ต้นยคู า -นก การตดั ไม้เพ่ือทาเกษตร
-ตน้ กฐนิ ณรงค์

4.ตารางแบบสารวจอากาศ
ฝุ่น การหายใจ

มี ไมม่ ี ชาวบา้ นบริเวณโรงโมป่ นู หายใจไม่สะดวกเพราะมีฝนุ่ เยอะจากการโม่
ฝ่นุ ฝุน่ ปูนและรถโมป่ ูนท่ีขบั เข้า-ออก

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รำยผลและขอ้ เสนอแนะ

การศกึ ษาค้นควา้ ในคร้ังน้ี สรปุ อภิปรายผลและมขี ้อเสนอแนะดงั ต่อไปนี้
5.1 สรปุ ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ (เขียนผลการศึกษาค้นควา้ โดยยอ่ ซง่ึ จะสรปุ เป็นข้อ ๆ และสอดคล้อง

กบั วตั ถปุ ระสงค์ )
1.ไดค้ วามรแู้ ละนาไปศึกษาเกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาตใิ นหมู่บ้านช่อผกา
2.ไดน้ าความรู้ทีส่ ัมภาษณ์เกยี่ วกับปญั หาไปวิเคราะห์
3.ไดร้ เู้ กย่ี วกับปญั หาทรัพยากรธรรมชาติใน หมบู่ า้ นช่อผกาและนาไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั

5.2 อภิปรำยผลกำรศึกษำค้นควำ้ (เปรยี บเทียบผลการศึกษาค้นคว้า จากบทที่ 4 กับสมมตฐิ านที่
กาหนดไวว้ ่าสอดคลอ้ งกันหรือไม่ เพราะเหตุใด การอภิปรายผลควรแยกประเดน็ อภิปรายไปทีละ
ประเด็น)

จากการไปลงพ้ืนทีใ่ นส่วนนา้ ไมส่ อดคล้องกับสมมุติฐาน เพราะน้าหมบู่ ้านชอ่ ผกาไม่เนา่ เสยี ตา่ ง
จากเมืองทมี่ ปี ัญหาน้าเน่าเสียเป็นสว่ นใหญ่

จากการไปลงพน้ื ที่ในสว่ นของปา่ ไม้พบว่าสอดคล้องกับสมมตุ ฐิ าน เพราะปา่ ไม้มีความอดุ มสมบรู ณ์
มาก

จากการไปลงพนื้ ท่ีในสว่ นดินสอดคล้องกบั สมมตุ ิฐาน เพราะดนิ ไม่มีความอุดมสมบูรณ์ดนิ แตกรา้ ว
จากการไปลงพื้นท่ีในส่วนอากาศพบวา่ สอดคล้องกบั สมมุตฐิ านเพราะช่วงนที้ ่วั ประเทศอากาศฝนุ่
เยอะมีฝุน่ pm2.5ทว่ั ประเทศ

5.3 ขอ้ เสนอแนะ (ระบผุ ลการศึกษาที่คาดว่า สามารถนาผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ได้และนาไปใช้
เพ่อื การศึกษาคน้ คว้าครัง้ ต่อไป)
1.ควรมีส่วนรว่ มในกลุม่ เพ่อื ท่ีจะได้มาซง่ึ ปัญหาและแนวทางการศึกษา
2.วางแผนในการทางานเพ่ือสรา้ งการจัดการและรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อนื่
3.มกี ารจัดสรรเวลาในการทางานเพื่อทีจ่ ะให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย

บรรณำนุกรม

เนตรภา วงษศ์ รีรกั ษ์. ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม. สบื ค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2564
https://sites.google.com/site/biologynaturairesources/neuxha-
sara/thraphyakrthrrmchati-laea-sing-waedlxm

มูลนธิ ิโครงการสารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน.ปัญหำของทรพั ยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม.
สบื ค้นเมอ่ื 25 มกราคม 2564

http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=21&chap=8&page=t21-8-
infodetail03.html

ภำคผนวก



ภำคผนวก ก

ภำพแสดงกจิ กรรมกำรศกึ ษำค้นควำ้



ภำคผนวก ข

เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นกำรศึกษำค้นควำ้

ตารางสารวจนา้

สีของน้า กลน่ิ ของน้า พืช สตั วน์ า้ การตกตะกอน

สเี ขียว สี สี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มีสัตวน์ ้า ไม่มสี ตั ว์นา้ ตก ไมต่ ก
อาศัยอยู่ ตะกอน ตะกอน
ขุน่ ใส กลน่ิ กล่นิ พชื พชื อาศยั อยู่

ตารางสารวจดนิ พชื ทป่ี ลกู
ชนดิ และลักษณะของดนิ

ตารางสารวจป่า สตั ว์ท่ีพบ ความอุดมสมบูรณ์
พชื ท่พี บบรเิ วณป่า

ตารางแบบสารวจอากาศ

ฝนุ่ การหายใจ

มี ไม่มี
ฝ่นุ ฝุ่น

ประวตั ิผู้จดั ทำ

1.ชื่อ นายวรรณลภย์ ครองยทุ ธ
วัน/เดอื น/ปี วันที่ 8 มีนาคม 2546
ประวตั ิการศึกษา กาลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี5

2.ชอื่ นายวทญั ญู นคั ราภบิ าล
วัน/เดอื น/ปี วนั ท่ี 7 มถิ ุนายน 2546
ประวัติการศึกษา กาลังศึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่5

3. ชอ่ื นางสาวการะเกด นอ้ ยศริ ิ
วนั /เดอื น/ปี วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2546
ประวัติการศึกษา กาลงั ศึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่5

4. ชอ่ื นางสาวจติ ตมิ า ชืน่ รส
วัน/เดือน/ปี วันที่ 9 กันยายน 2546
ประวตั ิการศึกษา กาลงั ศึกษาชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5

5. ชอื่ นางสาวธษิ ณามดี แพร่งสวุ รรณ์
วัน/เดือน/ปี วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2546
ประวตั กิ ารศึกษา กาลงั ศึกษาช้นั มธั ยมศึกษาปที 5่ี

6.ช่อื นางสาวสุดารัตน์ ทาทวี
วนั /เดอื น/ปี วนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2546
ประวัตกิ ารศึกษา กาลงั ศึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี5

7. ช่ือ นางสาวสพุ รรษา โคตจังหรีด
วนั /เดอื น/ปี วันที่ 14 กรกฎาคม 2546
ประวตั ิการศึกษา กาลงั ศึกษาชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่5

แบบประเมินกำรเขียนรำยงำนกำรศกึ ษำค้นคว้ำเชงิ วชิ ำกำร

คำชแ้ี จง: ใหค้ รูผู้สอนหรือผูท้ ีเ่ กี่ยวข้องเปน็ ผ้ปู ระเมินการเขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เชิงวิชาการ

(คะแนนเตม็ 40 คะแนน)

สมำชกิ กล่มุ

1............................................................. 2.............................................................
3............................................................. 4.............................................................
5............................................................. 6.............................................................

ลาดับที่ ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
1. 32
2. ความถกู ต้องในการเขยี นบทคัดย่อ มีความยาว 300 คา
3. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ เชิงวิชาการเปน็ ภาษาไทยความยาว
4,000 คา
วัตถปุ ระสงค์ของกำรศึกษำชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ช่อื เร่ือง/หวั ข้อศกึ ษา

4. สมมติฐำนของกำรศึกษำเป็นกำรคำดคะเนคำตอบที่มหี ลกั กำรและ
สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงคข์ องกำรศึกษำคน้ คว้ำ

5. ขอบเขตกำรศกึ ษาคน้ ควา้ ระบปุ ระชากร กลมุ่ ตวั อย่าง ระยะเวลาท่ี
ศกึ ษา ได้อยา่ งถูกตอ้ งและชดั เจน

6. ระบุจานวนของประชำกรและกลมุ่ ตวั อยา่ งพร้อมวิธีการสุ่มตวั อย่าง

7. อ้างองิ ดว้ ยแหลง่ ของข้อมูลทน่ี ่าเช่ือถือ

8. เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นกำรศึกษำ ระบุประเภท และการสร้าง

9. อธิบายวธิ กี าร ช่วงเวลา และสถานท่ีในกำรเก็บรวบรวมขอ้ มูล

10. เลือกกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล ทต่ี อบวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา และ
วิเคราะหไ์ ด้ถกู ต้อง

คะแนน

คะแนนรวม

ลงชอ่ื .......................................ผปู้ ระเมิน
………/……………./……….

แบบประเมนิ กำรเผยแพรผ่ ลงำนผำ่ นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์
เปน็ รำยกลุม่

คำชแ้ี จง: ใหค้ รูผสู้ อนหรือผู้ทเี่ ก่ียวข้องเปน็ ผ้ปู ระเมนิ การเผยแพร่ผลงานผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

สมำชิกกลมุ่

1............................................................. 2.............................................................
3............................................................. 4.............................................................
5............................................................. 6.............................................................

ลาดับท่ี ประเดน็ การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
5 4321

1. มกี ารนาผลการศึกษาคน้ ควา้ ออกเผยแพรท่ างสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกส์ ไดห้ ลายชอ่ งทาง

2. มีการสนทนาและวพิ ากษผ์ ลการศกึ ษาค้นคว้าผา่ นสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์

คะแนน

คะแนนรวม

ลงชอื่ .......................................ผปู้ ระเมนิ
………/……………./……….

แบบประเมินกำรนำเสนอกำรตัง้ ประเดน็ คำถำม/ปญั หำ
เป็นรำยบุคคล

คำชีแ้ จง: ใหค้ รผู ู้สอนหรอื ผทู้ ี่เกี่ยวข้องเป็นผูป้ ระเมินการนาเสนอการตง้ั ประเดน็ คาถาม/ปัญหา
จากสถานการณร์ อบตวั ในปัจจบุ นั ในสงั คม/ประเทศและสังคมโลก

ชอ่ื ........................................ชนั้ .....................เลขที่......................................

ลาดับท่ี ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
32

1. จากสถานการณ์ปัจจบุ นั ท่สี นใจสามารถนามาตัง้ ประเด็น
คาถาม/ปญั หา และสมมติฐานได้

2. ขอบข่ายประเดน็ คาถาม/ปัญหา

3. นาความร/ู้ ทฤษฎี มารองรบั การตงั้ สมมตฐิ าน

4. ความสอดคล้องของสมมตฐิ านกับประเด็นคาถาม/ปญั หา

5. กระบวนการคดิ ( รบั รู้ สังเกต)

รวมคะแนน ระดับคณุ ภำพ

เกณฑ์กำรให้คะแนน ลงชื่อ.......................................ผปู้ ระเมิน
ดมี าก = 4 ………/……………./……….

ดี = 3
พอใช้ = 2
ปรบั ปรุง = 1
เกณฑ์ตดั สนิ คณุ ภำพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภำพ หมำยเหตุ ครูอาจใช้วิธีมอบหมายให้ตัวแทนกลุ่มอื่นหรอื ให้
17 – 20 4 มกี ารประเมนิ โดยเพอื่ น แลว้ แตค่ วาม
เหมาะสมกไ็ ด้
3 กำรคดิ คะแนน
13 – 16 2
9 – 12 1
1–8

สูตร = คะแนนทไี่ ด้ X 5 = คะแนนจริง
20

แบบประเมนิ กำรนำเสนอกำรต้งั ประเดน็ คำถำม/ปญั หำ
เป็นรำยบคุ คล

คำชแ้ี จง: ให้ครูผ้สู อนหรอื ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องเปน็ ผ้ปู ระเมินการนาเสนอการตง้ั ประเดน็ คาถาม/ปัญหา
จากสถานการณ์รอบตวั ในปจั จุบันในสงั คม/ประเทศและสังคมโลก

ชื่อ........................................ชั้น.....................เลขท่ี......................................

ลาดับท่ี ประเดน็ การประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
32

1. จากสถานการณ์ปจั จบุ ันที่สนใจสามารถนามาตั้งประเด็น
คาถาม/ปญั หา และสมมตฐิ านได้

2. ขอบขา่ ยประเดน็ คาถาม/ปัญหา

3. นาความร/ู้ ทฤษฎี มารองรับการตง้ั สมมติฐาน

4. ความสอดคล้องของสมมตฐิ านกับประเด็นคาถาม/ปัญหา

5. กระบวนการคดิ ( รบั รู้ สังเกต)

รวมคะแนน ระดบั คณุ ภำพ

เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ลงชอ่ื .......................................ผปู้ ระเมิน
ดีมาก = 4 ………/……………./……….

ดี = 3
พอใช้ = 2
ปรบั ปรุง = 1

เกณฑ์ตัดสินคณุ ภำพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภำพ หมำยเหตุ ครอู าจใชว้ ธิ มี อบหมายใหต้ ัวแทนกลมุ่ อน่ื หรือให้
มกี ารประเมนิ โดยเพอื่ น แลว้ แตค่ วาม
17 – 20 4

เหมาะสมกไ็ ด้

13 – 16 3

9 – 12 2

1–8 1 กำรคิดคะแนน

สตู ร = คะแนนทไี่ ด้ X 5 = คะแนนจริง
20


Click to View FlipBook Version