The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruau.mathcv, 2022-03-27 11:43:26

63_covid

63_covid

รายงานผลการวจิ ยั ในชั้นเรยี น

ชื่อเรื่อง : การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ เร่ือง การวิเคราะห์ข้อมูล
เบ้ืองต้น โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

ชือ่ ผู้วิจัย : ช่อื -สกลุ นางสาวอุทัยวรรณ สังคานาคนิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์

โรงเรยี น ชะอวดวิทยาคาร ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561

ปัญหา : จากการสงั เกตกระบวนการเรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนในภาคเรียนทผ่ี ่านมาเกี่ยวกับการแก้
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีข้ึนเมื่อมีการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แต่เม่ือนักเรียนเจอ
สถานการณโ์ จทยท์ ่ีหลากหลายและแปลกไปจากส่ิงท่ีครูเคยยกตัวอย่างนักเรยี นจะไมส่ ามารถนามาประยุกต์ใชไ้ ด้ และ
ในการทาโจทย์ปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ บางคร้ังกระบวนการในการนาไปใช้จริงใน
ชีวิตประจาวันอาจแตกต่างไปจากโจทย์ปัญหาที่นักเรียนเคยเจอ และนักเรียนบางคนมีทัศนคิท่ีไม่ดีต่อวิชา
คณติ ศาสตร์มาก่อนแล้วและปิดก้ันการเรยี นรูเ้ พราะมองวา่ คณิตศาสตร์เรียนไปกไ็ ม่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์อะไรได้
นักเรยี นจึงไมพ่ ยามยามเรยี นรู้ และไม่ยอมรบั สง่ิ ใหมๆ่ หรือประโยชนท์ ่ีเป็นผลสบื เนือ่ งจากการเรยี นคณติ ศาสตร์

วัตถุประสงค์การวิจัย : เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
การวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองตน้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานรว่ มกับการสอนแบบซินเนคติกส์ ของนักเรียนชนั้
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561

วธิ ีแก้ปญั หา : ผู้วจิ ัยดาเนนิ การแกป้ ญั หาโดยมรี ายละเอียดการดาเนินการ ดังนี้
1) กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 – 5/5 จานวน 106 คน
2) นวัตกรรม / เครือ่ งมือการวิจยั
➢ รปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกบั การสอนแบบซินเนคติกส์
➢ แบบรายงานความก้าวหนา้ โครงงาน
➢ ปฏิทนิ การปฏิบัติงานโครงงาน
➢ ตัวอยา่ งแบบสารวจความคดิ เห็น
3) ขั้นตอนการดาเนินงาน
➢ ครูให้นักเรียนแต่ละห้องรวมกลุ่มกันภายในห้องงตนเอง กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อหา

ประเด็นปัญหาของสิ่งที่สมาชิกในกลุ่มของตนเองสนใจ ในขอบเขตของสถานการณ์ท่ี

เป็นจดุ เด่นของชมุ ชนของตนเอง

➢ นักเรียนนาเสนอหัวข้อท่ีตนเองสนใจจะศึกษา โดยใช้กระบวนการคึกษาขข้อมูล

พ้นื ฐานในรูปแบบของโครงงานประเภทสารวจ โดยใช้ความรูเ้ กี่ยวกบั การสารวจความ

คิดเห็นประกอบการสรา้ งเครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู

รายงานผลการวิจัยในช้ันเรยี น ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผู้วจิ ัยนางสาวอทุ ัยวรรณ สังคานาคนิ หนา้ 1

➢ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดประเด็นหัวข้อท่ีสนใจสารวจ และประเด็นคาถามที่
สอดคล้องกับหัวข้อท่ีจะสารวจ

➢ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแลกเปลยี่ นประเด็นท่ีแตล่ ะกลุ่มสนใจหน้าช้ันเรียน เพ่ือเรียนรู้
รว่ มกันภายในห้อง โดยมคี รูผ้สู อนคอยให้คาแนะนา เสนอแนะ และปรบั ปรุงข้อมูลที่
นกั เรียนนาเสนอให้เหมาะสมตอ่ การลงเกบ็ ข้อมลู จรงิ

➢ นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบแบบสารวจความคิดเห็นในเรื่องที่ตนเองสนใจเสนอ
ครผู ู้สอน เพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ งก่อนลงเกบ็ ขอ้ มลู

➢ นักเรียนแต่ละกลุ่มนาแบบสารวจความคิดเห็นที่ผ่านการตรวจสอบและปรับแก้จากครู
ประจาวิชาไปสร้างเคร่ืองเก็บข้อมูลที่สอดคล้องกับกลุ่มตัวอย่าง ท้ังในรูปแบบแบบ
สารวจความคิดเห็นที่เป็นกระดาษ และแบบสารวจความคิดเห็นท่ีออกแบบโดย
Google Form

➢ นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เก็บรวบรวมข้อมูลและนาผลจากการเก็บรวบรวมข้อมลมาบันทึกผล
วเิ คราะหข์ ข้อมูล แปลความหมายของขอ้ มูลและสรุปผลจากการศกึ ษาของกลุ่มตนเอง

➢ นักเรียนทุกกลุ่มนาเสนอผลจากการศึกษาค้นคว้าเผยแพร่ผ่าน Youtube และ
Fanpage : Mathematics By KruAU

➢ ครูผู้สอนจัดชชั่วโมงสรุปบทเรียนที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าโครงานของนักเรียนแต่ละ
กลุม่

4) การรวบรวมข้อมูล บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน
5) การวิเคราะห์ข้อมลู

ผลการแก้ปญั หา :
ผลจากจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตตศาสตร์ 10 หน่วยที่ 2 สถิติเบ้ืองต้น เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้น

โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน
106 คน พบว่า

1. นกั เรียนทมี่ ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเบื้องตน้ ผ่านในระดับ ดี จานวน 82 คน คิด
เป็นร้อยละ 77.36 และนกั เรียนทีอ่ ยู่ในระดบั ปรับปรุง จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 22.64

2. ความคิดสร้างสรรคข์ องนกั เรยี นหลังได้รบั การจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน
ร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ี .05

ข้อเสนอแนะ : จัดกิจกรรมเสริม และตั้งนักเรียนกลุ่มแกนนาเพื่อนพี่เล้ียง ช่วยนักเรียนในกลุ่มที่มีผลการเรียนอยู่ใน
ระดับปรบั ปรงุ เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรอื่ ง การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้น ตอ่ ไป

รายงานผลการวิจัยในชนั้ เรยี น ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผู้วิจัยนางสาวอทุ ยั วรรณ สังคานาคิน หนา้ 2

ภาคผนวก

รายงานผลการวิจยั ในชั้นเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผ้วู จิ ัยนางสาวอทุ ัยวรรณ สังคานาคนิ หน้า 3

ภาคผนวก ก
รูปแบบการจัดการเรียนรู้

รายงานผลการวิจยั ในชั้นเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผู้วจิ ยั นางสาวอทุ ยั วรรณ สงั คานาคนิ หนา้ 4

รปู แบบการจดั การเรยี นรู้

รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ฉบับนี้ เป็นเอกสารชี้แจงรายละเอียดสาคัญของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบ
ซนิ เนคตกิ ส์ เพอื่ พฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ ในหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

1. องค์ประกอบของรูปแบบการจดั การเรียนรู้
2. แนวการใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้

รายงานผลการวิจัยในช้ันเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผูว้ ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สังคานาคนิ หนา้ 5

องค์ประกอบของรปู แบบการจัดการเรียนรู้

จากสภาพปัญหาและแนวคิดท่ีได้ศึกษา ทาให้สามารถกาหนดองค์ประกอบท่ีสาคัญของรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ 7 องค์ประกอบ คือ กรอบแนวคิดทฤษฎีพื้นฐาน หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เน้ือหา
ขั้นตอน/ กระบวนการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล รายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบเป็น
ดังน้ี

1. กรอบแนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐาน

ความคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถของบุคคลที่แสดงความคิดหลากหลายทิศทาง หลายแง่มุม โดยนา
ประสบการณ์ท่ีผ่านมาเป็นพ้ืนฐานทาให้เกิดความคิดใหม่ อันนาไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นต่าง ๆ ที่แปลกใหม่ ท้ังน้ี
ประสบการณ์ท่ผี ู้เรียนจะได้รับจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพทั้งครูผู้สอน ส่ือการเรียนรู้ และ
สภาพแวดล้อมที่จะส่งผลให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ท่ีดีในการเรียนรู้ นาไปสู่การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ อันจะ
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสภาพการดารงชีวิตของมนุษย์ ทาให้มีความสะดวกสบายในการดาเนินชีวิต มีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี สังคมมีความเจริญก้าวหน้า ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์จึงมีผลต่อการพัฒนาสังคมและ
ประเทศชาติ ท้ังนี้ผู้วิจัยได้ทาการศึกษา หลักการ แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ ท้ังท่ีเก่ียวกบั รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ หลักการเรียนรู้แบบโครงงาน และการสอนแบบซินเนคติกส์ เพอ่ื การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์

2. หลักการของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือ
พัฒนาความคิดสร้างสรรค์

รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 เปน็ รปู แบบท่ีพัฒนาข้ึนโดยอาศัยสถานการณ์ การเปรยี บเทียบ และการเรียนรู้โดย
การทาโครงงานเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ โดยสถานการณ์ที่
นามาซงึ่ ประสบการณ์ในการเรียนรู้มุ่งเน้นสง่ิ ท่ีอยู่ใกลต้ วั ผู้เรียน เชน่ ของดีของชุมชน จุดเดน่ ของชุมชนที่ผู้เรยี นอยู่อาศัย
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทบทวนสิ่งท่ีเกิดข้ึนเกี่ยวกับสถานการณ์นั้น ๆ ได้ดีย่ิงข้ึน ร่วมกับการเรียนรู้เป็นกลุ่ม ผู้เรียนที่มี
ประสบการณ์ต่างกัน มีโอกาสได้ร่วมกันระดมความคิด เกิดการเรียนรู้ที่กว้างข้ึน โดยความคิดท่ีแสดงออกของผู้เรียนแต่
ละคนไม่มีคาตอบที่ผิด เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมกันแสดงความคิดอย่างเต็มท่ี มีการแลกเปลี่ยนความคิดซ่ึงกัน
และกันเพือ่ หาข้อสรุปของการคิดทม่ี ีเหตุมีผลและสรา้ งสรรคต์ ่อไป

3. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ

รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือพฒั นาความคิดสร้างสรรค์
สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์

4. เนือ้ หา

เน้ือหาท่ีใช้สาหรับการจัดการเรียนรู้ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ร่วมกับการสอนแบบ
ซนิ เนคติกส์ เพือ่ พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ สาหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 คือ ของดเี มืองชะอวด

รายงานผลการวิจยั ในช้ันเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผู้วจิ ยั นางสาวอุทยั วรรณ สังคานาคิน หนา้ 6

5. ขน้ั ตอน/ กระบวนการเรียนรู้

ผู้วิจัยได้กาหนดข้ันตอนรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพื่อพัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์ สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เป็นหลักในการพฒั นารปู แบบการจัดการเรียนรู้ ซึง่ กระบวนการ
จัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน ไดแ้ ก่

ข้ันท่ี 1 ข้นั นาเสนอ หมายถงึ ขน้ั ท่ีครใู ห้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์
ตามขัน้ ตอนยอ่ ย 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี

1.1 ขน้ั กาหนดงาน/บรรยายสถานการณ์ เปน็ ขั้นท่ีครใู ห้ผู้เรียนบรรยายสภาพปัญหาตา่ ง ๆ หรือ
ปฏิบตั ิงานตามเงื่อนไขท่ีกาหนด

1.2 ขน้ั เปรยี บเทยี บทางตรง เป็นข้นั ท่คี รูใหผ้ ู้เรียนบรรยายจากการนาประเดน็ ปัญหามา
เปรียบเทียบกับสิง่ ท่ีปรากฏอยู่แล้ว

1.3 ขั้นเปรยี บเทียบบุคคลกับส่ิงอ่นื เปน็ ขัน้ ที่ครใู ห้ผู้เรียนบรรยายจากการเปรียบเทยี บตนเองถ้า
กลายเป็นสิ่งน้นั ๆ

1.4 ขน้ั เปรียบเทียบโดยใช้คาคขู่ ัดแย้ง เปน็ ข้ันทค่ี รูให้ผ้เู รยี นบรรยายจากข้ันที่ 2 และ 3 มาคิด
พจิ ารณาในสง่ิ ทีข่ ดั แยง้ กันหลายๆประเดน็ แล้วเลอื กเอาอย่างใดอย่างหนึง่

1.5 ข้นั เปรยี บเทียบทางตรง เป็นขนั้ ทผ่ี เู้ รียนเปรียบเทยี บส่งิ ต่าง ๆ โดยมพี ้นื ฐานอยู่บนประเด็นท่ี
เลอื กมาจากขัน้ ที่ 4

1.6 ขน้ั สารวจงานทต่ี ้องทา เป็นขน้ั ท่คี รใู หผ้ เู้ รยี นกลบั ไปเขียนผลงานโดยอาศัยประสบการณ์จาก
การอุปมาท่ีได้รบั

ขน้ั ที่ 2 ข้นั วางแผน หมายถึง ขัน้ ทผ่ี เู้ รยี นรว่ มกันวางแผนโดยการะดมความคิด อภปิ ราย หารือข้อสรปุ
ของกลุ่ม เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัติ

ข้นั ที่ 3 ข้นั ปฏิบัติ หมายถึง ข้ันท่ีผเู้ รยี นปฏิบตั กิ ิจกรรม เขียนสรปุ รายงานผลทีเ่ กิดขึ้นจากการวางแผน
ร่วมกัน

ข้ันท่ี 4 ขนั้ ประเมินผล หมายถึง ขนั้ การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ท่กี าหนด
ไว้ในแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยมคี รผู สู้ อน ผู้เรยี นและเพ่ือนร่วมกันประเมนิ

6. ส่ือ/ แหล่งเรียนรู้
ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ท่ใี ช้ในการจดั การเรียนรู้ตามรปู แบบการจัดการเรียนรูน้ ี้ ใช้สือ่ การจัดการเรยี นร้ทู ่ี
ผเู้ รยี นสามารถศึกษาทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง เปน็ ส่ือท่ีประกอบดว้ ย

6.1 ใบความรู้
6.2 ใบกจิ กรรม
6.3 ศนู ยก์ ารเรียนรู้ชมุ ชน
6.4 คลปิ วิดีโอเกี่ยวกบั ของดเี มอื งชะอวด

7. การวดั และประเมนิ ผล
การประเมินผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพื่อพัฒนาความคิด
สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ผู้วิจัยประเมินโดยใช้แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ ท่ีผู้วิจัย

รายงานผลการวจิ ัยในช้ันเรียน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผูว้ จิ ัยนางสาวอุทัยวรรณ สงั คานาคนิ หน้า 7

พัฒนาขึ้นตามกรอบของจุดมุ่งหมายท่ีต้องการวัดภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยมีเกณฑ์การให้
คะแนนดงั น้ี

การตรวจให้คะแนนการคิดสร้างสรรค์ในแต่ละข้อ จะให้คะแนนใน 3 องค์ประกอบ คือ คะแนนความ
คล่องแคล่วในการคิด คะแนนความยืดหยุ่นในการคิด และคะแนนความคิดริเร่ิมการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบ
กาหนดขนึ้ ตามแนวคดิ ของ ทอแรนซ์ (สนั ทนา เปยี่ มฤกษ.์ 2549 : 446 ; อา้ งองิ จาก Torrance. 1962 : 34-38) เน้น
ความสามารถในการคิดหาคาตอบในปริมาณที่มาก ความสามารถในการแก้ปัญหาได้หลายทาง และความคิดท่ีแปลก
ใหมไ่ มซ่ ้าใคร ซึ่งแนวทางในการตรวจให้คะแนน มดี งั นี้ คือ

1. คะแนนความคล่องแคล่วในการคิด ผู้วิจัยเป็นผู้ให้คะแนนโดยพิจารณาจากคาตอบที่ตอบถูกตามเงื่อนไข
ของข้อสอบแต่ละข้อ โดยให้คาตอบละ 1 คะแนน แต่ถ้าตอบถูกซ้าหรือเหมือนเดิมจะไม่ให้คะแนนอีก ซึ่งผู้วิจัยได้
กาหนดการให้คะแนน ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 เกณฑ์คะแนนความคล่องแคล่วในการคิด

คาตอบ คะแนนท่ีได้
ไมต่ อบเลย 0
ตอบ 1 ข้อ 1
ตอบ 2-3 ข้อ 2
ตอบ 4 ข้อขึน้ ไป 3

2. คะแนนความยืดหยุ่นในการคิด ผู้วิจัยเป็นผู้ให้คะแนนโดยพิจารณาจากจานวนกลุ่มหรือทิศทางของ
คาตอบ กล่าวคือ นาคาตอบทั้งหมดในแต่ละข้อมาจัดเป็นกลุ่ม คาตอบท่ีเป็นทิศทางเดียวกันหรือความหมายอย่าง
เดียวกันก็จัดเข้าเป็นกลุ่มเดียวกัน เมื่อจัดกลุ่มคาตอบเรียบร้อยแล้วให้นับจานวนกลุ่มคาตอบ โดยให้คะแนนกลุ่มคาตอบ 1
คะแนน

ในกรณีไม่สามารถจัดคาตอบลงในกลุ่มคาตอบที่จัดไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ตรวจอาจจัดกลุ่มคาตอบข้ึนใหม่อีก
ตามความจาเป็นจนกวา่ จะครบตามคาตอบ

3. คะแนนความคิดริเร่ิม พิจารณาจากคาตอบท่ีแปลกใหม่แตกตา่ งไปจากคาตอบของผู้อ่นื ไมซ่ า้ กับคนส่วน
ใหญ่ โดยใช้เกณฑ์ร้อยละ 1 ของกลุ่มตัวอย่างท่ีตอบได้จัดว่ามีความคิดริเร่ิมมากที่สุด แล้วนาจานวนคาตอบท่ีซ้ากัน
ของคาตอบทั้งหมดที่ได้มาคิดคะแนน ซ่ึงครอพเลย์ (ศศิธร เถื่อนสว่าง. 2548 : 108 ; อ้างอิงจาก Cropley. 1966 :
261-262) มเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดงั ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 เกณฑ์คะแนนความคดิ ริเร่ิม

คาตอบซา้ กนั คะแนนท่ไี ด้
12 % ข้ึนไป 0
6 – 11 % 1
2
3 -5 % 3
2% 4
ไมเ่ กิน 1 %

รายงานผลการวจิ ยั ในชน้ั เรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผวู้ ิจัยนางสาวอทุ ัยวรรณ สงั คานาคิน หน้า 8

ดังนั้นคะแนนความคดิ สร้างสรรค์ของผเู้ รยี นหาไดจ้ ากผลบวกของคะแนนความคล่องแคล่วในการคิด ความ
ยืดหยุ่นในการคิด และความคิดริเริ่ม ในแต่ละกิจกรรมนามารวมกันเป็นผลบวกของคะแนนความคิดสร้างสรรค์ของ
ผเู้ รียนแต่ละคน (กรมวิชาการ. 2535 : 51)

แนวการใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้

รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โดยใชร้ ปู แบบการวจิ ัยและพัฒนา โดยนาเอาแนวคดิ ในการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ของดิคและแคร่ี มาเป็นแนวทางในการออกแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยนาลักษณะเด่นของการจัดการ
เรียนรู้แบบโครงงาน ซึ่งเปน็ การจัดการเรียนรู้โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ศึกษาคน้ คว้าในสิ่งท่ีสนใจ ซึง่ อาศยั การบวน
การทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาคาตอบของส่ิงที่สนใจศึกษา โดยมีครูหรือผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้คอยให้คาปรึกษา
หรืออานวยความสะดวกในการศึกษาของผู้เรียน ร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ ซ่ึงเป็นการสอนโดยใช้เทคนิค
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของส่ิงที่แตกต่างกัน หรือไม่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน โดยใช้วธิ กี ารเปรียบเทียบ เพื่อสร้างผลงาน
ท่แี ปลกใหม่ ช่วยพฒั นากระบวนการสร้างความคิดสรา้ งสรรค์

การดาเนินการตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือพัฒนา
ความคดิ สร้างสรรค์ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 มีแนวทางดังน้ี

1. ก่อนสอน สิ่งท่ีครูควรปฏิบัติเพ่ือให้การใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด คือ
1.1 ศึกษาเอกสารรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ เพ่ือพัฒนา

ความคดิ สรา้ งสรรค์เก่ียวกับ ท่ีมา องค์ประกอบและแนวการนาไปใช้ให้เข้าใจเสียก่อน เพื่อจะได้มีพื้นความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และสามารถดาเนินการให้เป็นไปตามหลักการของรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้จนเกิดผลสาเร็จตามที่ต้องการ

1.2 สารวจขอ้ มูลท่เี กยี่ วข้องก่อนนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปใช้ ไดแ้ ก่ การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
บริบทของการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ ขนาดของชั้นเรียน ความสามารถของครู ระดับความถนัดของผู้เรียนให้
เหมาะสมสอดคล้องกัน จึงจะช่วยให้การใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพตามต้องการ

1.3 ขัน้ ตอนการเตรยี มการสอนโดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับการสอนแบบ
ซินเนคติกส์ เพ่ือพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดงั นี้

1.3.1 วัสดุอุปกรณ์ ครูต้องเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการทางานกลุ่มประกอบด้วย ใบความรู้ ใบ
กิจกรรม คลิปวิดีโอของดีของท้องถ่ินในการกาหนดสถานการณ์ รวมทั้งแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ สาหรับการ
ทดสอบผูเ้ รียนแต่ละคนหลังจากทากจิ กรรมการเรยี นรู้

1.3.2 การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม ประกอบด้วยผู้เรียนที่มีพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ที่แตกต่าง
กัน กลุ่มหนึ่งมีสมาชิก 3 คน สมาชิกจะแบ่งออกเป็นคนท่ีมีคะแนนสูงสุด 1 คน คะแนนปานกลาง 1 คน และ
คะแนนอ่อน 1 คน การคัดเลือกผู้เรียนเข้ากลุ่ม ผู้วิจัยใช้คะแนนทดสอบความคิดสร้างสรรค์ก่อนที่เรียน ในการจัด
นักเรยี นเขา้ กลุ่ม โดยปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนนี้

1.3.2.1 ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียน ตรวจให้คะแนน
ความคิดสรา้ งสรรค์ สรุปคะแนนของนักเรยี นทุกคน

1.3.2.2 จัดชั้นผู้เรียน ในใบรายงานคะแนนของผู้เรียนทั้งชั้น จากคะแนนสูงสุดไปหาคะแนน
ต่าสุด

1.3.2.3 กาหนดจานวนกลุ่ม ถ้าเป็นไปได้แต่ละกลุ่มควรมีสมาชิก 3 คน ในการตัดสินใจ
ว่าจะมจี านวนกลุ่มเทา่ ไร ใหห้ ารจานวนผู้เรยี นทง้ั หมด ด้วย 3 ถา้ หารลงตัวก็ไดจ้ านวนกลุ่มตามผลหารทไ่ี ด้ถา้ หารไม่
ลงตวั เหลือเศษ 1 หรือ 2 กจ็ ะได้ 1 หรือ 2 กลมุ่ ทจ่ี านวนสมาชิก 4 คน

รายงานผลการวิจัยในชนั้ เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผูว้ จิ ยั นางสาวอทุ ยั วรรณ สังคานาคิน หนา้ 9

1.3.2.4 การจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม จะต้องรักษาความสมดุลภายในกลุ่มเพื่อที่ว่าแต่ละกลุ่ม
ประกอบด้วยนักเรียนที่มีระดับคะแนนต่างกันต้ังแต่สูง ปานกลาง และอ่อน และระดับคะแนนเฉลี่ยของทุกกลุ่มใน
ช้ันควรจะเท่ากัน ใช้ตารางลาดับชั้นคะแนนของนักเรียน จัดแบ่งกลุ่มโดยใส่ช่ือทีมลงไปบนชื่อของนักเรียนแต่ละคน
ใช้ตารางลาดบั ช้ัน มี 12 กลุ่ม จะใช้อักษรชื่อกลุ่ม ตั้งแต่ A-L นักเรียนคนที่ 12-13 จะถูกจัดอยู่ในกลุ่ม L คนท่ี
14 อยู่ในกลุ่ม K คนต่อไปอยู่ในกลุ่ม J เรียงย้อนกลับไปเรื่อย ๆ จนถึงกลุ่ม A และเริ่มต้นกระบวนการใหม่จาก
นักเรียนคนสุดท้ายข้ึนมา โดยเร่ิมต้นและจบลงด้วยอักษร A (ศิริพรรณ ศรีอุทธา. 2548 : 24 – 25 ; อ้างอิงจาก
สลุ ัดดา ลอยฟ้า. 2536) ดงั ตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 การจดั นักเรยี นเข้ากลุ่ม

ระดับความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์ของนักเรยี น ลาดบั ท่ีของนกั เรียน กลมุ่ ท่ีสงั กัด
นักเรยี นท่เี รยี นเก่ง
1 A
2 B
3 C
4 D
5 E
6 F
7 G
8 H
9 I
10 J
11 K
12 L

นกั เรียนระดับปานกลาง 13 L
14 K
15 J
16 I
17 H
18 G
19 F
20 E
21 D
22 C
23 B
24 A

รายงานผลการวจิ ยั ในชั้นเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผวู้ ิจัยนางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคิน หน้า 10

ตารางที่ 3 (ต่อ)

ระดบั ความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์ของนักเรยี น ลาดับท่ีของนกั เรยี น กลุม่ ทีส่ งั กัด
นักเรียนระดบั อ่อน
25 A
26 B
27 C
28 D
29 E
30 F
31 H
32 G
33 I
34 J
35 K
36 L

จากการพิจารณาตารางท่ี 3 สังเกตว่า ลงตัวกลุ่มละ 3 คน ท้ังนี้เพราะระดับช้ันน้ี มีนักเรียนท้ังหมด
36 คน ถ้าแบ่งเป็นกลุ่มจะได้กลุ่มละ 3 คน แตห่ ากมีสมาชกิ ที่เหลอื เศษ จะจดั เข้ากลุม่ ใดกลุ่มหนึ่ง ขึน้ กับการ
พิจารณาของกลุม่ วา่ จะใหอ้ ยู่กลมุ่ ใด ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ ประกอบดว้ ยสมาชกิ ดงั น้ี

กล่มุ A ประกอบด้วยสมาชกิ ลาดับที่ 1, 24, 25
กลุ่ม B ประกอบดว้ ยสมาชิกลาดบั ที่ 2, 23, 26
กลุ่ม C ประกอบดว้ ยสมาชกิ ลาดบั ที่ 3, 22, 27
กลุ่ม D ประกอบดว้ ยสมาชิกลาดับที่ 4, 21, 28
กลมุ่ E ประกอบด้วยสมาชิกลาดับที่ 5, 20, 29
กลมุ่ F ประกอบดว้ ยสมาชกิ ลาดบั ท่ี 6, 19, 30
กลุ่ม G ประกอบดว้ ยสมาชิกลาดบั ที่ 7, 18, 31
กลมุ่ H ประกอบด้วยสมาชกิ ลาดบั ท่ี 8, 17, 32
กลุ่ม I ประกอบดว้ ยสมาชิกลาดับท่ี 9, 16, 33
กล่มุ J ประกอบดว้ ยสมาชิกลาดับท่ี 10, 15, 34
กลุ่ม K ประกอบดว้ ยสมาชกิ ลาดับที่ 11, 14, 35
กลมุ่ L ประกอบดว้ ยสมาชกิ ลาดบั ท่ี 12, 13, 36
2. ดาเนินการสอน ครูดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ ครูควรสร้างบรรยากาศ
ที่ดี เป็นกันเอง เอื้อต่อการเรียนการสอน และการเรียนรู้ของ ผู้เรียน แก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น เช่น
กิจกรรมที่เตรียมไว้ใช้เวลานานเกินไป หรือยากเกินความสามารถของผู้เรียน มีเสียงรบกวน สื่อการสอนไม่
ชัดเจน ฯลฯ ซึ่งครูจะต้องจดบันทึกไว้เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป
3. หลังการสอน ครูควรพิจารณาทบทวนการสอนที่ผ่านไป ประเมินว่าสามารถสอนได้ตรง
จุดมุ่งหมายที่ต้องการหรือไม่ มีข้อบกพร่องใดที่จะต้องนามาปรับปรุงแก้ไข และทาการแก้ไขในการเตรียมการ
สอนครั้งต่อไป
4. การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ครูควรจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนการสอน

รายงานผลการวิจยั ในชน้ั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผ้วู ิจยั นางสาวอุทัยวรรณ สงั คานาคิน หน้า 11

5. บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน ครูที่ปรึกษาควรประเมินและติดตามการทางานของผู้เรียนเป็น
ระยะ ๆ โดยให้คาแนะนา ช่วยกระตุ้นความสนใจ ชี้แนะแนวทางแก้ไข และเสริมกาลังใจให้แก่ผู้เรยี น เพื่อให้
งานเสร็จตามกาหนดเวลา บทบาทของครูท่ีปรึกษาโครงงานมีรายละเอียดตามการปฏิบัติงานของผูเ้ รยี น แบ่งเป็น
3 ระยะดังน้ี

ระยะท่ี 1 ระยะเริ่มต้น
เร่ืองท่ียากท่ีสุดในการทาโครงงาน คือ การเลือกหัวข้อหรือปัญหาท่ีจะศึกษา เพราะจะต้องเป็นเร่ืองที่
เหมาะสมกับระดับความรู้ของผู้เรียน และมีแนวทางที่จะหาคาตอบได้ ประสบการณ์ของผู้เรียนจะช่วยให้เกิด
แนวคิดและเกิดความคิดสร้างสรรค์ขึ้นได้ ฉะนั้นระยะเริ่มต้นจึงเป็นระยะสาคัญ ซึ่งครูที่ปรึกษาจะต้อง ให้ความ
ช่วยเหลือเป็นพิเศษ โดยอาจทาได้ดังนี้

1.1 กระตุ้นหรือเร้าความสนใจของผู้เรียนเก่ียวกับการทาโครงงาน
1.2 แนะนาวิธีทาโครงงานและเลือกหัวข้อเร่ืองหรือปัญหาที่จะศึกษา
1.3 จัดเอกสารและแนะนาแหล่งค้นคว้าเพ่ือให้นักเรียนสารวจความสนใจและศึกษาเพิ่มเติม
1.4 จัดให้มีการบรรยายโดยวิทยากรในเร่ืองท่ีผูเ้ รียนสนใจหรือจัดศึกษานอกสถานที่
1.5 ช่วยแนะนาในการวางเค้าโครงของโครงงาน
1.6 ให้คาปรึกษาและดูความเป็นไปได้ของเค้าโครงของโครงงาน
ระยะที่ 2 ระยะที่นักเรียนทาโครงงาน
เนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่จะต้องทาโครงงานนอกเวลาเรียนปกติ และมักใช้เวลาทางาน ตามใจชอบ
ดังนั้นเวลาจึงเป็นเรื่องหนึ่งที่ครูที่ปรึกษาจะต้องควบคุม เมื่อตรวจแก้เค้าโครงของโครงงานแล้ว ครูที่ปรึกษา
โครงงานควรปฏิบัติในหัวข้อต่อไปนี้
2.1 ติดตามความก้าวหน้าในการทางานของผู้เรียน โดยดูจากแผนการทางาน และควรฝึกให้
นักเรียนหาสมุดเฉพาะสาหรับจดบันทึกข้อมูลประจาวัน
2.2 ให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการและปฏิบัติการเมื่อผู้เรียนมีปัญหา ซึ่งบางครั้งอาจจะต้อง
ติดต่อขอความช่วยเหลือจากอาจารย์มหาวิทยาลัยหรือผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานอ่ืน
2.3 จัดให้ผู้เรียนได้พบปะและรวมกลุ่มเพื่อรายงานปากเปล่า โดยมีครูที่ปรึกษาร่วมอยู่ด้วย ซึ่งจะ
เป็นวิธีหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหาซ่ึงกันและกัน
2.4 ให้กาลังใจแก่ผู้เรียนมิให้ท้อถอย เมื่อผลการดาเนินงานไม่เป็นไปตามความคาดหมายซึ่งอาจจะ
ต้องมีการตั้งต้นทาใหม่หรือทาซ้า และควรกระตุ้นให้ผูเ้ รยี นทาโครงงานจนสาเร็จครบทุกข้ันตอน
ระยะที่ 3 ระยะส้ินสุดการทาโครงงาน
หัวข้อหรือปัญหาที่ผู้เรียนเลือกทาโครงงานอาจมีความยากง่ายต่างกัน แต่ก็คงอยู่ในดุลยพินิจของครูที่
ปรึกษาโครงงาน ซึ่งได้พิจารณาถึงความเป็นไปได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นแล้ว นอกจากนี้การได้วางแผนขั้นตอนการ
ทางานจะช่วยได้อย่างมาก เพราะในการทาโครงงานมักจะมีปัญหาที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นเสมอ ฉะนั้นในช่วงนี้ครูที่
ปรึกษาโครงงานอาจจะให้คาแนะนาช่วยเหลือดังน้ี
3.1 จัดเวลาให้ผเู้ รยี นได้พบเพื่อเสนอผลงานก่อนท่ีจะเขียนรายงาน
3.2 ตรวจสอบขั้นตอนในการเขียนรายงาน และดูการใช้ภาษาเพ่ือสื่อความหมายได้อย่างชัดเจน
3.3 ครูที่ปรึกษาโครงงานทาการประเมินผล ให้กาลังใจผู้เรียนในความอุตสาหะวิริยะทางานจนเป็น
ผลสาเร็จ
3.4 ครูที่ปรึกษาอาจส่งเสริมโครงงานที่น่าสนใจเป็นพิเศษ โดยให้ผู้เรียนทาต่อเพื่อเพิ่มพูนทักษะใน
การค้นคว้าต่อไป หรือโครงงานที่ยังไม่สมบูรณ์ก็ควรนามาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมให้เสร็จ
3.5 ในแต่ละปีการศึกษา ควรมีการรวบรวมรายชื่อโครงงานของผู้เรียนไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ทาโครงงานในปีต่อ ๆ ไป

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผู้วจิ ัยนางสาวอุทัยวรรณ สังคานาคนิ หนา้ 12

สรปุ
ในเล่มน้ีเป็นการช้ีแจงรายละเอียดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาข้ึนโดยเน้นการจัดการเรียนรู้แบบ

โครงงานร่วมกับการสอนแบบซินเนคติกส์ มาใช้ในการดาเนินการวิจัย ในการที่จะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของ
นักเรียน มีองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 7 องค์ประกอบ คือ กรอบแนวคิดทฤษฎีพื้นฐาน หลักการ
วัตถปุ ระสงค์ เนือ้ หา ขนั้ ตอน/ กระบวนการเรยี นรู้ สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมถงึ แนวทางการใช้
รปู แบบการจัดการเรยี นรูเ้ พือ่ ใหเ้ กดิ ผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องรปู แบบ

รายงานผลการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผู้วิจัยนางสาวอทุ ยั วรรณ สงั คานาคิน หน้า 13

ภาคผนวก ข
แบบรายงานความก้าวหนา้ โครงงาน

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรียน ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผวู้ ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคิน หนา้ 14

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผ้วู ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคนิ หนา้ 15

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผ้วู ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคนิ หนา้ 16

ภาคผนวก ค
ปฏิทนิ การปฏบิ ตั ิงานโครงงานสารวจความคดิ เหน็

รายงานผลการวิจยั ในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ผูว้ ิจัยนางสาวอุทัยวรรณ สังคานาคิน หนา้ 17

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผ้วู ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคนิ หนา้ 18

ภาคผนวก ง
ตวั อยา่ งแบบสารวจความคิดเห็น

รายงานผลการวจิ ัยในช้นั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจยั นางสาวอทุ ยั วรรณ สงั คานาคิน หนา้ 19

รายงานผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ผ้วู ิจยั นางสาวอุทยั วรรณ สงั คานาคนิ หนา้ 20


Click to View FlipBook Version