The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ช้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ รอบส่งจริง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 27092, 2021-03-21 11:22:59

ช้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ รอบส่งจริง

ช้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ รอบส่งจริง

1

ข้อดแี ละขอ้ เสียของการใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถือ

นาย นวพล ยศกลาง
นางสาว นภสร เทย่ี งตรง
นางสาว พดุ ตาล สบื นิคม
นางสาว สโรชนิ ี สภุ ิวงศ์
นางสาว อรสิ า ศรโี นนสังข์

โรงเรยี นบางปลาม้า “สงู สมุ ารผดงุ วิทย”์
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต9

ปีการศึกษา 2563

2

ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการใช้โทรศพั ทม์ ือถือ

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5/5

นาย นวพล ยศกลาง เลขท่ี 6
นางสาว นภสร เท่ยี งตรง เลขที่ 18
นางสาว พุดตาล สบื นคิ ม เลขที่ 21
นางสาว สโรชนิ ี สภุ วิ งศ์ เลขที่ 24
นางสาว อรสิ า ศรีโนนสังข์ เลขท่ี 26

การศึกษาคน้ ควา้ เลม่ นีเ้ ป็นส่วนนงึ่ วิชา (I30202)
การศกึ ษาและนาเสนอ

ภาคเรยี นท2่ี ปกี ารศกึ ษา 2563

ก3

คานา
รายงานเล่มน้ีเปน็ สว่ นหน่ึงของวชิ า การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) จดั ทาข้นึ เพอ่ื ให้ผู้
ท่สี นใจได้ศึกษาค้นคว้า เก่ยี วกับ ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการใช้โทรศัพท์มือถือ หวงั เปน็ อย่างยงิ่ วา่ รายงานเล่ม
นีจ้ ะเปน็ ประโยนชต์ ่อทา่ นไม่มากก็น้อย หากมีข้อผดิ พลาดประการใดขออภยั ไว้ ณ ทีน่ ้ี

ผจู้ ดั ทา

สารบญั ข4

คานา ก
สารบญั ข
บทท1ี่ 1-2
บทที2่ 3-8
บทท่ี3 9-11
บทท่ี4 12-13
บทท่5ี 14

5

บทท1่ี
บทนา

ทม่ี าและความสาคญั

สภาพสังคมไทยในปัจจุบันมรการสื่อสารและโทรคมนาคมที่ทันสมยั และกว้างขวางมากข้ึน มีการ
พฒั นาเครือข่ายของโทรศพั ท์ พัฒนาระบบของโทรศพั ทม์ อื ถอื และมีการพัฒนาเทคโนโลยตี ่างๆขน้ึ มา เพ่ือ
ใช้เป็นตัวช่วยในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มีสัญญาณโทรศัพท์ท่ีดีมากขึ้น มีการผลิตเทคโนโลยีในการ
ตดิ ต่อสอื่ สาร ทเ่ี ห็นกันได้ทว่ั ไปและเห็นกนั แพร่หลายคอื โทรศพั ท์มอื ถือ โดยมีการทางาน สองระบบได้แก่
iOS และ Android เป็นเทคโนโลยีทสี่ ามารถใชก้ นั ได้ทั่วไป ทุกเพศทุกวยั โทรศพั ทม์ อื ถือมีราคาถูกจงึ ทาให้ทุก
คนสามารถจับต้องได้ ซ่ึงทาให้เกิดผลเสยี ต่อบุคคลในวยั เด็ก ที่อยู่ในช่วงอายุ 2-13 ปี มากทีส่ ุด รองลงมา
คือบุคคลวัยรุ่นท่ีมีอายุ 14-21 ปี จนมาถึงบุคคลวัยผู้ใหญ่และวัยชราก็ล้วนใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างไม่
ถูกต้อง จงึ กอ่ ให้เกดิ ความคิดริเริม่ ท่จี ะศกึ ษาค้นควา้ เกยี่ วกับข้อดีข้อเสยี ของโทรศัพทม์ ือถือ

โทรศัพท์มือถือ (Mobile phone) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีระบบการทางานท่ีดีและสะดวก มี
แอพพลิเคช่นั เพิ่มขึ้นมากมายให้ใช้ศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มลู ได้อย่างสะดวกรวดเรว็ ใช้ประโยชน์ในทางการเรียน
การทางาน และใช้เพ่อื ผอ่ นคลาย เพ่ือความบันเทิง เพลดิ เพลิน จงึ ทาให้โทรศัพท์มือถือมีอิทธพิ ลต่อการใช้
ชีวิต แต่บุคคลท่ัวไปส่วนมากจะไม่รู้ถึงข้อดีข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ ใช้อย่างไม่ถูกต้อง จึง
จาเป็นต้องศึกษาเรื่องนี้ข้ึนมา เพ่ือให้ทุกๆคนสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน นาไปปรับใช้ในการ
เรียน ใช้ในการศึกษาค้นคว้า และเพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองท่ีได้รับความรู้เกี่ยวกับเร่ืองน้ีนาไปปรับไปใช้ต่อ
ตนเอง และสอนลกู หลานให้ใช้โทรศัพท์มือถืออย่างเกดิ ประโยชน์ โดยเฉพาะบุคคลในวัยเด็กควรถูกอบรม
สงั่ สอน ปลกู ฝัง จากผปู้ กครองอย่างใกล้ชดิ มากทส่ี ดุ โดยเริม่ จากการเล่นใหเ้ ป็นเวลา ทาส่ิงที่เกิดประโยชน์
ส่ิงที่ช่วยเสริมทักษะทางด้านสมองแทนการดูการ์ตูน แทนการเล่นเกมส์ รวมถึงบุคคลทุกวัยก็ควรใช้
โทรศัพท์มือถือให้เกิดประโยชน์มากกว่าใช้ให้เกิดโทษ ดังน้ันทุกๆคนควรจึงจะศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับเร่ือง
ขอ้ ดแี ละข้อเสียของการใช้โทรศพั ท์มอื ถือเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง คนรอบขา้ ง และสงั คม

ดังน้ันกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ทาการศึกษาค้นคว้า เรื่อง ข้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ
เพ่อื ตอบปัญหา ข้อสงสยั และนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปเป็นแนวทางเพ่อื การศึกษาและพัฒนาต่อไป

62

วัตถุประสงค์

1.เพอ่ื ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน็ มาของโทรศพั ท์มอื ถือ
2.เพ่ือศกึ ษาวิวัฒนาการของโทรศพั ทม์ ือถือในอดตี จนถึงปัจจุบัน
3.เพ่ือศึกษาข้อดแี ละข้อเสยี ของการใช้
4.เพ่ือศกึ ษาข้อมูลของอัตราผู้ใช้โทรศัพทม์ ือถอื
5.เพ่อื ศกึ ษาระบบโทรศัพท์มอื ถอื ในปจั จบุ นั

สมมตฐิ าน

เพ่ือให้ทุกคนท่ีศึกษาได้รู้จากข้อดีข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ ได้รับความรู้เกี่ยวกับข้อมูลใน
เร่อื งน้แี ละนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันให้เกดิ ประโยชนส์ งู ทส่ี ุด

ขอบเขตการศกึ ษา

ศึกษาประวัติความเป็นมาของโทรศัพท์มือถือ วิวัฒนาการและข้อดีข้อเสียของการใช้
โทรศัพทม์ ือถือ

ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ

1.ได้ใช้โทรศพั ทม์ อื ถืออย่างถูกตอ้ ง
2.ได้รู้ถึงข้อดขี ้อเสียของการใช้โทรศัพทม์ ือถือ
3.ได้เรยี นรูว้ ิวัฒนาการของโทรศัพท์
4.ได้รบั รูป้ ระวัตคิ วามเปน็ มาของโทรศพั ท์
5.ได้ศกึ ษาเกี่ยวกับระบบของโทรศัพท์

7

บทท่2ี
เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

ในการศึกษาค้นคว้าเร่ืองข้อดีและข้อเสียของโทรศัพท์มือถือ ผู้ศึกษาได้สืบค้นจากตารา หนังสือ
เอกสาร และอนิ เทอรเ์ นต็ ดงั หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้

1.ประวัติของโทรศพั ท์

2.ววิ ัฒนาการของโทรศัพท์

3.ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของการใช้โทรศัพท์

4.ยคุ สมยั ของโทรศพั ท์

5. ผใู้ ห้บริการเครือขา่ ยโทรศพั ท์มอื ถือในประเทศไทย

1.ประวตั ิของโทรศัพท์

โทรศัพท์เคลื่อนท่ี หรือ โทรศัพท์มือถือ (บ้างเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้
ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนท่ีใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพทม์ ือถือโดยผ่าน
สถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื่อนท่ีแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้าน
และเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ีของผู้ให้บริการอ่ืน โทรศัพท์เคลื่อนท่ีท่ีมีความสามารถเพ่ิมข้ึนในลักษณะ
คอมพวิ เตอรพ์ กพาจะถูกกล่าวถึงในช่ือโทรศัพท์อจั ฉรยิ ะ

โทรศัพท์เคล่ือนท่ีในปัจจุบันนอกจากความสามารถพ้ืนฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติ
พนื้ ฐานของโทรศัพท์เคล่ือนที่ที่เพ่ิมขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตาราง
นดั หมาย เกม การใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต บลูทูธ อินฟราเรด กลอ้ งถา่ ยภาพ เอ็มเอม็ เอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง
และ จีพเี อส

โทรศัพท์ถูกประดิษฐ์ขึ้นครัง้ แรกในสหรฐั อเมริกา โดย Alexander Graham Bell ในปี พ.ศ.2419

ตานานไปรษณีย์โทรเลขสยาม พ.ศ. 2429 ถึง พ.ศ. 2468 ได้บันทึกเร่ืองราวเก่ียวกับโทรศัพท์ใน
ประเทศไทยไว้ว่า ประเทศไทยได้นาเอาโทรศัพท์มาใช้เป็นคร้ังแรก เม่ือ พ.ศ. 2424 ตรงกับรัชกาลที่ 5
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน) ได้สั่งเข้ามาใช้งานในกิจการเพ่ือ
ความม่ันคงแห่งชาติ โดยติดต้ังที่กรมอู่ทหารเรือกรุงเทพฯ 1 เครื่อง และป้อมยามปากน้าเจ้าพระยา
จังหวดั สมุทรปราการอกี 1 เครื่อง รวม 2 เครื่อง เพื่อจะไดแ้ จ้งข่าวเรอื เขา้ ออกในแมน่ ้า เจ้าพระยาให้ทาง
กรุงเทพฯทราบ

48

พ.ศ. 2429 กิจการโทรศัพท์ได้เจริญรุ่งเรืองข้ึน จานวนเลขหมายและบุคลากร ก็เพ่ิมมากข้ึน
ยุ่งยากแกก่ ารบริหารงาน ของกรมกลาโหม ดังน้ัน กรมกลาโหม จึงได้โอนกจิ การของโทรศัพท์ ให้ไปอยู่ใน
การ ดูแลและดาเนินการ ของกรมไปรษณีย์ โทรเลข ต่อมากรมไปรษณีย์โทรเลขก็ได้ขยายกิจการโทรศัพท์
จากภาครัฐส่เู อกชน โดยให้ ประชาชน มีโอกาสใช้โทรศัพท์ได้ ในระยะนี้เครื่องทใี่ ช้จะเป็น ระบบแม็กนีโต
(Magneto) หรอื ระบบ โลคอลแบตเตอร่ี (Local Bat tery )

พ.ศ. 2450 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้ส่ังโทรศัพท์ ระบบคอมมอนแบตเตอรี่ (Battery) หรือ
เซน็ ทรลั แบตเตอร่ี (Battery) มาใช้ซงึ่ สะดวกและประหยัดกวา่ ระบบแม็กนีโตมาก

พ.ศ. 2479 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งซื้อชุมสายระบบสเต็บบายสเต็บ (Step by Step) ซึ่งเป็น
ระบบอัตโนมัติ สามารถหมุนเลขหมายถึงกันโดยตรง โดยไม่ตอ้ งผ่านพนักงานตอ่ สาย (Operator) เหมือน
โลคอลแบตเตอรี่ หรือ เซน็ ทรัล แบตเตอร่ี

พ.ศ. 2497 เนื่องจากกิจการโทรศัพท์ได้เจริญก้าวหน้ามาก ประชาชนนิยมใช้ แพร่หลายไปทั่ว
ประเทศ กิจการใหญ่ โตขึ้นมากทาให้การบริหารงานลาบากมากขึ้น เพราะกรมไปรษณีย์โทรเลขต้องดูแล
เรือ่ งอื่นอีกมาก ดังนั้นเมอ่ื วนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2497 จึงไดม้ ีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ตรา
พระราชบัญญัติตั้งองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น โดยแยก กองช่างโทรศัพท์กรมไปรษณีย์โทรเลข
มาตั้งเป็นองคก์ ารโทรศัพท์แห่งประเทศไทยข้ึน มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวง คมนาคมมาจนถึง
ปัจจบุ นั องค์การโทรศัพท์หลังจากทไี่ ด้รับการจดั ตงั้ ขึ้นแลว้ กไ็ ดร้ บั โอนงานกิจการโทรศพั ท์มาดูแล

พ.ศ. 2517 องคก์ ารโทรศัพท์ก็ส่ังซ้ือชุมสายโทรศัพทร์ ะบบคอสบาร์ (Cross Bar) มาใชง้ านระบบ
คอสบาร์ เป็นระบบอัตโนมัติเหมือนระบบสเต็บบายสเต็บแต่ทันสมัยกว่าทางานได้เร็วกว่า มีวงจรพูดได้
มากกว่า และขนาดเล็กกวา่

พ.ศ. 2526 องค์การโทรศัพท์ได้นาระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มาใช้งาน
ระบบ SPC เป็นระบบที่ควบคุมการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer) ทางานได้รวดเร็วมาก ขนาด
เลก็ กนิ ไฟนอ้ ย และยังให้ บริการ เสริมดา้ น อ่ืน ๆ ไดอ้ ีกด้วย

ในปัจจุบันชุมสายโทรศัพท์ท่ีติดต้ังใหม่ ๆ จะเป็นระบบ SPC ท้ังหมด ระบบอ่ืน ๆ เลิกผลิตแล้ว
ประเทศไทยเรากาลัง เร่งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน ดังจะเห็นจากโครงการ 3 ล้านเลข
หมายในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 7 และโครงการอืน่ ๆ ตอ่ ไป รวมท้งั วิทยโุ ทรศัพท์
อีกด้วย เพื่อเสริมให้ระบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ เอ้ืออานวย ต่อการพัฒนาประเทศให้
เจรญิ รงุ่ เรอื งตอ่ ไป

95

2.ววิ ัฒนาการโทรศพั ท์
2.1.พ.ศ.2424 ประเทศไทยนาโทรศพั ท์เขา้ มาครัง้ เเรก
2.2.พ.ศ.2426 มกี ารจดั โทรเลขข้นึ
2.3.พ.ศ.2450 ตงั้ ชมุ สายโทรศพั ทแ์ หง่ แรก เป็นชุมสายอตั โนมตั ิ การติดต่อต้องผ่านพนกั งาน

จะทาหน้าทตี่ ่อสาย
2.4. พ.ศ.2478 ใช้ชุมสายระบบ STEP BY STEP เปน็ ชมุ สายอัตโนมัติ
2.5. พ.ศ.2497 สถาปนาเปน็ องค์การโทรศัพทเ์ เหง่ เเรก
2.6.พ.ศ.2502 มีการใชช้ ุมสายระบบ อตั โนมัติ CROSS BAR ติดตัง้ ครง้ั แรก ในไทย
2.7. พ.ศ 2503 รับโอนโทรศพั ทใ์ นภูมิภาค
2.8. พ.ศ 2507 ติดต้งั ชุมสายในหลายๆแห่ง
2.9.พ.ศ 2517 เปลย่ี นเลขหมายเป็น 6 หลกั
2.10.พ.ศ 2518ใหบ้ ริการโทรศัพท์ทางไกลอัตโนมตั ิ
2.11.พ.ศ2519เปล่ียนใช่หมายเปน็ 7 หลัก
2.12. พ.ศ2520เรมิ่ ใชโ้ ทรศัพทแ์ บบปุ่มกด
2.13.พ.ศ 2521ใช้บรกิ ารโทรศัพท์ไรส้ าย
2.14.พ.ศ 2523ยกเลิกชมุ สายแบบพนักงาน
2.15.พ.ศ 2527เปดิ ใหบ้ รกิ ารโทรศพั ท์ตา่ งประเทศ
2.16.พ.ศ 2532เชอ่ื มโยงเครือขา่ ยดว้ ยใยแก้ว
2.17พ.ศ2533บรกิ ารโทรศพั ท์ PAGING , PAGPHONE
2.18 พ.ศ 2543เปิดให้บริการอินเทอรเ์ นต็ สาธารณะ

160

3.ข้อดีและขอ้ เสยี ของโทรศัพทม์ อื ถือ
3.1.ข้อดี
3.1.1.ใช้สอ่ื สารทางไกล
3.1.2.สามารถติดตามขา่ วสารช่องทางอนิ เตอร์เนต็ อยา่ งรวดเรว็
3.1.3.ช่วยให้ทางานได้งา่ ยขึน้ อาจสามารถใช้แทนคอมพิวเตอรไ์ ด้บางอยา่ ง
3.1.4.พกพาสะดวก
3.1.5.สามารถขอความช่วยเหลอื ได้ทันจากเกดิ เหตุ
3.1.6.ช่วยเตอื นความจา
3.1.7.สามารถหาความร้แู ทนหนังสือได้

3.2.ข้อเสยี
3.2.1.เสยี อารมณเ์ สียสมาธิ
3.2.2.ทาใหเ้ กดิ ประสาทหลอนได้
3.2.3.ทาให้เกิดการอาชญากรรม
3.2.4.ทาใหอ้ ารมณ์ร้อน
3.2.5.ทาให้เปน็ ภาระทางการเงิน
3.2.6.ทาใหส้ มองฝ่อ
3.2.7.เป็นการภาระต่อตนเองเช่นการลืม
3.2.8.อาจตดิ โดยไม่ทาอยา่ งอื่น
3.2.9.อาจโดนการหลอกลวง

171

4.ยุคสมยั ของโทรศัพท์
4.1. ยุค 1 G เปน็ ระบบอะนาล็อก
4.2. ยุค 2 Gการพัฒนาตวั คล่ืนวิทยุ จากอะนาลอ็ กเป็น Dlgital
4.3. ยคุ 2.5G มกี ารนาGPRS มาใชเ้ พื่อเพิม่ ความเร็วในการส่งขอ้ มูล
4.4. ยคุ 2.75 G มีการพัฒนาความเร็วในการสง่ ขอ้ มูล
4.5. ยุค 3 G เทคโนโลยีผสมผสาน ส่งผ่านระบบไร้สายได้และยังสามารถให้บริการมัลติมีเดียได้

อย่างสมบูรณ์แบบมีการส่งแบบเสียง และยังมีการส่งข้อมูลผ่านทางแอพพลิเคช่ัน ระบบการดาวน์โหลด
ตา่ งๆดยี งิ่ ข้ึน

4.6. ยุค 4G ยุครุ่งเรืองของอินเตอร์เน็ต ความเปล่ียนแปลงไม่ต่างจาก 3G มากนัก มีวิวัฒนาการ
การสแกนใบหนา้ การใชล้ ายนวิ้ มือ และมคี ณุ ภาพกล้องดียง่ิ ขน้ึ

4.7. ยคุ 5G อยใู่ นการพัฒนาและการทดสอบ

5.ผ้ใู ห้บริการเครอื ข่ายโทรศพั ท์มือถอื ในประเทศไทย
5.1.AIS (เอไอเอส) จาก Advanced Info Service
เร่ิมแรกจดทะเบียนก่อตั้งเป็น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด เม่ือวันท่ี 24 เมษายน

พ.ศ. 2529 [3] เปิดให้บริการครั้งแรกเม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 โดยเอไอเอสทาสัญญากับ
องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ให้ดาเนินการโครงการบริการระบบโทรศพั ท์เคล่ือนท่ี 900 เมกะเฮิร์ตซ์
เปน็ ระยะเวลา 30 ปี ถงึ พ.ศ. 2561

เอไอเอสเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.
2534 และแปรสภาพเปน็ บรษิ ทั มหาชนจากดั หลงั จากนั้นบรษิ ัทขยายกิจการโดยการเขา้ ซอ้ื กจิ การในเครือ
ชนิ วตั ร เชน่ ชินวัตร ดาต้าคอม (ปัจจุบนั คอื บริษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ตเวริ ์ค คอมมิวนเิ คช่นั ส์ จากัด), ชิน
วัตร เพจจ้ิง เป็นต้น บริษัทเปิดบริการโทรศัพท์เคล่ือนท่ีในระบบจีเอสเอ็ม ในชื่อ Digital GSM ในเดือน
ตลุ าคม พ.ศ. 2537 และไดข้ ยายเวลารว่ มสญั ญาเป็น 25 ปี (หมดสัญญาปี พ.ศ. 2558) เมอ่ื พ.ศ. 2539

บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอรว์ ิส จากัด (มหาชน) ยงั ได้ว่าจ้าง บริษัท พี อี แอนด์ พี เทค จากัด
ผลติ นา้ ดืม่ ตรา เอไอเอส เพ่อื บรกิ ารลูกคา้ ที่เข้าใช้บรกิ าร

128

5.2.Dtac (ดแี ทค) จาก Total Access Communication

ดีแทคเร่ิมก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 เพ่ือเข้ารับสัมปทานเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่ ในช่วงความถ่ี
850 และ 1800MHz จากการสื่อสารแหง่ ประเทศไทย ในประเภทสรา้ ง-โอน-ดาเนนิ การ (Build-Transfer-
Operate) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2533 และจดทะเบียนเข้าซ้ือขาย ในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์
เมื่อเดอื นตุลาคม พ.ศ. 2538

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ไดย้ ืดสัญญากับ กสท. ไปเป็น พ.ศ. 2561 หลังจากวิกฤตเศรษฐกิจ
พ.ศ. 2540 ได้เริ่มต้นขายหุ้นบางส่วนให้กับเทเลนอร์ และเปล่ียนช่ือทางการค้าจาก "แทค" เป็น "ดีแทค"
ในเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2544

ตระกูลเบญจรงคกุล ผู้ถือหุ้นใหญ่ในยูคอมซ่ึงเป็นบริษัทแม่ของแทค ได้ขายหุ้นให้กับเทเลนอร์ในช่วง
ปลายปี พ.ศ. 2548

วันท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2555 ทางดีแทคได้มกี ารปรับโครงสร้างผถู้ ือหุ้นใหม่ โดยมบี รษิ ัทบซี ีทีเอ็น
โฮลดิ้ง ของตระกูลเบญจรงคกุล ท่ีมีนายบุญชัย เบญจรงคกุลผู้ก่อต้ังดีแทคเป็นผู้บริหารอยู่ถือหุ้นเพ่ิมข้ึน
จากร้อยละ 10 มาเป็นเป็นร้อยละ 51 และกลุ่มเทเลนอร์ถือหุ้นท่ีเหลืออีกร้อยละ 49 เพ่ือลดข้อครหาใน
การเป็นบริษัทต่างชาติ ที่จะเข้าร่วมประมูล 3 จีได้ ทาให้ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของดีแทคคือบีซีทีเอ็น
โฮลดง้ิ

5.3.TrueMove H

แต่เดิมเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(ISP) ด้วยความร่วมมือและ
สนับสนุนจากบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์(CP) หลังจากท่ีเริ่มมีการขยายตัว และการแข่งขันในด้านการ
สื่อสารกันมากข้นึ จงึ ทาการปรับเปลีย่ นภาพลักษณ์จากเดิมมาเป็น กลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรช่ัน พรอ้ มกับ
เปล่ียนช่ือบริษัทในเครือ เช่น จาก ทีเอ ออเร้นจ์ (TA ORANGE) ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคล่ือนท่ี (ร่วมทุน
ระหว่างซีพี และออเร้นจ์ฝรั่งเศส) หลังจากฝร่ังเศสถอนหุ้นกลับไปจึงเปลี่ยนช่ือมาเป็น ทรู มูฟ ซ่ึงเป็นผู้
ให้บริการโทรศัพท์เคล่ือนที่ อันดับ 3 ของประเทศ[1] และได้ขยายกิจการด้านการโทรคมนาคมอย่าง
รวดเร็ว ทั้งด้านโทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์บ้าน) ซ่ึงเป็นผู้ให้บริการรายใหญ่เป็นอันดับ 1 ในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล[2][3], โทรศัพท์บ้านพกพา (วีพีซีที), ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ทรู
อินเทอร์เน็ต), เคเบิลทีวีระบบบอกรับเป็นสมาชิกรายเดือน ทรูวิชั่นส์ และรวมไปถึงบันเทิง ท้ังด้าน
โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์ โทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี ตามลาดบั ซึ่งประกอบไปด้วย ทรูวิช่ันส์ ทรูมูฟ ทรู
มันนี่ เอ็นซี ทรู ทรู ดจิ ิตอล คอนเทนท์ แอนด์ มีเดีย (Future Gamer ทรูไลฟ์ Good Game จีสแควร์ ทรู
ไอพีทวี ี)

13

บทท3่ี
วธิ กี ารดาเนินการ

ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง ข้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ ได้ทาการศึกษาค้นคว้าจาก
เอกสาร ตารา แบบสอบถาม/ผ้ศู กึ ษาคน้ ควา้ ดงั น้ี

1.ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
1.1.ประชากร
นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาป่ที ่ี 5 ปีการศึกษา 2563 จานวน 265 คน แบ่งเปน็ ชาย

105 คน หญิง 160 คน
1.2.กล่มุ ตวั อย่าง
นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ ่ี 5/5 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน24 คน แบ่งเป็น ชาย

10คน หญงิ 14คน
2.ระยะเวลา

ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการศึกษา ภาคเรยี นที่1 ปกี ารศึกษา 2563
3.สถานท่ี

โรงเรียนบางปลามา้ “สูงสมุ ารผดุงวทิ ย์”
4.วธิ ีการดาเนินการ

4.1.ประชมุ กลมุ่
4.2.เสนอประเดน็ ปญั หา
4.3.ศกึ ษาเอกสารข้อมูล
4.4.วางแผนการหาขอ้ มลู
4.5.รวบรวมข้อมลู
4.6.วิเคราะหข์ อ้ มลู
4.7.ทาแบบสอบถามและสรปุ

1140

4.8.เรียบเรียงขอ้ มลู
4.9.ตรวจสอบและแกไ้ ข
4.10.เขา้ เลม่
4.11.นาเสนอ

1151

เดือน
หัวข้อ 7 8 9 10 11 12 1 2 3 หมายเหตุ
1.ประชุมกลุม่
2.เสนอประเดน็ ปัญหา
3.ศกึ ษาเอกสารข้อมูล
4.วางแผนการหาข้อมลู
5.รวบรวมขอ้ มลู
6.วิเคราะหข์ อ้ มลู
7.ทาแบบสอบถามและสรปุ
8.เรยี บเรียงข้อมลู ที่ศกึ ษา
9.ตรวจสอบและแกไ้ ข
10.เข้าเล่ม
11.นาเสนอ

16

บทท4่ี
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล

ในการศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื ง ข้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ ผู้จัดทามีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ทราบขอ้ มูล เพม่ิ พูนความรู้ และประสบการณใ์ นการศึกษา เรอ่ื ง ข้อดีและขอ้ เสียของการใช้โทรศพั ทม์ อื ถือ
สารวจออกมาเป็นผลสาเร็จโดยการสร้างแบบสอบถาม และบอร์ดแสดงรูปโทรศัพท์มือถือในอดีตกับ
ปจั จบุ ัน

ท้ังนี้ในการศึกษาค้นคว้าเร่ืองข้อดีและข้อเสียของการใช้โทรศัพท์มือถือ ผู้จัดทาทราบประวัติ
ความเป็นมา วิวัฒนาการ และอัตราการเลน่ โทรศัพทโ์ ทรศพั ทม์ ือถือ

การนาเสนอและวเิ คราะหข์ อ้ มูล

ผจู้ ดั ทาวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่1 การวิเคราะห์จานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม เปน็ นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่5/5 ทงั้ ชาย
และหญงิ จานวน 24 คน

ตอนที2่ การสารวจเวลาการใช้โทรศัพทม์ ือถือของนกั เรยี นในแต่ละวนั
ตอนที3่ สารวจพฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพท์มือถอื โดยรวม
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

ตอนที1่ การวเิ คราะห์จานวนของผตู้ อบแบบสอบถาม เป็นนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี5/5 ทง้ั ชาย
และหญงิ จานวน 24 คน แสดงในตารางท่ี 1 ดงั นี้

ตัวแปร จานวน

นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/5 ทง้ั ชายและหญิง 24 คน

1137

ตอนท่ี2 การสารวจเวลาการใช้โทรศพั ท์มอื ถอื ของนักเรียนในแตล่ ะวนั แสดงในตารางที่ 2 ดงั น้ี

ชวั่ โมงทใ่ี ชโ้ ทรศัพท์มือถือใน 1 วนั จานวน
4-5 ช่ัวโมง 3 คน
6-8 ชวั่ โมง 9 คน
9-12 ชั่วโมง 12 คน

จากตารางที่ 2 มีนกั เรียนใช้โทรศพั ทม์ อื ถือ 4-5 ช่วั โมง ตอ่ 1วนั จานวน 3 คน

มนี ักเรยี นใช้โทรศัพทม์ อื ถอื 6-8 ชัว่ โมง ตอ่ 1วัน จานวน 9 คน

มีนักเรียนใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือ 9-12 ชั่วโมง ตอ่ 1วนั จานวน 12 คน

ตอนท่ี3 สารวจพฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศพั ท์มือถอื โดยรวม แสดงในตารางที่ 3 ดังนี้

รายการ จานวน
เล่น Socail 21 คน
เล่นเกมส์ 3 คน
ใชใ้ นการติดต่อส่ือสาร 0 คน

จากตารางที่ 3 มนี กั เรยี นใช้โทรศัพท์มอื ถอื ในการเล่น Socail จานวน 21 คน
มีนักเรียนใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถอื ในการเล่นเกมส์ จานวน 3 คน
ไมม่ ีนักเรยี นคนใดเลยทใี่ ช้โทรศัพทม์ ือถอื ในการติดต่อส่ือสาร

18

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

การศกึ ษาค้นคว้าคร้ังน้ี เปน็ การศึกษาพฤตกิ รรมการใช้โทรศัพทม์ ือถือของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษา
ปที ่ี 5/5 โรงเรียนบางปลาม้า “สูงสุมารผดุงวิทย์” จานวน 24 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกคนได้รู้ถึงข้อดี
และข้อเสียของการใชโ้ ทรศัพท์มือถือ ทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการศึกษาค้นคว้า
คือ แบบสอบถาม
การศึกษาค้นคว้าสรุปไดด้ งั น้ี

1.ผู้ทาแบบสอบถามเป็นนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/5 จานวน 24 คน
2.นักเรยี นสว่ นใหญใ่ ชโ้ ทรศัพท์มอื ถือ 9-12 ชว่ั โมง ตอ่ 1 วนั
3.นักเรยี นส่วนใหญ่ใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื ในการเล่น Socail
อภิปรายผลการศกึ ษาค้นคว้า
จากการศึกษาคน้ ควา้ สามารถอภิปรายไดด้ งั น้ี

นักเรียนมีพฤติกรรมการเล่นโทรศัพท์มือถือในทางที่ผิด เล่นโดยไม่คานึงถึงข้อดีและข้อเสียของ
การใช้งาน และใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน อันเน่ืองมาจากสาเหตุการใช้โทรศัพท์ตามสื่อ ตามเพ่ือน
ตามสมยั ซ่ึงสิง่ เหล่านเี้ ป็นส่วนหนงึ่ ท่กี ระตนุ้ ใหน้ ักเรียนมพี ฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพท์มือถอื ในทางท่ีผิด

ขอ้ เสนอแนะ

1.สถาบนั ครอบครวั ควรใสใ่ จดูแลลูกหลานเกี่ยวกับพฤตกิ รรมการใชโ้ ทรศัพทม์ ือถืออยา่ งใกล้ชิด
2.สถาบันการศึกษาควรให้ความสาคัญ และเข้มงวด เร่ืองการใช้โทรศัพท์มือถือภายในโรงเรียน
และหอ้ งเรียน
3.ควรมีการรณรงค์ และให้ความรู้ เกย่ี วกบั การใช้โทรศัพท์มอื ถือท่ถี กู ต้อง

19

ภาคผนวก

20

แบบสารวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพทม์ ือถือ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/5
คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนทุกคน ใสเ่ คร่อื งหมาย ✔

พฤติกรรม 4-5 ชัว่ โมง 6-8 ชั่วโมง 9-11 ชั่วโมง
ใน 1 วนั ใช้
โทรศัพท์มือถอื
ประมาณกี่โมง

พฤติกรรม เลน่ Socail เลน่ เกมส์ ใช้ในการตดิ ต่อส่อื สาร
ใช้โทรศพั ทม์ ือถือใน
การทาอะไรมากทีส่ ดุ


Click to View FlipBook Version