The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลงานปี2566 งานการพยาบาลศัลยกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dsasit, 2023-11-23 01:02:50

สรุปผลงานปี2566 งานฯศัลยกรรม

สรุปผลงานปี2566 งานการพยาบาลศัลยกรรม

สรุปผลงานประจำป 2566 งานการพยาบาลศัลยกรรม ศศิธร ดวงมั่น หัวหนางานการพยาบาลศัลยกรรม วันที่ 12 กันยายน 2566


คําขวัญ บริการยอดเยี+ยม เปี+ ยมคุณธรรม นําวิชาการ สมานสามัคคี วิสัยทัศน์ มุ่งเนน ้ การใหบ ้ รก ิ ารช 6 น ั นา ํ ทางศล ั ยกรรม แบบครบวงจร ตามมาตรฐานระดับชาติและสากล


เปาหมาย เพื่อใหการพยาบาลผูปวยศัลยกรรม กอนและหลังผาตัด อยาง ครอบคลุม ทั้งดานรางกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ โดยการ ประกันคุณภาพการบริการและบริหารจัดการทรัพยากรอยาง คุมคา


โครงการพัฒนาระบบบริการ การรักษาพยาบาล ตามแผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาล ร่วมกับงานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ วันที่ 13-14 และ 20-21 กรกฎาคม 2566 ณ จังหวัดชัยภูมิ จำนวนผูเขารวมทั้งหมด 84 คน หัวขอการสัมมนาเรื่อง “คานิยมองคกร (ACTS+3S), เข็มมุงทางการพยาบาล (2P safety) และการเพิ่มการจัดเก็บรายได” — โดยแบงออกเปน 5 กลุม ดังนี้ - กลุมที่ 1 คานิยมองคกร (ACTS+3S) Agility, Customer target, Technology & innovation และ Social devotion - กลุมที่ 2 คานิยมองคกร (ACTS+3S) Simple, Safety และ Satisfaction - กลุมที่ 3 เข็มมุงทางการพยาบาล ( 2P safety: personal safety) - กลุมที่ 4 เข็มมุงทางการพยาบาล ( 2P safety: Patient safety (patient identification, medication safety) - กลุมที่ 5 การเพิ่มการจัดเก็บรายได ความพึงพอใจในภาพรวม 80.88%


การพัฒนาคุณภาพอย.างต.อเนื่อง (CQI Lean KM นวัตกรรมและอนุรักษEพลังงาน) มีผลงานร่วมนําเสนอ จํานวน 15 เรื2อง


การพัฒนาคุณภาพอย.างต.อเนื่อง (CQI Lean KM นวัตกรรมและอนุรักษEพลังงาน) นำเสนองานคุณภาพ ของฝายการพยาบาล


มีผลงานไดรับรางวัล จำนวน 6 เรื่อง — งานการพยาบาลศัลยกรรมรวมใจ ลดการใชกระดาษ — ผลของการปฏิบัติตามนโยบาย Zero BMS — การพัฒนารูปแบบการเตรียมความพรอมผูปวยแผลไหมที่ชำระลาง แผลในอางอาบน้ำโดยใชสื่อวิดิทัศน — โครงการนวัตกรรมชุดทำแผลสำเร็จรูปสำหรับผูปวยแผลไหม — Tracheostomy tube care anywhere you can do — โครงการเสียงตามสายรณรงคลางมือ งานการพยาบาลศัลยกรรม


นำเสนอผลงาน งานประชุมวิชาการสมาคมพยาบาลฯ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ — วันที&3-4 สิงหาคม 2566 จํานวน 2เรื&อง — ได้รับรางวัลชมเชย 1 รางวัล


รับตรวจเยี่ยมคุณภาพภายใน RM&QA &IC&ENV Clinic&Ethics 10 /2/66


เปนหนวยงานรับเยี่ยมเพื่อรับรอง ISO 15189 และ ISO 15190 ( งานหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ) 22 มีนาคม 2566


Pre survey AHA : ระบบยา ( CPOE & eMAR) 30 พฤษภาคม 2566


ความพึงพอใจภาพรวม 100 % มีผู้ร่วมกิจกรรม 28 คน ผูเขารวมโครงการมีความรูเพิ่มขึ้นตามเปาหมาย มากกวารอยละ 80 ผานเกณฑ100% Pre-Post test & บรรยาย


โครงการ “กิจกรรม Ethic activity day” 24 เมษายน 2566 ผลลัพธที่ไดจากการจัดกิจกรรม 1. Ethics risk profile 2 เรื่อง (1 เรื่อง/งานการพยาบาล) 1. การพิทักษสิทธิ์ผูปวยที่ใชสิทธิ์พรบ. (งานการ พยาบาลออรโธปดิกส) 2. มาตรการปองกันความเสี่ยงเรื่องคาใชจายสวนเกิน (งานการพยาบาลศัลยกรรม) 2. แนวปฏิบัติและมาตรการปองกัน 3 เรื่อง (วิเคราะห ผลลัพธจากการทำ Ethics case conference 3 ราย) 1. แนวทางการสื่อสาร OK case ระหวางหนวยงาน และเกณฑในการรับผูปวยเขาหองพิเศษ (หอผูปวย IMC 3ข) 2. แนวทางการดูแลและจำหนายผูปวยไมมีญาติ (หอ ผูปวย 3ข) 3. แนวทางการใหขอมูลผูปวยและพฤติกรรมบริการที่ เหมาะสม (หอผูปวย 3ค)


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การใช line official account เพื่อการสื่อสารและใหบริการขอมูลสุขภาพ” 1. หนวยงานสังกัดงานการพยาบาลศัลยกรรมและงานการ พยาบาลออรโธปดิกสมีLine official account ของ หนวยงาน ทุกหนวยงาน คิดเปน รอยละ100 2. ผูเขาอบรมพึงพอใจในการอบรมครั้งนี้คิดเปนรอยละ 100


พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล งานพยาบาลศัลยกรรม ประจำป 2566 — การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ในการจัดการความปวดในผูปวยหลังผาตัดชองทอง — การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ในการจัดการความปวดแบบไมใชยาในผูปวยหลัง ผาตัดหัวใจแบบเปด — การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ในการจัดการความปวดแบบไมใชยาในผูปวยหลัง ผาตัดสมอง — การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ในการจัดการความปวดขณะทำแผลในผูปวยแผล ไฟไหมน้ำ รอนลวก — การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ในการจัดการความปวดหลังผาตัดในผูปวยเด็ก อยูระหวางยกราง


การประเมินความปวด การปฏิบัติตาม ADR การปฏิบัติตามBundle Identification การปฏิบัติตามBundle Safety Surgery การปฏิบัติตามBundle Safety: Blood transfusion การปฏิบัติตามBundle Safety: Blood component Request การปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติTransfer safety การปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ: ERAS pre op การปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ: ERAS post op Audit แบบประเมินการปฏิบัติการพยาบาล (อัตรา ) 97-100 % ความปลอดภัย Zero BMS, Fall , Identification , ME ฯลฯ


วิเคราะหความเสี่ยง การดูแลผูปวยที่คาสายสวนปสสาวะที่มีภาวะสับสนเฉียบพลัน เพื่อปองกันการดึงสายสวนปสสาวะ แนวทางปฏิบัติในการดูแลผูปวยที่คาสายสวนปสสาวะที่มีภาวะสับสน เฉียบพลัน 1. ใหคำแนะนำการดูแลสายสวนปสสาวะแกผูปวยและญาติ 2. ติดปายสื่อสารผูปวยมีสายสวนสายระบายตางๆไวที่หัวเตียง เพื่อใหมองเห็น 3. ประเมินภาวะ Delirium แรกรับทุกเวรและติดปายสื่อสาร Delirium “D” 4. หากมีปจจัยเสี่ยงตอการดึงใหpreconference เนนวิธีการ/สิ่งที่ตองดูแลวามี อะไรบาง/เวลาไหนบาง และเปนหนาที่ของใคร 5. จัดโซนใกลพยาบาล หรือจัดใหมีเจาหนาที่คอยดูแลเฝาระวังอยางใกลชิดในทีม 6. เวรดึกหากมีความจำเปนตองขออนุญาตผูปวยและญาติrestrain หรือใสปอก มือเพื่อปองกันการดึงในชวงเวลา 02.00-05.00 น. 7. นำแบบประเมินการ restrain ผูปวยของ IMC 3ข มาใช 8. ติดตามการปฏิบัติโดยหัวหนาทีม 9. มีการสื่อสารกอนสงเวรทุกครั้งวามีผูปวย Delirium กี่ราย เตียงไหนบาง 10. พัฒนานวัตกรรมอุปกรณrestrain ใหมีประสิทธิภาพ หลังมีแนวปฏิบัติไม่พบ ผู้ป่วยดึงสายสวนปัสสาวะ


วิเคราะหความเสี่ยง แนวทางปฏิบัติในการ Identify กอนเจาะ Lab , G/M แนวทางปฏิบัติในการ Identify กอน G/M 1. มอบหมายใหมีการสื่อสารนโยบายแนวปฏิบัติ ตางๆกอนรับเวรทุกครั้งใหบุคลากรในหอ ผูปวยทราบ 2. สื่อสารกอนรับเวรทุกครั้งวามีผูปวยชื่อซ้ำกัน/ เตียงไหนบาง 3. บุคลากรตองปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทุกขั้นตอน ทุกครั้ง 4. มีการกำกับติดตามการปฏิบัติทุกครั้งอยาง ตอเนื่อง


ความพึงพอใจผู้รับบริการ ระดับ 4-5 99.29 %


ความพึงพอใจผู้รับบริการ ระดับ 5 80.98 %


พัฒนาสมรรถนะ หัวหนาหอผูปวย ในการฝกเยี่ยมคุณภาพ ตามแบบ เยี่ยมฝายการพยาบาล เพื่อเตรียมรับ AHA มอบหมายใหหัวหนาหอฯ รับผิดชอบเยี่ยมคุณภาพ ในแตละดาน เชน Care process , competency , CNPG , Risk management etc.


พัฒนาสมรรถนะ หัวหนาหอผูปวย ในการฝกเยี่ยมคุณภาพ ตามแบบ เยี่ยมฝายการพยาบาล เพื่อเตรียมรับ AHA


แผนการพัฒนา ระบบการนิเทศและประเมินสมรรถนะทางการพยาบาล


https://sites.google.com/view/supervisor65/


คลินิกออสโตมีและแผล


ตัวชี้วัดเฉพาะของคลินิกออสโตมีและแผล เดือน มกราคม - สิงหาคม 2566 % จำนวนผูปวยที่ใหบริการ ( รวมผูปวย นอกและผูปวยใน ) 330 คน จำนวนผูปวยรายใหมที่ไดรับการดูแลภายใน 24 ชั่วโมงหลังสงปรึกษา 97.91 จำนวนผูปวยที่ไดรับการติดตามตอเนื่องตามขอบงชี้ 100 จำนวนผูปวยที่ผานเกณฑประเมินคะแนนความรูการดูแลทวารเทียมกอนใหคำปรึกษา 15 จำนวนผูปวยที่ผานเกณฑประเมินคะแนนความรูการดูแลทวารเทียมหลังใหคำปรึกษา 95.12 จำนวนผูปวยที่ผานเกณฑประเมินทักษะการดูแลทวารเทียมกอนใหคำปรึกษา 12.19 จำนวนผูปวยที่ผานเกณฑประเมินทักษะการดูแลทวารเทียมหลังใหคำปรึกษา 95.12 จำนวนผูปวยที่ไดรับการติดตามการหายของแผล § การหายของแผลดีขึ้น § การหายของแผลไมเปลี่ยนแปลง/ลดลง 100 100 0 ความพึงพอใจตอการใหบริการในระดับมากที่สุด 98.43


Start operation § วันที่ 16 พฤษภาคม 2565นำรองที่หอผูปวยในงานการพยาบาลศัลยกรรม การประชุมเพื่อชี้แจงก่อนเริ่มดำเนินการ CPOE & eMAR


05 Work flow การปฏิบัติงานตามระบบ CPOE, eMAR OPD AE, resus คียสั่งใชยาในระบบ HO ตามแผนการรักษา ไมไดคีย/คียยาไมตรง ตาม แผนการรักษา § แพทย/พยาบาลโทรแจงเวชระเบียน 63766 § คียยาในระบบ § ผูปวยแอดมิทตามระบบ การเปลี่ยนแปลงคําสั่งใชยา 1) หลังเยี่ยมผูปวยชวงเชา § แพทยคียยาภายใน 10.00 น. § พยาบาลติดปายบอกเตียงที่ตองคียยา § หลัง 10.00 น. หากยังไมมียาในระบบ ประสานกับแพทย intern หรือ resident ตามตารางเวร หากไมไดรับ การตอบสนองใน 30 นาทีใหตาม แพทยทานถัดไป 2) ยาผูปวยหลังผาตัด § แพทยคียยาจากในหองผาตัดหรือ ดําเนินการคียยาชวงราวนเย็น พรอม ระบุยาที่ตองการสั่งใชเรงดวนในคําสั่ง การรักษา เพื่อให พยาบาลคีย stat ใหกอน § Discontinue ยาเดิม (ที่ไมสั่งใชตอ) ในระบบ HO คียสั่งใชยาในระบบ HO ตามแผนการรักษา ผูปวยกลับบาน §คียสั่งใชยา 1 วันกอนกลับบาน §Discontinue ยาเชาวันกลับบานและโทรแจงหองจายยา § แพทย/พยาบาลโทรแจงเวชระเบียน 63732 § คียยาในระบบ § ผูปวยแอดมิทตามระบบ §แจงแพทย intern /resident ตามระบบ §ติดปายสัญลักษณแจงบริเวณ หนาชารทผูปวย § พยาบาลคียยา dose แรกให ผูปวย (กรณียาเรงดวนจําเปน) คียสั่งใชยาในระบบ HO ตาม แผนการรักษา §ดําเนินการตามระบบ eMAR (เฉพาะ หอผูปวย) Execute Check-in Admin §คัดลอกรายการยาใน medication record ใหตรงกับแผนการรักษา §ดูแลใหผูปวยไดรับยาตามแผนการ รักษา 63732 63766 เพิ่มเปน 22 หนวยงานในสาขา ศัลยศาสตร วันที& 19 มกราคม 2566 § ในการมา round ผู้ป่ วยตอนเช้าและตอนเย็น แพทย์จะ key ยาให้เกือบ 100 % § เมื=อมีการ of ยา หรือปรับเปลี=ยนขนาดยา ไม่ได้ discontinuous ยา § ยาที=สั =งไปห้องผ่าตัดไม่ได้key เช่น cefazolin เป็น ต้น § Intern มีภาระงานมาก ถูกตามไปทํากิจกรรมอื=น CPOE eMAR § ระบบช้ามาก § เครื,องสแกนไม่ใช่ระบบ wireless ต้อง สแกนจากเครื,อง PC ตรงกลาง ไม่ใช่ที, สติ;กเกอร์บาร์โค้ดของผู้ป่วย § check in ยาแล้วไม่มีbubble ขึFน


Team leader surveyed


solving problems and improving the operations with teamwork 3 เมษายน 2566 § ปรับรูปแบบการปฏิบัติงาน § จัดให้มีintern ที,ปฏิบัติหน้าที,เกี,ยวกับ การคีย์ยาในระบบ CPOE และการ จําหน่ายผู้ป่วยในหอผู้ป่วยที,รับผิดชอบใน ช่วงเวลา 8.00 -12.00 น. § ติดตามผลการปฏิบัติตามระบบ CPOE § อัตราผู้ป่วยจําหน่ายก่อน 12.00 น. ประชุม CLT Sx 27มี.ค.66 ปฏิบัติงาน 6.30-12.00 น. การจำหนาย v สั่งยากลับบาน (HO) v ออกใบนัด v ใบรับรองแพทย สั่งยา/การรักษาตางๆ หลัง 12น.ปฏิบัติงานที่อนุสาขา


ขยายเพิ่ม CPOE 14 หนวยงาน (สาขาศัลยศาสตร ) ปจจุบัน


จำนวนบุคลากร


ระดับปริญญาโท จำนวน 7 คน อยู6ระหว6างลาศึกษาระดับปริญญาโท คณะพยาบาลศาสตรB มข. 3 คน การพฒ ั นาบ ุ คลกร ผา ่ นการอบรมเฉพาะทางการด ู แลผป ู ้่ วยสา ํ คญ ั ในหน ่ วยงาน เช ่ น เฉพาะทางวิกฤต , ผู้สูงอายุ , ออสโตมีและแผล , หัวใจและหลอด เลือด , ประสาทศัลยศาสตร์


บุคลากรเลื่อนระดับสูงขึ้น — ระดับพยาบาลชำนาญการ 5 คน — ระดับผูชวยพยาบาลชำนาญงาน 4 คน — รอประกาศ 4 คน


ความพึงพอใจของบุคลากร ด้าน ค่าตอบแทน และสวัสดิการ ยังต้องการความช่วยเหลือ


แผนพัฒนาบุคลากร ป0 2567 ดHานบริการ & คุณภาพ — ติดตามและพัฒนาโครงการคุณภาพอย.างต.อเนื่อง เปNาหมาย “ one man one project ” — นิเทศ ติดตามการประเมินสมรรถนะรายบุคคล ( IDP ) — เตรียมพรHอมรับรอง AHA ดHานความกHาวหนHา ติดตามการทำผลงาน และการประเมินค.างานเพื่อเลื่อนระดับ


Click to View FlipBook Version